Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

Published by ๋Jiratchaya Chaitheeratham, 2021-03-30 15:38:58

Description: วิจัยในชั้นเรียน

Search

Read the Text Version

วิจัยในชน้ั เรยี น เร่อื ง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน เร่อื ง สารพนั ธุกรรม โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ(5E) ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวดั เชยี งใหม่ ชอื่ ผู้วิจัย นางสาวจิรชั ญา ชัยธีรธรรม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ สังกัดสานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน

ก ชอื่ งานวจิ ยั การพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น เรือ่ ง สารพนั ธุกรรม โดยการจดั การเรียนร้แู บบสืบเสาะ(5E) ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ ชื่อผู้วิจยั นางสาวจริ ัชญา ชยั ธีรธรรม ระยะเวลาทที่ าวิจัย ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ถงึ เดือน มนี าคม 2564 บทคัดยอ่ จากการดาเนินการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ือง สารพันธุกรรม โดยการจัดการเรียนรู้แบบ สบื เสาะวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 มีวัตถุประสงค์ 1. พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เร่ืองสารพันธุกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยใช้กระบวนการสืบเสาะวิทยาศาสตร์ ให้มีประสิทธิภาพ 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ที่เรียน โดยการเรียนรู้แบบสืบเสาะวิทยาศาสตร์เร่ือง สารพันธุกรรม 3. เพื่อศึกษาความก้าวหน้าผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 ทีเ่ รยี น โดยการเรียนรู้แบบสืบเสาะวิทยาศาสตร์เร่ืองสารพันธุกรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 29 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็น แบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรยี น ซง่ึ เปน็ แบบทดสอบความรู้ของนกั เรียน วิชาชีววิทยา2 ก่อนเรียน คะแนนอยู่ท่ี 3 -7 ค่าเฉล่ีย 0.3 – 0.6 และแบบทดสอบความร้ขู องนักเรยี น วิชาชีววิทยา2 หลังเรียน โดยภาพรวม คะแนนอยู่ท่ี 7 - 9 ค่าเฉล่ีย 0.7 – 0.9 การทาแบบทดสอบคะแนนและค่าเฉลี่ยหลงั เรียน เพิ่มขน้ึ จากการทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

สารบัญ ข บทคดั ย่อ หน้า สารบัญ ก บทที่ 1 บทนา ข 1 - ความเป็นมาและความสาคญั ของการวิจัย 1 - วตั ถุประสงค์โครงการ 2 - ขอบเขตการวจิ ัย 2 - ขอบเขตด้านประชากร 2 - ขอบเขตด้านเนือ้ หา 2 - ขอบเขตดา้ นระยะเวลา 2 - นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 2 - ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากการวิจัย 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วขอ้ ง 4 - เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง 4 - 1. การจัดสาระการเรียนรู้กลุม่ วทิ ยาศาสตร์ 4 -5 - 2. มาตรฐานการเรียนร้กู ารศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน 5-7 - 3. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ 7 - 4. ความหมายของผลสมั ฤทธ์ิ 7 - 5. งานวิจยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 7–8 บทที่ 3 บทนา 9 - เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 9 - การเก็บรวบรวมข้อมูล 9 - การวิเคราะหข์ ้อมูลและสถติ ทิ ี่ใช้ในการวิจัย 9 บทที่ 4 บทนา 10 - ผลการวจิ ัย 10 - 14 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 15 - สรุปผลการวิเคราะห์ 15 - อภปิ รายผล 15 - ขอ้ เสนอแนะเพอื่ แก้ปญั หา 15 ภาคผนวก 16 - แผนการจัดการเรียนรู้ 17 - 24 - ใบงาน เรื่อง การคน้ พบสารพนั ธุกรรม 23 - 27 - แบบทดสอบ 28 – 34 - รูปภาพการจดั การเรยี นสอน 35 – 36 - บรรณานุกรม 37

1 บทที่ 1 บทนา ความเปน็ มาและความสาคัญของการวจิ ยั ปัจจุบันการศึกษาของเด็กในประเทศไทยต่า สะท้อนภาพปัญหาที่เกิดข้ึนจากการเรียนการสอนได้ อยา่ งดี สภาพการเรยี นการสอนท่ีน่าเบ่อื หน่ายของครู บทเรยี นมเี นื้อหามากเกินไป ความไม่เข้าใจของผู้เรียน ไม่มสี อ่ื การเรียนการสอนทีน่ า่ สนใจหรอื ดึงดดู ใจผเู้ รียน บรรยากาศในห้องเรียน ปญั หาการเรียนการสอนที่ทา ใหเ้ ด็กไมม่ ีความสขุ ในการเรยี นถกู ถา่ ยทอดออกมาหลายเรื่อง เชน่ คณุ ครูที่ส่ังการบ้านมากเกินไปจนเด็กต้อง ทางานดกึ หรอื คณุ ครูข้ีเมาท่ีมีกลนิ่ สุราตดิ ตัวเข้ามาสอน จึงส่งผลให้ผลการเรียนหรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตกตา่ เมอื่ เทียบกับเด็กตา่ งประเทศการศึกษาของไทยอยู่ระดบั เกอื บต่าสุด ในทางกลับกันเด็กอยากให้คุณครู รกั และเขา้ ใจมากขนึ้ อยากให้คุณครูใจดีกับตัวเขาเอง มีเทคนิคการสอนท่ีสนุกและอยากมีสภาพห้องเรียนท่ี พวกเขาเรียกว่าห้องเรียนในฝนั เปน็ ห้องเรยี นท่มี ีแต่ความสุขในการเรียนรู้ อย่างไรก็ตามแม้จะมีการใช้เทคนิควิธีที่หลากหลายแต่ยังพบว่า นักเรียนจานวนไม่น้อยยังคงมีความ เขา้ ใจทค่ี ลาดเคลื่อนในเร่ืองการสังเคราะห์โปรตีนท่ีไรโบโซม (Jamie A.SKelso,2011; JulianneM. Zedalis, 2011; Sharon Radford, 2011 Arnold Best, 2011; Gordon Uno, 2001) รายงานว่าการแปลรหัส เปน็ หัวขอ้ ทนี่ ักเรยี นมีความสับสนมากในการเรยี นเร่ืองการสังเคราะห์โปรตนี ที่ไรโบโซม นอกจากนี้ยังพบความ เขา้ ใจทคี่ ลาดเคลอ่ื นอื่น ๆ เชน่ โครงสร้างและการทา งานของ RNA ท้ัง 3 ชนิด ได้แก่ mRNA rRNA tRNA, มี ความสบั สนระหวา่ งโคดอนและแอนตโิ ดดอน, ไมส่ ามารถเช่อื มโยงระหว่าง DNA RNA amino acid (พอลิเพป ไทด์) (Dikmenli, 2010; Nakthong et al., 2007;Ozcan et al., 2012) Smith(1991) กล่าวว่าความเข้าใจท่ี คลาดเคลอ่ื นเหล่าน้ีจะต้องได้รบั การปรบั วารสารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรรี ัมย์ปีที่ 9 ฉบับท่ี 1 มกราคม - มิถุนายน 2560 280 Academic Journal of Buriram Rajabhat University Vol. 9 No. 1 January - June 2017แก้ด้วยเทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้นครูจา เป็นต้องออกแบบการจัดการ เรยี นร้ทู ่หี ลากหลายเพอื่ ใหเ้ กิดความเหมาะสมกบั นกั เรียนในบรบิ ทของตนเอง Ozcan et al. (2012) กล่าวว่าการจัดการเรียนรู้วิชาชีววิทยาจะมีประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อนักเรียนมี ปฏิสัมพันธ์เชิงรุก(Activeinteraction) ในกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะวิทยาศาสตร์ครูที่สอนวิชา ชีววิทยาสามารถลดบทบาทการบรรยาย(Lecture)และเพิ่มการใช้กลวิธีท่ีทา ให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยการ ค้นพบ (Discovery) ประสบการณ์Hands-onและการทา งานแบบมีปฏิสัมพันธ์ภายในกลุ่มโดยผ่าน กระบวนการสืบเสาะ(Inquiry process)ซึง่ เป็นแนวทางการจดั การเรยี นรทู้ ีท่ า ให้เกิดการ เรียนรู้ทม่ี คี วามหมาย การคิดเชิงเหตุผลที่นา ไปสู่การเกิดความเข้าใจที่ถ่องแท้(สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ ,2555; McDonald, 2012)การสร้างคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์จากประจักษ์พยานที่ค้นพบและเชื่อมโยง คาอธิบายไปยังองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีความน่าเช่ือถือ (National Research Council(NRC), 2000) และการนา เสนอ คดิ วิเคราะห์และซกั ถาม แสดงเหตผุ ลโตแ้ ย้งในคาอธิบายที่สร้างข้ึนทา ให้นักเรียนเกิดความ เข้าใจท่ลี ึกซึ้งในงานของตนเอง (สภุ าพร พรไตร, 2555; NRC, 2000; Proulx,2004) ผู้วจิ ัยจงึ มีความสนใจพฒั นากิจกรรมการเรยี นรแู้ บบสบื เสาะวิทยาศาสตร์เรอื่ ง สารพันธุกรรม โดยค่า ประสิทธิภาพและประสิทธิผลไม่ต่ากว่าร้อยละ 80/80 เพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ทาให้ผู้เรียนมี ความก้าวหน้าทางการเรยี นเฉล่ียไม่ต่ากว่าระดับกลาง ซ่ึงจะเป็นตัวอย่างท่ีเป็นประโยชน์ต่อครูในการนาไปใช้ ในการจดั การเรียนรู้ ใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและบรรลจุ ดุ มงุ่ หมายของหลกั สตู รในลาดบั ต่อไปใน

2 วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั 1. พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู รือ่ งสารพนั ธกุ รรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 โดยใชก้ ระบวนการ สืบเสาะวิทยาศาสตร์ ใหม้ ีประสิทธภิ าพ 2. เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน กอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 ท่เี รียนโดยการเรยี นรู้แบบสืบเสาะวิทยาศาสตรเ์ รื่อง สารพนั ธุกรรม 3. เพ่อื ศึกษาความกา้ วหน้าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4/1 ที่เรยี น โดย การเรียนรูแ้ บบสบื เสาะวทิ ยาศาสตรเ์ รอ่ื งสารพันธกุ รรม ขอบเขตการวิจยั 1. กลุม่ ตวั อย่าง นักเรียนรายวิชา ชีววิทยา2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 29 คน 2. ระยะเวลาที่ใช้ในการวจิ ัย ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ขอบเขตดา้ นประชากร นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ จานวน 29 คน ขอบเขตด้านเนอ้ื หา พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารพัน ธุกรรม โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ วิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชยี งใหม่จานวน 29 คน ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ตง้ั แตเ่ ดือนพฤศจกิ ายน 2563 ถงึ เดือน มนี คม 2564 ขอบเขตด้านตัวแปร ตวั แปรต้น ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรือ่ ง สารพันธกุ รรมของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 ตัวแปรตาม ผลการประเมนิ ผลสมั ฤทธิ์ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2546) ให้ความหมายว่า การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นการวัด ความสาเร็จทางการเรียน หรือวัดประสบการณ์ทางการเรียนที่ผู้เรียนได้รับจากการเรียนการสอน โดยวัดตาม จุดมุ่งหมายของการสอนหรือวัดผลสาเร็จจากการศึกษาอบรมในโปรแกรมต่าง ๆ ไพโรจน์ คะเชนทร์ (2556) ให้คาจากัดความผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนว่า คือคุณลักษณะ รวมถึงความรู้ ความสามารถของบุคคลอันเป็นผลมาจากการเรียนการสอน หรือ มวลประสบการณ์ท้ังปวงที่บุคคลได้รับจาก การเรียนการสอน ทาให้บุคคลเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในด้านต่างๆ ของสมรรถภาพทางสมอง ซ่ึงมี จุดมุ่งหมายเพ่ือเป็นการตรวจสอบระดับความสามารถสมองของบุคคลว่าเรียนแล้วรู้ อะไรบ้าง และมี ความสามารถดา้ นใดมากน้อยเท่าไร ตลอดจนผลท่เี กดิ ข้ึนจากการเรียนการฝึกฝนหรือประสบการณ์ต่างๆ ทั้ง ในโรงเรยี น ทบ่ี า้ น และสง่ิ แวดลอ้ มอ่ืนๆ รวมทั้งความรู้สึก ค่านิยม จริยธรรมต่างๆ ก็เป็นผลมาจากการฝึกฝน ด้วย

3 ประโยชน์ทไ่ี ด้รับจากการวิจัย 1. นักเรียนระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ในรายวชิ า ชวี วทิ ยา2 สงู ข้นึ 2. ผลการวิจัยสามารถนาไปประยุกต์ในการเรียนการสอนระดบั ชัน้ อนื่ ได้

4 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง การพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอื่ ง สารพนั ธกุ รรม โดยการจัดการเรยี นรู้แบบสบื เสาะวทิ ยาศาสตร์ ของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวดั เชียงใหม่ผู้วจิ ัยได้ ศกึ ษาเอกสารและขอ้ มลู ทเี่ กี่ยวขอ้ งดงั น้ี 1. การจดั สาระการเรียนร้กู ล่มุ วิทยาศาสตร์หลกั สูตรการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 2. มาตรฐานการเรียนรู้การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3. แนวทางการจัดการเรยี นรู้ 4. ความหมายของผลสัมฤทธิ์ 5. งานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง 1. การจัดสาระการเรยี นรกู้ ลุ่มวิทยาศาสตรห์ ลักสูตรการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 วิสยั ทัศนก์ ารเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ตามมาตรฐานหลักสูตรการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2544 กาหนด ไว้ดังน้ี การเรยี นรู้วิทยาศาสตรเ์ ปน็ การพัฒนาผู้เรยี นใหไ้ ดร้ ับทั้งความรู้ กระบวนการและเจตคติ ผู้เรียนทุกคน ควรได้รับการกระตุ้นสง่ เสริมให้สนใจและกระตือรือร้นที่จะเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีความสงสัย เกิดคาถามในส่ิง ต่างๆ ท่ีเกี่ยวกับโลกธรรมชาติรอบตัว มีความมุ่งม่ันและมีความสุข ท่ีจะศึกษาค้นคว้า สืบเสาะหาความรู้เพื่อ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ผล นาไปสู่คาตอบของคาถาม สามารถตัดสินใจด้วยการใช้ข้อมูลอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารคาถาม คาตอบ ข้อมลู และสงิ่ ท่ี ค้นพบจากการเรียนรู้ใหผ้ ูอ้ นื่ เข้าใจได้ การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรเ์ ป็นการเรยี นรูต้ ลอดชวี ติ เนื่องจากความรวู้ ทิ ยาศาสตร์เปน็ เรื่องราว ที่เก่ียวกับ โลกธรรมชาติ(natural world)ซงึ่ มกี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา ทกุ คนจงึ ต้องเรียนรเู้ พ่ือนา ผลการเรียนรู้ไปใช้ ในชีวิตและการประกวดอาชีพ เมื่อผเู้ รยี นได้เรียนวิทยาศาสตร์โดยได้รับการ กระตุ้นให้เกิดการตื่นเต้นท้าทาย กบั การเผชญิ กับสถานการณห์ รอื ปัญหา มกี ารรว่ มคิด ลงมือปฏิบัติ จริง ก็จะเข้าใจและเห็นความเช่ือมโยงของ วิทยาศาสตร์กับวิชาอื่นและชีวิต ทาให้สามารถอธิบาย ทานาย คาดการณส์ ิ่งตา่ งๆ ได้อย่างมีเหตุผลการประสบ ความสาเร็จในการเรียนวิทยาศาสตร์จะเป็น แรงกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความสนใจ มุ่งมั่นท่ีจะสังเกต สารวจ ตรวจสอบ สบื คน้ ความร้ทู ีม่ ีคุณค่า เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งไม่หยุดย้ัง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงต้องสอดคล้อง กบั สภาพจรงิ ในชวี ิต การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์พื้นฐาน เป็นการเรียนรู้เพอื่ ความเขา้ ใจ ซาบซงึ้ และเห็นความสาคัญ ของ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ซงึ่ จะสง่ ผลให้ผูเ้ รียนสามารถเชือ่ มโยงองคค์ วามร้หู ลายๆดา้ น เป็น ความรแู้ บบองค์ รวม อนั จะนาไปสร้างสรรคส์ ิง่ ตา่ งๆ และพัฒนาคณุ ภาพชีวติ มคี วามสามารถใน การจดั การ และร่วมกันดแู ล รกั ษาโลกธรรมชาติอยา่ งยงั่ ยืน เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติ โดยมนุษย์ใช้กระบวนการสังเกต สารวจ ตรวจสอบ และการทดลองเกี่ยวกับปรากฏการณ์ตามธรรมชาติและนาผลมาจัดระบบ หลักการแนวคิดและ ทฤษฎี ดงั นัน้ การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์จงึ ม่งุ เนน้ ให้ผ้เู รยี น ไดเ้ ปน็ ผู้เรียนร้แู ละคน้ พบด้วยตนเองมากท่ีสุด น่ันคือใหไ้ ด้ทง้ั กระบวนการและองคค์ วามรู้ ตงั้ แต่วยั เริม่ แรกกอ่ นเข้าเรียน เม่ืออยใู่ นสถานศึกษา และเมื่อออก จากสถานศกึ ษาไปประกอบอาชพี แล้ว

5 การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรใ์ นสถานศึกษามีเปา้ หมายสาคญั ดังน้ี 1. เพือ่ ใหเ้ ข้าใจหลักการ ทฤษฎีทเ่ี ปน็ พื้นฐานวิทยาศาสตร์ 2. เพอื่ ใหเ้ ขา้ ใจขอบเขต ธรรมชาติ และข้อจากดั ของวทิ ยาศาสตร์ 3. เพอ่ื ให้มที ักษะทส่ี าคญั ในการศึกษาคน้ ควา้ และคิดค้นทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 4. เพ่ือพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการ จัดการ ทักษะใน การสอ่ื สาร และความสามารถในการจดั การ 5. เพื่อใหต้ ระหนักถึงความสัมพันธร์ ะหวา่ งวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ สภาพแวดล้อมในเชิง ท่ีมอี ทิ ธพิ ลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน 6. เพื่อนาความรู้ความเข้าใจในเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ สังคมและการ ดารงชวี ติ 7. เพื่อให้เป็นคนมีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมในการใช้ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ สาระการเรียนร้ทู ่ีกาหนดไว้น้ีเป็นสาระหลกั ของวทิ ยาศาสตร์พ้นื ฐาน ทีน่ ักเรยี นทกุ คนต้อง เรียนรู้ ประกอบด้วยส่วนทเ่ี ป็นเนือ้ หา แนวความคิดหลกั วิทยาศาสตร์ และกระบวนการ สาระท่เี ป็นองค์ความรขู้ องกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย 8 สาระหลักดังน้ี สาระท่ี 1: สิ่งมีชีวติ กับกระบวนการดารงชีวิต สาระที่ 2: ชวี ติ กับสง่ิ แวดลอ้ ม สาระที่ 3: สารและสมบัตขิ องสาร สาระที่ 4: แรงและการเคล่ือนท่ี สาระท่ี 5: พลงั งาน สาระที่ 6: กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก สาระที่ 7: ดาราศาสตร์และอวกาศ สาระท่ี 8: ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. มาตรฐานการเรียนรูก้ ารศึกษาขน้ั พ้ืนฐานสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ เป็นข้อกาหนดคุณภาพของผู้เรียน ด้านความรู้ ความคิดทกั ษะกระบวนการเรยี นรู้ คุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยม ซ่งึ เปน็ จุดมุ่งหมายท่ีจะพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณสมบัติอันพงึ ประสงคป์ ระกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน สาหรับนักเรยี นทกุ คนเมื่อจบ การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และมาตรฐานการเรียนรู้ ช่วงชั้น สาหรับนักเรียนทุกคนเมื่อจบการศกึ ษาในแต่ละชว่ งชนั้ มาตรฐานการเรียนรกู้ ารศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานของกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ มดี ังนี้ สาระท่ี 1: สง่ิ มีชวี ติ กบั กระบวนการดารงชีวิต มาตรฐานว 1.1: เขา้ ใจหน่วยพื้นฐานของสงิ่ มชี วี ติ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ ของระบบ ตา่ งๆ ของสงิ่ มีชวี ิตทีท่ างานสัมพันธ์กนั มกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารส่ิงท่ี เรียนรู้ และนาความรู้ไป ใชใ้ นการดารงชีวติ ของตนเองและดูแลสิง่ มชี วี ิต

6 มาตรฐานว 1.2: เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้เทคโนโลยีชีวภาพท่ีมีผล ต่อมนุษย์และ ส่ิงแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 2: ชวี ติ กับส่งิ แวดล้อม มาตรฐานว 2.1: เข้าใจสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมกับ ส่ิงมีชีวิต ความสมั พันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมต่างๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สอ่ื สารส่ิงทเ่ี รยี นรู้และนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ มาตรฐานว 2.2: เข้าใจความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ระดับ ท้องถิ่น ประเทศและโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารส่ิงท่ี เรียนรู้และนา ความรู้ไปใช้ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมในทอ้ งถน่ิ อยา่ งยัง่ ยนื สาระที่ 3: สารและสมบตั ขิ องสาร มาตรฐานว 3.1: เขา้ ใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหวา่ งสมบตั ขิ องสารกบั โครงสรา้ ง และแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาค มีกระบวนการสบื เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ ส่ือสารสิ่ง ท่เี รียนรูแ้ ละนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐานว3.2: เขา้ ใจหลักการและธรรมชาตขิ องการเปลยี่ นสถานะของสาร การเกดิ สารละลาย การเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี มกี ระบวนการสืบเสาะหาความร้แู ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่ เรยี นรแู้ ละนาความรไู้ ป ใชป้ ระโยชน์ สาระที่ 4: แรงและการเคลือ่ นที่ มาตรฐานว 4.1: เข้าใจธรรมชาติของแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า แรงโนม้ ถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มี กระบวนการ สบื เสาะหาความรู้ สื่อสารส่ิงทเ่ี รยี นรแู้ ละนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์อยา่ งถกู ต้องและมี คณุ ธรรม มาตรฐานว 4.2: เขา้ ใจการเคลอ่ื นท่แี บบต่างๆ ของวตั ถใุ นธรรมชาติ มกี ระบวนการสืบ เสาะหา ความรู้และจิตวทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารส่งิ ท่ีเรยี นร้แู ละนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ สาระท่ี 5: พลังงาน มาตรฐานว5.1: เข้าใจความสมั พันธร์ ะหว่างพลงั งานกบั การดารงชีวิต การเปล่ยี นรูป พลงั งาน ปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสารและพลังงาน ผลของการใช้พลงั งานต่อชีวติ และสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสบื เสาะหา ความรู้ สือ่ สารสง่ิ ทเ่ี รยี นร้แู ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี 6: กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานว6.1: เขา้ ใจกระบวนการตา่ งๆ ท่เี กดิ ขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของ กระบวนการตา่ งๆ ท่มี ผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมปิ ระเทศ และสัณฐาน ของโลก มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรแู้ ละจิตวทิ ยาศาสตร์ สือ่ สารส่งิ ท่ีเรียนรู้ และนาความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ สาระท่ี7: ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐานว7.1: เขา้ ใจววิ ัฒนาการของระบบสรุ ยิ ะและกาแล็กซี ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบ สรุ ยิ ะและ ผลต่อสิง่ มชี วี ิตบนโลก มกี ระบวนการสบื เสาะหาความร้แู ละจติ วทิ ยาศาสตร์ สอ่ื สารสงิ่ ท่ี เรียนรูแ้ ละนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐานว7.2: เขา้ ใจความสาคัญของเทคโนโลยีอวกาศทน่ี ามาใช้ในการสารวจอวกาศและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ด้านการเกษตรและการสือ่ สารมกี ระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจติ วิทยา ศาสตร์ สือ่ สารสง่ิ ที่เรยี นร้แู ละนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์อย่างมีคุณธรรมตอ่ ชวี ิตและสง่ิ แวดลอ้ ม สาระท่ี8: ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

7 มาตรฐานว8.1: ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหา ความรู้ การ แก้ปัญหา รวู้ ่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทเี่ กดิ ข้ึนสว่ นใหญม่ ีรูปแบบทีแ่ นน่ อน สามารถอธิบายและตรวจสอบ ได้ ภายใตข้ อ้ มูลและเคร่ืองมือท่ีมีอยใู่ นช่วงเวลานน้ั ๆ เขา้ ใจว่า วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม มีความเกีย่ วข้องสัมพันธก์ นั ( กรมวชิ าการ,2544, หนา้ 2 - 6 ) 3. แนวทางการจดั การเรยี นรู้ สานกั คณะกรรมการการประถมศึกษาแหง่ ชาติ ( 2541 ,หนา้ 5 ) ได้กล่าวถึงประเดน็ ต่าง ๆ ในการ สอนวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ ครคู วรคานึงถงึ ไวด้ ังน้ี 1. จุดเนน้ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษาท่คี วร พิจารณา คอื 1.1 เนน้ ทเี่ ดก็ เป็นศนู ย์กลางของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กล่าวคือ ผู้เรียนเป็นผู้ลง มอื ทากจิ กรรม ซึ่งนาไปสกู่ ระบวนการเรียนรโู้ ดยมคี รูเปน็ ผู้แนะนา 1.2 กิจกรรมการเรียนการสอนทุกกิจกรรม ควรมีเป้าหมายหลักเพ่ือให้ผู้เรียน พัฒนาการคิด อยา่ งมรี ะบบใหส้ ามารถตัดสินใจโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1.3 แต่ละกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ไม่มุ่งเน้นด้านเน้ือหาความรู้ ทาง วิทยาศาสตร์เพียงอย่างเดียว แค่ควรมุ่งให้มีการผสมผสานความรู้ความคิดในด้านอื่น ๆ เช่น ความ รบั ผิดชอบต่อสงั คม ตอ่ มวลมนุษยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มใหม้ ากที่สุด 1.4 วัสดกุ ารสอนวิทยาศาสตร์สาหรับชั้นประถมศึกษา ควรมุ่งเน้นข้อมูลทาง วิทยาศาสตร์ท่ี เกย่ี วขอ้ งหรือทม่ี อี ยใู่ นสิ่งแวดลอ้ มของนกั เรยี นหรือทเี่ กี่ยวข้องกับชวี ิตของนักเรียน เป็นหลกั สาคญั 1.5 ควรพยายามดัดแปลงกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้ตั้งอยู่บนมาตรฐานของการ ประหยัด และอัตภาพของโรงเรียน วสั ดุอุปกรณร์ าคาถูก หรือผลติ ไดจ้ ากวัสดใุ นทอ้ งถิ่น 2. การปฏิบัติการในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ถือเป็นหัวใจสาคัญของการเรียนการ สอน วิทยาศาสตร์เพราะวิทยาศาสตร์เน้นเร่ืองของการปฏิบัติการ ในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ครูควรจัด กจิ กรรมใหน้ ักเรยี นมีโอกาสได้ทาการปฏิบัตกิ าร ซงึ่ อาจเปน็ การทดลองเพื่อเก็บรวบรวม ข้อมูล นามาสรุปเป็น ความร้คู วามเขา้ ใจ และแนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตร์ไมค่ วรทาการทดลองเพื่อ พสิ จู น์ คาบอกเล่า 3. การใชค้ วามรเู้ พ่ือออกแบบหรือสรา้ งเทคโนโลยี ครูควรฝึกให้นักเรียนสามารถนา ความรู้ที่เรียนมา ออกแบบสิ่งของง่าย ๆ เพ่ือตอบสนองความพอใจ หรือเพื่อใช้งาน ท้ังน้ีในการฝึก การออกแบบหรือสร้าง เทคโนโลยจี ะต้องให้มคี วามง่ายเหมาะสมกบั ระดบั ความร้แู ละพฒั นาการ ของเด็ก 4. การพัฒนาเจตคตแิ ละการสรา้ งบคุ ลิก จุดประสงคส์ าคญั ประการหนึ่งของการสอน วิทยาศาสตร์ทุก ระดบั ชนั้ คือ การมงุ่ ใหผ้ เู้ รยี นได้พัฒนาเจตคตทิ ด่ี ีต่อวิทยาศาสตร์และเจตคตทิ าง วทิ ยาศาสตร์ 4. ความหมายของผลสมั ฤทธิ์ - 5. งานวจิ ยั ท่ีเกยี่ วขอ้ ง งานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ภาวนีย์ อุนนาทรวรางกูร (2542) ไดท้ าการศึกษาเจตคติ ความต้องการและปัญหาในการ ใช้ ส่ือการเรียนการสอน ของครูผู้สอนนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ในจังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า ครูผสู้ อนทีส่ อนในระดับต่างกัน มีเจตคติต่อการใช้สื่อการเรียนการสอนแตกต่างกันอย่างมีนัย สาคัญ

8 ทางสถิติท่ีระดับ .05 แต่ ครูผู้สอนท่ีมีประสบการณ์การสอนต่างกัน มีเจตคติต่อการใช้สื่อการ เรียน การสอนแตกต่างกนั อยา่ งไม่มนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 อภินันท์ ไชยศร (2542) ศึกษาเปรียบเทียบเจตคติของผู้บริหาร และครูที่มีต่อเด็กที่มี ความ ต้องการพเิ ศษ ในโรงเรียนโครงการเรียนร่วม สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัด นครราชสีมา พบว่า เจตคติของผู้บริหาร ครูผู้สอนเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ และครูที่ไม่ได้สอน เด็กที่มีความ ต้องการพิเศษ มีเจตคติต่อเด็กท่ีมีความต้องการพิเศษในทางบวกทุกด้าน และมีเจตคติ อยู่ในระดับ มากทุกด้าน การเปรียบเทียบเจตคติ ในด้านตาแหน่งหน้าที่ ระหว่างบริหาร ครูผู้สอน เด็กท่ีมีความ ต้องการพิเศษ และ ครูท่ีมีวุฒิทางการศึกษาพิเศษและไม่มีวุฒิทางการศึกษาพิเศษ และ ในด้าน ประสบการณ์ทเี่ ข้าร่วมโครงการเรยี นร่วม ระหวา่ งครทู ี่มปี ระสบการณ์เขา้ รว่ มโครงการ เรียนร่วมน้อย กว่า 5 ปี และมากกวา่ 5 ปี ทง้ั 3 ด้าน มีเจตคตแิ ตกตา่ งกันอยา่ งไมม่ ีนยั สาคัญทาง สถติ ทิ ร่ี ะดับ 0.05 วันชัย มกี ลาง (2530) ศกึ ษาความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติ ความรู้ความเข้าใจการปฏิบัติและ การไดร้ ับการถ่ายทอดทางพทุ ธศาสนาของนสิ ิตระดับอุดมศึกษาในมหาวิทยาลัยในกรงุ เทพ พบว่า เจตคติ ความรคู้ วามเขา้ ใจการปฎิบัตติ ามและการได้รับการถ่ายทอดทางพุทธศาสนา จากบิดามารดา มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นความรู้ความเข้าใจกับการ ไดร้ บั การ ถา่ ยทอดทางพทุ ธศาสนาจากบิดามารดา ท่ไี มม่ คี วามสัมพันธก์ นั โชติกา ศรถี าวร ไดศ้ ึกษาผลของการใชก้ ารสอนแบบมุง่ ประสบการณภ์ าษาท่ีมีต่อเจตคติ และ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนชุมชน ชวน วิทยา จังหวัดชัยภูมิ พบว่านักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 ท่ีได้รับการสอนแบบ มุ่งประสบการณ์ภาษา มีเจตคติต่อการเรียนภาษาอังกฤษสูงกว่านักเรียนที่เรียนโดยการสอนปกติ โดยนักเรียนท่ีได้รับการ สอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษามเี จตคติด้านความกระตอื รือร้น ความสนใจ ในการเรียน ด้านการเห็น ประโยชน์และคุณค่าของการเรียนภาษาอังกฤษ ด้านการแสวงหาความรู้ เพิ่มเติม และด้านกิจกรรม การเรียนการสอนสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการสอนตามคู่มือครูอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านความรู้ความสามารถในการใช้ภาษา นักเรียนท่ีได้รับการ สอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา มเี จตคติด้านนสี้ งู กว่านกั เรยี นท่ไี ด้รับการสอนตามคมู่ อื ครูอย่างไมม่ ี นยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05

9 บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวจิ ัย การวจิ ัยน้ีเป็นการวจิ ยั ในชั้นเรยี น มีวตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น เรื่อง สาร พนั ธกุ รรม โดยการจัดการเรยี นรู้แบบสบื เสาะ(5E) วทิ ยาศาสตรข์ องนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรยี นราช ประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ นกั เรยี นระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 และเพื่อเป็นแนวทางในการแกป้ ญั หาและพัฒนาพฤตกิ รรมของ ผ้เู รยี นใหด้ ีข้ึน วธิ ดี าเนินการวิจัยมขี ้ันตอนดงั น้ี 1. การกาหนดประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เครือ่ งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัย 3. การสร้างและหาคณุ ภาพเครือ่ งมอื 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 5. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิจยั การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชากรทใี่ ช้ในการวิจัยครัง้ นี้ คือนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวดั เชยี งใหม่ จานวน 21 คนและกลมุ่ ตัวอย่างประชากรในการศึกษาคร้ังนค้ี ือ นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4(A) จานวน 21 คน ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 เครอื่ งมือที่ใช้ในการวิจยั แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน วิชาชีววิทยา2 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 1. ครผู ู้สอนได้สร้างแบบทดสอบ วชิ าชวี วทิ ยา2 จานวน 10 ข้อ จากนั้นนาไปให้นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4(A) ของ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชยี งใหม่ จานวน 29 คน ทดสอบ 2. รวมรวบแบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน วิชาชีววิทยา2 วิชาชีววิทยา2 ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4(A) จานวน 29 คน เพือ่ นามาคานวณหาคา่ เฉลีย่ 3. นาคะแนนทีไ่ ด้จากการตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน วิชาชวี วิทยา2 มาวเิ คราะหผ์ ลและแปลผล การวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิติท่ีใชใ้ นการวิจัย 1. หาคา่ เฉลีย่ ( X ) ของแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น วชิ าชีววทิ ยา2

10 บทท่ี 4 ผลการวิจัย การนาเสนอผลการวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง สารพันธุกรรม โดยการจัดการ เรียนรแู้ บบสืบเสาะ(5E) ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4(A) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่ แจ่ม จังหวัด เชียงใหม่ จานวน 29 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 นาเสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มลู ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้ใหข้ ้อมลู ตอนที่ 2 ขอ้ มลู แสดงจานวนค่าเฉล่ียของแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรยี น วิชาชีววิทยา2 ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของผู้ใหข้ อ้ มูล ตารางที่ 1 ตารางแสดงขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ใหข้ อ้ มูล ข้อมูลท่วั ไป จานวน (คน) 1.ระดับการศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4/1 สาย A 29 รวม 29 2.เพศ เพศชาย 1 เพศหญิง 28 รวม 29 จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียนท่ีทาแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น วิชาชีววิทยา2 เป็นนักเรียนหญิงมากกวา่ นกั เรยี นชาย โดยเป็นนกั เรยี นหญิง จานวน 28 คน และนกั เรียนชายจานวน 1 คน ท้งั น้ีการทาแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น-หลงั เรียน วชิ าชวี วิทยา2 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ในระดบั การศึกษาของเป็นนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/1

11 ตอนท่ี 2 ข้อมลู แสดงจานวนค่าเฉลี่ยของแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน วชิ าชีววิทยา2 ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงขอ้ มลู แสดงจานวนคา่ เฉลยี่ ของแบบทดสอบก่อนเรยี น วิชาชวี วทิ ยา2 ท่ี ช่ือ – นามสกุล คะแนนก่อนเรยี น X 1 นายโบอี้ ปทุมวรนาถ 4 2 นางสาวกมลพรรณ สทิ ธค์ิ งชู 3 0.4 3 นางสาวกลุ นิภา ศักดค์ิ งชยั กุล 6 0.3 4 นางสาวจุฑามาศ อภริ กั ษไ์ พรสณฑ์ 5 0.6 5 นางสาวฉนั ทิดา วอ่ งไว 4 0.5 6 นางสาวชนะวรรณ เรืองกจิ ขยัน 4 0.4 7 นางสาวชนาภา วิระยะสามารถ 3 0.4 8 นางสาวชตุ มิ า สิริจรญู 3 0.3 9 นางสาวฐติ ภิ า เกษมเลิศตระกลู 3 0.3 10 นางสาวณฐั ณิชา เจริญผล 6 0.3 11 นางสาวณิชา สิรภิ ัทรประทปี 5 0.6 12 นางสาวบัวเฮน็ บารุงชนนี 5 0.5 13 นางสาวเบ็ญญญาภา นันทวเิ ชยี รชม 4 0.5 14 นางสาวภคั จรี า บรรจงวรฉัตร 4 0.4 15 นางสาวมยุรนิ ธนบรู ณพ์ งศ์ 4 0.4 16 นางสาวยุวดี เกษมเลศิ ตระกลู 3 0.4 17 นางสาวรักทิพย์ สิริสุนทรกุล 5 0.3 18 นางสาวลลิตา โชคสุขทรพั ย์สนิ 3 0.5 19 นางสาววรดา ฐานวิริยะพารี 4 0.3 20 นางสาววรรษชล เจตนาโภคกุล 4 0.4 21 นางสาววนั เพ็ญ ชยุติกุลพันธ์ 4 0.4 22 นางสาววารุณี ชวสทิ ธ์ิมงคล 3 0.4 23 นางสาววมิ ลศิริ สุนทรไพรวลั ย์ 3 0.3 24 นางสาววิไลพร จิระพงศเ์ รืองกลุ 4 0.3 25 นางสาวศศิธร โฆษติ มุธากร 4 0.4 26 นางสาวสุวารี ชตุ ิวัฒนธ์ ารสุข 4 0.4 27 นางสาวอรณิช จารุพงศน์ ิธกิ ุล 5 0.4 0.5

12 ท่ี ชอ่ื – นามสกลุ คะแนนก่อนเรยี น X 28 นางสาวอรวี ธนังลาภอดุ ม 5 29 นางสาวอจั ฉรา สถริ ภูวดล 4 0.5 0.4 จากตารางท่ี 2 พบวา่ นักเรยี นที่มีคะแนน รายวชิ าชวี วทิ ยา 2 โดยภาพรวมคะแนนอยู่ในระดับ 3 – 6 คา่ เฉลี่ย 0.3-0.6 ตามลาดบั

13 ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงขอ้ มูลแสดงจานวนคา่ เฉลย่ี ของแบบทดสอบหลงั เรียน วิชาชีววิทยา2 ท่ี ชื่อ – นามสกุล คะแนนก่อนเรยี น X 1 นายโบอ้ี ปทุมวรนาถ 8 0.8 2 นางสาวกมลพรรณ สทิ ธิ์คงชู 8 0.8 3 นางสาวกุลนภิ า ศักดค์ิ งชยั กลุ 9 0.9 4 นางสาวจฑุ ามาศ อภิรกั ษ์ไพรสณฑ์ 8 0.8 5 นางสาวฉันทิดา วอ่ งไว 8 0.8 6 นางสาวชนะวรรณ เรอื งกิจขยนั 8 0.8 7 นางสาวชนาภา วริ ะยะสามารถ 7 0.7 8 นางสาวชตุ ิมา สริ จิ รญู 8 0.8 9 นางสาวฐิติภา เกษมเลศิ ตระกูล 8 0.8 10 นางสาวณฐั ณิชา เจริญผล 9 0.9 11 นางสาวณิชา สิรภิ ัทรประทีป 8 0.8 12 นางสาวบวั เฮน็ บารุงชนนี 9 0.9 13 นางสาวเบ็ญญญาภา นันทวิเชียรชม 9 0.9 14 นางสาวภัคจีรา บรรจงวรฉตั ร 8 0.8 15 นางสาวมยรุ ิน ธนบูรณ์พงศ์ 7 0.7 16 นางสาวยวุ ดี เกษมเลศิ ตระกูล 7 0.7 17 นางสาวรักทพิ ย์ สิริสุนทรกุล 9 0.9 18 นางสาวลลติ า โชคสุขทรพั ยส์ ิน 7 0.7 19 นางสาววรดา ฐานวริ ยิ ะพารี 8 0.8 20 นางสาววรรษชล เจตนาโภคกุล 8 0.8 21 นางสาววันเพญ็ ชยตุ กิ ุลพันธ์ 8 0.8 22 นางสาววารุณี ชวสิทธิ์มงคล 9 0.9 23 นางสาววมิ ลศิริ สุนทรไพรวลั ย์ 8 0.8 24 นางสาววไิ ลพร จริ ะพงศเ์ รืองกุล 8 0.8 25 นางสาวศศธิ ร โฆษิตมุธากร 8 0.8 26 นางสาวสุวารี ชตุ วิ ัฒนธ์ ารสุข 9 0.8 27 นางสาวอรณชิ จารพุ งศ์นิธกิ ลุ 9 0.8

14 ท่ี ชอื่ – นามสกุล คะแนนกอ่ นเรยี น X 28 นางสาวอรวี ธนังลาภอุดม 8 29 นางสาวอจั ฉรา สถริ ภวู ดล 8 0.8 0.8 จากตารางที่ 2 พบวา่ นกั เรียนท่ีมีคะแนน รายวิชาชีววิทยา 2 โดยภาพรวมคะแนนอยู่ในระดับ 7 – 9 ค่าเฉลย่ี 0.7-0.9 ตามลาดบั การทาแบบทดสอบคะแนนและค่าเฉลีย่ หลังเรียน เพิ่มขึ้นจากการทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน

15 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผลการวิเคราะห์ การวิเคราะหข์ อ้ มลู การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน – หลังเรียนของนกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 ภาคเรี ยน ที่ 2 ปีก าร ศึก ษา 2563 โ ร ง เรี ยน ร าชประ ชานุเคร าะ ห์ 31 อาเภอ แม่แจ่ม จงั หวัดเชียงใหม่ จานวน 29 คน สรปุ การวเิ คราะห์ ดงั นี้ 1.คะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี น วิชาชวี วิทยา 2 โดยรวม มคี ะแนน 3 - 6 และคา่ เฉลี่ย ( X ) 0.3 – 0.6 2.คะแนนแบบทดสอบหลังเรยี นวชิ าชวี วิทยา 2 โดยรวม มคี ะแนน 7 - 9 และคา่ เฉลย่ี ( X ) 0.7 – 0.9 อภปิ รายผล การพัฒนาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน เรื่อง สารพันธกุ รรม โดยการจัดการเรียนรู้แบบสบื เสาะ(5E) ของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 วิชาชีววิทยา 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จงั หวัด เชยี งใหม่ จานวน 21 คน ระดบั เจตคตขิ องนกั เรียนโดยรวมอยู่ในระดับ เจตคตปิ านกลาง ท่ีเปน็ เช่นน้ีอาจเปน็ เพราะใชก้ ระบวนการสอนทีห่ ลากหลาย เช่นเปดิ โอกาสให้นักเรียนได้ใช้ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตามเจตคติต่อการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ ยงั ไมอ่ ยใู่ นเกณฑท์ ี่ดีอย่างยงิ่ จาเปน็ ต้องมกี ารพฒั นาการเรยี น การสอนตอ่ ไป ขอ้ เสนอแนะเพือ่ แกป้ ัญหา 1. ควรจะปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นท่ีสนใจของนักเรียนเช่น การสอนโดยการแสดง ละคร, การสอนโดยเพื่อนสอนเพ่ือน เปน็ ตน้ 2. ควรจะสร้างนวตั กรรมมาเพอื่ พฒั นาการเรียนการสอน เช่น สร้างหนังสือการ์ตูนประกอบการสอน เพ่ือที่นักเรยี นเรยี นแล้วเกดิ ความสนกุ สนานเพิ่มมากข้นึ

16 ภาคผนวก

17 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 หน่วยการเรยี นรู้ โครโมโซมและสารพันธุกรรม ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1.1 การค้นพบสารพันธุกรรม รหัส – ชื่อรายวิชา ว 31206 ชีววิทยา2(เพ่ิมเติม) สาหรับนักเรียนที่เน้นวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มส า ระ กา ร เ รีย น รู วิ ทย าศา สตร์ ช้ัน มัธ ย มศึก ษาปี ท่ี 4 ภา คเ รี ย น ท่ี 2/2563 เวลา 7 ช่วั โมง ผู้สอน ครจู ิรชั ญา ชัยธรี ธรรม โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห์ 31 อ.แม่แจ่ม จ.เชยี งใหม่ 1. ผลการเรียนรู้ 2. อธบิ าย และระบุขน้ั ตอนในกระบวนการ สงั เคราะห์โปรตีนและหน้าทข่ี อง DNA และ RNA แต่ละชนิดใน กระบวนการสังเคราะห์โปรตนี 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายและสรปุ ผลการทดลองของนกั วทิ ยาศาสตรท์ เ่ี กย่ี วกับการคน้ พบสารพันธุกรรมได้ (K) 2. ตรวจสอบสมมุติฐานและผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ที่เก่ยี วกบั การค้นพบสารพันธกุ รรมได้ (P) 3. สนใจใฝ่รใู้ นการศกึ ษา (A) 3. สาระการเรยี นรู้ - DNA เป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ แต่ละนิวคลี- โอไทด์ประกอบด้วยน้าตาล ดีออกซีไรโบส หมู่ ฟอสเฟต และไนโตรจนี ัสเบส คือ A T C และ G - โมเลกุลของ DNA เป็นพอลินิวคลโี อไทด์ 2 สาย เรยี งสลบั ทิศและบดิ เป็นเกลียวเวยี นขวา โดยการเขา้ คกู่ ัน ของสาย DNA เกิดจากการจับคขู่ องเบสคสู่ ม คือ A คู่กบั T และ C คู่กบั G 4. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด DNA พันรอบกล่มุ ฮสิ โทน 8 โมเลกลุ ได้เป็นนิวคลีโอโซม และนิวคลีโอโซมม้วนพันกันเป็นโครมา ทนิ โครมาทนิ มกี ารชดตวั ทาใหห้ นาขน้ึ และส้นั ลงมองเหน็ เป็นโครโมโซม สารพันธุกรรมสามารถเพ่ิมจานวนได้และมีลักษณะเหมือนเดิมโดยการจาลอง DNA สามารถควบคุมให้ เซลลส์ ังเคราะหส์ ารต่างๆ โดยการสงั เคราะหโ์ ปรตีน และสารพันธุกรรมอาจมีการเปล่ียนแปลงได้บ้างหากเกิด มิวเทชัน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. ความมวี ินยั 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มน่ั ในการทางาน

20 6. กิจกรรมการเรยี นรู้ แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธกี ารสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es) ชั่วโมงท่ี 1-3 ขนั้ นา ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครแู จ้งผลการเรียนรูป้ ระจาหน่วยการเรยี นรู้ใหน้ กั เรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 3. ครูถามคาถาม Big Question เพ่ือกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า เพราะเหตุใด DNA จึงมี บทบาทสาคัญตอ่ การถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมชี วี ติ (แนวตอบ DNA เป็นสารพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต ซ่ึงทาหน้าท่ีกาหนดลักษณะทางพันธุกรรมของ สง่ิ มชี วี ติ และยังสามารถถา่ ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรมจากรุ่นพอ่ แมส่ รู่ ่นุ ลกุ ได)้ ข้นั สอน ขน้ั สารวจคน้ หา (Explore) 1. ครถู ามคาถาม Prior Knowledge เพ่ือทบทวนความรู้เดมิ วา่ สารพันธุกรรมของมนุษย์ คอื อะไร (แนวตอบ สารพันธกุ รรมของมนษุ ย์ คอื ดเี อ็นเอ) 2. ครูอธบิ ายให้นกั เรยี นฟงั วา่ สารพันธุกรรมเป็นแหล่งข้อมูลท้ังหมดสาหรับโครงสร้างและการทางาน ของกระบวนการต่าง ๆ ของสิง่ มีชีวิต แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่ ดเี อน็ เอ และอาร์เอน็ เอ 3. ครูให้นักเรียนศึกษา การทดลองของนักวิทยาศาสตร์เก่ียวกับการค้นพบสารพันธุกรรมของมิเชอร์ ฟอยล์เกน และกรฟิ ฟิท 4. ครูถามนกั เรียนวา่ เพราะเหตุใด เม่อื ฉีดแบคทีเรียทผ่ี สมระหว่างสายพันธ์ุ S ท่ีตายแล้วกับแบคทีเรีย สายพนั ธ์ุ R จึงมีผลทาใหห้ นตู าย (แนวตอบ มีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธ์ุ S เข้าไปยังแบคทีเรียสายพันธุ์ R และสามารถ เปลย่ี นแบคทีเรียสายพันธ์ุ R ให้กลายป็นสายพนั ธุ์ S ได้ จงึ มผี ลทาใหห้ นตู าย) ข้ันอธิบายความรู้ (Explain) 1. ครูสมุ่ เลอื กนกั เรยี นออกมาสรปุ ผลการทดลองของมเิ ชอร์ ฟอยลเ์ กน และกริฟฟทิ 2. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายเกีย่ วกับการทดลองของมเิ ชอร์ ฟอยล์เกน และกริฟฟิท

21 ชัว่ โมงท่ี 4-7 ขัน้ สอน ขั้นสารวจค้นหา (Explore) 1. ครูทบทวนความร้จู ากช่วั โมงทแ่ี ล้วให้นักเรียนทราบพอสงั เขป 2. ครูอธิบายให้นักเรียนฟังว่า จากผลการทดลองของกริฟฟิท ได้มีนักวิทยาศาสตร์ทาการทดลองต่อ จากการทดลองของกริฟฟิท คอื แอเวอรี และคณะ 3. ครูให้นักเรียนศึกษาการทดลองของแอเวอรี่ และคณะ ท่ีนาแบคทีเรียที่ผสมระหว่างสายพันธ์ุ S ท่ี ตายแลว้ กับแบคทเี รยี สายพนั ธุ์ R แล้วเติมเอนไซม์ RNase โปรตีเอส และ DNase ในแต่ละชุดการ ทดลอง 4. ครถู ามนกั เรยี นวา่ สารอะไรท่สี ามารถเปล่ียนแบคทีเรียสายพันธุ์ R ให้กลายป็นสายพันธุ์ S ได้ เพราะเหตุ ใด (แนวตอบ สารท่ีทาให้แบคทีเรียสายพันธุ์ R ให้กลายป็นสายพันธ์ุ S คือ DNA เน่ืองจากเมื่อทาการ ทดลองใส่เอนไซม์หลายชนิด ได้แก่ RNase โปรตีเอส DNase ลงในส่วนผสมอของแบคทีเรียท่ีผสม ระหว่างสายพันธ์ุ S ที่ตายแล้วกับแบคทีเรียสายพันธ์ุ R มีเพียงหลอดท่ีใส่ DNase เท่านั้น ท่ีไม่เกิด การเปล่ียนแปลงของแบคทีเรีย แสดงให้เห็นว่า DNase ย่อย DNA จึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงของ แบคทเี รีย) 5. ครอู ธิบายใหน้ ักเรียนวา่ DNA เปน็ สารพันธกุ รรมของส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่ ทั้งแบคทีเรีย พืช สัตว์ และ มนุษย์ ส่วน RNA เป็นสารพันธุกรรมของของไวรัส เช่น ไวรัสที่เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ ซาร์ส ไข้หวัดนก ขน้ั อธบิ ายความรู้ (Explain) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการค้นพบสารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตจากการทดลองของ แอเวอรี และคณะ 2. ครใู หน้ กั เรยี นทาใบงานท่ี 5.1 เร่ือง การค้นพบสารพนั ธกุ รรม 3. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝึกหัดในแบบฝกึ หัดชวี วทิ ยา ม.4 เล่ม 2 ขน้ั สรุป ขนั้ ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 1. ครใู หน้ กั เรียนผังสรุป เร่อื ง การค้นพบสารพันธกุ รรม จากการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ท่านต่าง ๆ ขน้ั ตรวจสอบผล (Evaluate) 1. ครูตรวจสอบผลจากแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 2. ครตู รวจสอบผลจากรายงาน เรือ่ ง โครโมโซม 3. ครตู รวจสอบผลจากใบงานท่ี เรอ่ื ง การคน้ พบสารพันธุกรรม 4. ครตู รวจสอบผลจากการตอบคาถามในแบบฝกึ หัดชีววทิ ยา ม.4 เล่ม 2

22 7. การวัดและประเมินผล วธิ ีวดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน รายการวดั 7.1 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ - รายงาน เรือ่ ง การค้นพบ - แบบประเมนิ ช้ินงาน - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) สารพันธกุ รรม ผา่ นเกณฑ์ 7.2 ประเมนิ ก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ น - ตรวจแบบทดสอบกอ่ น - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ประเมินตามสภาพ เรียน เรยี น จรงิ 7.3 ประเมินระหวา่ ง - ตรวจใบงาน - ใบงาน - ร้อยละ 60 ผ่าน การจัดกจิ กรรม เกณฑ์ การเรียนรู้ 1) การคน้ พบสาร พนั ธุกรรม 2) พฤติกรรมการ - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม - ระดบั คุณภาพ 2 ทางานรายบคุ คล การทางานรายบคุ คล การทางานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์ 3) คุณลักษณะ - สงั เกตความมวี นิ ัย - แบบประเมิน - ระดบั คณุ ภาพ 2 คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์ อนั พึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมน่ั อนั พึงประสงค์ ในการทางาน 8. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนชีววทิ ยา ม.4 เล่ม 2 2) แบบฝกึ หดั ชวี วทิ ยา ม.4 เลม่ 2 3) ใบงาน เร่อื ง การคน้ พบสารพันธกุ รรม 4) PowerPoint เร่ือง ยนี และโครโมโซม 8.2 แหล่งการเรียนรู้ 1) หอ้ งเรยี น 2) หอ้ งสมุด 3) ส่ือออนไลน์

23 9. ขอ้ เสนอแนะ  ใช้สอนได้  ควรปรบั ปรงุ ………………………………………………………………………………..………………………………………. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................. 10. บันทกึ หลงั การจดั การเรยี นรู้ ชนั้ ................ ความเหมาะสมของกิจกรรม  ดี  พอใช้  ปรบั ปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของเนือ้ หา  ดี  พอใช้  ปรับปรงุ ……………………… ความเหมาะสมของเวลา  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… ความเหมาะสมของสื่อ  ดี  พอใช้  ปรับปรุง……………………… อ่นื ๆ……………………………………………………………………………………………………... 11. สรุปผลการประเมนิ ผู้เรียนดา้ นความรู้ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดบั 2 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นรูฯ้ อยู่ในระดับ 4 12. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รียนดา้ นทกั ษะกระบวนการ นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มีผลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดบั 1 นักเรียนจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรียนรฯู้ อยใู่ นระดับ 2 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 3 นักเรียนจานวน…….คน คิดเปน็ รอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นร้ฯู อยูใ่ นระดับ 4 13. สรปุ ผลการประเมนิ ผเู้ รยี นด้านคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ นักเรยี นจานวน…….คน คิดเป็นร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรู้ฯ อยู่ในระดบั 1 นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ………..มผี ลการเรยี นร้ฯู อยู่ในระดับ 2 นกั เรียนจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มีผลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 3 นักเรยี นจานวน…….คน คิดเปน็ ร้อยละ………..มผี ลการเรยี นรูฯ้ อยใู่ นระดับ 4

14. สรุปผลการประเมนิ ผเู้ รยี น 24 นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เป็นร้อยละ……….. มผี ลการเรียนรฯู้ อยู่ในระดับ 1 (ปรับปรงุ ) นกั เรียนจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….. มผี ลการเรยี นรฯู้ อยู่ในระดับ 2 (พอใช้) นกั เรยี นจานวน…….คน คิดเป็นรอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยู่ในระดบั 3 (ด)ี นกั เรียนจานวน…….คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ……….. มผี ลการเรียนรู้ฯ อยใู่ นระดับ 4 (ดีมาก) สรปุ โดยภาพรวมมนี ักเรยี น จานวน………คน คิดเปน็ รอ้ ยละ……….ท่ผี ่านเกณฑร์ ะดับ 2 ขน้ึ ไป ซ่ึงสูง (ต่า) กว่าเกณฑ์ท่กี าหนดไวร้ ้อยละ………มนี ักเรยี นจานวน……คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ…… ท่ีไมผ่ ่านเกณฑท์ ี่กาหนด 15. ขอ้ สงั เกต/ค้นพบ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 16. แนวทางแกไ้ ขปญั หาเพื่อปรบั ปรุง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 17. ผลการพัฒนา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ................................................ (นางสาวจิรัชญา ชัยธีรธรรม) ผู้สอน ลงช่อื ................................................ (นางกมลชนก เทพบุ) หวั หนา้ สาระวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

25 ใบงาน เรอื่ ง การค้นพบสารพนั ธกุ รรม คาชีแ้ จง : อธิบายการค้นพบสารพันธกุ รรมของนกั วทิ ยาศาสตรต์ อ่ ไปนี้ ข้อ นักวิทยาศาสตร์ การคน้ พบสารพนั ธุกรรม 1. โยฮนั น์ ฟรดี ริช มเิ ชอร์ ........................................................................................................................ ......................................................................................................................... ........................................................................................................................ ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... 2. โรเบริ ์ต ฟอยลแ์ กน ........................................................................................................................ ......................................................................................................................... ........................................................................................................................ ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... 3. เฟรเดอริก กริฟฟิท ........................................................................................................................ ......................................................................................................................... ........................................................................................................................ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................

26 ข้อ นกั วทิ ยาศาสตร์ การคน้ พบสารพันธกุ รรม 4. ออสวอลด์ ที แอเวอรี ........................................................................................................................ และคณะ ......................................................................................................................... ........................................................................................................................ ....................................................................................................................... ....................................................................................................................... .......................................................................................................................

27 ใบงาน เฉลย เรื่อง การคน้ พบสารพันธกุ รรม คาชแ้ี จง : อธิบายการค้นพบสารพนั ธกุ รรมของนกั วทิ ยาศาสตรต์ ่อไปน้ี ข้อ นักวทิ ยาศาสตร์ การคน้ พบสารพันธกุ รรม 1. โยฮนั น์ ฟรีดริช มิเชอร์ ค้นพบ กรดนิวคลีอิกจากสารเคมีที่สกัดมาจากนิวเคลียสของเซลล์เม็ด เลือดขาว ซึ่งไม่สามารถถูกย่อยสลายด้วยเอนไซม์เพปซินได้ มีธาตุ ไนโตรเจนและฟอสฟอรสั เป็นองค์ประกอบ 2. โรเบิรต์ ฟอยลแ์ กน ค้นพบว่า ดีเอ็นเออยู่บนโครโมโซมในนิวเคลียสของเซลล์ส่ิงมีชีวิต 3. เฟรเดอรกิ กริฟฟิท เน่ืองจากการย้อมเซลล์ด้วยสีฟุคซิน ขจะมีเฉพาะบริเวณนิวเคลียสที่มี โครโมโซมรวมตวั กนั อยา่ งหนาแน่นเท่านั้นที่ย้อมตดิ สี ค้นพบว่า มีสารบางอย่างจากแบคทีเรียสายพันธุ์ S ที่ทาให้ตายด้วย ความรอ้ นเข้าไปยงั แบคทเี รยี สายพันธุ์ R และทาให้เกิดการเปล่ียนแปลง จากแบคทเี รียสายพันธ์ุ R เป็นสายพันธ์ุ S แต่กริฟฟิทยังไม่ได้ข้อสรุปว่า สารนั้นคือสารอะไร 4. ออสวอลด์ ที แอเวอรี ค้นพบว่า สารที่ทาให้แบคทีเรียสายพันธ์ุ R เปล่ียนเป็นสายพันธุ์ S คือ และคณะ ดีเอ็นเอ เนื่องจากในหลอดทดลองที่ใส่เอนไซม์ DNase เข้าไป จะไม่มี การเปลีย่ นสายพันธข์ุ องแบคทีเรีย สว่ นหลอดทใี่ ส่ RNase และโปรตีเอส จะมีการเปล่ียนสายพันธ์ุของแบคทีเรีย ทาให้ทราบว่าเปลี่ยนสายพันธุ์ ของแบคทเี รยี คือ DNA

28 แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง สารพันธกุ รรม คาชแี้ จง : ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบทถี่ กู ต้องที่สุดเพยี งข้อเดยี ว 1. สิง่ มีชวี ิตในข้อใดมี RNA เปน็ สารพันธุกรรม 4. มนุษย์ 5. โพรทสิ ต์ 1. พืช 2. สตั ว์ 3. ไวรสั 2. โครโมโซมจะจาลองตวั เองในระยะใดของการแบง่ เซลล์ 1. ระยะโพรเฟส 2. ระยะเมทาเฟส 3. ระยะเทโลเฟส 4. ระยะแอนาเฟส 5. ระยะอนิ เตอรเ์ ฟส 3. ขอ้ ใดกล่าวถกู ตอ้ งเกี่ยวกบั โครโมโซม 1. โครโมโซมของแบคทีเรยี ละอย่ภู ายในนิวเคลยี ส 2. ในระยะอนิ เตอรเ์ ฟสจะสามารถเหน็ โครโมโซมได้ชดั เจนทีส่ ดุ 3. เสน้ ใยโครมาทินเกดิ จากการจัดกันของดเี อน็ เอกับโปรตนี ฮีสโตน 4. จานวนโครโมโซมของสงิ่ มีชวี ิตชนดิ เดยี วกันสามารถเปล่ียนแปลงได้ 5. โครโมโซมของสิ่งมีชีวิตกล่มุ คาริโอตจะมลี ักษณะเปน็ วงแหวนทีป่ ระกอบด้วย DNA 1 โมเลกลุ 4. เบสชนิดใดไมใ่ ช่องค์ประกอบของดเี อน็ เอ 5. ไซโทซนี 1. ไทมีน 2. ยูราซลิ 3. กวานนี 4. อะดีนนี 5. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเกยี่ วกับดเี อน็ เอ 1. DNA 1 เกลียวประกอบดว้ ยคูเ่ บส 10 คู่ 2. โครงสรา้ งเกลยี วคู่ของ DNA หา่ งกัน 20 A 3. อตั ราสว่ นระหว่างเบส A : T และ G : C จะใกล้เคยี งกับ 1 เสมอ 4. เบส G กับเบส C จะสร้างพนั ธะไฮโดรเจนระหว่างกนั 2 พันธะ 5. DNA ประกอบดว้ ยพอลินิวคลีโอไทด์ 2 สายเรียงสลบั ทิศและพันเป็นเกลยี วคู่ เวยี นตามเขม็ นาฬิกา 6. ข้อใดคอื ความแตกต่างของโครงสรา้ งของ DNA กับ RNA 1. จานวนของเบส 2. จานวนหมู่ฟอสเฟต 3. ชนิดของหมูฟ่ อสเฟต 4. ชนิดของนา้ ตาลเพนโทส 5. จานวนของน้าตาลเพนโทส

29 7. ขอ้ ใดกล่าวถงึ การถอดรหสั ไม่ถูกต้อง 1. ใช้ DNA แม่แบบเพยี งสายเดียว 2. เปน็ การสังเคราะหส์ าย mRNA 3. เกิดขน้ึ ภายในไซโทพลาซมึ ของเซลล์ 4. จะไม่พบเบส T ในสาย mRNA ทสี่ ังเคราะห์ข้นึ 5. ข้อมูลพนั ธกุ รรมของ DNA จะถ่ายทอดให้กับ mRNA 8. กรดอะมิโนตัวแรกของสายพอลิเพปไทด์คอื ชนิดใด 1. วาลนี 2. อะลานีน 3. ทรโี อนี 4. เมไทโอนนี 5. เฟนลิ อะลานีน 9. กาหนดให้ mRNA สายหนึ่งมลี าดับ ดงั นี้ 5’ AUGACUCAUAGUUUUUAGGGU 3’ พอลิเพปไทด์สายนป้ี ระกอบด้วยกรดอะมิโนก่ีตัว 1. 3 ตวั 2. 4 ตวั 3. 5 ตวั 4. 6 ตวั 5. 7 ตัว 10. การกลายในขอ้ ใดไมส่ ่งผลต่อสายนิวคลโี อไทด์ 2. การกลายเปน็ รหัสหยุด 1. การกลายแบบเงียบ 4. การกลายแบบเปลย่ี นรหัส 3. การกลายแบบเล่อื นกรอบ 5. การกลายแบบการแทนทค่ี ู่เบส

30 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนบทที่ 1 เรื่อง โครโมโซมและสารพันธกุ รรม 1. 3 2. 5 3. 3 4. 5 5. 3 6. 4 7. 3 8. 4 9. 3 10. 1

31 แบบทดสอบหลังเรยี น บทท่ี 1 เรอ่ื ง โครโมโซมและสารพันธุกรรม คาช้ีแจง : ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. สารใดท่ีทาให้แบคทเี รยี สายพนั ธุ์ R เปล่ยี นเป็นแบคทีเรยี สายพนั ธุ์ S 1. DNA 2. RNA 3. DNase 4. RNase 5. Protein 2. โครโมโซมจะเห็นชัดเจนทีส่ ดุ ในระยะใดของการแบง่ เซลล์ 1. ระยะโพรเฟส 2. ระยะเมทาเฟส 3. ระยะเทโลเฟส 4. ระยะแอนาเฟส 5. ระยะอนิ เตอร์เฟส 3. ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้องเกยี่ วกับโครโมโซม 1. สิ่งมชี ีวิตต่างชนิดกนั สามารถมีจานวนโครโมโซมเท่ากนั ได้ 2. เทโลเมยี รเ์ ป็นส่วนปลายของโครโมโซมทก่ี าหนดอายุขัยของเซลล์ 3. โครโมโซมของแบคทีเรียประกอบดว้ ย DNA รปู วงแหวน 1 โมเลกุล 4. โครโมโซมสามารถแบ่งออกเป็น 4 ประเภทตามตาแหนง่ เซนโทรเมยี ร์ 5. โครมาทนิ เกนิ จากสมดลุ ประจลุ บของโปรตีนฮสี โตนกับประจบุ วกของ DNA 4. ขอ้ ใด ไม่ใช่ โครงสรา้ งของนิวคลโี อไทด์ของดเี อน็ เอ 1. เบสไทมนี 2. เบสกวานีน 3. เบสอะดนี ีน 4. หมฟู่ อสเฟต 5. นา้ ตาลไรโบส 5. ข้อใดกล่าวถกู ต้องเกยี่ วกับดีเอ็นเอ 1. คเู่ บสแตล่ ะค่มู ีระยะหา่ งกัน 34 A 2. องคป์ ระกอบเบสของ DNA ในสงิ่ มชี วี ิตจะคงทีเ่ สมอ 3. สิ่งมชี วี ิตแต่ละชนดิ จะมปี รมิ าณเบสทั้ง 4 ชนิดเท่ากนั 4. โมเลกลุ ดเี อน็ เอจะบิดเป็นเกลียวคูเ่ วยี นทวนเข็มนาฬกิ า 5. ระหวา่ งเบส A กบั เบส T จะจับกันดว้ ยพันธะไฮโดรเจน 3 พนั ธะ 6. เบสชนดิ ใด ไม่ใช่ องคป์ ระกอบของอารเ์ อน็ เอ 1. ไทมนี 2. ยูราซิล 3. กวานนี 4. อะดีนนี 5. ไซโทซนี 7. ขอ้ ใด ไม่ใช่ ความแตกตา่ งระหว่างการสังเคราะห์ DNA กับการสังเคราะห์ mRNA 1. ชนิดของนวิ คลโี อไทด์ 2. บรเิ วณท่ีมีการสงั เคราะห์ 3. จานวนของสาย DNA แมแ่ บบ 4. ชนิดของเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ 5. จานวนของผลผลติ จากการสงั เคราะห์ 8. รหสั ใดทที่ าใหห้ ยดุ การสังเคราะหส์ ายพอลเิ พปไทด์ 1. UAU 2. UAC 3. UAA 4. AUG 5. UGU

32 9. กาหนดให้ DNA สายหน่งึ มีลาดับ ดังนี้ 3’ ATTACTCATAGTTTATTGT 5’ พอลเิ พปไทด์สายน้ปี ระกอบดว้ ยกรดอะมโิ นกตี่ ัว 1. 3 ตัว 2. 4 ตวั 3. 5 ตัว 4. 6 ตวั 5. 7 ตวั 10. กระบวนการใดมีผลตอ่ ความผิดปกตขิ องจานวนโครโมโซม 1. การแทนที่คู่เบส 2. การเกิดอนิ เวอร์ชนั 3. การไขวเ้ ปลยี่ นของโครโมโซม 4. การไมแ่ ยกจากกนั ระหว่างการแบง่ เซลล์ 5. การเพิ่มขึ้นหรือขาดหายของนวิ คลโี อไทด์

33 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน บทที่ 1 เร่อื ง โครโมโซมและสารพันธกุ รรม 1. 1 2. 2 3. 5 4. 5 5. 2 6. 1 7. 2 8. 3 9. 2 10. 4

34 คะแนนแบบทดสอบก่อนเรียน - หลงั เรยี น วิชาชีววิทยา 2 นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ท่ี ช่ือ - สกุล คะแนนแบบทดสอบกอ่ นเรียน คะแนนแบบทดสอบหลังเรียน 1 นายโบอ้ี ปทุมวรนาถ 4 8 2 นางสาวกมลพรรณ สิทธิค์ งชู 3 8 3 นางสาวกุลนภิ า ศักด์ิคงชัยกลุ 6 9 4 นางสาวจุฑามาศ อภิรกั ษไ์ พรสณฑ์ 5 8 5 นางสาวฉันทิดา ว่องไว 4 8 6 นางสาวชนะวรรณ เรืองกิจขยนั 4 8 7 นางสาวชนาภา วริ ะยะสามารถ 3 7 8 นางสาวชุตมิ า สริ ิจรูญ 3 8 9 นางสาวฐติ ิภา เกษมเลิศตระกูล 3 8 10 นางสาวณัฐณิชา เจริญผล 6 9 11 นางสาวณชิ า สริ ิภทั รประทปี 5 8 12 นางสาวบวั เฮ็น บารุงชนนี 5 9 13 นางสาวเบ็ญญญาภา นันทวเิ ชียรชม 4 9 14 นางสาวภัคจีรา บรรจงวรฉตั ร 4 8 15 นางสาวมยรุ นิ ธนบรู ณพ์ งศ์ 4 7 16 นางสาวยุวดี เกษมเลิศตระกูล 3 7 17 นางสาวรักทพิ ย์ สิรสิ ุนทรกลุ 5 9 18 นางสาวลลติ า โชคสุขทรัพยส์ ิน 3 7 19 นางสาววรดา ฐานวริ ิยะพารี 4 8 20 นางสาววรรษชล เจตนาโภคกุล 4 8 21 นางสาววันเพ็ญ ชยุติกุลพนั ธ์ 4 8 22 นางสาววารุณี ชวสิทธ์ิมงคล 3 9 23 นางสาววิมลศริ ิ สนุ ทรไพรวัลย์ 3 8 24 นางสาววิไลพร จิระพงศ์เรืองกลุ 4 8 25 นางสาวศศิธร โฆษิตมธุ ากร 4 8 26 นางสาวสุวารี ชตุ วิ ัฒนธ์ ารสุข 4 9 27 นางสาวอรณชิ จารพุ งศ์นิธกิ ุล 5 9 28 นางสาวอรวี ธนังลาภอุดม 5 8 29 นางสาวอัจฉรา สถิรภูวดล 4 8

35 การจดั การเรยี นสอน รายวชิ าชวี วิทยา 2 นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/1

36 ผลงานนักเรยี น รายวชิ าชวี วทิ ยา 2 นักเรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1

37 บรรณานุกรม 1. การพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรอื่ ง สารพันธุกรรม โดยการจดั การเรียนรแู้ บบสบื เสาะ วทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที ่ี 6 (ออนไลน)์ https://so02.tci-thaijo.org/index.php/bruj/ article/view/104040/83030 2. การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองการจาลองโมเลกุล DNA ของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 โดยการจดั การเรียนรแู้ บบรว่ มมือดว้ ยเทคนิค Jigsaw ร่วมกบั Student Team Achievement Division 6 (ออนไลน)์ http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/e-research/?q=node/1032


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook