Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E Book_การเก็บรวบรวมข้อมูล

E Book_การเก็บรวบรวมข้อมูล

Published by อารียา แก้วแสงสุข, 2023-08-07 07:51:29

Description: E Book_การเก็บรวบรวมข้อมูล

Search

Read the Text Version

การเก็บรวบรวมข้อมูล นางสาวอารียา แก้วแสงสุข ผู้จัดทำ

การจัดเก็บข้อมูล หมายถึง การเก็บรักษาข้อมูลเพื่อการบริหารโดยการเก็บไว้ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะทำด้วยมือ ซึ่งเป็น แฟ้มเอกสารหรือ ด้วยคอมพิวเตอร์ ในรูปของแฟ้มข้อมูลแบ่งได้ 7 ข้อ 1 2 3 แฟ้มข้อมูลหลัก แฟ้มข้อมูลย่อย แฟ้มดัชนี เป็นแฟ้มเก็บดัชนี เป็นที่เก็บข้อมูลที่บรรจุ เป็นแฟ้มที่รวบรวมขึ้นมา คล้ายๆกับบัตรรายการ ข้อมูลหลักซึ่งอาจจะแยก ใหม่ล่าสุดสำหรับการปรับ ข้อมูลหลักให้เป็นปัจจุบัน ออกเป็นแต่ละงาน

4 5 6 แฟ้มตารางอ้างอิง แฟ้มข้อมูลสรุป แฟ้มข้อมูลเก่า เป็นแฟ้มที่ใช้ เป็นการรวบรวมข้อมูลที่ใช้อ้างอิง เป็นแฟ้มของการ สำหรับการเปรียบเทียบ สำหรับตรวจสอบความถูกต้อง รวบรวมข้อมูลโดย สรุปเพื่อนำเสนอ เกี่ยวกับมาตรฐาน รายงานต่อไป 7 แฟ้มข้อมูลสำรอง ในการจัดเก็บข้อมูลโดยสรุปข้อมูลความ ปลอดภัย ป้องกันความสูญหายของข้อมูลในการดำเนินการจัด เก็บข้อมูลสารสนเทศ ได้แก่ การจำแนก การจัดเรียง หรือการจัดเก็บตาม ข้อมูลข่าวสารแก่หน่วยงานที่ร้องขออยู่เสมอ

ลำดับชั้นของข้อมูลในฐานข้อมูล 1. เขตข้อมูล 2. ระเบียน 3. ตาราง 4. ฐานข้อมูล

การจัดเก็บข้อมูล มีกี่แบบ อะไรบ้าง เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ

Primary Data (ข้อมูลปฐมภูมิ) Primary Data (ข้อมูลปฐมภูมิ) คือ ข้อมูลที่เก็บจากแหล่งกำเนิดข้อมูลโดยตรง ซึ่งจะใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ปฐมภูมิด้วยการ ออกแบบสอบถาม , การสัมภาษณ์, การสำรวจ , การสังเกตการณ์ เป็นต้น ทำให้ได้ราย ละเอียดตามที่นักการตลาด ผู้วิจัย หรือผู้สอบถามข้อมูลต้องการ แต่ก็จะเสียเวลาในการเก็บข้อมูลค่อนข้างมาก และมีค่าใช้จ่ายที่สูงกว่าการเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ

Secondary Data (ข้อมูลทุติยภูมิ) Secondary Data (ข้อมูลทุติยภูมิ) คือ ข้อมูลที่ผู้ต้องการใช้ไม่ได้ทำการเก็บรวบรวมเอง แต่ได้จากผู้อื่น ที่ทำการรวบรวมข้อมูลไว้ก่อนแล้ว ซึ่งวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจะได้จากการรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง ต่างๆ เช่น รายงานที่ตีพิมพ์แล้ว การเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติ กราฟต่างๆ เป็นต้น มีข้อดีคือค้นหาง่าย ช่วยย่น ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล แต่ก็มีข้อจำกัดคือข้อมูลอาจไม่ตรงกับที่ต้องการทั้งหมด หรือเสี่ยงต่อการหยิบใช้ ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องได้ง่ายด้วย

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection ทำได้อย่างไร Questionnaires (แบบสอบถาม) แบบสอบถาม (Questionnaires) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ที่เรียบง่ายและตรงไปตรงมา โดยที่ผู้ตอบ แบบสอบจะได้รับชุดคำถาม ทั้งแบบปลายเปิดและแบบปลายปิด อาจจะออกแบบมาเป็นแบบสอนถาม ออนไลน์ หรือออฟ ไลน์ก็ได้ ซึ่งข้อมูลที่ได้มาจากแบบสอบถามและการทดลองมีแหล่งข้อมูลแบบข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ที่มีความถูกต้อง และเป็นปัจจุบันสูง รวมถึงสามารถทำได้ง่าย รวดเร็ว และทำการสอบถามได้ครั้งละหลายๆ คนในชุดคำถามเดียวกัน

การสัมภาษณ์ (Interview) การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ที่นิยมใช้กันมากในด้านสังคมศาสตร์ โดยเครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัยรูปแบบนี้สามารถทำได้หลายแบบ เช่น การสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว การสนทนากลุ่ม ( Focus Group) การสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) มีข้อดีคือสามารถอ่านความรู้สึกนึกคิดและสังเกตสภาพการณ์ต่างๆ จากตัวผู้ถูกสัมภาษณ์ได้ จึงเจาะลึกเนื้อหาเฉพาะเรื่องที่สนใจได้ดี ทำให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ แต่ผู้สัมภาษณ์เองก็ต้องมีทักษะสูงในการหาคำตอบ รวมถึงใช้เวลานานกว่าจะได้ข้อมูลครบตามที่ต้องการ

Focus Group (การสนทนากลุ่ม) การสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์ประเภทหนึ่ง อาจจะประกอบ ด้วยคนตั้งแต่ 6 - 10 คน นำโดยผู้สัมภาษณ์ที่จะเข้ามาดำเนินการให้ผู้ถูกสัมภาษณ์อภิปรายกันในประเด็นที่ต้องการ

Observation (การสังเกตการณ์) การสังเกตการณ์ (Observation) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection) ที่ทำได้ง่ายและรวดเร็ว โดยการสังเกตการณ์เอง โดยตรง และไม่มีการบุกรุกหรืออคติจากบุคคลที่สามเข้ามาเกี่ยวข้อง นอกจากนี้ยังใช้วิธีนี้ในการสังเกตทั้งคน สัตว์ สิ่งของ หรือสภาพ แวดล้อมได้ แต่จะใช้ได้ผลเฉพาะในสถานการณ์ขนาดเล็กเท่านั้น

วิธีบันทึกข้อมูลและระบบการจัดเก็บข้อมูลที่นิยมใช้ในปัจจุบัน SD Card เป็นวิธีบันทึกข้อมูลผ่านการ์ดหน่วยความจำขนาดเล็กที่ได้พัฒนาความจุและความเร็วใน การโอนถ่ายมาข้อมูลมาอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน สามารถใช้งานบันทึกข้อมูลเพื่อใช้งานกับ อุปกรณ์ต่าง ๆ ได้หลายประเภททั้งกล้องถ่ายภาพ สมาร์ทโฟน รวมถึงการใช้งานกับโน้ตบุ๊คและ เครื่องคอมพิวเตอร์ External Hard drive เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับผู้ที่ต้องการบันทึกข้อมูลเป็นจำนวนมากเช่นเดียวกับ วิธีบันทึกข้อมูลลงบนฮาร์ดไดรฟ์แต่ต้องการความสะดวกในด้านการพกพาและการเชื่อมต่อกับ อุปกรณ์หลาย ๆ เครื่องได้ตามที่ต้องการ

การจัดเก็บข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร 3 ต่อการดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล 12 วิเคราะห์เพื่อวางแผนและ ออกแบบสินค้าและบริการ สร้างฐานลูกค้ากลุ่มใหม่ กำหนดกลยุทธ์ทางการ ให้ตอบโจทย์ความต้องการ เพิ่มโอกาสการเติบโตทาง ตลาดอย่างตรงจุด ได้ดียิ่งขึ้น ธุรกิจ รักษาฐานลูกค้าที่มีอยู่เดิม ได้ในระยะยาวและยั่งยืน

การเก็บรวบรวมข้อมูล นางสาวอารียา แก้วแสงสุข ผู้จัดทำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook