Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3 อารยธรรมจีน แก้ไขทำ e book PDF

3 อารยธรรมจีน แก้ไขทำ e book PDF

Published by nujaree, 2020-07-25 04:05:02

Description: 3 อารยธรรมจีน แก้ไขทำ e book PDF

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 อารยธรรมตะวนั ออก อารยธรรมจีน อารยธรรม ตะวนั ออก อิทธิพลอารยธรรม อารยธรรมอินเดีย ตะวนั ออกท่ีมีต่อ ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 102

ประวตั ิศาสตร์สากล ม. 4–6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 อารยธรรมตะวนั ออก แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 อารยธรรมจีน เวลา 2 ช่ัวโมง 103

แสดงความคดิ เห็น 1. จากแผนที่ประกอบดว้ ยประเทศ อะไรบา้ ง 2. แหลง่ อารยธรรมที่สาคญั ของทวปี เอเชียอยใู่ นประเทศอะไร 1. อินเดีย จีน ญ่ีป่ ุน มองโกเลีย เนปาล ปากีสถาน ฯลฯ 2. อินเดีย จีน 104

1. อารยธรรมจนี เกิดข้ึนในบริเวณลุม่ น้าหวางเหอ หรือแม่น้าเหลืองในภาคเหนือของจีน อารยธรรมจนี เป็ นอารยธรรมลุ่มน้ารุ่นแรกของโลกเช่นเดียวกับอารยธรรมลุ่มน้าไนล์ในอียิปต์ อารยธรรมลุ่มน้าไทกริสและยูเฟรทีสในเมโสโปเตเมีย (ปัจจุบนั อยู่ในประเทศอิรัก) อารยธรรมลุ่มน้าสินธุในอินเดีย 105

1. อารยธรรมจีน ยคุ สมยั ทาง ประวตั ิศาสตร์ ความกา้ วหนา้ ทาง อารยธรรมจีน สังคมและ วทิ ยาการของจีน วฒั นธรรม ศิลปกรรมจีน 106

1. อารยธรรมจีน แผนท่ีสงั เขปแสดงลกั ษณะภูมิประเทศของเอเชียตะวนั ออก 107

1. อารยธรรมจนี • บริเวณลุ่มน้าหวางเหอเป็นที่ราบอุดมสมบูรณ์ • สภาพภูมิอากาศอบอุ่น • ชาวจีนดารงชีพโดยอาศยั น้าจากแม่น้าเป็นสาคญั • มีการสร้างระบบชลประทานท่ีดี • มีทรัพยากรป่ าไมแ้ ละแร่ธาตุที่สาคญั คือ ถ่านหิน เหลก็ ตะกวั่ ทองแดง สังกะสี ปราการทางธรรมชาติ คือ ทิศตะวนั ออก มีมหาสมุทรแปซิฟิ ก ทิศใต้ มีภเู ขาและป่ าดิบร้อน ทิศตะวนั ตกและทิศเหนือ มีทุ่งหญา้ ทะเลทราย และภูเขามีส่วน ช่วยใหจ้ ีนไดร้ ับอิทธิพลจากดินแดนอ่ืน ๆ นอ้ ยมาก 108

1. อารยธรรมจีน 1.1 อารยธรรมจนี สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ รามาปิ เทคุส (Ramapithecus) หลกั ฐานทาง ซากดกึ ดาบรรพ์ มนุษยห์ ยวนโม่ว (Yuan Mou) โบราณคดี (fossil) มนุษยห์ ลน่ั เทียน (Lan Tien) วฒั นธรรมหยางเชา มนุษยป์ ักกิ่ง วฒั นธรรมหลงชาน (Peking Man) 109 โครงกระดูกมนุษย์ ยคุ หินใหม่

110

มนุษยห์ ยวนโหม่ว 111

1.1 อารยธรรมจนี สมยั ก่อนประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรมหยางเชา 6,000 BC รูปแบบภาชนะ 5,000 BC ที่สาคญั คือ ลกั ษณะสาคญั คือ 4,000 BC ภาชนะสามขา เคร่ืองป้ันดินเผาเขียนสี ซ่ึง 3,000 BC 2,000 BC มีสีดา ขดั มนั คุณภาพดี ลายที่เขียนมกั เป็น 1,000 BC เน้ือบางและแกร่ง ลกั ษณะสาคญั คือ พืช 1 AD เครื่องป้ันดินเผา มีเน้ือละเอียด นก, สตั วต์ ่าง ๆ วฒั นธรรมหลงชาน ลายเรขาคณิต ใบหนา้ คน 112 นอกจากน้ียงั มีการพมิ พล์ ายจกั สาน ลายเชือกทาบอีกดว้ ย

1.1 อารยธรรมจนี สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ภาชนะดินเผาลายเขียนสี เหยอื กดินเผา 3 ขา 113 วฒั นธรรมหยางเชา ในยคุ หินใหม่ วฒั นธรรมหลงชาน เขียนลวดลายเรขาคณิต ในยคุ หินใหม่

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ิศาสตร์ 2,500 BC 1,600–1,110BC สมยั ราชวงศช์ าง 2,000 BC 1,045–249 BC สมยั ฟิ วดลั 1,500 BC 221 BC สมยั 1,000 BC – สมบรู ณาญาสิทธิราชย์ หรือสมยั จกั รวรรดิจีน 500 BC 1911 AD 1 BC สมยั สาธารณรัฐจีนและ 1 AD 1,911 AD สาธารณรัฐประชาชนจีน – 500 AD Present 1,000 AD 1,500 AD 2,000 AD 2,500 AD 114

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั ราชวงศ์ชาง ประมาณศตวรรษที่ 16–11 ก่อนคริสตศ์ กั ราช การปกครอง ราชวงศ์ชางปกครองกลุ่มชนเผ่าต่าง ๆ ในเขตสองฝั่งลุ่มน้าหวางเหอ มีการสะสมกาลงั ทหารให้ เขม้ แขง็ เพอ่ื ทาสงครามกบั เผา่ ต่าง ๆ สร้างระบบความเช่ือและพิธีกรรมทางศาสนาเพื่อประโยชน์ในการ ปกครอง การขุดค้นทางโบราณคดี พบซากปราสาทราชวงั และตาหนกั ต่าง ๆ พร้อมโครงกระดูกที่เมืองอนั หยาง จึงเชื่อว่าท่ีน่ีเป็ น ศูนยก์ ลางทางอารยธรรมของราชวงศ์ชาง นอกจากน้ี พบซากกระดองเต่าจารึกอกั ษรจีนโบราณ สนั นิษฐานวา่ ใชส้ าหรับการเส่ียงทาย สังคม มีการแบ่งชนช้นั โดยใชฐ้ านะทางสงั คมเศรษฐกิจเป็นตวั กาหนด ชนช้นั สูงอาศยั อยใู่ นบา้ นหลงั คา กระเบ้ือง มีกาแพงลอ้ มรอบ ส่วนคนจนมกั คบั แคบ ปลายราชวงศ์ชาง ชนเผ่าที่ต้ังอยู่ทางทิศตะวนั ตกของมณฑลฉ่านซีมีอานาจมากข้ึนและ โค่นลม้ อานาจของราชวงศช์ างพร้อมกบั สถาปนาราชวงศโ์ จวข้ึน 115

ในสมยั ราชวงศช์ างพบการนาลกู สุนขั มาบูชายญั 116

117

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั ฟิ วดลั แบ่งออกเป็น 2 สมยั คือ สมยั ราชวงศโ์ จวตะวนั ตก ประมาณ 1,045–771 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช การปกครอง ใช้ทฤษฎีการเมืองเทียนหมิงหรืออาณัติแห่งสวรรค์ คือ กษตั ริยม์ ีฐานะเป็ นโอรสแห่ง สวรรค์ตราบเท่าที่ปกครองด้วยความยุติธรรม หลักการน้ีมีความสาคัญมากต่อการ เปล่ียนแปลงการเมืองของจีนตลอดระยะเวลาสองพนั ปี สังคม รับเอาการทานายโชคชะตามาจากราชวงศ์ชาง แต่มีอารยธรรมเป็ นของตนเอง คือ การสืบราชสมบตั ิ ส่วนประเพณีการฝังศพจะก่อเป็ นเนินดินข้ึนมาฝังศพ แต่ในภาคเหนือนิยม ฝังลงไปในดิน 118

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ศิ าสตร์ สมยั ราชวงศโ์ จวตะวนั ออก ประมาณ 770–249 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช สังคม เหล็กเข้ามาแทนที่สาริ ด เครื่ องมือการเกษตรทาจาก เหล็ก มีระบบชลประทานเพ่ือ การเพาะปลูก มีระบบเงนิ ตรานามาซ้ือขายแลกเปลี่ยนกนั การปกครอง เป็นช่วงท่ีเกิดการจลาจลทางการเมือง ซ่ึงแผข่ ยายเป็นสงครามระหวา่ งรัฐต่าง ๆ ต่อเน่ืองยาวนาน หลายร้อยปี แต่ในขณะเดียวกนั กท็ าใหเ้ กิดนกั ปราชญม์ ากมายท่ีพยายามเสนอแนวคิดแกไ้ ขปัญหาน้ี เช่น แนวคิดทางการเมืองและสงั คมของขงจอื๊ เล่าจอ๊ื จวงจ๊อื และแนวคิดของสานักนิติธรรม หรือ ฟาเฉีย จึงทาใหย้ คุ น้ีเป็นยคุ ทองแห่งภมู ิปัญญา ราชวงศโ์ จวสิ้นสุดลงเพราะไม่สามารถปราบจลาจลได้ ผู้นาแคว้นฉินจึงนากองทพั มาปราบปราม และรวมแผน่ ดินจีนใหเ้ ป็นปึ กแผน่ และสถาปนาราชวงศ์ฉินข้ึนปกครองอาณาจกั ร และผนู้ าอาณาจกั ร มีฐานะเป็นจักรพรรดฉิ ินส่ือหวง (จน๋ิ ซีฮ่องเต้) 119

120

121

122

123

124

125

126

127

จวงจ้ือ ศิษย์ เล่าจ้ือ 128

1.2 อารยธรรมจนี สมัยประวตั ศิ าสตร์ ประมาณ 221 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช–ค.ศ. 1911 ระยะเวลาสองพนั ปี เศษ ซ่ึงมี ราชวงศป์ กครองท้งั สิ้น 7 ราชวงศ์ ดงั น้ี ราชวงศ์ฉิน ประมาณ 221–206 ก่อนคริสตศ์ กั ราช การปกครอง ปกครองโดยจกั รพรรดิฉินส่ือหวงหรือจิ๋นซี มีการรวมอานาจเข้าสู่ส่วนกลางเพื่อความเป็ น เอกภาพ ปกครองดว้ ยหลักนิติธรรม ทรงเห็นว่าลทั ธิขงจื๊อทาให้คนเกียจคร้าน จึงเผาทาลาย ตาราขงจ้ือ นบั เป็นการทาลายอารยธรรมทางปัญญาคร้ังใหญ่ของจีน แต่อยา่ งไรก็ตาม ราชวงศ์ ฉินกม็ ีคุณูปการท่ียง่ิ ใหญ่ คอื การรวมชาติให้มคี วามเป็ นหนึ่งเดยี ว สังคม จกั รพรรดิฉินสื่อหวงโปรดเกลา้ ฯ ให้ใช้ภาษาเขียนและระบบเงินตราให้เป็ นแบบ เดียวกนั ทวั่ อาณาจกั ร ทาใหก้ ารติดตอ่ คา้ ขายในอาณาจกั รสะดวกข้ึน 129

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ราชวงศ์ฮั่น ประมาณ 206 ก่อนคริสตศ์ กั ราช–ค.ศ. 220 สังคม นกั ปราชญร์ าชบณั ฑิตพยายามรื้อฟื้ นความทรงจาเกี่ยวกับปรัชญาขงจ๊ือ โดยการใชต้ ารา ขงจื๊อเป็ นตาราสาหรับผทู้ ่ีจะสอบรับราชการ ทาให้เกิดระบบการสอบไล่เข้ารับราชการเป็ น คร้ังแรก การค้า เป็ นสมยั ท่ีการคา้ เจริญรุ่งเรือง เกิดเส้นทางสายไหม (Silk Road) โดยคา้ ขายผ่านเส้นทาง เอเชียกลาง เปอร์เซีย แถบประเทศเมดิเตอร์เรเนียน อินเดีย เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ สิ นคา้ ที่ สาคญั คือ ผา้ ไหม เคร่ืองลายคราม จากการคา้ ขายตามเส้นทางการคา้ สายไหมน้ี ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนวัฒนธรรมและ ถ่ายทอดอารยธรรมไปยงั ภูมภิ าคอนื่ ๆ เช่น เวยี ดนาม เกาหลี มองโกเลีย เอเชียกลาง 130

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ศิ าสตร์ หลงั จากสิ้นสุดราชวงศฮ์ น่ั แผ่นดินจีนเกิดการแตกแยก เกิดการแยง่ ชิงอานาจอยู่ ตลอดเวลา (เร่ิมจากราชวงศส์ ุย เป็นช่วงส้นั ๆ) จนในที่สุดราชวงศถ์ งั กร็ วมอานาจไดใ้ นที่สุด ราชวงศ์ถัง ประมาณ ค.ศ. 618–907 การปกครอง เม่ือราชวงศถ์ งั สามารถรวมอานาจไดก้ ข็ ยายอาณาเขตออกไปกวา้ งขวางกวา่ สมยั ใด ๆ คือ ขยาย ไปจนประชิดพรมแดนของอินเดีย ซ่ึงเป็นผลดีต่อการฟ้ื นฟอู ารยธรรม สังคม รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา มีการอญั เชิญพระเสวยี นจาง หรือพระถงั ซาจง๋ั เดินทางไป อญั เชิญพระไตรปิ ฎกจากอินเดียเขา้ มายงั จีน จึงทาใหง้ านประติมากรรม จิตรกรรม วรรณกรรม ของจีนมีลกั ษณะของศิลปะอินเดีย 131

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ศิ าสตร์ การขยายดินแดนออกไปประชิดอินเดียทาให้พ่อค้า พระ ทหาร เดินทางเข้ามาใน ฉางอาน และนาเอาความเช่ือจากตะวันออกกลางเข้ามาด้วย นอกจากน้ียงั มีการก่อต้ัง ราชบณั ฑิตยสถานช่ือ ฮนั หลิน หยวน (Hanlin Yuan) เพื่อใชเ้ ป็นศูนยร์ วมนกั ปราชญ์ นกั ดนตรี กวี และจิตรกร ปลายสมัยราชวงศ์ถังเกิดการต่อต้านวฒั นธรรมท่ีมาจากภายนอก และพยายามฟ้ื นฟู วฒั นธรรมจีน คือ การฟ้ื นฟลู ทั ธิขงจ๊ืออีกคร้ังเรียกวา่ ลทั ธิขงจื๊อใหม่ ราชวงศ์ถงั ล่มสลายลงเพราะพวกเติร์กเขา้ มาโจมตีเม่ือ ค.ศ. 907 ทาให้เกิดราชวงศ์ เลก็ ๆ เขา้ มาปกครองอาณาจกั รในแต่ละส่วน (ยคุ 5 ราชวงศ์ 10 อาณาจกั ร) 132

1.2 อารยธรรมจนี สมัยประวตั ศิ าสตร์ ราชวงศซ์ ่ง ค.ศ. 960–1279 การปกครอง • แผน่ ดินจีนถูกรวบรวมโดยราชวงศซ์ ่งซ่ึงเป็นขนุ นางท่ีสืบเช้ือสาย จากราชวงศถ์ งั แลว้ ต้งั ราชวงศใ์ หม่ แต่ราชสานกั ไม่เขม้ แขง็ จึงถูกรุกราน จากอนารยชนอยเู่ สมอ • การคา้ ระหวา่ งประเทศเจริญรุ่งเรือง แต่จีนกม็ องวา่ คนชาติอ่ืนป่ าเถื่อน การคา้ มีอารยธรรมดอ้ ยกวา่ ตน และยงั คงไม่ยอมรับอารยธรรมของชนชาติอ่ืน • ระบบเงินตราแลกเปล่ียนมีมาตรฐาน ประเพณี • มีประเพณีบางอยา่ งเพม่ิ เขา้ มา คือ ประเพณีการมดั เทา้ ของสตรีใหม้ ีขนาดเรียวเลก็ ซ่ึงสร้างความลาบากใหส้ ตรีชาวจีน เน่ืองจากทาใหเ้ ดินไม่สะดวก 133

134

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ศิ าสตร์ ราชวงศ์หยวน ค.ศ. 1279–1368 การ • ราชวงศห์ ยวนปกครองโดยพวกมองโกล เกิดการแบ่งชนช้นั พลเมือง มีการวางรากฐาน ปกครอง มาจากอารยธรรมเดิมของจีน เช่น ลทั ธิขงจื๊อ ระบบสอบไล่เพือ่ เขา้ รับราชการ ประกอบ อาชีพการเกษตรและการคา้ • มีการแบ่งชนช้นั พลเมือง อาชีพของมองโกลเนน้ ดา้ นการเกษตรและการคา้ นอกจากน้ี สังคม ยงั มีการประดิษฐต์ วั อกั ษรข้ึนใช้ แต่กเ็ สื่อมไปในท่ีสุด ศาสนา • คริสต์ศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก เปิ ดประตูรับศาสนาจากตะวนั ตก รวมถึงมีการ แลกเปล่ียนความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการอีกดว้ ย 135

1.2 อารยธรรมจนี สมัยประวตั ศิ าสตร์ ราชวงศ์หมงิ ค.ศ. 1368–1644 ราชวงศห์ มิง ราชวงศ์ หยวนถูกจูหยวนจาง ปฐม คริสตศ์ าสนาเขา้ มามากทาใหเ้ กิดความไม่เขา้ ใจ ทางวฒั นธรรมระหวา่ งตะวนั ตกกบั ชาวจีน อีกท้งั ชาว กษตั ริย์ราชวงศ์หมงิ ปราบเมือ่ ค.ศ. 1368 เป็ น จีนไม่สามารถปรับตวั รับกบั วฒั นธรรมของตะวนั ตก อีกสมัยหน่ึงที่ เป็ นช่วงที่จีนธารงรักษาอารย ท่ีหลัง่ ไหลเข้ามาได้และถูกต่างชาติแทรกแซงทาง ธรรมจีนได้อย่างชัดเจนท่ีสุด ข้าราชการมี การเมืองในที่สุด อานาจต่อรองกับกษัตริย์มาก เนื่องจากถูก นอกจากน้ียงั ถูกรุกรานจากชาวแมนจูทางตอน แทรกแซงจากต่างชาติ เหนือ ทาใหร้ าชวงศห์ มิงตอ้ งสิ้นสุดลงเมื่อ ค.ศ.1644 136

1.2 อารยธรรมจนี สมัยประวตั ิศาสตร์ ราชวงศ์ชิงหรือราชวงศ์แมนจู ค.ศ. 1644–1911 การปกครอง • ราชวงศช์ ิง คือ ราชวงศท์ ่ีมีชาวต่างชาติเป็นผปู้ กครองประเทศ คือชาวแมนจู เป็นยคุ เตรียมตวั เขา้ สู่สมยั ใหม่ • ชาวแมนจูสร้างเอกลกั ษณ์ของตน คือ การบงั คบั ใหช้ าวจีนโกนศีรษะเอาผม สังคม ข้างหน้าออก แล้วไว้ผมเปี ย แต่งกายดว้ ยเครื่องแต่งกายของชาวแมนจู ห้าม ชาวจีนกบั ชาวแมนจูแต่งงานกนั • ภาษาแมนจใู ชเ้ ป็นภาษาราชการ ต่อมาภาษาแมนจูจะใชก้ นั แต่ในราชสานกั ภาษา และงานพิธีของชาวแมนจูเท่าน้ัน แต่ในท่ีสุดภาษาจีนก็กลบั มาเป็ นภาษา ราชการอีกคร้ังจนกระทงั่ ปัจจุบนั 137

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั สาธารณรัฐจีน ค.ศ. 1911–1949 ยุคน้ีเป็ นยุคท่ีจีนเปิ ดรับเอาอารยธรรมตะวนั ตกอย่างเต็มท่ี ความเจริ ญของ ตะวนั ตกไดก้ ลายเป็ นเป้ าหมายของการฟ้ื นฟูและพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ดา้ นการเมืองการปกครอง การปกครอง มีแนวคิดการเมืองท่ีสาคัญ คือ ลัทธิไตร ราษฎร์ ของ ดร.ซุน ยตั เซน รวมเข้ากบั สถาบนั การปกครองสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือ เบญจาธิปไตย (Five Principle) อย่างไรก็ตาม ระบอบประชาธิปไตยในสาธารณรัฐจีนก็ประสบ ความล้มเหลวเม่ือพรรคคอมมิวนิสต์ได้ชัยชนะ เหนือแผน่ ดินจีนใน ค.ศ. 1949 รัฐบาลตอ้ งอพยพ ไปอยทู่ ี่เกาะไตห้ วนั ดร.ซุน ยตั เซน 138

1.2 อารยธรรมจนี สมัยประวตั ศิ าสตร์ สมยั สาธารณรัฐจีน หลกั เอกราชแห่งชาติ ลทั ธิไตรราษฎร์ หลกั อานาจอธิปไตยของประชาชน (ของ ดร.ซุน หลกั ความ ฝ่ ายบริหาร ยตั เซน) ยุติธรรมใน การครองชีพ ระบอบ ประชาธิปไตย ฝ่ ายนิตบิ ญั ญตั ิ เบญจาธิปไตย ฝ่ ายตุลาการ (Five ฝ่ ายสอบแข่งขนั ฝ่ ายตรวจตราควบคุม Principles) 139

1.2 อารยธรรมจนี สมยั ประวตั ิศาสตร์ สมยั สาธารณรัฐประชาชนจีน หลงั จากฝ่ ายคอมมิวนิสตม์ ีชยั ชนะในสงครามการเมืองแลว้ ก็ไดน้ าระบอบ การปกครองมาจากลทั ธิคอมมิวนิสต์มาใช้ โดยมีผูน้ าพรรค คือ เหมา เจ๋อตง ไดน้ าแนวคิดของนกั ปราชญแ์ ละผนู้ าคนสาคญั ของลทั ธิคอมมิวนิสต์ คือ คาร์ล มากซ์ ชาวเยอรมนั ี(Karl Marx ค.ศ. 1818–1883) วลาดีมีร์ เลนิน ชาวโซเวียต (Vladimir Lenin ค.ศ. 1870–1924) และโจเซฟ สตาลิน ชาวโซเวียต (Joseph Stalin ค.ศ. 1879–1953) มาปรับใชเ้ พ่อื แกป้ ัญหาเร่ืองชนช้นั และความขดั แยง้ ของ ชนช้นั เพอื่ ใหส้ งั คมบรรลุถึงสงั คมอุดมคติ คือ เหมา เจ๋อตง “ มีความเสมอภาค เสรีภาพ และภราดรภาพ ” อดีตผนู้ าพรรคคอมมิวนิสต์ ต่อมาความคิดน้ีไดล้ ดบทบาทลง ปัจจุบนั รัฐบาลไดด้ าเนินนโยบาย ปฏิรูปเศรษฐกิจ และติดต่อกบั สงั คมนานาชาติอยา่ งกวา้ งขวาง 140

1.3 สังคมและวฒั นธรรม ระบบทด่ี นิ พระพทุ ธศาสนา ลทั ธิขงจื๊อ (Confucianism) สังคมและวฒั นธรรม ลทั ธินิตธิ รรม ลทั ธิเต๋า หรือฟาเฉีย (Taoism) (Legalism) 141

1.3 สังคมและวฒั นธรรม ระบบทดี่ นิ ท่ีดินเป็ นปัจจัยท่ีสาคัญในการผลิต จักรพรรดิจึงพระราชทาน ท่ีดินแก่เจ้าเมืองและขุนนางผู้ใหญ่ตามบรรดาศักด์ิ เจ้าเมืองจะ ไม่ได้ทาการเพาะปลูกด้วยตนเอง แต่จะแบ่งให้กบั สามัญชน และ ได้ผลผลิตจากครอบครัวสามัญชนหรือชาวนาเป็ นการตอบแทน เรียกการจดั ทด่ี นิ รูปแบบนีว้ ่า “ระบบบ่อนา” “ระบบนาเฉลยี่ ” คอื รัฐจะเป็ นผู้จัดสรรท่ดี นิ ให้จานวนหน่ึง ครึ่งหน่ึงของท่ีดินต้องคืนให้แก่รัฐเม่ือชาวนาถึงแก่กรรม ที่ดิน ส่วนทเี่ หลอื ให้เป็ นกรรมสิทธ์ิสืบทอดเป็ นมรดกได้ 142

143

1.3 สังคมและวฒั นธรรม ลทั ธิขงจ๊ือ (Confucianism) ผวู้ างรากฐานคือ ขงจื๊อ (551–479 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช) มุ่งแก้ปัญหาการเมืองและสังคมของจีน โดยเนน้ ให้มนุษย์อยู่รวมกันในสังคมด้วยความสงบสุขเรียบร้ อย โดยถือหลักมนุษยธรรมและจารีตประเพณี นอกจากน้ียงั สอนวิชาความรู้ในเร่ืองพิธีกรรม ประวตั ิศาสตร์วรรณคดี ตาราการพยากรณ์ การบันทึก เหตุการณ์ต่าง ๆ คมั ภีร์ของขงจ๊ือนามาใชใ้ นทางราชการและใชเ้ ป็นตาราหลกั ในการสอบเขา้ รับราชการ หลกั มนุษยธรรมและจารีตประเพณี ความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งบิดากบั ระหวา่ งพี่ชายกบั ระหวา่ งสามีกบั ระหวา่ งเพือ่ น ระหวา่ งจกั รพรรดิ บุตร นอ้ งชาย ภรรยา กบั เพอื่ น กบั ราษฎร 144

1.3 สังคมและวฒั นธรรม ขงจือ๊ นักปราชญ์ คนสาคญั ของจนี 145

1.3 สังคมและวฒั นธรรม ลทั ธิเต๋า (Taoiam) ศาสดาของลทั ธิเต๋า คือ เล่าจ๊ือ (ประมาณ 571–484 ปี ก่อนคริสตศ์ กั ราช) มีความคิดตรงขา้ มกบั ขงจื๊อ คือ เน้น ให้มนุษยเ์ ขา้ ใจ ยอมรับ และปรับตวั ให้เขา้ กบั ธรรมชาติ มากท่ีสุด ซ่ึงมีอิทธิพลต่อจิตใจของนกั ปราชญ์ ปัญญาชน และศิลปิ นชาวจีนอยา่ งกวา้ งขวาง ลทั ธินิติธรรม เกิดข้ึนในสมัยราชวงศ์โจว มีความเช่ือว่าโดย หรือฟาเฉีย (Legalism) ธรรมชาติของมนุษยเ์ ป็ นคนเลว มีกิเลสตณั หา จึงลงโทษ ผูก้ ระทาผิด ให้รางวลั แก่ผูท้ าดี และลัทธิน้ีกลายเป็ น กฎหมายของจีนในเวลาตอ่ มา 146

1.3 สังคมและวฒั นธรรม เล่าจอ๊ื ศาสดาลทั ธิเต๋า 147

1.3 สังคมและวฒั นธรรม พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนานิกายมหายานเขา้ มาใน นอกจากน้ียงั เกิดการผสมระหว่างลทั ธิ จีนเม่ือประมาณคริสต์ศตวรรษท่ี 1 สมัย ขงจื๊อ ลทั ธิเต๋า และพระพุทธศาสนานิกาย ราชวงศฮ์ น่ั ซ่ึงมีการดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั มหายานทาใหเ้ กิดเร่ืองราวของเทพเจา้ ความ ชาวจีน ทาให้พระพุทธศาสนาในจีนแตกต่าง เชื่อเก่ียวกบั การบูชาบรรพชน วิญญาณ และ จากอินเดียเป็ นอย่างมาก และเกิดนิกายใหม่ ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ รวมถึงพธิ ีกรรมทางศาสนา ข้ึนมากมาย ที่สาคัญคือ นิกายสุขาวดี ฌาน หรือเซน และนิกายเทียนไท้ 148

1.3 สังคมและวฒั นธรรม พระพทุ ธรูปทถี่ า้ หลงเหมิน เมอื งลว่ั หยาง ศิลปะสมัยราชวงศ์ถัง 149

1.4 ศิลปกรรมจนี ศิลปกรรมจีนเป็นงานสร้างสรรคท์ ่ีใหค้ วามสาคญั ในเร่ืองของชีวิต สงั คม และ ธรรมชาติ ผลงานส่วนใหญ่จะสะทอ้ นถึงการแสวงหาสัจธรรมและอุดมคติของชีวติ เครื่องป้ันดนิ เผาและเครื่องเคลอื บ ศิลปกรรมน้ี มีอายุยาวนานท่ีสุ ดของจีน เร่ิ มมาต้ังแต่ปลายยุคหิ นใหม่ คือ เครื่องป้ันดินเผาลายเขียนสีในวฒั นธรรมหยางเชา และเคร่ืองป้ันดินเผาสีดาขดั มนั เงาใน วฒั นธรรมหลงชาน การผลิตเครื่องป้ันดินเผาและเครื่องเคลือบเจริญรุ่งเรืองสูงสุดในสมยั ราชวงศซ์ ่ง ผลิต ใช้ท้งั ในราชวงศ์ สามัญชน และเพ่ือการคา้ และกลายเป็ นตน้ แบบของเคร่ืองเคลือบที่ เรียกวา่ ลายคราม ในสมยั ราชวงศห์ ยวน และพฒั นาเป็ น เครื่องเบญจรงค์ ในสมยั ราชวงศ์ หมิง 150

1.4 ศิลปกรรมจนี เคร่ืองสาริด ทาข้ึนเพ่อื เป็นเครื่องเซ่นเทพเจา้ สิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ บรรพบุรุษ และใช้ ในพธิ ีศพช้นั สูงและช้นั ปกครอง และนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ดว้ ย สมยั ราชวงศ์ชางเป็ นเคร่ืองสาริดท่ีมีชื่อเสียงมากที่สุด มีความ ถว้ ยสุราสาริด มี 3 ขา เป็น งดงามดว้ ยลายที่ลอกเลียนแบบธรรมชาติ เช่น ลายมงั กร ลายตาเหย่ียว เครื่องสาริดสมยั ราชวงศช์ าง ลายกอ้ นเมฆ เคร่ืองสาริดหมดความสาคญั ลงในสมยั ราชวงศฮ์ นั่ เพราะมีการ นาทองคา เงินมาใชแ้ ทน 151


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook