Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการใช้สื่อนวัตรกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตุพิมาย

รายงานการใช้สื่อนวัตรกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตุพิมาย

Published by ch.took, 2022-06-21 10:06:58

Description: รายงานการใช้สื่อนวัตรกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตุพิมาย

Search

Read the Text Version

****ใหร้ ายงานการสร้างสื่อ ICT ตาม หวั ขอ้ ท่ีกาหนด 3- 5 เท่าน้นั ส่งพร้อม สื่อประกอบลงใน CD หรือ DVD wirat SCHOOL [ทอี่ ยบู่ รษิ ทั ] สอ่ื นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นหนิ ดาดวิทยา

1 ประกาศคณุ ูปการ รายงานการใชส้ ่ือนวัตรกรรมทางการศึกษา ฉบับนี้ สาเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดีดว้ ยความกรุณา อย่างดีจากนายวินยั มาตรโคกสงู ผอู้ านวยการสถานศึกษาโรงเรียนหินดาดวิทยา ท่ีไดใ้ ห้คาแนะนา ปรกึ ษา ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ พกพรอ่ ง ต่างๆ ดว้ ยความเอาใจใสเ่ ป็นอยา่ งดยี ง่ิ จนการศึกษาคน้ ควา้ ในครงั้ นสี้ าเรจ็ สมบูรณ์ ผศู้ กึ ษาขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ ขอกราบขอบพระคุณ คณะครูผูบ้ ริหารโรงเรียนหินดาดวิทยา สังกัดองค์การบริหารส่วน จงั หวดั นครราชสีมา ทไ่ี ดใ้ หค้ วามกรุณาชแี้ นะแนวทางการดาเนินการศึกษาและใหแ้ นวคดิ ที่มีคณุ ค่า ทสี่ ามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ดด้ ี ต่อการศึกษา ใหค้ าแนะนาปรกึ ษา แกไ้ ข และตรวจสอบเครือ่ งมอื ทใี่ ช้ ในการศกึ ษา และตรวจแกไ้ ขผลงานทางวชิ าการ จนทาใหก้ ารศกึ ษาครง้ั นี้ สมบูรณแ์ ละมคี ณุ คา่ ผศู้ ึกษาขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 ปีการศึกษา 2564 ท่ีให้ความรว่ มมือ ในการ ทดลองใช้กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนจนทาให้ผลการศึกษาสาเร็จลลุ ่วงไปตามวัตถุประสงค์ ขอบคณุ บิดา มารดา ครอบครวั และผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกท่าน ที่ทาใหก้ ารศึกษาครง้ั นี้ สมบูรณแ์ ละมี คณุ ค่าและมปี ระโยชน์ ผศู้ กึ ษาขอขอบพระคณุ มา ณ โอกาสนี้ จีรดา ตพุ ิมาย นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

ชื่อนวตั รกรรม การจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียน ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 /1 ผู้ศกึ ษา จีรดา ตพุ มิ าย บทคัดย่อ การศึกษาในครง้ั นีม้ ีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อสรา้ งและหาประสิทธิภาพกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ท่ีมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพ่ือ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนจากกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานเพอ่ื สง่ เสริมคุณภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 3) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อกิจกรรมการ เรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริมคุณภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 มีข้ันตอนการดาเนินการ 6 ขัน้ ตอน ดงั นี้ 1) การวางแผน (Planning) 2) การสรา้ งส่ือการเรียนรู้ (Recording) 3) การแบ่งปันส่ือการเรียนรู้ (Media Sharing) 4) การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Discussion) 5) การมอบหมายงาน (Assignment) 6) การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment)) ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวัดจาก คะแนนการทากิจกรรม และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนมีกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ท่ีเรียนวิชาเคมี 5 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหินดาดวิทยา อาเภอหว้ ยแถลง จงั หวัดนครราชสีมา สังกัดองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวัดนครราชสีมา 1 กลุ่ม จานวน 34 คน โดยการเลือกแบบเฉพาะเจาจง เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ไดแ้ ก่ 1) แผนการจดั การ เรียนรูก้ ิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพการ เรียนรูใ้ นยุค New normal จานวน 1 แผน 2) ส่ือการสอนที่ใช้เทคโนโลยีเป็นฐาน 3) กิจกรรมผ่าน ระบบออนไลน์ 4) แบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น 5) แบบประเมินความพึงพอใจของการจัดการเรยี นรู้ สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู คอื ค่าเฉลย่ี และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาค้นคว้า พบว่า 1) ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพือ่ สง่ เสริมคุณภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 พัฒ นาขึ้นมี ป ระสิทธิภาพ เท่ากับ 95.59 / 88.2 ส่ือนวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วทิ ยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นหินดาดวิทยา

ซึ่งมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์ 80/80 ที่ตั้งไว้ 2) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการเรียนของ นักเรียนท่ีเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือ สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3) ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัด กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพอื่ ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ น ยคุ New normal เรือ่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 นกั เรียนมีความคดิ เหน็ ในทาง ที่ดี ต่อการเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อ ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่อื ง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ค่าเฉล่ียรวม 4.55 ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.60 โดยมี ค่าเฉล่ียความคิดเห็นสูงที่สุดใน เรื่อง เป็นการจัดการเรียนรูท้ ี่ยืดหยุ่นและปรบั เปลี่ยนได้ตามสถานการณ์ของชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป โดย ผสมผสานการเรียนรูท้ ่เี กิดขึน้ ในเวลาเดียวกนั (Synchronous) และคนละเวลากัน (Asynchronous) ที่ เช่ือมโยงกันดว้ ยเครือข่ายโทรคมนาคม สามารถเรียนในห้องเรียนก็ได้ ออนไลน์ก็ได้ คนละท่ีหรือท่ี เดยี วกันกไ็ ด้ มคี า่ เฉลีย่ 4.71 และมีคา่ เฉลี่ยความคดิ เห็นนอ้ ยที่สดุ ใน เรื่อง มีขน้ั ตอนการจดั การเรยี นรู้ ท่เี หมาะสม มคี ่าเฉล่ีย 4.46 สอ่ื นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

สารบัญ เรอ่ื ง หน้า ภมู หิ ลงั 1 จดุ ม่งุ หมายของการศึกษา 3 ความสาคญั ของการศึกษา 3 คาถามการศึกษา 3 สมมตุ ิฐานการศึกษา 4 ขอบเขตของการศึกษา 4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 5 กรอบแนวคดิ การศกึ ษา 7 วธิ ีดาเนินการศกึ ษา 8 ปัจจยั เกอื้ หนนุ ความสาเร็จ 20 ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั 20 แนวทางการพฒั นาในอนาคต 21 อภปิ รายผล 22 ขอ้ แสนอแนะ.........................................................................................................25 บรรณานกุ รม 26 ภาคผนวก 28 ส่อื นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

รายงานการใช้สอื่ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา ชอื่ ผลงาน : การจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็ นฐานเพือ่ ส่งเสริมคุณภาพการเรยี นรู้ในยุค New normal เรอ่ื ง พอลิเมอร์ สาหรับนักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 6/1 ชอ่ื เจ้าของผลงาน : นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย หน่วยงาน : โรงเรยี นหนิ ดาดวทิ ยา สถานท่ีติดต่อ : โรงเรยี นหนิ ดาดวิทยา ตาบลหินดาด อาเภอหว้ ยแถลง จงั หวดั นครราชสีมา ภมู ิหลงั : ในช่วงปีการศึกษา 2563-2564 เป็นช่วงท่ีประเทศไทยมีการระบาดของโรคโควิด -19 และ เน่ืองจากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) ทาใหม้ ีการ ปรับเปลี่ยนมาตรการ เช่น การกาหนดพืน้ ท่ีสี พืน้ ท่ีควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (สีแดงเข้ม)มีปรับ ระยะเวลาการออกจากบา้ น การซือ้ อาหาร เป็นตน้ ดว้ ยสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโรคติดเชอื้ โค โรนา 2019 ส่งผลให้ สถานศึกษาหลายพื้นที่ไม่ สามารถจัดการเรียนการสอนตามปกติ(On Site) จาเป็น ตอ้ งปรบั รูปแบบการจัดการเรียนรู้ เป็นแบบ Online, On Hand, On Demandและ On Air (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน, 2564 : ออนไลน์) องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ได้ ตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตของ คณะครู นักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา อีกทัง้ เพื่อลด ปัจจยั เสี่ยงและลดโอกาสในการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) จึงให้ สถานศึกษาในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ปิดโรงเรียนเป็นกรณีพิเศษ โดยปรับ รูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์ ( Online ) โดยใหถ้ ือปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกนั การ แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ( COVID – 19 ) (หนังสอื ที่ นม 51008.02/2482 ลงวนั ท่ี 25 มิถุนายน 2564 สานักการศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม องคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา ,2564) โรงเรียนหินดาดวิทยา ตาบลหินดาด อาเภอห้วยแถลง จังหวดั นครราชสีมา สังกัด องคก์ าร บริหารส่วนจังหวดั นครราชสีมา ตระหนักถึงความปลอดภัยของนกั เรียนที่จะได้รบั ผลกระทบจากการ แพร่ระบาด และเพื่อเป็นการลดความเสี่ยง จากการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จึงกาหนด มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา โรงเรียนหินดาดวิทยา จึงออกประกาศแจ้งการหยุดการเรียน รูปแบบ On Site (ประกาศ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา เรอ่ื ง แจง้ การหยดุ เรยี นรูปแบบ On Site, 2564) จาก ส่ือนวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วทิ ยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

2 แนวทางดังกล่าวทาให้ผศู้ ึกษา ตอ้ งปรบั เปล่ียน รูปแบบการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา้ เพียงอย่าง เดียว มาสู่การเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning ซึ่งเป็นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ผสมผสาน ระหวา่ งการเรยี นการสอนแบบดงั้ เดิม (Traditional Learning) คือสอนในชนั้ เรียนแบบเผชญิ หนา้ รว่ ม กับการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ต (WebBased Learning) หรือการเรียนออนไลน์ (Online Learning) การเรียนการสอนแบบไฮบริดเป็ นวิธีการสอนที่ใช้เทคโนโลยีเพ่ือสร้าง สภาพแวดลอ้ มการเรียนรูท้ ี่ หลากหลายสาหรบั ผเู้ รยี น เป็นวิธีการท่ีผสู้ อนสามารถม่นั ใจไดว้ า่ ผเู้ รยี นมี ส่วนรว่ มกบั เนือ้ หาหลกั สตู ร โดยผสมผสานชมุ ชนการเรียนรูอ้ อนไลน์ การอภิปราย และวธิ ีการทางาน ร่วมกันทางออนไลน์ท่ีหลากหลายซึ่งกระตุ้นให้ผู้เรียนแลกเปล่ียนกับผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นใน ลกั ษณะต่าง ๆ การเรียนการสอนแบบไฮบรดิ ยงั เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มเพิ่มขึน้ เน่อื งจากมกี าร ใชแ้ หล่งขอ้ มูลออนไลน์ เพื่อเพิ่มประสบการณก์ ารเรียนรูอ้ งคป์ ระกอบที่เป็นประโยชนม์ ากท่ีสดุ อย่าง หน่ึงของวิธีการเรียนการสอนแบบไฮบริด คือ ความสอดคลอ้ งกับรูปแบบการสอนท่ีแตกต่างกนั ซึ่งมี กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ออกแบบเอง สาหรบั กลุ่มผูเ้ รียนท่ีหลากหลาย ในการสอนท่ีแตกต่างซ่ึงอิงตาม หลักการของ Universal Design for Learning (UDL) ผู้สอนจะพิจารณาโดยประเมินจากความ ต้องการในการเรียนรูข้ องผู้เรียน ประสบการณ์ในอดีตเก่ียวกับเนือ้ หาสาระ และความสนใจ ใน ปัจจบุ นั เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนมสี ว่ นรว่ มอยา่ งแทจ้ รงิ กบั การเรียนรู้ (Linder, 2017) อยา่ งไรก็ตามเพื่อใหเ้ กดิ การ เรยี นรูท้ สี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รยี นในสว่ นของรูปแบบ วธิ ีการและตอบสนองตอ่ ผลลพั ธก์ าร เรยี นรูท้ ่ีคาดหวงั ใน วชิ าเคมี 5 รหสั วชิ า ว33225 ในช่วง สถานการณก์ ารระบาดของโควิด -19 จึงควร มีการศึกษาเพ่ือออกแบบการเรียนรู้เพื่อให้เกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตามที่คาดหวัง ตลอดจนมีการ ประเมนิ ผลทงั้ ในส่วนของผเู้ รียนและผสู้ อน ซ่ึงจะเป็นประโยชนใ์ นการพฒั นาการเรยี นการสอนตอ่ ไปใน อนาคต จากเหตุผลดังกล่าว ทาใหผ้ ศู้ ึกษาสนใจทาการศึกษา และพฒั นา การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เร่ือง พอลเิ มอร์ เพื่อ เป็นการพฒั นารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรูใ้ หม้ ีประสิทธิภาพ และ เป็นการ เพิม่ ประสบการณเ์ รยี นรู้ ใหก้ บั นกั เรียนโรงเรียนหินดาดวิทยา ไดส้ รา้ งองคค์ วามรูใ้ หม่ๆดว้ ยตนเอง โดย ผเู้ รยี นสามารถศึกษาเนือ้ หา ผ่านระบบออนไลนไ์ ดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา ตามความตอ้ งการ และผเู้ รียนท่เี รยี น ชา้ สามารถทบทวนบทเรียนไดต้ ามความสนใจ อีกทงั้ ยงั ไดป้ ฏิสัมพันธ์ กบั ครูผสู้ อนและเพ่ือนร่วมช้ัน เรียนผ่านระบบออนไลน์ ที่ทันสมัยและรวดเร็ว และช่วยประหยัดทรพั ยากรในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ท่ีมีอย่อู ย่างจากัดผสมผสาน กับ Hybrid Learning ซ่ึงเป็นการสอนแบบที่มีทงั้ แบบเผชิญหนา้ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

3 และแบบออนไลน์ เพื่อทาให้นักเรียนสนใจเรียน วิชาเคมี 5 เพ่ิมมากขึน้ ส่งผลใหผ้ ลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิชาเคมี 5 ของนกั เรยี นสงู ขนึ้ จดุ มงุ่ หมายของการศึกษา 1. เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพ กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยเี ป็นฐานเพือ่ สง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี น ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียน และหลังเรียนจากกิจกรรมการเรียนรู้ แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสรมิ คุณภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรอื่ ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 ความสาคัญของการศกึ ษา 1. เป็นการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน วิชาเคมี 5 เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ในช่วงทโ่ี รคระบาด Covid-19 2. เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ ท่ีช่วย ตอบสนองตอ่ ความเปลย่ี นแปลงของสงั คมและการใชช้ ีวิตในแบบ New Normal คาถามการศกึ ษา 1. นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานเพอื่ ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 สงู ขนึ้ เพยี งใด 2.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยเี ป็นฐานเพ่อื ส่งเสริมคณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เร่อื ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี น ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 มากนอ้ ยเพยี งใด นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

4 สมมตฐิ านการศกึ ษา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วย การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานเพื่อส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 หลงั เรยี นสงู กว่าก่อนเรยี น ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาครั้งนีเ้ ป็นการศึกษาและพัฒนาผู้ศึกษาได้แบ่งขอบเขตออกเป็น ขอบเขตด้าน เนอื้ หา ขอบเขตดา้ นแหล่งขอ้ มลู ขอบเขตดา้ นตวั แปร มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ ขอบเขตด้านเนอื้ หา เนื้อหาท่ีศึกษาในครั้งนี้ ได้แก่ เนื้อหาวิชาเคมี 5 เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรับนักเรียนช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ขอบเขตดา้ นแหลง่ ข้อมลู แหล่งข้อมูลในการหาประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1โรงเรียนหิน ดาดวทิ ยา ตาบลหนิ ดาด อาเภอหว้ ยแถลง จงั หวดั นครราชสีมา ทเ่ี รียนใน วิชา เคมี 5 ในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ กล่มุ ตวั อย่างที่ใชใ้ นการวิจัยครงั้ นีเ้ ป็นนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา ตาบลหินดาด อาเภอหว้ ยแถลง จังหวดั นครราชสีมา ทเี่ รียนใน วิชา เคมี 5 ใน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จานวน 34 คน โดยการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ขอบเขตดา้ นตวั แปร ตัวแปรต้น (Independent variable) ไดแ้ ก่ รูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานเพ่ือสง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ตวั แปรตาม (Dependent variable) ไดแ้ ก่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เร่ือง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

5 2. ความพึงพอใจของนกั เรยี น ที่มีต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดย ใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริมคุณภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรับ นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการสร้างและหาประสทิ ธิภาพ การสรา้ งและหาประสทิ ธิภาพดาเนนิ การในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการทดลอง การทดลองครั้งนี้ ดาเนินการในภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โดยเริ่มตั้งแต่วันท่ี 13 กนั ยายน พ.ศ 2564 ถงึ วนั ท่ี 30 กนั ยายน พ.ศ. 2564 ใชเ้ วลาในการทดลอง 4 ช่วั โมง ระยะเวลาที่ใช้ในการ ประเมินความพึงพอใจ การประเมินความพึงพอใจดาเนินการในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning หมายถึง การเรยี นแบบผสมผสาน รูปแบบใหม่ เป็นการจดั การเรียนรูท้ ย่ี ืดหย่นุ และปรบั เปล่ียนไดต้ ามสถานการณข์ องชวี ิตท่ีเปลยี่ นแปลง ไป โดยจะมีการผสมผสานการเรียนรูท้ ี่เกิดขึน้ ในเวลาเดียวกัน (Synchronous) และคนละเวลากัน (Asynchronous) ท่ีเช่ือมโยงกันด้วยเครือข่ายโทรคมนาคม ท่ีสามารถเรียนได้แบบออนไลน์ วิดิโอ ถ่ายทอดสดจากคลาส หรือ live-streaming รว่ มกับการเขา้ เรียนในหอ้ งเรียน หรือ Onsite กไ็ ดเ้ ช่นกนั ซึ่งผศู้ ึกษาไดส้ รา้ งขนึ้ เฉพาะ เรอื่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 2. ยุค New normal หมายถึง สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโควิด-19 ท่ีระบาดใน ประเทศไทยหลายคร้ัง จนเป็นปรากฏการณ์ท่ีทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมหาศาล เพราะเป็นการ ระบาดใหญ่ท่ัวโลก ส่งผลให้เกิดการปรับเปล่ียนพฤติกรรมอย่างรุนแรงในระยะสั้น และหลาย พฤติกรรมจะอย่ถู าวรกลายเป็น New Normal 3. กจิ กรรม หมายถงึ กจิ กรรมท่ผี สู้ อนสรา้ งขนึ้ จากการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพอื่ สง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

6 5. ประสิทธิภาพการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็ นฐานเพ่ือสง่ เสริมคุณภาพการเรียนรู้ในยุค New normal เรือ่ ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปี ท่ี 6/1 มเี กณฑ์ 80/80 ดงั นี้ 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 80 ของจานวนคาตอบถกู ของแบบฝึกหดั ผลงาน กล่มุ และแบบทดสอบในการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐาน เพอ่ื ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรอ่ื ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6/1 80 ตวั หลงั หมายถึง คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 80 ของจานวนคาตอบถกู ของแบบทดสอบวดั ผล สมั ฤทธิท์ างการเรียน จากการจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐาน เพื่อสง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรอื่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 6. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น หมายถงึ คณุ ลกั ษณะ รวมถึงความรูค้ วามสามารถ ของบคุ คล อันเป็นผลมาจาก การเรียนการสอนหรือมวลประสบการณ์ทั้งปวง ที่นักเรียนไดร้ บั จากจากการจัด กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพอื่ สง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ น ยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นกอ่ นเรียน และ หลงั เรียน 7. ความพงึ พอใจ หมายถึง ความพึงพอใจ ความชอบใจ และ มีความสขุ กบั ส่งิ ทก่ี ระทาหรือ ความตอ้ งการ หรือ เป้าหมายท่ีตงั้ ใจไวบ้ รรลุผล สมหวัง สาหรบั การศึกษาครงั้ นี้ ตอ้ งการให้นกั เรียน พอใจ มีความสุข กับ การจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อ ส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ซ่งึ วดั ไดจ้ ากแบบสอบถามความพงึ พอใจท่สี รา้ งขนึ้ จานวน 10 ขอ้ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา

7 กรอบแนวคิดการศกึ ษา ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การจดั กิจกรรม แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกบั การเรยี น การเรียนรูแ้ บบ ประสทิ ธิภาพของ การสอนในยคุ New normal Hybrid Learning โดยใช้ การจดั การเรยี นรู้ แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกบั เทคโนโลยีเป็น - การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ ฐานเพื่อสง่ เสรมิ ไดแ้ ก่ Hybrid Learning คณุ ภาพการ - กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ เรยี นรูใ้ นยุค 1.ผลสมั ฤทธิท์ าง งานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง New normal การเรียน วิชาเคมี เรอื่ ง พอลเิ มอร์ เร่อื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียน 2. ความพงึ พอใจ ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ในการจดั กจิ กรรม ท่ี 6/1 การเรียนรูแ้ บบ แบบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นฐาน เพือ่ ส่งเสริม คณุ ภาพ การ เรียนรูใ้ นยุค New normal เร่อื ง พอลิ เมอร์ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ภาพ 1 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็ น ฐานเพ่ือส่งเสริมคุณภาพการเรียนรู้ในยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษาปี ที่ 6/1 นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา

8 วกี ารดาเนนิ การศึกษา รายงานการใชน้ วัตรกรรมการศึกษา ฉบับนีเ้ ป็นการศึกษาเชงิ ปฏิบัติการ(Action research) โดยประยุกต์ใชก้ ระบวนการ ตามแนวคิดของ ดร.กฤษณพงศ์ เลิศบารุงชัย การประยุกตใ์ ช้ไฮบริด เลิรน์ นิ่ง(Application of Hybrid Learning) การใช้ห้องเรียนกลับด้านกับไฮบริดเลิรน์ นิ่ง (Flipped Classroom x Hybrid Learning) ดงั นี้ 1. การวางแผน (Planning) 2. การสรา้ งสอ่ื การเรยี นรู้ (Recording) 3. การแบง่ ปันสอื่ การเรียนรู้ (Media Sharing) 4. การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ (Discussion) 5. การมอบหมายงาน (Assignment) 6. การประเมนิ ผลตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ผลความสาเรจ็ ท่ไี ดร้ ับ : จากการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็น ฐานเพอื่ สง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 6/1 ปรากฏผล ดงั นี้ 1. การวางแผน (Planning) เป็นการศกึ ษาความพรอ้ ม ปัญหาและความตอ้ งการใหม้ ีการจดั การเรยี น การสอนแบบ Hybrid Learning และศกึ ษาเนอื้ ความรูข้ องบทเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ของกระทรวงศึกษาธิการ ผลการศึกษา ด้านสภาพปัญหา สถานการณ์ปัจจุบัน มีการระบาดของโรคโควิด -19 และ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ( COVID – 19 ) ท่ีต้อง ปรับเปล่ียน รูปแบบการเรียนการสอนแบบเผชิญหนา้ เพียงอย่างเดียว มาส่กู ารเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning ซ่ึงเป็นรูปแบบการจดั การเรียนการสอนท่ีผสมผสานระหว่างการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม (Traditional Learning) คือสอนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า รว่ ม กับการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย อินเทอรเ์ น็ต (WebBased Learning) หรือการเรียนออนไลน์ (Online Learning) การเรียนการสอน แบบไฮบริด และพบวา่ อปุ กรณก์ ารเรียนท่ีใชส้ ่วนใหญ่ใช้โทรศพั ทม์ ือถือ หรอื คอมพิวเตอรโ์ นต้ บคุ๊ และใช้ อินเทอรเ์ น็ตจากระบบโทรศัพท์ ทั้งนี้ปัญหาความเร็วของสัญญาณอินเตอรเ์ น็ต อุปกรณ์ท่ีใช้ เช่น โทรศัพทม์ ือถือ คอมพิวเตอร/์ แท็บเล็ต ฯลฯ ไม่ทันสมัย ความยากลาบากในการใช้เทคโนโลยี เช่น นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

9 โปรแกรม Zoom หรืออุปกรณ์ท่ีใช้ การเม่ือยล้าสายตาขณะเรียนออนไลน์ การสื่อสารกับครู /เพ่ือน ขณะเรียนออนไลน์ และปัญหาการทางาน/ส่งงานผ่านระบบออนไลน์ รวมถึงปัญหาจากแบตเตอรี่ โทรศพั ท์ ดา้ นเนือ้ หา พบว่าเนือ้ หาในบทเรียนมีมากผสู้ อนตอ้ งแปลงรา่ งเป็นนักออกแบบการเรียนการ สอน ผสู้ อนตอ้ งเป็นผผู้ ลติ ส่อื การเรียนการสอน ส่อื การสอนควรแบง่ เป็นตอน ตอนละ 10-15 นาที อาจแบง่ ออกเป็น 2-3 ตอนในแตล่ ะบทเรียน 2. การสร้างส่ือการเรียนรู้ (Recording) เป็นการนาแนวคิดที่กาหนด เป็นกิจกรรมในขน้ั วางแผนมา ดาเนินการ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริม คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรอื่ ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 การผลติ สอ่ื และนาส่ือท่ีไดไ้ ปใช้ไดด้ าเนนิ การตามข้นั ตอน ดงั นี้ 1. ศกึ ษาเอกสาร หนังสือ ตารา งานวิจัย และบทความต่างๆ นามาวิเคราะห์ เพือ่ สรุป จุดมุ่งหมายและแนวทาง วิธีการ การผลิตส่ือการเรียน การสอนท่ีมี Platform และวิธีการเรียนรูท้ ี่ หลากหลาย มุ่งเนน้ การเปิดพืน้ ที่ให้ผเู้ รียนไดใ้ ชค้ วามสามารถของตนเองอย่างสูงสุดในการการจัด กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพอ่ื สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ น ยคุ New normal เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 2. การออกแบบบทเรียน โดย วเิ คราะหห์ ลักสตู ร เวลาที่ใชใ้ นการเรียน โอกาสในการเรียน ของผูเ้ รียน วิเคราะห์ผลการเรียนรูท้ ่ีคาดหวัง คัดเลือกเนือ้ หา ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือการ เรียนรู้ และแหล่งเรียนรู้ ที่สาคัญและจาเป็น วิเคราะหค์ าอธิบายรายวิชา วิทยาศาสตร์ แลว้ วิเคราะห์ แยกเป็นเรื่อง ต่างๆ ทงั้ หมด ไดแ้ ก่ เรอ่ื ง พอลิเมอร์ 3. จัดทาบทเรียน โดยการกาหนดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หส้ อดคลอ้ งกับผลการเรียนรู้ และ เนอื้ หาท่กี าหนดไว้ จดั ทาสื่อการสอนในรูปแบบต่างๆ เนือ้ หา แบบฝึกหดั และ แบบทดสอบ ท่ีเหมาะสม ต่อการเรียนรูแ้ ละน่าสนใจ นวัตกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การเรียนผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอรอ์ ินเทอรเ์ นต็ และส่ือเทคโนโลยีโดยการใชเ้ ว็ปไซต์ แอปพลิเคชนั และโปรแกรม พฒั นาส่ือ เทคโนโลยี ที่ผสู้ อนคุ้นเคย สามารถใชง้ านไดง้ ่าย และสามารถใช้ไดฟ้ รี ในการเรียนแบบไม่ประสาน นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

10 เวลา (Asynchronize) ผสู้ อนควรจัดทาสื่อในรูปแบบเอกสารดิจิทัลดว้ ย เพ่ือใหผ้ เู้ รียนท่ีไม่สะดวกเปิด วดิ โี อหรืออนิ เทอรเ์ น็ตไมเ่ สถยี ร สามารถอ่านและทบทวนเนอื้ หาไดง้ า่ ย ดงั นี้ เครอื่ งมอื ในการเรยี นการสอนออนไลน์ 1. Online Meetings 1.1 Zoom Meetings คอื แพลตฟอรม์ การประชมุ ออนไลน์ (Video Conference Platform) ทไ่ี ด้ รบั ความนิยมในช่วงที่เกิดการระบาดของเชือ้ ไวรสั COVID-19 โดย Zoom Meetings มี ฟังก์ชันการใช้ งานทั้งการประชุมออนไลน์ แชทผ่านข้อความและยังมีลูกเล่นอื่น ๆ เช่น การแชร์ หนา้ จอจากอปุ กรณ์ นั้นการเปลี่ยนภาพพนื้ หลงั ขณะประชุมได้ การอดั วดิ ีโอขณะประชุมได้ การแสดง อารมณ์ กระดาน การถ่ายทอดสด 1.2 Google Meet เป็นบริการตัวหนึ่งของทางบริษัท Google สาหรบั การประชุมทางวิดีโอ แบบออนไลน์ โดยทกุ คนที่มีบญั ชี Google จะสรา้ งการประชมุ ออนไลน์ มีทงั้ แบบฟรแี ละแบบมคี ่าใช้ จา่ ย 2. Learning Management System 2.2 Google Classroom เป็นแบบฟอรม์ ของบริษัท Google ท่ีเปิดบริการสาหรบั ทุกคนที่ใช้ Google workspace ซึ่ง เป็นชดุ เครอื่ งมือเพื่อประสิทธิภาพในการจดั การเรียนการสอนออนไลนไ์ ดอ้ ย่างดอี อกแบบมาเพื่อช่วย ให้ครูผสู้ อนสามารถสรา้ งและเก็บงานไดโ้ ดยไม่ตอ้ งสิน้ เปลืองกระดาษมีระบบการประเมินการเรียน การสอน 2.1 Google site เป็นแพลตฟอรม์ ของทางบริษัท Google ที่เปิดใหบ้ ริการสาหรบั ทุกคนที่ใช้ Google workspace ซง่ึ เป็นชดุ เคร่อื งมอื ท่สี ามารถสรา้ งเว็บไซตต์ ่างๆเพ่ือเป็นการรวบรวมแหล่งขอ้ มลู ความรูต้ ่างๆมาไวท้ ่ีเดยี วกนั เพ่ือช่วยใหค้ ุณครู สามารถนาสื่อการเรียนการสอนตา่ งๆเก็บมารวบรวมไว้ ในท่ีเดียวกันเพื่อใหน้ ักเรียนสามารถ คน้ หาไดง้ ่ายย่ิงขึน้ และสามารถเป็นแหล่งท่ีส่งต่อขอ้ มลู ไปยังสิ่ง ตา่ งๆได้ 3. Social Media and Social Network 3.1 Facebook เป็นเวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ รกิ ารเครือขา่ ยสังคมออนไลนใ์ นการสรา้ งพนื้ ทแ่ี บง่ ปันตดิ ต่อ กับผู้คนในแบบข้อความเสียงภาพและวีดีโอเน่ืองจากความง่ายของการใช้งานผู้สอนจึงสรา้ ง Facebook Group เพื่อรวบรวมผู้เรียนใหเ้ ป็นสมาชิกมีการจัดเรียงหัวขอ้ การเรียนในแต่ละครงั้ สรา้ ง นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

11 เป็นหน่วยการเรยี นรูซ้ ่ึงสามารถใช้ Conference กนั ภายในกล่มุ รวมถึงแทรกวีดีโอหรือการส่งการบา้ น ไดใ้ น Facebook เชน่ เดยี วกนั 3.2 Line เป็น Application ที่ใชใ้ นการสื่อสารผสมผสานระหว่างการใชบ้ ริการขอ้ ความและ เสยี งภาพและวีดีโอไดเ้ ช่นกนั สามารถจัดกลมุ่ สนทนาแนบเอกสารการจดั กล่มุ ผเู้ รียน LINE Group ซึ่ง ในปัจจบุ ัน LINE ไดเ้ พิ่มการทางานเพิ่มขึน้ เรียกว่า Line Meeting ซ่ึงเป็นวีดีโอคอลแบบใหม่โดยไม่ จาเป็นตอ้ งใช้ Line Group เพยี งแค่กดลิงคก์ ส็ ามารถเขา้ รว่ มประชมุ หรือเขา้ ชั้นเรียนไดท้ นั ที 3.3 YouTube เป็นเวบ็ ไซตท์ ่ใี หบ้ ริการวดี โี อผ่านอินเตอรเ์ นต็ มีหลากหลายประเภทของวดี โี อซ่ึง ผใู้ ชง้ านสามารถอพั โหลดวีดีโอของตนเองใหผ้ อู้ ่ืนรบั ชมไดเ้ ช่นกนั มีการนาวีดีโอจาก YouTube ไปเป็น สือ่ ประกอบการเรียนการสอนสาหรบั ผเู้ รียนทไ่ี มส่ ามารถเขา้ ถึงอินเทอรเ์ นต็ ทมี่ ีความเรว็ เพียงพอผเู้ รียน ไดเ้ รียนแบบ On Demand ไดเ้ ช่นกนั จากวดิ โี อทผี่ สู้ อนไดอ้ พั โหลดไว้ ออนไลนท์ ลู 4. Online Tools 4.1 Google form เป็น Application 1 ของ Google work Space ที่เขา้ มามีบทบาทต่อการ เรียนการสอนเป็นอย่างมาก สามารถใชไ้ ด้ทงั้ การทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) และการทดสอบหลัง เรยี น (Post-Test) และสามารถเป็นแบบฝึกหดั ออนไลนป์ ระเภทต่างๆได้ แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง พอลิเมอร์ คลิก๊ ลิงค์ https://forms.gle/Mx1XfqoGKC6YDXRi7 สแกนควิ อารโ์ คช้ ภาพ 2 คิวอารโ์ ค้ช และหน้าต่างตวั อยา่ งของแบบทดสอบก่อนเรยี น เรือ่ งพอลิเมอร์ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

12 แบบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง พอลิเมอร์ คลิก๊ ลงิ ค์ https://forms.gle/M5kKQZZ2aKb7ZRTw8 สแกนควิ อารโ์ คช้ ภาพ 3 คิวอารโ์ คช้ และหน้าต่างตัวอย่างของแบบทดสอบหลังเรียน เร่อื งพอลเิ มอร์ 4.2 Live worksheet เป็น Application ท่ีสามารถใช้ในการจดั สรา้ งใบงานต่างๆ ท่ีสามารถ สรา้ งได้อย่างหลากหลาย เหมือนใบงานท่ีมีชีวิต ที่สามารถสรา้ งความสนุกสนานใหก้ บั ผเู้ รียนทาให้ ผเู้ รียนมีแรงผลกั ดนั ในการแสวงหาความรูม้ ากขนึ้ เช่น ใบงาน เร่ือง Polymerization ลิงค์ https://www.liveworksheets.com/zf2277567gf สแกนควิ อารโ์ คช้ ภาพ 4 คิวอารโ์ ค้ช และหน้าตา่ งตัวอยา่ งของใบกจิ กรรม เรอ่ื ง Polymerization นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

13 4.3 Word Wall เป็น Application ทีส่ รา้ งขนึ้ ในการสรา้ งใบความรูต้ า่ งๆของคณุ ครูผสู้ อนซ่ึง รวบรวมไวอ้ ย่อู ยา่ งหลากหลาย ซงึ่ คณุ ครูผสู้ อนสามารถนาใบงาน ใบความรูต้ ่างๆหรอื แบบฝึกหดั ต่างๆ ทมี่ ีอยนู่ ามาใชก้ บั ผสู้ อนไดห้ รือสามารถสรา้ งขนึ้ เองได้ ตวั อย่างกิจกรรม เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ ลงิ ค์ https://wordwall.net/play/8476/870/966?fbclid=IwAR2AC6GDFo_tX58vRaFXRW4cTp8vJyji6 VipHLDT-4Z15vMtC5QIlvBmMpY สแกนคิวอารโ์ คช้ ภาพ 5 ควิ อารโ์ ค้ช และหน้าต่างตวั อย่างของกิจกรรม เร่อื ง พอลเิ มอร์ เรอื่ ง จบั ค่พู อลิเมอรแ์ ละมอนอเมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ลงิ ค์ https://wordwall.net/play/21243/035/186?fbclid=IwAR2AC6GDFo_tX58vRaFXRW4cTp8vJyji6 VipHLDT-4Z15vMtC5QIlvBmMpY สแกนคิวอารโ์ คช้ ภาพ 6 ควิ อารโ์ คช้ และหน้าตา่ งตวั อยา่ งของกิจกรรม เรื่อง จับคูพ่ อลเิ มอรแ์ ละมอนอเมอรใ์ ห้ ถูกต้อง นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา

14 5. บรรจุบทเรียนลงใน Platform และวิธกี ารเรียนรูท้ ี่หลากหลาย ม่งุ เนน้ การเปิดพืน้ ที่ ใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ชค้ วามสามารถของตนเองอยา่ งสงู สดุ ในการเรียนรู้ ประเภท “เทคโนโลยี” ไดแ้ ก่ 5.1 บทเรยี นออนไลน์ ผ่าน google site ลงิ ค์ https://sites.google.com/view/chemjeer/home สแกนคิวอารโ์ คช้ ภาพ 7 ควิ อารโ์ ค้ช และหน้าต่างตวั อยา่ งของบทเรียนออนไลน์ ผ่าน google site 5.2 ช่อง Youtube Chanel : ชอ่ ง Jeerada Toophimai ลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v=UzTh6_dwp8&feature=youtu.be หรือ สแกนคิวอารโ์ คช้ ภาพ 8 ควิ อารโ์ คช้ และหน้าตา่ งตวั อย่างของช่อง Youtube Chanel : ช่อง Jeerada Toophimai นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

15 5.3 อบี คุ๊ เรื่อง พอลเิ มอร์ ลิงค์ https://pubhtml5.com/bookcase/vcft สแกนควิ อารโ์ คช้ ภาพ 9 ควิ อารโ์ ค้ช และหน้าต่างตวั อยา่ งของอบี คุ๊ เรื่อง พอลิเมอร์ 3. การแบง่ ปันส่ือการเรยี นรู้ (Media Sharing) โดยการจัดการเรยี นรู้ ตามขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. ใชแ้ พลต็ ฟอรม์ ออนไลน์ ผ่านระบบ Google Meet โดยการนดั หมายผ่าน Face book Group โดยใชค้ าส่งั และเวลาที่ชดั เจน โดยไม่จาเป็นตอ้ งเขา้ เรยี นทกุ คน สาหรบั นกั เรยี นท่ีมปี ัญหาไม่ สามารถเขา้ เรียนในวนั เวลาดงั กลา่ ว หรอื เรียนไมเ่ ขา้ ใจสามารถเรยี นเพม่ิ เตมิ ได้ ในบทเรยี นออนไลน์ ภาพ 10 ตัวอย่างการนัดหมายผ่าน Face book Group นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

16 2. การสอน ผ่านระบบ Google Meet เป็นการสอนที่สามารถโต้ตอบกันได้ตลอดเวลา ที่ เชอ่ื มโยงกนั ดว้ ยเครือข่ายโทรคมนาคม สามารถเรียนในหอ้ งเรยี นได้ ออนไลนไ์ ด้ คนละทห่ี รอื ท่เี ดยี วกนั กไ็ ด้ 3. ครูแชร์หน้าจอ ส่ือการสอน เร่ือง พอลิเมอร์ ท่ีสรา้ งขึน้ โดย โปรแกรม Power Point ให้ นกั เรียนไดร้ บั ชมพรอ้ มกนั พรอ้ มทงั้ อดั คลิปการจดั การเรียนการสอน เพื่อใหน้ ักเรยี นที่ไม่สามารถเขา้ เรียนไดต้ ามเวลาทนี่ ดั หมาย สามารถเขา้ มาศึกษายอ้ นหลงั ได้ ภาพ 11 ตัวอยา่ งการสอนผา่ นระบบ Google Meet 4. การแลกเปล่ียนเรียนรู้ (Discussion) 4. ระหว่างการจดั การเรียนรู้ ครูใชค้ าถามเพื่อกระตนุ้ การเรยี นรู้ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนมีสว่ นรว่ มและ การโตต้ อบ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกิดความสนใจในการเรยี น โดยใชค้ าถาม ตลอดระยะเวลาที่ มกี ารเรยี นผ่าน ระบบทีส่ ามารถโตต้ อบกนั ได้ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

17 5. สรุปบทเรยี น เก่ยี วกบั ความหมายของพอลเิ มอร์ และปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอร์ โดยใชก้ าร อภิปรายรว่ มกนั 5. การมอบหมายงาน (Assignment) 6. ครูมอบหมายงาน นกั เรยี นทาจากกิจกรรม พอลเิ มอร์ และ จบั คพู่ อลเิ มอร์ และมอนอเมอรใ์ ห้ ถกู ตอ้ ง ทสี่ รา้ งขนึ้ จากโปรแกรม Wordwall เพอ่ื เป็นการสรุปความรู้ และทบทวนสง่ิ ที่ไดเ้ รียนรู้ ภาพ 11 ตวั อยา่ งกิจกรรม ผ่าน Wordwall จดั การเรียนรูอ้ อนไลน์ Online Learning ชแี้ จงนัดหมายนักเรียน ในหอ้ งเรียนทงั้ ท่ีไดเ้ รียนผ่านระบบ Google Meet และที่ไม่ไดเ้ ขา้ เรียน ใหส้ ามารถ เรียนเพ่ิมเติมและทบทวนเนือ้ หาไดท้ ุกท่ีและทกุ เวลา สามารถติดตามการบ้านและ นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

18 การสอบออนไลน์ ได้ จาก https://sites.google.com/view/chemjeer/home และคลกิ๊ เลือกบทเรยี น ท่ีตอ้ งการ ภาพ 12 ตวั อย่างบทเรียนออนไลน์ ทสี่ ร้างจาก google sites 6. การประเมินผลตามสภาพจรงิ (Authentic Assessment) ครูผสู้ อนประเมนิ การทากจิ กรรม เร่อื ง พอลิเมอร์ และ เร่อื ง ปฏิกริ ิยาพอลเิ มอรไ์ รเซช่นั จาก ส่อื ทค่ี รู ใช้ จากโปรแกรม Word wall - นกั เรียนแต่ละคน ประเมินความรูข้ องตนเองจากกจิ กรรมท่ีไดท้ า - ครูผสู้ อนประเมินการทากจิ กรรมของนกั เรียน - ครูผสู้ อนและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปกิจกรรมที่ไดเ้ รยี นรู้ ในครง้ั ตอ่ ไป ภาพ 13 ตัวอย่างผลลพั ธจ์ ากการทากจิ กรรม เร่ือง พอลเิ มอร์ และ เรอ่ื ง ปฏิกริ ยิ า พอลเิ มอร์ ไรเซช่นั จาก สอ่ื ที่ครูใช้ จากโปรแกรม Word wall นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

19 ภาพ 14 ตวั อยา่ งผลลัพธจ์ ากการทาใบงาน เร่ือง Polymerization จากโปรแกรม Live worksheet ตาราง 1 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพของรูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยเี ป็ นฐานเพือ่ สง่ เสรมิ คุณภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เรอื่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 6/1( n = 34) รายการ จานวน คะแนนเตม็ คะแนนรวม คา่ ประสิทธภิ าพ คะแนนระหว่างเรยี น (E1) 34 28 26.76 95.59 คะแนนหลงั เรยี น (E2) 34 10 8.82 88.24 จากตาราง 1 พบว่า การวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพของรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 มีค่า ประสิทธิภาพ เท่ากบั 95.59/88.24 (ภาคผนวก -ข, หนา้ 42) ซ่ึงเป็นไปตามเกณฑท์ ี่กาหนดไวค้ อื 80/80 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

20 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลงั เรียน เมื่อประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษา โดยประเมินจากคะแนนระหว่างเรียนมีคะแนนเก็บ 28 คะแนน และคะแนนสอบ หลงั เรียน 10 คะแนน โดยการตัดสินผลสอบใชก้ ารอิงเกณฑ์ พบว่า เม่ือเทียบนักเรียน ที่เรียนแบบ Hybrid Learning ในปีการศึกษา 2564 กบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นรูแ้ บบออนไลนห์ รอื ออฟไลนเ์ พียงอยา่ งเดยี ว พบว่า นักเรียนท่ีเรียนแบบ Hybrid Learning มีคะแนนสงู กว่ากล่มุ ที่เรียนแบบออนไลนห์ รือออฟไลน์ เพียงอยา่ งเดียว ทงั้ ในสว่ นของคะแนนสอบและคะแนนเก็บ ปัจจยั เกือ้ หนุนหรือเง่ือนไขทนี่ าไปสูผ่ ลงานความสาเรจ็ 1. นกั เรียนมคี วามกระตอื รอื รน้ สนใจเรยี น 2. ครูผสู้ อนเอาใจใส่ ตรวจผลงานนกั เรยี นอย่ตู ลอดเวลา ทาใหน้ กั เรียนมคี วามกระตือรือรน้ สนใจเรียนมากขนึ้ ประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการสร้างและพัฒนา การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นฐานเพ่อื ส่งเสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 ทาใหไ้ ดว้ ิธีการจดั การเรียนการสอนในแบบ Hybrid Learningและ สือ่ การเรียน การสอนทม่ี ี Platform และวิธีการเรียนรูท้ ่ีหลากหลายมงุ่ เนน้ การเปิดพนื้ ทใ่ี หผ้ เู้ รียนไดใ้ ชค้ วามสามารถ ของตนเองอย่างสงู สุดในการเรยี นรู้ ประเภท “เทคโนโลย”ี ซึ่งพบวา่ นักเรียนใหค้ วามสนใจในการเรียน และทากิจกรรมตามท่ีครูผู้สอนกาหนดไวอ้ ย่างต่อเนื่อง สามารถเรียนได้ทุกที่ ทุกเวลา ท่ีนักเรียนมี ความพรอ้ มในการเรียนรู้ เป็นการจัดการเรียนรูท้ ี่ไม่มีขีดจากัด ทั้งด้านเวลาและสถานท่ี จึงทาให้ ครูผสู้ อนไดส้ รา้ งและพัฒนาสื่อ ในเร่ืองอ่ืนๆ เพ่ิมเติม เพื่อให้นักเรียนไดเ้ รียนรูค้ รบถว้ นตามหลักสูตร การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโควิด -19 การเรียนรู้ แบบ Hybrid Learning เป็นการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ การแพร่ ระบาดของโควดิ -19 การเลือกเครือ่ งมอื ออนไลน์ ที่ถกู ตอ้ งและเลอื กวิธีการสอนท่เี หมาะสมจะช่วยให้ การเรียนการสอนตลอดจนตัวผเู้ รยี นสามารถบรรลุผลตามวัตถปุ ระสงคต์ ามทต่ี งั้ ไวไ้ ด้ ผสู้ อนสามารถ ใช้ เครื่องมือออนไลน์ เพื่อสรา้ งห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) โดยใช้ เครื่องมือในกลุ่ม Online Meetings ได้ แก่ Zoom Meetings, Google Meet, Microsoft Facebook Group และLine Group ได้ เพื่อให้ การเรยี นการสอนเป็นเสมือนหอ้ งเรียนและสามารถสนทนาได้ แบบ Face to Face หากผูส้ อนมีการทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) หรือหลงั เรียน (Post-Test)สามารถเลือกใช้ เคร่ืองมือ ออนไลน์ ต่าง ๆ ได้แก่ Google from , Live work sheet , word wall หากผู้สอนต้องการจัดทาการ นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

21 สอบกลางภาคหรือปลายภาค โดยในภาคทฤษฎี สามารถใช้ เครื่องมือ เช่น Google Classroom, Google Site , Google from ได้ หรือภาคปฏิบัติ ท่ผี ูส้ อนจาเป็นตอ้ งเห็นกระบวนการหรือการปฏิบัติ จริง โดยผู้เรียนบันทึกเป็นวิดีโอและอัพโหลดเพ่ือให้ ผูส้ อนได้ เห็นกระบวนการทัง้ หมดสามารถใช้ เคร่อื งมือเหล่านไี้ ด้ เช่น Youtube, OBS, Capcut, Facebook Group และLine Group แต่อยา่ งไรก็ ตาม ผสู้ อนและผเู้ รียนจาเป็นที่จะตอ้ งไม่ลมื ปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คมแบบ Face to Face ซึง่ การเรยี นแบบ Hybrid Learning จะช่วยลดจุดอ่อนของการเรียนออนไลน์ได้อย่างดี นอกจากท่ีจะเหมาะสมกับ สถานการณ์ท่ี ผู้คนต้องเว้นระยะห่างทางสังคมแล้ว (Social Distancing) การเรียนแบบไฮบริด (Hybrid Learning) ยังเป็นการเรียนรู้ ท่ตี อบโจทยก์ ารพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนให้ เป็นผูเ้ รียนท่ีมีทกั ษะ ในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งจากตวั อย่างดังกล่าว จะเป็นแนวทางให้ ผู้สอนท่ีกาลังศึกษาเคร่ืองมือออนไลน์ หรือกาลังแสวงหาเคร่ืองมือท่ีเหมาะสมกับรายวิชา ได้เห็นแนวทางที่ชัดเจนจากการประยุกต์ใช้ ความสาเร็จในการเรยี นรู้ จะสมบูรณน์ นั้ ตอ้ งอาศยั ทงั้ 4 ปัจจยั เกอื้ กูลกนั ได้ แก่ 1) ผูส้ อน 2) ผูเ้ รียน 3) สถานศึกษา 4) ความพรอ้ มดา้ นทรพั ยากร ซึ่งในอนาคตขา้ งหนา้ เม่ือ 4 ปัจจัยมีความพรอ้ มอย่าง สมบูรณ์ การศึกษากจ็ ะเป็นอาวธุ ที่ทรงพลงั ในการเปล่ียนแปลงโลก แนวทางการพฒั นาในอนาคต 1. การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริม คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เร่ือง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 การ สรา้ ง ส่อื การเรียนการสอนท่ีมี Platform และวิธีการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย ม่งุ เนน้ การเปิดพืน้ ท่ีใหผ้ เู้ รยี น ได้ใช้ความสามารถของตนเองอย่างสูงสุดในการเรียนรู้ ประเภท “เทคโนโลยี” ที่มีในอนาคตควรมี บทสรุปเสริม หลังนาเสนอรายละเอียดของเนื้อหาเพื่อย้าความคิดรวบยอด (Concept) ของ นกั เรยี น ก่อนที่นกั เรียนทาใบกิจกรรมระหว่างเรียนผ่านระบบออนไลน์ เพื่อเสริมความเขา้ ใจหรือหาก นกั เรียน พบวา่ บทสรุปไมต่ รงกบั ความเขา้ ใจเบือ้ งตน้ ขณะเรยี น นกั เรยี นจะมีโอกาสไดศ้ ึกษาบทเรียน ซา้ กอ่ นทาใบกจิ กรรม 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริม คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรอื่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/1 เป็นการ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ท่ีมีการพฒั นา สื่อการเรียนการสอน การเรยี นรูท้ ี่มี Platform และวิธีการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย ม่งุ เนน้ การเปิดพนื้ ที่ใหผ้ เู้ รยี นไดใ้ ชค้ วามสามารถของตนเองอยา่ งสงู สดุ ในการเรียนรู้ ประเภท “เทคโนโลยี”ในปัจจบุ นั เป็นไปอย่างรวดเร็วขึน้ เนื่องจากมีการเผยแพร่ความรู้ ตา่ งๆในการสรา้ งเครอื่ งมือในการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโร นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

22 น่า ( COVID – 19 ) ในเว็บไซตอ์ ย่อู ย่างหลากหลาย คณุ ครูสามารถเลอื ก Platform ต่างๆในการจดั การ เรียนรูไ้ ดอ้ ย่างหลากหลาย มีเครื่องมือท่ใี ชใ้ นการพฒั นาเป็นของตนเอง และครูตอ้ งมีความสามารถใน การออกแบบบทเรียนด้วยตนเอง ซ่ึงหากครูขาดทักษะและอุปกรณ์ดังกล่าว อาจส่งผลต่อการ พฒั นาการเรียนการสอน ทงั้ นคี้ รูควรหม่นั ศึกษาหาความรูต้ า่ งๆ ทีม่ ีอยอู่ ย่างหลากหลาย นอกจากนยี้ ัง มีหน่วยงานกลางที่มีเคร่ืองมือและผู้เชี่ยวชาญช่วยสนับสนุน และมีเอกสารงานวิจัยให้ค้นคว้า หลากหลาย การพฒั นาสอ่ื นา่ จะเกดิ ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผลมากย่งิ ขนึ้ อภิปรายผล (Discussion) การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อส่งเสริม คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 แนว ทางการจัดการเรียน โดยการเพิ่มการเรียนแบบเผชิญหน้า ผ่านระบบ Google Meet และระบบ ออนไลน์ ผ่าน Google Site โดยที่นักเรียนได้ผ่านการฝึกทักษะและการปูพืน้ ฐานความรูม้ าก่อนโดย เป็นการสอนแบบเผชิญหนา้ ผ่านระบบ Google Meet และมาทากิจกรรมเพ่ิมในระบบออนไลน์ ซ่ึง การจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริมคณุ ภาพการ เรียนรูใ้ นยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 คร้ังนี้ นักเรียน สามารถเขา้ มาฟังการเรียนการสอนยอ้ นหลงั ในระบบออนไลน์ ไดต้ ลอดภาคการศึกษาซึ่งตา่ งจากเดิม ท่ีนักเรียน เรียนในชน้ั เรียนแบบออฟไลนเ์ พียงอย่างเดียว ทาให้หากตอ้ งการทบทวนความรูน้ ักเรียน จะตอ้ ง อ่านจากตาราหรือคน้ ควา้ จากแหล่งเรยี นรูอ้ ื่น ประสบการณก์ ารเรียนรูถ้ ูกจัดใหอ้ ย่ใู นรูปแบบ ชุมชนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning จะมีการจาลองประสบการณ์ใน หอ้ งเรียนใหเ้ กิดขึน้ ในรูปแบบออนไลน์ ทุกคนสามารถช่วยกันใหข้ อ้ มูลสรา้ งองคค์ วามรู้ พดู คุยกันได้ นอกจากนี้ การเพิ่มช่องทางการติดต่อใหก้ บั นกั เรียนผ่านแอปพลิเคช่ัน ไลน์ เฟสบุ๊ค ก็เป็นอีกช่องทาง หน่งึ ท่ีทาใหน้ กั เรียนสามารถตดิ ต่อกบั ครูและเพอื่ นนกั เรียนดว้ ยกนั ได้ การจดั การเรียนรูจ้ ะตอ้ งประเมิน และใหผ้ ลป้อนกลับได้ เชน่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนออนไลน์ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นออนไลน์ อาจ ใชก้ ารเรยี นรูแ้ บบต่างๆเขา้ มาผสมผสานกนั ตามความเหมาะสม การออกแบบบทเรียนจะตอ้ งสามารถ ตอบโจทย์ผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถนาข้อดีของเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ในการเรียนรูไ้ ด้ การ มอบหมายงานหรือกิจกรรมตอ้ งเป็นงานหรือกิจกรรมท่ีส่ือสารใหเ้ ขา้ ใจง่ายและชดั เจน เพื่อใหผ้ เู้ รียน สามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั และทางานไดเ้ สรจ็ สมบูรณ์ ในแต่ละครงั้ ท่จี ดั การเรยี นการสอนซึ่งรูปแบบการ เรียนการสอนทอ่ี อกแบบนี้ มาจากการศึกษาความรู้ ในดา้ นตา่ งๆและผเู้ รยี นทาใหอ้ อกแบบไดก้ บั ความ ตอ้ งการเรียนรู้ ซง่ึ สอดคลอ้ งกบั กรอบทฤษฎรี ะบบ (ADDIE) ทป่ี ระกอบดว้ ย ปัจจยั นาเขา้ (input) ซ่ึง นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

23 ในที่นีค้ ือขนั้ ตอนของการวิเคราะห์ (A=Analysis) กระบวนการ(Process) คือขน้ั ตอนของการออกแบบ และพัฒนา (DD = Design & Development) ผลลพั ธ์ (Output) คือชิน้ งานและกระบวนการซึ่งผ่าน การประเมินผลมาแลว้ และปรบั แกจ้ ากผลลัพธท์ ี่ไดใ้ นขน้ั ตอน ของการประเมินผล ทงั้ ในระหว่างการ ดาเนินงาน(Implementation) และการประเมินผลรวมสุดท้าย(E=Evaluation) (พิจิตรา ธงพานิช, 2560) โดยการเรียนแบบไฮบรดิ เป็นการผสมผสานการเรยี นแบบออฟไลนแ์ ละออนไลน์ เป็นรูปแบบที่ ง่ายที่สุด โดยการเรียนแบบออนไลน์ หมายถึง การเรียนผ่านระบบ Public Health Policy & Law Journal Vol. 8 No. 2 May-August 2022 อินเทอรเ์ นต็ หรืออินทราเน็ต สว่ นการเรยี นแบบออฟไลนน์ นั หมายถึงการเรียนแบบเผชิญหนาในช้ันเรียนปกติ ผสู้ อนจะใช้ช่องทางทั้งสองอย่างนีร้ ่วมกันในการ จดั การเรียนการสอนจะเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนของผเู้ รียนได้ ซึ่งการเรยี นแบบไฮบริดสนับสนุน ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรูด้ ้วยตัวเอง (Selfdirected learning) เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Student Centered) โดยผูเ้ รียนสามารถ คน้ คว้าบทเรียนได้ ทุกเวลา ทุกสถานที่ตามศักยภาพ ของผูเ้ รียนใน ระบบการศึกษาทางไกลทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พรอ้ มไปกบั การเรยี นในหอ้ งเรยี น (มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร, 2557) ทัง้ นี้เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสรมิ คุณภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6/1 ทงั้ ในส่วนของคะแนนสอบและคะแนนเก็บ มีค่าประสทิ ธิภาพ เทา่ กบั 95.59/88.24 อาจเนือ่ งมาจากรูปแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบไฮบริด (Hybrid Learning) ทเี่ ป็นการผสมผสานระหว่างการเรียนการสอนแบบดัง้ เดิม (Traditional Learning) ท่ีมีปฏิสมั พนั ธก์ ัน ระหว่างผสู้ อนและผเู้ รยี นในหอ้ งเรยี น (Face-to-Face) กับการเรียนการสอนผ่านเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต (Web-Based Learning) หรือการเรียนออนไลน์ (Online Learning) ไม่จากัดสถานท่ีและตาม ศกั ยภาพของผเู้ รียนซึ่ง บางครง้ั การเรียนรูใ้ นระบบอิเล็กทรอนิกสเ์ พียงอย่างเดียวไม่สามารถส่งเสริม การเรียนรูท้ ีม่ ีประสิทธิภาพไดอ้ ย่างสมบูรณ์ และการออกแบบ การเรียนการสอนในครง้ั นไี้ ดอ้ อกแบบ โดยเรมิ่ จากการประเมินความตอ้ งการบริบท และสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนแบบ Hybrid Learning ของนักเรียนแล้วจึงนามาส่กู ารออกแบบการเรียนการสอน ทัง้ นี้ สอดคลอ้ งกับแนวคิดของ วรางคณา จนั ทรค์ ง, เอกพล กาละดี (2565) ทีอ่ ธิบายวา่ กลมุ่ ทเี่ รียนแบบไฮบริดมคี ะแนนสงู กว่ากล่มุ ท่ี เรยี นแบบเผชิญหนา้ เพียงอย่างเดียว ทงั้ ในส่วนของคะแนนสอบและคะแนนเก็บอย่างมนี ัยสาคญั ทาง สถิติท่ีระดบั 0.05 สาหรบั ผลประเมินความพึงพอใจของนกั ศึกษาและอาจารยต์ ่อการจดั การเรยี นการ สอนแบบไฮบริด พบวา่ นักศกึ ษาและอาจารยม์ คี วามพึงพอใจตอ่ การเรียนแบบไฮบรดิ ในภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน สอดคล้องกับแนวคิดของ Linder (2017) ท่ีอธิบายว่า Hybrid นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

24 Learning เป็นการนาส่วนท่ีดีท่ีสุดของการเรียนการสอนแบบดงั เดิมและระบบการศึกษาทางไกลทาง อิเล็กทรอนิกสม์ าผสมผสานกนั เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุดแก่ผเู้ รียน การเรียนการสอนแบบ Hybrid Learning จาเป็นต้องเตรียมความพรอ้ มในด้านต่าง ๆทั้งดา้ นการบริหารจัดการดา้ นเทคโนโลยีดา้ น เนือ้ หาหลกั สูตรวิชา ดา้ นผูส้ อนและดา้ นผเู้ รียน การจัดการเรียนการสอนภายใตส้ ถานการณข์ องการ สอนแบบไฮบริดนัน ประกอบด้วยข้ันตอน ดังนี้ 1) การวิเคราะห์และวางแผน (Analysis and Planning) 2) การออกแบบ (Design Solutions) 3) การพัฒนา (Development) 4) การนาไปใช้ (Implementation) และ5) การประเมินผล (Evaluation) สอดคลอ้ งกบั การศึกษาของ คัมภีรภาพ คง สารวย , รชั นีบูรณ์ เนตรภักดี, ชนาธิป ศรีโท และ แก่นเพชร แฝงสีพล (2564) ท่ีพบว่า วิธีการเรียน การสอนแบบไฮบริด (Hybrid Learning) ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและการประยุกต์ใช้ เครื่องมือออนไลน์ เพ่ือให้ สามารถจัดการเรียนการสอนได้ บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์เป็นการนาเสนอ กระบวนทศั นแ์ ละการประยกุ ตใ์ ช้ เครือ่ งมอื ออนไลนใ์ นสถานการณ์ การแพรร่ ะบาดของโรคอบุ ตั ิใหม่ และโรคอบุ ัติซา้ สอดคล้องกับการศึกษาของ เมษา นวลศรี (2563) ที่พบว่าผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน วิชาวจิ ยั ทางการศึกษาหลังการจัดการเรียนรูแ้ บบผสมผสานสูงกว่าการจดั การเรยี นรู้ แบบดงั เดมิ และ การศึกษาของ ชัยวัฒน์ สุภัควรกุล, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณและนิคม ชมภูหลง (2560) ที่พบว่า ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน แบบไฮบริดของนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลยั ราชภัฏสูงกว่าการ นักศึกษาท่ีมีการเรียนการสอนแบบปกติ ปัจจัยความสาเร็จในการใชก้ ระบวนการเรียนรูแ้ บบไฮบริด พบว่าปัจจยั ความสาเรจ็ ในการเรียนการสอนแบบไฮบริด ในมมุ มองของอาจารยผ์ สู้ อนประกอบดว้ ย 1) การออกแบบกิจกรรมที่เปิดใหน้ ักศึกษามีส่วนรว่ มหรือมีขอ้ ตกลงรว่ มกนั ท่ีชดั เจนระหว่างอาจารย์กบั นกั ศึกษา 2) การเตรยี มตัวทงั้ ของผเู้ รยี นและผสู้ อนโดยเฉพาะอย่างยงิ ในสว่ นของการใชโ้ ปรแกรมทใ่ี ช้ สอนออนไลน์ และ3) การอานวยความสะดวกของเจา้ หนา้ ที่และการติดต่อที่สะดวกรวดเร็ว ในส่วน ปัจจัยความสาเร็จในการเรยี นการสอนแบบไฮบรดิ ในมุมมองของนักศึกษาไดแ้ ก่ 1) การเตรียมความ พรอ้ มของนกั ศึกษาในการใชโ้ ปรแกรมท่ีใชส้ อนออนไลน์ 2) การติดต่อประสานงานกบั อาจารยผ์ สู้ อนท่ี สะดวก 3) การแลกเปลี่ยนเรยี นรูแ้ ละการทากิจกรรมและ4) การสามารถทบทวนความรูโ้ ดยศึกษาจาก ระบบออนไลนย์ อ้ นหลงั ได้ซ่ึงกระบวนการเรียนรูแ้ บบไฮบริดท่ีถูกตอ้ งตามหลกั การทฤษฎีท่ีกาหนดผู้ ปฏิบัติตอ้ งมีทกั ษะและความรูค้ วามเขา้ ใจท่ชี ดั เจนถ่องแทต้ ่อการออกแบบการสอนในเชิงปฏิสมั พนั ธ์ พิจารณาในบริบทของงาน หรือองค์กรให้ละเอียด ความสาเร็จของการเรียนแบบไฮบริดเกิดจาก ศกั ยภาพของการปรบั และยอมรบั ในเทคโนโลยีท่ีมีต่อการพฒั นาการเรยี นรู้ ความสาเร็จตอ้ งเริม่ ตงั้ แต่ ระดับล่าง นับจากการออกแบบหลักสตู รการเรียนในลักษณะของไฮบริดส่กู ารปฏิบัติจริง และการใช้ รู ป แบบ การเรียนแบ บ ไฮบริดเป็ นตัวขับเคลื่อนสาคัญ เพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ ยนแป ลงในหลักสูตรท่ี นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

25 ออกแบบหรอื กาหนดไว้ ศิวาพชั ญ์ บารุงเศรษฐพงษ์ , ภรู สิ ร์ ฐานปัญญา และเกรยงไกร สจั จะหฤทยั , (2563) ซึ่งสอดคล้องกับ Huba และFreed, (2000) ท่ีกล่าวว่าการเปลี่ยนไปใช้ห้องเรียนไฮบริด หลกั การสาคญั คือการเปล่ียนจากวิธีการและเทคนิคที่เนน้ ครู เป็นผเู้ รียนทเ่ี ป็นศนู ยก์ ลาง รวมถึงการให้ อิสระหรือเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนในการเรียนรูท้ ่ีเพ่ิมขึน้ ในรูปแบบของทากิจกรรมเสริมีทกั ษะ (Caulfield, 2011) นอกจากนีก้ ารเตรียมตวั และการฝึกอบรมชแี้ นะทงั้ ผสู้ อนและผเู้ รยี นถงึ การใชเ้ ทคโนโลยีกเ็ ป็นสิ่ง ท่ตี อ้ งใหค้ วามสาคญั สาหรบั การเรียนแบบไฮบรดิ (Koehler & Mishra, 2008) ขอ้ เสนอแนะ (Recommendations) 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการศกึ ษาไปใช้ 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพ่ือส่งเสริม คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เร่อื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ในครง้ั นี้ เริมจากการสารวจความตอ้ งการบริบท และสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนและนามาส่กู าร ออกแบบการเรียนการสอน ดังนั้นหากจะมีการนาไปประยุกตใ์ ชอ้ าจต้องพิจารณาประเด็นความ แตกตา่ งของผเู้ รียนและผสู้ อนดว้ ย 2) การจัดการเรียนการสอนแบบ Hybrid Learning ควรเพ่ิมช่องทางการส่ือสารที่ส่ือสารได้ ง่ายระหว่างผเู้ รียนและผสู้ อน นอกจากนีก้ ารเตรียมตวั ทงั้ ของผเู้ รยี นและผสู้ อนก็เป็นสิ่งจาเป็น และการ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษ าท่ีดีการอ อกแบบ กิจกรรมก็เป็ นสิ่งสาคัญ ที่กิจกรรมต้องเอื้อให้เกิด ทกั ษะการเรยี นรู้ 3) ควรมีการเตรยี มความพรอ้ มทงั้ ผเู้ รียนและผสู้ อนก่อนเริม่ การเรียนการสอนโดยอาจทาเป็น คลิปทีส่ ามารถปฏบิ ตั ิตามได้ 2. ข้อเสนอในในการศกึ ษาครั้งต่อไป 1) ควรมีการศึกษาเปรียบเท่ียบผลการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning กบั แบบออนไลนเ์ ต็มรูป เพอ่ื รองรบั โรคระบาดท่อี าจเกิดขนึ้ และจาเป็นตอ้ งใชก้ ารเรียนการสอนแบบออนไลนเ์ ต็มรูป นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

บรรณานุกรม กฤษณพงศ์ เสศิ บารุงชยั . (2564). การเรียนรู้ แบบปรบั เปลีย่ นได้ (Hybrid Learning). สืบคน้ เม่ือ 7 เมษายน 2564. จาก https://touchpoint.in.th/hybrid-learning/ กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถน่ิ . (2564). แนวการจดั การเรยี นการสอนและการวดั และประเมินผล ในช่วง สถานการณ์ 1 การแพร :ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019(COVID-19).สืบคน้ เมื่อ 30 สิงหาคม 2564. จาก http://www.dla.go.th/ upload /document/ type2/2021/8/25962_1_1629876363799.pdf?time=1629876707754 คมั ภีรภาพ คงสารวย , รชั นบี ูรณ์ เนตรภกั ดี, ชนาธิป ศรโี ท และ แกน่ เพชร แฝงสีพ.(2564)การใช้ เครอื่ งมอื ออนไลนส์ าํ หรบั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษในสถานการณ1การแพร่ระบาดของ โรคอบุ ตั ิใหม่และโรคอบุ ตั ซิ ํา้ : กระบวนทศั นแ์ ละการประยกุ ต์ใชก้ ารเรยี นการสอนแบบไฮบริด. วารสารมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตรอ้ ยเอ็ด ปีที่ 10 ฉบบั ท่ี 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2564). ชยั วฒั น์ สภุ คั วรกลุ , สทุ ธิพงศ์ หกสวุ รรณและนิคม ชมพหู ลง. (2560).การพฒั นาระบบการเรียน การสอนแบบไฮบริด สาํ หรบั นกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั . วารสารการ วดั ผลการศึกษา มหาวิทยาลยั สารคาม. 23(1). 66-67. พจิ ิตรา ธงพานชิ . (2560). วิชาการออกแบบและการจดั การเรียนรูใ้ นชนั้ เรยี น. พมิ พค์ รงั้ ที่ 3. นครปฐม: โรงพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร.์ ประกาศโรงเรียนหนิ ดาดวิทยา.(2564). ประกาศแจง้ การหยดุ การเรียนรูปแบบ On Site. โรงเรียนหิน ดาดวิทยา สงั กดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวดั นครราชสีมา มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. (2557). รายงานการวจิ ยั เรอื่ งแนวทางการพฒั นาอิเลร์นนง่ิ สาํ หรบั สถาบนั การศกึ ษาไทย การนาํ เสนอแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบผสมผสานทใี่ ช้ ubiquitous – learning เป็นเครอื่ งมือการเรียนรู.้ สบื คน้ จาก http://www4.educ.su.ac.th /images/research/57/04.pdf เมษา นวลศรี. (2563).การพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั ศึกษาในรายวชิ าการวิจยั ทาง การศกึ ษาดว้ ยการจดั การเรยี นรูVแบบผสมผสาน. วารสารศลิ ปากรศึกษาศาสตรว์ ิจยั . 13(1). 77-94. วรางคณา จนั ทรค์ ง เอกพล กาละดี.(2565).การออกแบบการเรียนรูแ้ บบไฮบรดิ ในชดุ วิชาสถติ ิและการ วจิ ยั ในการจดั การสขุ ภาพ สาํ หรบั นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาในช่วงการระบาดของโรคโค ส่ือนวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วทิ ยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรยี นหนิ ดาดวทิ ยา

27 วิด-19 (วนั รบั บทความ 12 เมย.2565; วนั แกไ้ ขบทความ 29 เมย.2565; วนั ตอบรบั บทความ 30 เม.ย.2565 ศวิ าพชั ญ์ บารุงเศรษฐพงษ์ ภรู ิสร์ ฐานปัญญา และเกรียงไกร สจั จะหฤทยั . (2563). การเรยี นการสอน แบบไฮบริด (Hybrid Learning) กบั การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไทย ในศตวรรษที่ 21. วารสารนาคบตุ รปรทิ รรศน์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช. 12(3). 213-224. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คมู่ ือการใชห้ ลกั สูตรรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 สานกั การศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม แจง้ ปิดสถานศึกษาเป็นกรณีพเิ ศษ เนอื่ งจากสถานการณก์ าร แพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 ( COVID – 19 ) องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั นครราชสมี า. หนงั สอื ท่ี นม 51008.02/2482 ลงวนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564 องคก์ ารบริหารส่วน จงั หวดั นครราชสมี า,2564 Caulfield, J. (2011). How to Design and Teach a Hybrid Course. Sterling, VA: Stylus. Huba, M .E., & Freed. J. E. (2000). Learner-Centered Assessment on College Campuses. Boston:Allyn & Bacon. Koehler, M.J., & Mishra, P. (2008). Introducing TPCK. In Handbook of Technological Pedagogical Content Knowledge (TPCK) for Educators. New York: Routledge. Linder, K.E. (2017). Fundamentals of Hybrid Teaching and Learning. Teaching and Learning.2017, 11-18. https://doi.org/10.1002/tl.20222 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

28 ภาคผนวก 1. แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็ นฐาน เพอ่ื สง่ เสรมิ คุณภาพการเรียนรู้ในยคุ New normal เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ สาหรับ นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปี ที่ 6/1 2. แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมตี อ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็ นฐานเพ่อื สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรอื่ ง พอลเิ มอร์ สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 6/1 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา

29 แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง พอลเิ มอรแ์ ละการเกดิ พอลิเมอร์ เวลา 4 ช่วั โมง รายวิชา เคมี 5 รหัสวชิ า ว33225 กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปี ที่ 6 /1 โดยนางสาวจีรดา ตพุ ิมาย โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา สาระการเรียนรู้ สาระเคมี ขอ้ 1 . เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรียงธาตใุ นตารางธาตุ สมบตั ขิ องธาตุพนั ธะเคมแี ละ สมบตั ขิ องสาร แกส๊ และสมบตั ขิ องแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรยี แ์ ละพอลเิ มอร์ รวมทงั้ การนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงสถานะของสาร การเกิด สารละลายการเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และจิต วิทยาศาสตร์ สือ่ สารส่งิ ที่เรียนรู้ และนาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ ม.6/11 ระบุประเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอรจ์ ากโครงสรา้ งของมอนอเมอรห์ รือ พอลเิ มอร์ ม.6/12 วเิ คราะห์ และอธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างโครงสรา้ งและสมบตั ขิ องพอลิเมอร์ รวมทงั้ การนาไปใชป้ ระโยชน์ 4. สาระการเรยี นรู้เพ่ิมเติม พอลิเมอร์ เป็นสารที่มโี มเลกลุ ขนาดใหญ่ซึง่ ประกอบดว้ ยหนว่ ยย่อยทเ่ี รียกวา่ มอนอเมอร์ เชอื่ มตอ่ กนั ดว้ ยพนั ธะโคเวเลนต์ โดยมีทงั้ พอลเิ มอรธ์ รรมชาติและพอลิเมอรส์ งั เคราะหป์ ฏิกิริยาการเกิด พอลิเมอร์ อาจเป็นปฏิกิริยาแบบควบแน่นหรือปฏิกิริยาแบบเติม ขึน้ อย่กู บั หม่ฟู ังกช์ ันและโครงสรา้ ง ของมอนอเมอร์ พอลิเมอรม์ ีโครงสรา้ งต่างกันอาจเป็นโครงสรา้ งแบบเสน้ แบบกิ่ง หรือแบบร่างแห ขึน้ อยู่กับชนิดของมอนอเมอรแ์ ละภาวะของปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ซ่ึงพอลิเมอรส์ ่งผลต่อจุด หลอมเหลว ความหนาแน่น ความเปราะความเหนียว ความยืดหย่นุ จึงสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ อย่างหลากหลาย นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

30 5. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มีวินยั 2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทกั ษะการสงั เกต 3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 2) ทกั ษะสารวจคน้ หา 3) ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู 4) ทกั ษะการตีความหมายขอ้ มูลและการลง ขอ้ สรุป 3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. กจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวคดิ /รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนคิ : การเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning ครูใหน้ กั เรยี น เรียนผ่านระบบ Google Meet โดยนดั หมายตามตารางเรียน และสง่ Link ผ่าน Face book Group นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ขน้ั ที่ 1 ขน้ั การมสี ่วนร่วมและการโต้ตอบ Engagement and Interactivity 7. ใชแ้ พล็ตฟอรม์ ออนไลน์ ผ่านระบบ Google Meet โดยการนดั หมายผา่ น Face book Group โดยใชค้ าส่งั และเวลาท่ีชดั เจน โดยไมจ่ าเป็นตอ้ งเขา้ เรียนทกุ คน สาหรบั นกั เรียนทม่ี ปี ัญหาไม่ สามารถเขา้ เรยี นในวนั เวลาดงั กล่าว หรอื เรียนไมเ่ ขา้ ใจสามารถเรียนเพิ่มเตมิ ได้ ในบทเรยี นออนไลน์ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

31 8. การสอน ผา่ นระบบ Google Meet เป็นการสอนที่สามารถโตต้ อบกนั ไดต้ ลอดเวลา ท่ี เชอ่ื มโยงกนั ดว้ ยเครือขา่ ยโทรคมนาคม สามารถเรยี นในหอ้ งเรียนได้ ออนไลนไ์ ด้ คนละทหี่ รือท่เี ดียวกนั ก็ได้ 9. ครูแชรห์ นา้ จอ ส่ือการสอน เรื่อง พอลเิ มอร์ ทีส่ รา้ งขนึ้ โดย โปรแกรม Power Point ให้ นกั เรียนไดร้ บั ชมพรอ้ มกนั พรอ้ มทงั้ อดั คลปิ การจดั การเรียนการสอน เพอื่ ใหน้ กั เรียนทไี่ ม่สามารถเขา้ เรยี นไดต้ ามเวลาท่นี ดั หมาย สามารถเขา้ มาศกึ ษายอ้ นหลงั ได้ 10. ระหว่างการจดั การเรียนรู้ ครูใชค้ าถามเพ่อื กระตนุ้ การเรียนรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนรว่ ม และการโตต้ อบ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความสนใจในการเรยี น โดยใชค้ าถาม ตลอดระยะเวลาที่ มกี ารเรยี น ผา่ นระบบท่ีสามารถโตต้ อบกนั ได้ 11. สรุปบทเรียน เก่ยี วกบั ความหมายของพอลเิ มอร์ และปฏิกริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอร์ โดย ใชก้ ารอภปิ รายรว่ มกนั 12. ครูมอบหมายงาน นกั เรยี นทาจากกิจกรรม พอลเิ มอร์ และ จบั ค่พู อลิเมอร์ และมอนอ เมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ทสี่ รา้ งขนึ้ จากโปรแกรม Word wall เพอ่ื เป็นการสรุปความรู้ และทบทวนสง่ิ ท่ีได้ เรียนรู้ นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

32 ข้ันที่ 2 ขน้ั จดั การเรียนรูอ้ อนไลน์ Online Learning ชแี้ จงนัดหมายนักเรียน ในหอ้ งเรียนทงั้ ท่ีไดเ้ รียนผ่านระบบ Google Meet และที่ไม่ไดเ้ ขา้ เรียน ใหส้ ามารถ เรียนเพ่ิมเติมและทบทวนเนือ้ หาไดท้ กุ ทีและทกุ เวลา สามารถติดตามการบ้านและ การสอบออนไลน์ ได้ จาก https://sites.google.com/view/chemjeer/home และคลกิ๊ เลือกบทเรียน ทต่ี อ้ งการ ขั้นที่ 3 ขนั้ Self-Regulating: สร้างคุณค่าใหผ้ ลงาน ตอ่ ยอดประโยชนส์ สู่ ังคม ครูผสู้ อนประเมนิ การทาแบบฝึกหดั เรอื่ ง พอลเิ มอร์ จาก ส่อื ทีค่ รูใช้ จากโปรแกรม Word wall และ เร่ือง ปฏิกริ ิยา พอลิเมอรไ์ รเซช่นั - นกั เรยี นแต่ละคน ประเมินความรูข้ องตนเองจากกิจกรรมท่ไี ดท้ า - ครูผสู้ อนประเมินการทากจิ กรรมของนกั เรียน - ครูผสู้ อนและนกั เรยี นรว่ มกนั สรุปกิจกรรมที่ไดเ้ รียนรู้ ในครงั้ ตอ่ ไป 7. การวดั และประเมินผล รายการวัด วธิ ีวดั เคร่อื งมือ เกณฑก์ าร ประเมิน 7.1 การประเมิน - คะแนน - แบบทดสอบ - ประเมินตาม กอ่ นเรยี น แบบทดสอบ กอ่ นเรียน ก่อนเรียน สภาพจริง - แบบทดสอบ ก่อนเรยี น นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา

33 รายการวดั วธิ วี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ าร ประเมนิ 7.2 ประเมิน ระหวา่ ง - คะแนนกจิ กรรม -กิจกรรมพอลิเมอร์ - รอ้ ยละ 60 การจดั กิจกรรม เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ ผา่ นเกณฑ์ การเรยี นรู้ -คะแนนกจิ กรรม -กิจกรรมจบั ค่พู อลิ - รอ้ ยละ 60 1) กิจกรรม เรือ่ ง เรอ่ื ง จบั ค่พู อลิ เมอร์ และมอนอ ผา่ นเกณฑ์ พอลเิ มอร์ และ เมอร์ และมอนอ เมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง - รอ้ ยละ 60 เรื่อง จบั ค่พู อลิ เมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง -ใบงานปฏกิ ริ ยิ า ผ่านเกณฑ์ เมอร์ และมอนอ -คะแนนใบงาน พอลิเมอรไ์ รเซช่นั เมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง ปฏกิ ิริยาพอลเิ มอร์ -กิจกรรมพอลเิ มอร์ 2) ใบงานปฏกิ ริ ิยา ไรเซช่นั พอลิเมอรไ์ รเซช่นั -คะแนนกิจกรรม 3)กจิ กรรมพอลิ พอลิเมอร์ เมอร์ 2) พฤตกิ รรมการ - สงั เกต - แบบสงั เกต - ระดบั คณุ ภาพ ทางาน รายบคุ คล พฤตกิ รรม พฤตกิ รรมการ - ดี การทางาน ทางานรายบุคคล - ผา่ นเกณฑ์ รายบคุ คล 3) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตการตงั้ ใจ - แบบประเมนิ - ระดบั คณุ ภาพ อนั พึงประสงค์ เรยี นรูแ้ ละแสวงหา คณุ ลกั ษณะ - ดี ความรู้ อนั พงึ ประสงค์ - ผ่านเกณฑ์ 7.3 ประเมินหลงั การจดั กิจกรรม การเรียนรู้ - แบบทดสอบ - แบบทดสอบ - ประเมินตาม - แบบทดสอบ หลงั เรยี น หลงั เรยี น สภาพจริง หลงั เรียน นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

34 8. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนรายวชิ าเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เคมี ม.6 เล่ม 1 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 พอลิเมอร์ 2) แบบฝึกหดั เคมีรายวชิ าเพ่ิมเตมิ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ม.6 เล่ม 1 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 พอลเิ มอร์ 3) แบบทดสอบก่อนเรยี น เรื่อง พอลิเมอร์ คลกิ๊ ลิงค์ https://forms.gle/Mx1XfqoGKC6YDXRi7 4) กิจกรรมเร่อื ง พอลเิ มอร์ คลกิ๊ ลิงค์ https://wordwall.net/play/8476/870/966?fbclid=IwAR2AC6GDFo_tX58vRaFXRW4cTp8vJyji6 VipHLDT-4Z15vMtC5QIlvBmMpY และ เรื่อง จบั ค่พู อลิเมอร์ และมอนอเมอรใ์ หถ้ กู ตอ้ ง คลกิ๊ ลิงค์ https://wordwall.net/play/21243/035/186?fbclid=IwAR2AC6GDFo_tX58vRaFXRW4cTp8vJyji6 VipHLDT-4Z15vMtC5QIlvBmMpY 5) PowerPoint เรอ่ื ง พอลิเมอร์ พอลเิ มอรแ์ ละการเกิดพอลิเมอร์ และสมบตั ิและพอลิเมอร์ 6) คลิปประกอบการสอน เรือ่ ง พอลิเมอรแ์ ละการเกิดพอลเิ มอร์ และสมบตั แิ ละพอลเิ มอรจ์ าก ช่อง Youtube Chanel : ชอ่ ง Jeerada Toophimai ลงิ ค์ https://www.youtube.com/watch?v=UzTh6_dwp8&feature=youtu.be หรือ สแกนคิวอารโ์ คช้ นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

35 7) อีบคุ๊ เร่อื ง พอลเิ มอร์ และสมบตั แิ ละพอลิเมอร์ ลงิ ค์ https://online.pubhtml5.com/dkip/pihh/ สแกนควิ อารโ์ คช้ 8) บทเรยี นออนไลน์ ผ่าน google site ลิงค์ https://sites.google.com/view/chemjeer/home สแกน คิวอารโ์ คช้ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

36 แบบประเมินความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็ นฐานเพ่อื สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรู้ในยคุ New normal เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ สาหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปี ที่ 6/1 คาชแี้ จงสาหรับนักเรียน 1. แบบประเมนิ ฉบบั นเี้ ป็นแบบประเมินคณุ ภาพแบบสอบถามความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นท่มี ี ต่อประสทิ ธิภาพของการจดั กิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็นฐานเพ่ือ ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 2. ขอใหน้ กั เรยี นไดพ้ ิจารณาความเหมาะสมของแตล่ ะรายการซงึ่ เป็นสว่ นประกอบ ของ รูปแบบแลว้ ทาเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในช่องตารางการประเมนิ ในช่องระดบั ความเหมาะสมที่ตรงกบั ความคิดเหน็ ของทา่ น ซึง่ ไดก้ าหนดระดบั ความเหมาะสมไวด้ งั นี้ 5 หมายถงึ รายการประเมินนนั้ มีความเหมาะสมอย่ใู นระดบั มากทสี่ ดุ 4 หมายถึง รายการประเมนิ นนั้ มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก 3 หมายถึง รายการประเมินนน้ั มีความเหมาะสมอย่ใู นระดบั ปานกลาง 2 หมายถึง รายการประเมนิ นนั้ มคี วามเหมาะสมอย่ใู นระดบั นอ้ ย 1 หมายถงึ รายการประเมนิ นน้ั มคี วามเหมาะสมอยใู่ นระดบั นอ้ ยที่สดุ 3. หลงั จากท่ีนกั เรียนไดพ้ ิจารณารายการประเมนิ เสรจ็ แลว้ โปรดใหข้ อ้ เสนอแนะ เพ่ิมเติมโดย เขยี นลงในสว่ นของความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ ขอกราบขอบพระคณุ อยา่ งสงู จีรดา ตพุ ิมาย นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

37 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนทม่ี ตี ่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยเี ป็ นฐานเพ่อื สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เรอ่ื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6/1 รายการประเมิน ระดับความคิดเหน็ 54321 1.ในระหว่างการจดั การเรยี นรูแ้ บบออนไลนห์ รือ Hybrid Learning มกี จิ กรรมใหผ้ เู้ รียนมีส่วนรว่ มและการโตต้ อบ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นเกิด ความสนใจในการเรียน 2.งานทมี่ อบหมายเปน้ งานที่เขา้ ใจง่ายและชดั เจน เพื่อใหผ้ เู้ รียน สามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั และทาการบา้ นไดเ้ สร็จสมบรู ณ์ 3.รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ มรี ูปแบบที่เหมาะสมกบั สถานการณ์ 4.รูปแบบการสอน ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของผเู้ รยี น สามารถ เรียนรูไ้ ดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา มีการออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ หลากหลาย 5. เป็นการจดั การเรียนรูท้ ย่ี ืดหย่นุ และปรบั เปลย่ี นไดต้ าม สถานการณข์ องชวี ติ ทเ่ี ปลี่ยนแปลงไป โดยผสมผสานการเรียนรูท้ ี่ เกดิ ขนึ้ ในเวลาเดยี วกนั (Synchronous) และคนละเวลากนั (Asynchronous) ทเ่ี ช่อื มโยงกนั ดว้ ยเครือขา่ ยโทรคมนาคม สามารถเรียนในหอ้ งเรยี นกไ็ ด้ ออนไลนก์ ไ็ ด้ คนละท่หี รอื ทเ่ี ดียวกนั กไ็ ด้ 6.มขี นั้ ตอนการจดั การเรียนรูท้ ีเ่ หมาะสม 7.สภาพแวดลอ้ มการเรียนรูท้ เี่ หมาะสมทงั้ ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ 8.เป็นการสรา้ งประสบการณก์ ารเรยี นรูใ้ หอ้ ยใู่ นรูปแบบชมุ ชนการ เรยี นรู้ โดยการจาลองประสบการณใ์ นหอ้ งเรยี นใหเ้ กดิ ขนึ้ ใน รูปแบบออนไลน์ ทกุ คนสามารถช่วยกนั ใหข้ อ้ มลู สรา้ งองคค์ วามรู้ พดู คยุ กนั ได้ 9.บทเรียนจะตอ้ งสามารถตอบโจทยผ์ เู้ รยี น ใหผ้ เู้ รียนสามารถนา ขอ้ ดขี องเทคโนโลยมี าใชป้ ระโยชนใ์ นการเรียนรูไ้ ด้ นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจีรดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

38 รายการประเมิน ระดับความคิดเห็น 54321 10.การจดั การเรยี นรูม้ กี ารประเมนิ และใหผ้ ลปอ้ นกลบั ได้ เช่น ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นออนไลน์ ความกา้ วหนา้ ในการเรียน ออนไลน์ ใชก้ ารเรียนรูแ้ บบตา่ งๆเขา้ มาผสมผสานกนั ตามความ เหมาะสม ขอ้ เสนอแนะ : …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

39 ตาราง 2 แสดงผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของนักเรียนทมี่ ตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ แบบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็ นฐานเพื่อสง่ เสรมิ คุณภาพการเรียนรู้ในยุค New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6/1 จานวนผ้เู ชียวชาญ S.D แปลผล รายการประเมิน ในระดบั 54321 1.ในระหว่างการจดั การเรยี นรูแ้ บบออนไลนห์ รือ 19 14 1 4.53 0.56 Hybrid Learning มกี ิจกรรมใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนรว่ ม และการโตต้ อบ เพือ่ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความสนใจใน การเรียน มากที่สดุ 2.งานทีม่ อบหมายเป้นงานทีเ่ ขา้ ใจงา่ ยและ 19 14 1 4.53 0.56 ชดั เจน เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถเขา้ ใจไดต้ รงกนั และ ทาการบา้ นไดเ้ สรจ็ สมบูรณ์ มากที่สดุ 3.รูปแบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ มีรูปแบบที่ 20 12 2 4.53 0.61 เหมาะสมกบั สถานการณ์ มากทีส่ ดุ 4.รูปแบบการสอน ตอบโจทยค์ วามตอ้ งการของ 20 13 1 4.56 0.56 ผเู้ รยี น สามารถเรยี นรูไ้ ดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา มกี าร ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูท้ ่หี ลากหลาย มากที่สดุ 5. เป็นการจดั การเรยี นรูท้ ยี่ ดื หยนุ่ และ 25 8 1 4.71 0.52 ปรบั เปลี่ยนไดต้ ามสถานการณข์ องชีวิตท่ี เปล่ยี นแปลงไป โดยผสมผสานการเรียนรูท้ ่ี เกิดขนึ้ ในเวลาเดยี วกนั (Synchronous) และคน ละเวลากนั (Asynchronous) ท่เี ช่อื มโยงกนั ดว้ ย เครือข่ายโทรคมนาคม สามารถเรยี นในหอ้ งเรยี น ก็ได้ ออนไลนก์ ็ได้ คนละที่หรือทเ่ี ดยี วกนั ก็ได้ มากทสี่ ดุ 6.มขี นั้ ตอนการจดั การเรียนรูท้ ่เี หมาะสม 20 11 4 4.46 0.70 มากทส่ี ดุ 7.สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรูท้ ีเ่ หมาะสมทงั้ 19 14 1 4.53 0.56 ออนไลนแ์ ละออฟไลน์ มากที่สดุ 8.เป็นการสรา้ งประสบการณก์ ารเรียนรูใ้ หอ้ ย่ใู น 21 12 1 4.59 0.56 รูปแบบชมุ ชนการเรียนรู้ โดยการจาลอง มากทีส่ ดุ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจีรดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

40 จานวนผูเ้ ชยี วชาญ S.D แปลผล รายการประเมิน ในระดบั 54321 ประสบการณใ์ นหอ้ งเรยี นใหเ้ กิดขนึ้ ในรูปแบบ ออนไลน์ ทกุ คนสามารถชว่ ยกนั ใหข้ อ้ มลู สรา้ ง องคค์ วามรู้ พดู คยุ กนั ได้ 9.บทเรียนจะตอ้ งสามารถตอบโจทยผ์ เู้ รียน ให้ 21 11 2 4.56 0.61 ผเู้ รยี นสามารถนาขอ้ ดีของเทคโนโลยีมาใช้ ประโยชนใ์ นการเรียนรูไ้ ด้ มากทีส่ ดุ 10.การจดั การเรยี นรูม้ ีการประเมนิ และใหผ้ ล 23 6 5 4.53 0.75 ป้อนกลบั ได้ เชน่ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ออนไลน์ ความกา้ วหนา้ ในการเรยี นออนไลน์ ใช้ การเรียนรูแ้ บบตา่ งๆเขา้ มาผสมผสานกนั ตาม ความเหมาะสม มากทส่ี ดุ เฉลี่ย 4.55 0.60 มากท่ีสดุ จากตาราง 2 ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของแบบสอบถามความพงึ พอใจ ของนกั เรียนที่มี ต่อประสิทธิภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยีเป็นฐานเพื่อ สง่ เสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 ไดค้ ่าเฉล่ียเท่ากับ 4.55 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.60 มีความเหมาะสมอย่ใู นระดับมาก ที่สดุ ซง่ึ ในภาพรวมของการประเมินทกุ ขอ้ มคี วามเหมาะสมอย่ใู นระดบั มากที่สดุ นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวทิ ยา

ภาคผนวก ข 1. การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยเี ป็ นฐานเพื่อสง่ เสรมิ คุณภาพการเรียนรู้ในยคุ New normal เรื่อง พอลิ เมอร์ สาหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ 6/1 2. คะแนนทดสอบกอ่ นเรียน – หลงั เรยี นของกลมุ่ เป้าหมายทเ่ี รียนการจดั กจิ กรรมการ เรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยีเป็ นฐานเพอื่ ส่งเสริมคณุ ภาพการ เรียนรูใ้ นยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรับนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปี ท่ี 6/1 ส่ือนวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วทิ ยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นหนิ ดาดวิทยา

42 การวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Hybrid Learning โดยใช้เทคโนโลยี เป็ นฐานเพ่อื สง่ เสริมคณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรื่อง พอลเิ มอร์ สาหรบั นักเรียน ช้ันมธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 6/1 การวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใชเ้ ทคโนโลยี เป็นฐานเพ่อื ส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรยี นรูใ้ นยคุ New normal เรือ่ ง พอลิเมอร์ สาหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1ใชโ้ ปรแกรมตรวจขอ้ สอบวเิ คราะหข์ อ้ สอบและพนื้ ฐานท่พี ฒั นาโดย ดร.ปกรณ์ ประจญั บาน อาจารยป์ ระจาสาขาวิชาวจิ ยั วดั และประเมนิ ผลการศึกษาจงั หวดั พิษณุโลก ไดผ้ ลดงั นี้ ตารางท่ี 21 วิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยีเป็ นฐานเพอ่ื สง่ เสรมิ คุณภาพการเรยี นรูใ้ นยุค New normal เรื่อง พอลิเมอร์ สาหรบั นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6/1 (n= 34 ) นักเรียน ผลการทดสอบระหวา่ งเรียน รวม ผลการสอบ 1234 หลังเรยี น คะแนนเต็ม 8686 28 10 คนท่ี 1 8375 23 8 คนที่ 2 8486 26 8 คนที่ 3 8585 26 9 คนที่ 4 8575 25 9 คนท่ี 5 8676 27 8 คนท่ี 6 8666 26 9 คนที่ 7 8556 24 9 คนท่ี 8 8686 28 9 คนที่ 9 8686 28 9 คนที่ 10 8686 28 8 คนที่ 11 8575 25 8 คนท่ี 12 8464 22 9 คนที่ 13 8466 24 10 คนที่ 14 8686 28 10 คนท่ี 15 8686 28 7 นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

นักเรียน ผลการทดสอบระหว่างเรียน 43 รวม ผลการสอบ คนท่ี 16 1234 หลงั เรียน 8476 25 10 คนที่ 17 8576 26 8 28 10 คนที่ 18 8686 28 9 27 10 คนที่ 19 8686 25 10 27 8 คนที่ 20 8586 28 7 28 7 คนที่ 21 8476 28 7 28 10 คนท่ี 22 8586 28 10 28 9 คนท่ี 23 8686 28 10 28 10 คนท่ี 24 8686 28 9 28 9 คนท่ี 25 8686 28 9 910 300 คนท่ี 26 8686 26.76 8.82 95.59 88.24 คนที่ 27 8686 88.24 คนที่ 28 8686 คนท่ี 30 8686 คนที่ 31 8686 คนท่ี 32 8686 คนท่ี 33 8686 คนที่ 34 8686 คะแนนรวมทกุ คน 272 184 256 198 คะแนนเฉลยี่ 8.00 5.41 7.53 5.82 คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 100.00 90.20 94.12 97.06 E1/E2 95.59 จากตาราง 21 วิเคราะหป์ ระสิทธิภาพการจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Hybrid Learning โดยใช้ เทคโนโลยีเป็นฐานเพือ่ สง่ เสริมคณุ ภาพการเรียนรูใ้ นยคุ New normal เร่อื ง พอลเิ มอร์ สาหรบั นกั เรียน ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6/1 (n= 34 ) ได้ E1/E2 เท่ากบั 95.59 / 88.21 นวตั รกรรมทางการศึกษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพิเศษ โรงเรียนหินดาดวิทยา

44 ภาพ 17 โปรแกรมคานวณค่าประสทิ ธภิ าพแบบ E1/E2 พัฒนา โดย ดร.ปกรณ์ ประจญั บาน อาจารยป์ ระจาสาขาวจิ ัย วัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จงั หวดั พษิ ณุโลก ภาพ 18 sheet ชอ่ื output โปรแกรมคานวณคา่ ประสทิ ธิภาพแบบ E1/E2 พัฒนา โดย ดร.ปกรณ์ ประจญั บาน อาจารยป์ ระจาสาขาวจิ ัย วัดผลและ ประเมนิ ผลการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ มิ าย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวทิ ยา

ภาคผนวก ค ประวตั ิผ้ศู กึ ษา ส่อื นวตั รกรรมทางการศกึ ษา นางสาวจรี ดา ตพุ ิมาย ครู วิทยฐานะครู ชานาญการพเิ ศษ โรงเรียนหนิ ดาดวิทยา