Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ-ไข่เค็มกลิ่นใบเตยฉบับสมบูรณ์

โครงการ-ไข่เค็มกลิ่นใบเตยฉบับสมบูรณ์

Published by aoysarochajoratead, 2021-02-07 02:53:14

Description: โครงการ-ไข่เค็มกลิ่นใบเตยฉบับสมบูรณ์

Search

Read the Text Version

ไข่เคม็ กล่ินใบเตย ผจู้ ดั ทำ นางสาว ธนพร เดชป้ัน 63302140084 นางสาว นฐั กานต์ พลีขันธ์ 63302140089 นางสาว สโรชา จรเทศ 63302140111 สาขา การจดั การโลจิสตกิ ส์และซัพพลายเชน เอกสารฉบับนเี้ ป็นสว่ นหน่งึ ของการศึกษาค้นควา้ ประกอบการเรียนรายวิชา ชวี ติ กับสังคมไทย วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบุรี สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563



ไข่เค็มกลนิ่ ใบเตย ผจู้ ดั ทำ นางสาว ธนพร เดชป้ัน 63302140084 นางสาว นฐั กานต์ พลีขันธ์ 63302140089 นางสาว สโรชา จรเทศ 63302140111 สาขา การจดั การโลจิสติกสแ์ ละซัพพลายเชน เอกสารฉบับนเี้ ป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาคน้ ควา้ ประกอบการเรียนรายวิชาชวี ติ กบั สังคมไทย วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี สงั กดั สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563



(ก) ช่อื เรือ่ ง : ไขเ่ คม็ กลน่ิ ใบเตย ผู้จัดทำ : นางสาว ธนพร เดชปั้น นางสาว นัฐกานต์ พลขี นั ธ์ นางสาว สโรชา จรเทศ ที่ปรึกษา : ครู ศริ ิโสภา วศิ ษิ ฏว์ ัฒนะ ปกี ารศึกษา : 2563 บทคดั ยอ่ เรื่อง การทำไข่เค็มใบเตย มีจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ เพ่ือเรียนรู้วิธีการทำไข่เค็ม เพ่ือเพิ่มคุณค่าของไข่เค็มและสมุนไพรในท้องถิ่น เพ่ือพัฒนาไข่เค็มให้มีความ หลากหลายของรสชาติ คน้ คว้าโดยไปดทู ่สี ถานท่จี ริงและค้นหาในอินเทอร์เน็ตประกอบ ผลการค้นคว้าทำโครงงานเพ่ือเป็นการถนอมอาหาร ประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถนำไปขายได้ เป็นการหารายได้พิเศษให้แก่เรา และชุมชนได้ โครงงานเรื่องน้ีจะสำเร็จลุล่วงไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์ เละเพ่ือนๆ ในวิทยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี

กิตติกรรมประกาศ (ข) โครงการไข่เค็มกลิน่ ใบเตยสำเรจ็ ลลุ ว่ งไดด้ ้วยความกรุณาช่วยเหลือแนะนำใหค้ ำปรกึ ษาตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพรอ่ งตา่ ง ๆ ด้วยความเอาใจใส่คณุ ครู ศริ ิโสภา วิศษิ ฏวัฒนะ ที่ให้คำแนะนำตา่ ง ๆ ทางคณะผูจ้ ดั ทำกราบ ขอบพระคุณอยา่ งสงู ขอขอบคณุ สมาชกิ ในครอบครวั และคนในชมุ ชนของทางคณะผู้จดั ทำทไ่ี ด้ใหค้ วามรู้และให้ความ ร่วมมอื ในการตอบแบบสอบถามด้วยปากเปล่าและทำแบบประเมินทางคณะผจู้ ัดทำขอขอบคุณทกุ ทา่ นเหลา่ น้ันไว้ ณ โอกาสนี้ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของโครงการนีค้ ณะผ้จู ดั ทำขอมอบแกบ่ ดิ ามารดาครอู าจารยว์ ทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ีทไ่ี ด้ส่งั สอนอบรมมาตลอดจนผู้มีพระคณุ ทกุ ท่านและผู้ท่ีสนใจและต้องการศกึ ษายาแผนโบราณสมนุ ไพรไทย นางสาว ธนพร เดชปั้น นางสาว นัฐกานต์ พลขี นั ธ์ นางสาว สโรชา จรเทศ

สารบญั (ค) เรื่อง หน้า บทคัดยอ่ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบญั จ สารบญั ตาราง ช สารบญั ภาพ ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1 1.3 ขอบเขต 1 1.4 ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั บทที่ 2 ทฤษฎที เ่ี กีย่ วข้อง 2 2.1 ทฤษฎีท่เี กยี่ วข้องการถนอมอาหาร 2 2.2 ทฤษฎีทีเ่ กยี่ วขอ้ งประโยชน์ของไข่ 2 2.3 ทฤษฎีที่เกยี่ วขอ้ งสรรพคุณ และ ประโยชน์ ใบเตย บทที่ 3 วิธดี ำเนินงาน 3 3.1 การกำหนดหัวข้อท่ีจะทำโครงการ 4 3.2 กำหนดกล่มุ ประชากรและเลือกกลุ่มตัวอย่าง 4 3.3 อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการศึกษา บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 5-10 4.1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เก่ียวกับสถานภาพส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม 11 4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเก่ียวกบั ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม 12 4.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเน้อื หา จากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อคดิ เหน็

สารบญั (ต่อ) (ง) บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 13 5.1 สรุปผล 13 5.2 ปญั หาและอปุ สรรคในการศึกษาค้นควา้ 13 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 14 15 บรรณานุกรม 17-18 ภาคผนวก ก. 19-20 ภาคผนวก ข. 21-22 ภาคผนวก ค 23-24 ภาคผนวก ง. 25 ประวตั ผิ ้ศู ึกษา

สารบญั ตาราง (ฉ) ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นเพศ หนา้ ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนและหาค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นอายุ 6 ตารางท่ี 4.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นการศกึ ษา 7 ตารางที่ 4.4 แสดงจำนวนและคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านอาชีพ 8 ตารางที่ 4.5 แสดงจำนวนและคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นถานะ 9 ตารางท่ี 4.6 แสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเกย่ี วกบั ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม 10 11

สารบญั ภาพ (ช) ภาพที่ 3-1 การกำหนดหวั ข้อทจี่ ะทำโครงการ หนา้ ภาพท่ี 3-2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการทำโครงการ 3 4



1 บทท่ี 1 บทนำ 1. ความเป็นมา เนอ่ื งจากประเทศของเรามีช่วงฤดรู ้อนที่ยาวนานซึ่งร้อนกวา่ ปกตจิ ะทำให้ไขเ่ ป็ดเนา่ เสยี เรว็ ผู้จดั ทำโครงงานได้ ศึกษาเก่ยี วกบั วิธีการถนอมอาหาร โดยการนำไขเ่ ป็ดมาทำเปน็ ไขเ่ ค็ม แต่เน่อื งจากในชมุ ชนมรี สชาตขิ องไขเ่ ค็มแบบ ธรรมดา จึงไดม้ ีแนวคิดทจ่ี ะพัฒนาไขเ่ ค็มใหม้ กี ลิ่นและรสชาตขิ องใบเตย ในการทำโครงงานไข่เค็มจากกลน่ิ ใบเตยจงึ มีแนวคดิ ใหมใ่ นการพัฒนาไขเ่ ค็มโดยการมีกลน่ิ และรสชาติของ ใบเตย 2. วตั ถุประสงค์ 2.1 เพื่อเป็นการสรา้ งรายได้ระหว่างเรยี น 2.2 เพื่อใช้เวลาว่างใหเ้ กดิ ประโยชน์ 2.3 เพือ่ เรยี นรวู้ ิธกี ารทำไข่เคม็ 2.4 เพ่อื เพ่มิ คณุ ค่าของไข่เคม็ และสมนุ ไพรในทอ้ งถิ่น 3. ขอบเขต 3.1 สถานที่ บา้ นเลขที่ 85/1 หมู่ 5 ตำบล หวั สำโรง จงั หวดั ลพบุรี 3.2 ระยะเวลา วันท่ี 8 มกราคม ถึง วันที่ 3.3 ตัวแปรหรอื ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 3.1 ตัวแปรตน้ คือ สารสกดั จากใบเตย 3.2 ตัวแปรตาม คอื กล่นิ และรสชาติทเี่ กิดข้ึน 3.3 ตัวแปรควบคมุ คอื ระยะเวลาในการดองไข่ สถานที่ อณุ หภูมิ นำ้ 3.1 ประชากร คอื ประชากรตำบลหัวสำโรง 100คน 3.2 กลุ่มตวั อย่าง คอื ประชากรตำบลหัวสำโรง 20 คน 4. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ 1. เปน็ การยืดอายุให้กับไข่เคม็ 2. เปน็ การเพิ่มมลู คา่ ของวตั ถุดบิ 3. สามารถนำไขเ่ คม็ มาทำเปน็ อาชพี เสริมในครอบครวั ,ในชมุ ชนไดล้ ดปัญหาการว่างงานเพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายใหก้ บั คนในชมุ ชน

2 บทที่ 2 ทฤษฎที เ่ี กีย่ วข้อง ในการศึกษาเรอื่ ง ไข่เค็มกลน่ิ ใบเตย ผูจ้ ัดทำไดร้ วบรวมแนวคดิ ทฤษฎีและหลกั การตา่ งๆจากเอกสารที่ เกย่ี วข้องดังตอ่ ไปนี้ 2.1 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ งการถนอมอาหาร การรกั ษาอายธุ รรมชาตแิ ละสีสันของอาหารซงึ่ เกดิ จากการปรงุ อาหาร การถนอมอาหารโดยการดองเปน็ การ ถนอมอาหารแบบหนงึ่ ในความเข้มข้นของเกลอื น้ำตาลควบคุมการเจริญเตบิ โตของจลุ ินทรีย์ โดยการจดั สิง่ แวดลอ้ มให้ เหมาะสมเพ่ือการเจรญิ เตบิ โตของจลุ นิ ทรีย์ท่ีผลติ กรดหลกิ ตคิ และปอ้ งกนั ไม่ให้จลุ ินทรยี ท์ ีท่ ำใหอ้ าหารบูดเน่า การถนอมอาหารน้ีใช้กับผกั ผลไมแ้ ละไข่ 2.2 ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้องประโยชนข์ องไข่ 1. ไข่อดุ มไปด้วยโปรตีน โดย 1 ฟองจะมโี ปรตนี คุณภาพดี 6 กรัม และกรดอะมิโนสำคัญอกี 9 ชนิด 2. ผลจากการทำวิจัยโดยมหาวิทยาลัยแพทยฮ์ าร์วารด์ พบวา่ ไม่มคี วามเช่อื มโยงทีส่ ำคญั ระหวา่ งการบริโภค ไขก่ บั การเกดิ โรคหวั ใจ แถมยงั มีผลการวจิ ยั อกี ชิน้ หน่ึงทีพ่ บว่า การบรโิ ภคไขเ่ ป็นประจำยงั ชว่ ยปอ้ งกันเลอื ดจับตวั เปน็ กอ้ นเส้นเลอื ดอุดตันในสมองและภาวะกลา้ มเนอ้ื หวั ใจตายเฉยี บพลนั 3. ไขเ่ ป็นแหลง่ โคลนี ทดี่ ี โดยโคลีนอยู่ในกลมุ่ ของวิตามินบจี ดั เปน็ สารอาหารสำคญั ท่ีชว่ ยในการควบคุมการ ทำงานของสมอง ระบบประสาท และระบบไหลเวยี นของเลือด โดยไข่ 1 ฟองจะมีโคลนี มากถงึ 300 ไมโครกรมั 2.3 ทฤษฎีทเี่ ก่ยี วขอ้ งสรรพคณุ และ ประโยชน์ ใบเตย การศึกษาฤทธ์ทิ างเภสัชวทิ ยาพบวา่ เตยหอมมฤี ทธ์ลิ ดนำ้ ตาลในเลอื ด ลดความดันโลหติ ลดอตั ราการเต้น ของหัวใจ ขบั ปัสสาวะ ซงึ่ ฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาทกี่ ล่าวไปทงั้ หมดน้นั ซง่ึ มาจากการทดลองในห้องทดลอง นอกจากนีไ้ ด้มี การทำศกึ ษาวิจัย โดยนำน้ำตม้ รากเตยหอมไปทดลองในสตั วท์ ด ลองเพื่อดฤู ทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดปรากฏวา่ สามารถลด น้ำตาลในเลือดของสตั ว์ทดลองได้ จึงนบั ได้ว่าสมนุ ไพรเตยหอมเป็นสมนุ ไพรท่ีมคี ณุ ค่าอกี ชนดิ หนง่ึ สามารถนำมาทำเปน็ เคร่ืองดม่ื รบั ประทานเองได้

3 บทท่ี 3 วิธีศึกษาคน้ ควา้ ในการศกึ ษาคน้ ควา้ ทางคณะผู้จดั ทำได้ศึกษาค้นควา้ ตามขั้นตอนดงั ต่อไปน้ี 3.1 การกำหนดหัวขอ้ ท่จี ะทำโครงการ 3.2 กำหนดกลุ่มประชากรและเลือกกลมุ่ ตัวอย่าง 3.3 อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการศกึ ษาคน้ ควา้ 3.1 การกำหนดหวั ขอ้ ที่จะทำโครงการ 1. สมาชกิ กลมุ่ ศกึ ษาหาข้อมูลภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ของตนเองท่ีน่าสนใจมาคนละ 1 ภมู ิปญั ญาและนำมา โหวตกันภายในกลมุ่ วา่ หวั ขอ้ ของใครนา่ สนใจทส่ี ุดและทำการเลือกหัวข้อน้ัน 2. เมอื่ เลอื กหวั ขอ้ จะทำได้แล้ว จึงแบง่ หน้าที่ให้สมาชกิ แตค่ นไปศึกษาคน้ ควา้ หาข้อมูลท่เี ก่ยี วข้องวา่ มี ข้อมูลมากน้อยเพียงใด 3. พอทราบถงึ ขอ้ มูลท่ีเก่ยี วขอ้ งจากการศึกษาคน้ ควา้ แล้วจงึ นำมาแบ่งหน้าทีก่ ันในการทำโครงงาน 4.นำเสนอหัวข้อและบทคดั ยอ่ ต่อครูท่ปี รึกษาโครงการ 5.นำเสนอรายงานความก้าวหนา้ เปน็ ระยะๆ ตามท่ีครูทป่ี รกึ ษากำหนดเพือ่ นำมาปรับปรงุ แกโ้ ครงงาน ให้มคี วามสมบรู ณถ์ กู ตอ้ งย่งิ ขนึ้ ภาพที่ 3-1 การกำหนดหัวขอ้ ทจ่ี ะทำโครงการ

4 ภาพที่ 3-2 การแลกเปลย่ี นความคิดเห็นในการทำโครงการ 3.2 กำหนดกลุ่มประชากรและเลอื กกลุ่มตวั อย่าง ประชากร ประชากรทใ่ี ชศ้ ึกษาค้นคว้าในครงั้ น้ี คือ ประชากรตำบลหัวสำโรง 100 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการศกึ ษาคน้ คว้าครงั้ น้ี คือ ประชากรตำบลหัวสำโรง 50 คน 3.3 อุปกรณแ์ ละเคร่อื งมือทใี่ ช้ในการศกึ ษา 1. ศกึ ษาผา่ นอนิ เตอร์เอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง 2. ศึกษาจากทฤษฎีท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การถนอมอาหาร 3. สอบถามปากเปล่าและจดบันทึกไวจ้ ากกลมุ่ ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ งท่ไี ด้ 4. โน๊ตบุ๊ค และ โทรศัพท์

5 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นควา้ จากการวิเคราะห์เร่ือง “ไข่เค็มกล่ินใบเตย” มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการสร้างรายได้ระหว่างเรียน เพ่ือใช้เวลา ว่างให้เกิดประโยชน์ เพ่ือเรียนรู้วิธีการทำไข่เค็ม เพ่ือเพิ่มคุณค่าของไข่เค็มและสมุนไพรในท้องถ่ิน เพื่อพัฒนาไข่เค็มให้ มีความหลากหลายของรสชาติ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามนำเสนอในรูปตารางประกอบด้วย คำบรรยาย โดยการแบ่งการนำเสนอเปน็ 3 ขอ้ ดังนี้ 4.1 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกีย่ วกบั สถานภาพสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม 4.1.1 สถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นเพศ 4.1.2 สถานภาพสว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านอายุ 4.1.3 สถานภาพส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านระดับการศึกษา 4.1.4 สถานภาพส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นอาชพี 4.1.5 สถานภาพส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านสถานะ 4.2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกี่ยวกบั ความพึงพอใจของผ้ตู อบแบบสอบถาม 4.3 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเนือ้ หา จากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ

6 4.1 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเกยี่ วกบั สถานภาพสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลเก่ยี วกบั สถานภาพสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม ลกั ษณะแบบสอบถามเปน็ แบบ ตรวจสอบรายการ มีจำนวน 5 ข้อ 4.1.1 สถานภาพสว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านเพศ ตารางท่ี 4.1 แสดงจำนวนและค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถามด้านเพศ เพศ จำนวน(คน) ร้อยละ ชำย 27 54 หญิง 23 46 50 100 รวม ภาพท่ี 4.1.1 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละด้านเพศ จากตารางที่ 4.1.1 และภาพที่ 4.1.1 พบว่า ผตู้ อบแบบถามสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ จำนวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 54 และเปน็ เพศชาย จำนวน 23 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46 ตามลำดับ

7 4..1.2 สถานภาพส่วนบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามดา้ นอายุ ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนและหาคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถามด้านอายุ อำยุ จำนวน(คน) ร้อยละ 15-20 ปี 23 46 21-30 ปี 8 16 31-40 ปี 11 22 40 ปี ข้นึ ไป 8 16 50 100 รวม ภาพที่ 4.1.2 แสดงจำนวนและค่าร้อยละดา้ นอายุ จากตารางที่ 4.1.2 และภาพท่ี 4.1.2 พบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ป็นกลุ่มอาย1ุ 5-20 ปี จำนวน 23 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 46 รองลงมาอายุ 31-40 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 22 ต่อมาอายุ 21-30 ปี จำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 16 และอายุ 40ปขี น้ึ ไป จำนวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 16 ตามลำดบั

8 4.1.3 สถานภาพสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามด้านระดบั การศึกษา ตารางที่ 4.3 แสดงจำนวนและคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นการศึกษา ระดบั กำรศึกษำ จำนวน(คน) ร้อยละ ปวช./ม.3 17 34 ปวส./ม.6 14 28 ปริญญำตรี 6 12 สูงกวำ่ ปริญญำตรี 7 14 อนื่ ๆ 6 12 50 100 รวม ภาพที่ 4.3 แสดงจำนวนและค่าร้อยละด้านระดบั การศึกษา จากตารางท่ี 4.3 และภาพที่ 4.3 พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ กลุม่ ระดับการศกึ ษา ปวช./ม.3 จำนวน 17 คน คิดเปน็ ร้อยละ 34 รองลงมาเปน็ ระดบั การศึกษาปวส./ม.6 จำนวน 14 คน คิดเปน็ ร้อยละ 28 ตอ่ มา ระดับการศึกษาปรญิ ญาตรี จำนวน 7 คน คดิ เป็นร้อยละ 14 ต่อมาระดบั การศกึ ษาสูงกวา่ ปริญญาตรี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และระดับการศกึ ษาอ่นื ๆ จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 ตามลำดับ

9 4.1.4 สถานภาพส่วนบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถามดา้ นอาชีพ ตารางท่ี 4.4 แสดงจำนวนและค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอาชพี อำชีพ จำนวน(คน) ร้อยละ นักเรียน/นักศึกษำ 26 52 ขำ้ รำชกำร 12 24 พนกั งำนรฐั /รัฐวสิ ำหกิจ 7 14 อนื่ ๆ 5 10 50 100 รวม ภาพท่ี 4.4 แสดงจำนวนและค่าร้อยละดา้ นอาชีพ จากตารางท่ี 4.4 และภาพที่ 4.4 พบว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ นักเรียน/นกั ศกึ ษา จำนวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ย 52 รองลงมาเปน็ ราชการ จำนวน 12 คน คดิ เป็นร้อยละ 24 ตอ่ มาพนักงานรัฐ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14 และอน่ื ๆ จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ตามลำดับ

10 4.1.5 สถานภาพส่วนบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามด้านสถานะ ตารางที่ 4.5 แสดงจำนวนและค่ารอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นถานะ สถำนะ จำนวน(คน) ร้อยละ โสด 29 58 แตง่ งำน 15 30 หยำ่ ร้ำง 6 12 50 100 รวม ภาพท่ี 4.5 แสดงจำนวนและค่ารอ้ ยละด้านสถานะ จากตารางท่ี 4.5 และภาพท่ี 4.5 พบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญเ่ ปน็ สถานะโสด จำนวน 29 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58 รองลงมา เป็นสถานะแตง่ งาน จำนวน 15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 30 และสถานะหยา่ รา้ ง จำนวน 6 คน คิด เปน็ ร้อยละ 12 ตามลำดับ

11 4.2 ตารางผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู เกี่ยวกบั ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 4.6 แสดงผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ความพงึ พอใจของผูต้ อบแบบสอบถาม รายการประเมิน มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย ค่าเฉลี่ย ระดบั ท่ีสุด 4 กลาง 2 ท่ีสุด คา่ เฉล่ีย SD ความเห็น 5 1 3 1. รสชาตขิ องผลิตภัณฑ์ 27 14 8 1 - 4.34 0.8 มาก 2. ความสะอาดของผลิตภณั ฑ์ 20 19 10 1 - 4.16 0.8 มาก 3. สามารถสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น 28 11 10 1 - 4.32 0.9 มาก 4. กลิ่นของใบเตย 21 14 12 3 - 4.06 1 มาก 5. สามารถนำไปใช้ในการถนอมอาหาร 20 23 6 1 - 4.24 0.7 มาก 6. การใช้สมนุ ไพรพนื้ บ้านให้เกิดประโยชน์ 18 17 12 3 - 4 0.9 มาก 7. มีความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 17 22 10 1 - 4.1 0.8 มาก 8. เพิ่มมูลค่าของไขเ่ ค็ม 20 17 10 3 - 4.08 0.9 มาก 9. ดึงดูดความสนใจ 27 17 5 1 - 4.4 0.8 มาก 10. สามารถนำไปประยกุ ตต์ ่อยอดได้ 16 22 11 1 4.02 0.8 มาก รวม 4.17 0.8 มาก จากตารางท่ี 4.6 พบวา่ ผูต้ อบแบบอบถามมคี วามพึงพอใจเรยี งลำดบั จากมากไปนอ้ ยดังนี้ 1. รสชาตขิ องผลติ ภัณฑม์ คี ่าเฉล่ียเทา่ กับ 4.4 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.76 มีความพึงพอใจ อยใู่ นระดบั มาก 2. ความสะอาดของผลิตภัณฑม์ ีค่าเฉลย่ี เทา่ กับ 4.34 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.82 มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก 3. สามารถสร้างรายไดร้ ะหวา่ งเรยี นมีคา่ เฉล่ยี เทา่ กับ 4.32 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.87 มี ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก 4. กลิ่นของใบเตยมคี า่ เฉล่ยี เทา่ กบั 4.24 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.74 มีความพงึ พอใจอย่ใู น ระดับมาก 5. สามารถนำไปใชใ้ นการถนอมอาหารมีคา่ เฉลี่ยเท่ากบั 4.16 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.82 มี ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก

12 6. การใชส้ มุนไพรพนื้ บ้านใหเ้ กดิ ประโยชน์มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.1 สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.79 มีความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก 7. มคี วามคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรคม์ ีคา่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.08 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.92 มคี วามพึง พอใจอยู่ในระดบั มาก 8. เพิ่มมูลค่าของไขเ่ ค็มมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.06 ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.96 มคี วามพงึ พอใจ อยใู่ นระดบั มาก 9. ดงึ ดดู ความสนใจมีคา่ เฉล่ียเทา่ กบั 4.02 ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.84 มคี วามพึงพอใจอยู่ ในระดบั มาก 10. สามารถนำไปประยุกตต์ ่อยอดได้มคี า่ เฉล่ียเท่ากบั 4 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.93 มี ความพึงพอใจอยูใ่ นระดบั มาก 4.3 ผลการวเิ คราะหเ์ นื้อหา จากแบบทดสอบถามปลายเปดิ เปน็ ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะของผู้ตอบแบบสอบถาม สรปุ ไดด้ งั นี้ - ควรทำให้หลากหลายกว่านี้ - ได้วธิ ีถนอมอาหารแบบใหม่แล้ว ดีมาก - เพิ่มกล่นิ จากสมนุ ไพรอืน่ ๆจะดมี าก - เพมิ่ มลู คา่ ของไข่เค็มไดด้ ี

13 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้บุคคลท่ัวไปนักเรียนนักศึกษาเห็นถึงความสำคัญของการถนอมอาหาร การศึกษาครั้งนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างคือ บุคคลทั่วไปในชุมชน ตำบลหัวสำโรง อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี จากผลการสำรวจสามารถสรุปผล คำอธิบายการเก็บรวบรวมข้อมูลแบ่ง ออกเปน็ 3 ส่วนดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ระดบั ความพงึ พอใจ ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ 5.1 สรุปผลการวจิ ยั 5.1.1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ จำนวน 27 คน คิดเปน็ ร้อยละ 54 และเป็นเพศชาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46 อายุ15-20 ปี จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 46 รองลงมาอายุ 31-40 ปี จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 22 ต่อมาอายุ 21-30 ปี จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 16 และอายุ 40ปีขึ้นไป จำนวน 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 16 ระดับการศึกษา ปวช./ม.3 จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34 รองลงมาเป็นระดับการศึกษาปวส./ม.6 จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 28 ต่อมาระดับการศึกษาปริญญาตรี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ต่อมาระดับ การศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และระดับการศกึ ษาอ่ืน ๆ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 12นักเรยี น/นักศึกษา จำนวน 26 คน คดิ เป็นร้อย 52 รองลงมาเปน็ ราชการ จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24 ต่อมา พนักงานรัฐ/รัฐวิสาหกิจ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14 และอื่น ๆ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10 สถานะโสด จำนวน 29 คน คิดเป็นร้อยละ 58 รองลงมา เป็นสถานะแต่งงาน จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 30 และสถานะหย่า ร้าง จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 12 อายุระหว่าง 15-20 ปี 23 คนคิดเป็นรอ้ ยละ 46 ระดับการศึกษา ปวช/ม.3 17 คนคิดเป็นร้อยละ ด้านอาชีพ นักเรียน/นักศึกษา 26 คนคิดเป็นร้อยละ 52 และด้านสถานะ โสด 29 คนคิดเป็นร้อย ละ 58 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศกึ ษาคน้ คว้า 1. ปัญหาในการดำเนินงานซึง่ เกดิ จากสถานการณ์ covid-19 ในประเทศไทย ทำใหส้ มาชกิ ในกล่มุ ไมส่ ามารถ มาเจอกันเพอ่ื ทำโครงการน้ไี ด้ จึงไดท้ ำการประชมุ ออนไลน์ผา่ น Google Meet เพ่อื เลือกหัวขอ้ ในการทำโครงการ 2. ปญั หาในการปฏิบัตงิ านในการทำแบบประเมินหรอื แบบสอบถาม ทางกลุ่มของเราจงึ ได้ปรึกษากัน ได้ผล สรปุ วา่ จะใชก้ ลมุ่ บุคคลตวั อย่าง ในอำเภอหัวสำโรง จังหวดั ลพบรุ ี เพ่อื ใหง้ ่ายตอ่ การเก็บข้อมลู

14 3. เนื่องด้วยสถานการณ์ Covid 19 ทำให้ไมส่ ามารถมารวมกลุ่มกนั เพื่อทำการวิจัย สำรวจ สอบถามได้ จงึ เปน็ เหตุผลท่ีไมส่ ามารถถา่ ยรูปในการปฏิบัติได้ 4. ปัญหาในการศกึ ษาค้นควา้ ข้อมูลและขน้ั ตอนการพมิ พ์งาน เพราะสมาชิกภายในกล่มุ ไม่มีความพรอ้ มใน เรื่องของคอมพิวเตอร์ จึงตอ้ งใหช้ ่วยกนั หาขอ้ มูลในอนิ เทอรเ์ น็ต และชว่ ยกนั คัดกรองข้อมูล ในการทำโครงการน้ี 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา 1. การผลติ ไข่เคม็ ใบเตย นอกจากใบเตยแล้ว ถา้ มีการคน้ ควา้ เพ่อื เพิ่มคณุ ภาพมากกวา่ นีเ้ ชน่ คณุ ภาพดา้ นสี และ กล่ิน จะสามารถนำไปผลิตเป็นสนิ คา้ ได้ 2. ควรจะมีการใชว้ ัตถุดิบหรือสว่ นผสมทม่ี ากขึน้ มกี ารนำสมุนไพรชนิดอน่ื มาใช้ทำในการทดลองและควร พัฒนาตอ่ ยอดของโครงงานให้สามารถเป็นผลิตภณั ฑ์ท่ี สมบรู ณ์ 3. ควรมกี ารศกึ ษาปัจจัยที่มผี ลต่อการตัดสนิ ใจซื้อไขเ่ คม็ ของผู้บริโภค เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของ ผบู้ ริโภคไขเ่ คม็ มากขึน้

15 บรรณานกุ รม jenrangsima202//( 2555).//ไขเ่ ค็มกลน่ิ ใบเตย// สืบคน้ เม่อื 22 มกราคม 2564/จาก/ https://jenrangsima202.blogspot.com/2012/09/1-1.html?m=1&fbclid=IwAR3- MedThai//(2560).//ใบเตย// สืบค้นเมอื่ 22 มกราคม 2564/จาก/ https://medthai.com/%E0%B9%83%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A2/ MThai//(2559).//ไข่เค็ม// สืบคน้ เม่อื 22 มกราคม 2564/จาก/ https://food.mthai.com/food-recipe/88964.html Sgethai//(2559).//การถนอมอาหาร//สบื คน้ เม่ือ 22 มกราคม 2564/จาก/ https://www.sgethai.com/article

16 ภาคผนวก ประกอบดว้ ยรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ดงั น้ี (ถ้าม)ี ก) แบบเสนอโครงการ ข) การกำหนดหัวขอ้ ทีจ่ ะทำโครงการ ค) แบบประเมิน

17 ภาคผนวก ก แบบเสนอโครงการ

18 โครงการไขเ่ ค็มกลิน่ ใบเตย หลักการและเหตผุ ล เนอ่ื งจากประเทศของเรามีชว่ งฤดูร้อนทยี่ าวนานซึง่ รอ้ นกวา่ ปกตจิ ะทำให้ไขเ่ ป็ดเนา่ เสียเรว็ ผจู้ ดั ทำโครงงานได้ ศกึ ษาเก่ียวกบั วธิ กี ารถนอมอาหาร โดยการนำไข่เปด็ มาทำเป็นไข่เค็ม แตเ่ น่ืองจากในชมุ ชนมรี สชาตขิ องไขเ่ คม็ แบบ ธรรมดา จงึ ได้มีแนวคิดทีจ่ ะพัฒนาไข่เค็มใหม้ กี ลนิ่ และรสชาติของใบเตย ในการทำโครงงานไข่เคม็ จากกลิน่ ใบเตยจงึ มแี นวคิดใหมใ่ นการพัฒนาไขเ่ คม็ โดยการมีกลิ่นและรสชาติของ ใบเตย วตั ถปุ ระสงค์ 2.1 เพื่อเป็นการสร้างรายไดร้ ะหว่างเรยี น 2.2 เพ่ือใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ 2.3 เพื่อเรยี นรวู้ ิธกี ารทำไขเ่ คม็ 2.4 เพื่อเพมิ่ คณุ ค่าของไข่เค็มและสมุนไพรในท้องถ่ิน ขอบเขต 3.1 สถานที่ บ้านเลขที่ 85/1 หมู่ 5 ตำบล หัวสำโรง จงั หวัด ลพบรุ ี 3.2 ระยะเวลา วันท่ี 8 มกราคม ถึง วนั ที่ 3.3 ตวั แปรหรอื ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 3.1 ตวั แปรต้น คือ สารสกัดจากใบเตย 3.2 ตัวแปรตาม คอื กลิ่นและรสชาตทิ ่ีเกดิ ข้นึ 3.3 ตวั แปรควบคุม คือ ระยะเวลาในการดองไข่ สถานที่ อุณหภูมิ นำ้ 3.1 ประชากร คือ ประชากรตำบลหัวสำโรง 100คน 3.2 กล่มุ ตัวอย่าง คอื ประชากรตำบลหวั สำโรง 20 คน ประโยชน์ที่ไดร้ บั 1. เปน็ การยืดอายใุ หก้ บั ไขเ่ คม็ 2. เป็นการเพม่ิ มลู คา่ ของวตั ถุดบิ 3. สามารถนำไข่เคม็ มาทำเปน็ อาชพี เสริมในครอบครวั ,ในชุมชนไดล้ ดปัญหาการวา่ งงานเพ่ิมรายได้ และลดรายจา่ ยให้กับคนในชมุ ชน

19 ภาคผนวก ข การกำหนดหวั ข้อทีจ่ ะทำโครงการ

20 การกำหนดหวั ขอ้ ทจ่ี ะทำโครงการ การกำหนดหวั ขอ้ ทจี่ ะทำโครงการ 1. สมาชิกกลมุ่ ศกึ ษาหาขอ้ มูลภูมิปัญญาท้องถ่ินของตนเองท่นี า่ สนใจมาคนละ 1 ภมู ิปญั ญาและนำมา โหวตกนั ภายในกล่มุ ว่าหวั ขอ้ ของใครน่าสนใจที่สุดและทำการเลือกหวั ขอ้ น้ัน 2. เมื่อเลือกหวั ขอ้ จะทำไดแ้ ลว้ จงึ แบ่งหน้าท่ใี ห้สมาชิกแตค่ นไปศกึ ษาคน้ ควา้ หาขอ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งวา่ มี ข้อมูลมากน้อยเพียงใด 3. พอทราบถึงข้อมูลทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากการศึกษาคน้ ควา้ แล้วจึงนำมาแบ่งหนา้ ท่กี นั ในการทำโครงงาน 4.นำเสนอหัวขอ้ และบทคัดยอ่ ต่อครทู ่ปี รกึ ษาโครงการ 5.นำเสนอรายงานความก้าวหนา้ เป็นระยะๆ ตามที่ครูท่ีปรึกษากำหนดเพื่อนำมาปรบั ปรงุ แก้โครงงาน ให้มคี วามสมบรู ณ์ถกู ต้องยง่ิ ข้ึน

21 ภาคผนวก ค แบบประเมิน

22 แบบประเมินความพึงพอใจ โครงการสิง่ ประดิษฐ์ เร่ือง มา่ นแฟนซี คำช้แี จง : แบบสอบถามนจ้ี ัดทำข้นึ เพอื่ สอบถามความพงึ พอใจ และข้อเสนอแนะจากผคู้ นท่พี บเห็นสิง่ ประดษิ ฐ์(ม่าน แฟนซ)ี ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทำเคร่ืองหมาย ✓ ลงในช่อง  หนา้ ขอ้ ความตามความเปน็ จรงิ 1.เพศ  ชาย  หญงิ 2.อายุ  15-20 ปี  21-30 ปี  31-40 ปี  40ปขี ึ้นไป 3.อาชพี  นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา  ข้าราชการ/รฐั วิสาหกิจ  อืน่ ๆ ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความพงึ พอใจ คำชแ้ี จง โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนตามความเป็นจรงิ ซึ่งตรงกับความคดิ ของทา่ นเพียงคำตอบเดียว ท่ี แบบประเมนิ ความพึงพอใจ มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทีส่ ุด 1 รสชาตขิ องผลติ ภณั ฑ์ 2 ความสะอาดของผลติ ภัณฑ์ 3 สามารถสรา้ งรายได้ระหวา่ งเรยี น 4 กลิน่ ของใบเตย 5 สามารถนำไปใช้ในการถนอมอาหาร 6 การใช้สมุนไพรพื้นบา้ นให้เกิดประโยชน์ 7 มีความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 8 เพม่ิ มูลค่าของไข่เคม็ 9 ดึงดดู ความสนใจ 10 สามารถนำไปประยุกต์ตอ่ ยอดได้ รวม ขอ้ เสนอแนะ ..................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................................................

23 ภาคผนวก ง รูปภาพการปฏิบตั ิ

24 ขนั้ ตอนที่ 1 นำไข่เคม็ มาล้างทำความสะอาด นำใบเตยมาห่ันความยาว 1 นิว้ เสรจ็ แลว้ นำมาตำใหล้ ะเอียด ขัน้ ตอนท่ี 2 นำใบเตยทต่ี ำเสร็จมาคลุกเคลา้ ให้ติดกับไขเ่ คม็ ขนั้ ตอนที่ 3 จะได้ไขเ่ ค็มกล่ินใบเตย การเก็บระยะเวลาไขด่ าว 7 วัน ไขเ่ ค็ม 20 วัน ลา้ งแลว้ นํามาต้ม

25 ประวตั ิผจู้ ัดทำ ชื่อเร่อื ง ไข่เคม็ ใบเตย 1. นางสาว ธนพร เดชปั้น ประวตั ิส่วนตวั เกดิ วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2544 อายุ 19 ปี ท่ีอยู่ 128 ม.9 ต.บ้านเบิก อ.ท่าวงุ้ จ.ลพบุรี ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2556 ชัน้ ป.6 ร.ร.วดั ยวด ปี พ.ศ. 2559 ชั้น ม.3 ร.ร.บา้ นเบกิ วทิ ยาคม ปี พ.ศ. 2562 ชน้ั ม.6 ร.ร.บา้ นเบิกวทิ ยาคม 2. นางสาว นฐั กานต์ พลขี นั ธ์ ประวัติส่วนตวั เกิดวันท่ี 17ตุลาคม 2544 อายุ 19 ปี ที่อยู่ 85/1 ม.5ต.หวั สำโรงอ.ท่าวุ้ง จ.ลพบรุ ี ประวัตกิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. 2556 ชน้ั ป.6 ร.ร.วดั หัวสำโรง ปี พ.ศ. 2559 ชน้ั ม.3 ร.ร.วดั หวั สำโรง ปี พ.ศ. 2562 ชั้น ปวช. วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี 3. นางสาว สโรชา จรเทศ ประวตั ิสว่ นตวั เกิดวันท่ี 4 ตลุ าคม 2544 อายุ 19 ปี ท่อี ยู่ 36 หมู่ 9 ตำบล ท่าแค อำเภอ เมือง จังหวัด ลพบรุ ี ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ.2556 ชั้น ป.6 ร.ร วรนาถวทิ ยาลพบุรี ปี พ.ศ.2559 ช้ัน ม.3 ร.ร.เทศบาล 4 ระบบสาธติ เทศบาลเมอื งลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2562 ชัน้ ปวช. วทิ ยาลัยเทคนิคลพบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook