Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มคู่มือ KM 63

รวมเล่มคู่มือ KM 63

Published by nok666, 2021-09-20 16:48:52

Description: รวมเล่มคู่มือ KM 63

Search

Read the Text Version

คมู่ ือ เทคนิคการบูรณาการเรยี นการสอน Upskill/Reskill/New Skill กบั งานบริการวิชาการแก่สงั คม รายงานผลการจดั การองคค์ วามรูด้ า้ นการผลิตบณั ฑิต ประจาปี การศกึ ษา 2563 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

คำนำ เอกสารเผยแพร่ เรื่อง “เทคนิคการบูรณาการเรียนการสอน Upskill/Reskill/New Skill กับงาน บริการวิชาการแก่สังคม” นี้เกิดจากความร่วมมือของอาจารย์คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ที่ช่วยระดม สมอง แลกเปลยี่ นความรู้และประสบการณ์ในเรื่อง การบรู ณาการเรยี นการสอนกบั งานบริการวิชาการแก่สังคม และงานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีการบ่งชี้ความรู้และถอดองค์ความรู้จากบุคคลผู้เป็นแหล่งความรู้ ภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เพื่อนำองค์ความรู้ที่ได้มาดำเนินการสรุปเป็นคู่มือเพื่อเผยแพร่ให้ คณาจารยแ์ ละผูส้ นใจไดน้ ำไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป คณะกรรมการการจัดการความรู้ด้านบัณฑิต คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบรุ ี หวงั เปน็ อย่างยิ่งวา่ เอกสารน้จี ะเปน็ ประโยชน์ต่ออาจารยผ์ ู้สอนและผสู้ นใจทุกท่าน หากผู้อ่าน พบข้อบกพร่องหรือมีคำแนะนำเพื่อการปรับปรุง คณะผู้จัดทำยินดีรับข้อเสนอแนะนั้นมาแก้ไขปรับปรุงให้ เอกสารนสี้ มบูรณ์ย่ิงขน้ึ ตอ่ ไป และขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ก

สารบัญ หนา้ การจดั การความรู้ (Knowledge Management) 1 แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดีในการบูรณาการจดั การเรยี นการสอนกบั งานบริการวิชาการแกส่ งั คม 2 การแสวงหาความรูแ้ ละการสร้างองค์คามรู้ในการจดั การเรียนการสอน 4 การบูรณาการบรกิ ารวชิ าการกับการเรียนการสอน 6 การประเมนิ ผลรายวิชาเรียนทเี่ กี่ยวข้องกบั การบริการวชิ าการ 12 ผลสำเรจ็ จากการเรยี นรขู้ องนักศึกษาและแนวทางการนำไปตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพ 13 เอกสารที่เกยี่ วข้องในการบูรณาการจดั การเรียนการสอน 14 ข

การจดั การความรู้ (Knowledge Management) “เทคนคิ การบรู ณาการเรียนการสอน Upskill/Reskill/New Skill กบั งานบรกิ ารวิชาการแกส่ งั คม” คน้ หาความรู้ การเรียนรู้ การสร้างและ การแบง่ ปนั เสาะหาความรู้ การเขา้ ถึงความรู้ การจัดการความรู้ ให้เปน็ ระบบ การประมวลและ กล่ันกรองความรู้ 1. คน้ หาความรู้ ทำการสำรวจความต้องการหวั ข้อการจดั การความร้ดู ้านการผลิตบณั ฑิต 2. การสร้างและ ดำเนนิ การสรา้ งและเสาะหาความรู้จากประสบการณท์ ี่มีอยู่ในบุคลากรที่เปน็ เสาะหาความรู้ แหล่งเรยี นรภู้ ายใน โดยการประชมุ ระดมความรู้ 6 ครง้ั แตล่ ะท่านนำเสนอ 3 นาท/ี ประเด็น 3.การจัดการความ รู้ใหเ้ ป็นระบบ ดำนินการนำความรทู้ ีไ่ ด้ มาจำแนกประเด็นความรู้ออกเปน็ ระบบ จงึ สามารถแบง่ ประเภทหวั ข้อขององค์ความรูอ้ อกเป็น 4 ประเดน็ 4. การประมวลและ ดำเนนิ การจัดทำ “คู่มือเทคนิคการบรู ณาการเรียนการสอน กล่ันกรองความรู้ Upskill/Reskill/New Skill กบั งานบริการวิชาการแกส่ งั คม” 5. การเข้าถึงความรู้ ดำเนนิ การกลัน่ กรองความรู้โดยการปรบั ปรงุ คู่มอื ให้มีความครบถว้ น เทีย่ งตรง ทันสมยั และเข้าใจงา่ ย 6. การแบ่งปัน ดำนนิ การเผยแพร่คู่มือฯ ลงสื่อออนไลน์ และป้ายประชาสมั พันธภ์ ายในหน่วยงาน 7. การเรียนรู้ การแบง่ ปนั แลกเปล่ียนความรกู้ ับคณาจารย์ภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จากการใชค้ ู่มือการจัดการองคค์ วามรบู้ คุ ลากรภายในคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ได้นำ ความรู้จากคู่มือในประยุกต์ใช้และพัฒนากระบวนการดำนินการจัดการเรียนการสอนของ ตนเอง 1

แนวปฏิบตั ิทด่ี ีในการบรู ณาการเรียนการสอน Upskill/Reskill/New Skill กับงานบรกิ ารวชิ าการแก่สังคม การจัดการความรู้ ให้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมองค์ความรู้ต่างๆ ที่กระจายอยู่ในตัวบุคคล เช่น ทักษะในการทำงาน ประสบการณ์ เป็นต้น หรือเอกสารเชน่ การบนั ทึก ทฤษฎีและคูม่ ือต่างๆ มาพฒั นาให้เป็น ระบบ เพ่อื ใหบ้ คุ ลากรของคณะให้สามารถเขา้ ถึงแหลง่ ความรแู้ ละพฒั นาตนเองตอ่ ไปได้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการบูรณาการการจดั การเรยี นการสอน 1) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปัน ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง และค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี ใน ของการบรู ณาการงานวิจยั กับการเรยี นการสอน การบรกิ ารวิชาการแก่สังคม 2) เพื่อรวบรวมความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยน มาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ ออกมาเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร 3) เพือ่ นำความรู้ท่ีได้ และทกั ษะของผู้มีประสบการณ์ตรงทเี ปน็ แนวปฏบิ ัตทิ ่ีดีนำมาปรับเพ่ือให้ในการ ปฏบิ ัตงิ านจริง 2

การกำหนดแผนการจัดการเรยี นการสอนโดยบูรณาการในชั้นเรียน การสอนแบบบูรณาการ หมายถึง การจัดการเรียนรู้โดยการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ที่เกี่ยวข้องจาก ศาสตร์ต่างๆ ของรายวิชาเดียวกันหรือรายวิชาต่างๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำ ความคิดรวบยอดของศาสตร์ต่างๆ มาใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ สำหรับการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning Management) หมายถึง กระบวนการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามความสนใจ ความสามารถ โดยเชื่อมโยงเนื้อหาสาระของศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม สามารถนำความรู้ ทักษะและเจตคติไปสร้างงาน แก้ปญั หาและใช้ในชีวิตประจำวนั ไดด้ ว้ ยตนเอง รปู แบบของการจัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ รูปแบบของการจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการมี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย 1) การบรู ณาการแบบสอดแทรก (Infusion Instruction) การสอนรูปแบบนี้ผู้สอนในวิชาหนึ่งสอดแทรกเนื้อหาของวิชาอื่นๆ เข้าไปในการสอนของตน เป็ น การวางแผนการสอนและสอนโดยผ้สู อนเพยี งคนเดียว 2) การบรู ณาการแบบขนาน (Parallel Instruction) การสอนตามรูปแบบนี้ ผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน ต่างคนต่างสอนแต่ต้องวาง แผนการสอนร่วมกันโดยมุ่งสอนหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาเดียวกัน (Theme/concept/problem) ระบุสงิ่ ทีร่ ว่ มกนั และตดั สินในร่วมกันวา่ จะสอนหัวเรอื่ ง/ความคิดรวบยอด/ปัญหา 3) การบรู ณาการแบบสหวิทยาการ (Multidisciplinary Instruction) ขนาน (Parallel Instruction) กล่าวคือ ผู้สอนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปสอนต่างวิชากัน มุ่งสอนหัวเรื่อง ความคิดรวบยอด/ปญั หาเดียวกันตา่ งคนต่างแยกกันสอนเป็นสว่ นใหญ่ 4) การบรู ณาการแบบข้ามวชิ าหรือเป็นคณะ (Transdisciplinary Instruction) การสอนตามรูปแบบนผี้ ู้สอนท่สี อนวิชาต่างๆ จะรว่ มกนั สอนเป็นคณะหรือเป็นทีม รว่ มกันวางแผน ปรึกษาหารือ และกำหนดหัวเรื่อง/ความคิดรวบยอด/ปัญหาร่วมกัน แล้วร่วมกันดำเนินการสอนนักศึกษากลมุ่ เดยี วกนั เหตุผลในการจดั การเรยี นร้แู บบบรู ณาการ 1) สงิ่ ต่างๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในชวี ติ ประจำวันนนั้ จะเปน็ สง่ิ ทเี่ กยี่ วเนอ่ื งสมั พันธ์กนั กบั ศาสตรใ์ น สาขาตา่ งๆ ผสมผสานกนั ทำใหผ้ ้เู รยี นทเ่ี รียนรู้ศาสตรเ์ ดีย่ วๆ มาไมส่ ามารถนำความรู้มาใชใ้ นการ แกป้ ัญหาได้ ดังนนั้ การ จดั การเรยี นรูแ้ บบบูรณาการจะชว่ ยให้สามารถนำความรู้ ทักษะจากหลายๆ ศาสตร์มาแก้ปัญหาไดก้ ับชวี ติ จรงิ 2) การจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ ทำให้เกดิ ความสมั พันธเ์ ชื่อมโยงความคิดรวบยอด ของศาสตร์ ต่างๆ เขา้ ดว้ ยกันทำให้เกดิ การถา่ ยโอนการเรียนรู้ (Transfer of learning) ของศาสตร์ต่างๆ เข้าดว้ ยกันทำให้ ผ้เู รียนมองเหน็ ประโยชน์ของส่ิงที่เรยี นและนำไปใช้จริงได้ 3) การจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการชว่ ยลดความซ้ำซ้อนของเนื้อหารายวชิ าต่างๆ ใน หลักสตู รจงึ ทำ ใหล้ ดเวลาในการเรยี นรเู้ น้อื หาบางอย่างลงได้ แลว้ ไปเพมิ่ เวลาใหเ้ น้อื หาใหม่ๆ เพม่ิ ขนึ้ 4) การจดั การเรยี นร้แู บบบรู ณาการจะตอบสนองต่อความสามารถในหลายๆ ดา้ นของ ผู้เรยี นช่วย สรา้ งความรู้ ทักษะและเจตคติ “แบบพหุปัญญา” (Multiple intelligence) 5) การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการจะสอดคลอ้ งกับทฤษฎีการสรา้ งความรู้โดยผูเ้ รียน (Constructivism) ทก่ี ำลังแพร่หลายในปัจจุบนั 3

การแสวงหาความร้แู ละการสรา้ งองคค์ วามรใู้ นการจดั การเรียนการสอน รปู แบบการสอน รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching Learning Model) หรือระบบการสอน คือ โครงสร้าง องค์ประกอบการดำเนินการสอน ที่ได้รับการจัดเป็นระบบสัมพันธ์สอดคล้องกับ ทฤษฏี หลักการเรียนรู้ หรือ การสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือและได้รับการพิสูจน์ ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรตู้ ามจดุ มุง่ หมายเฉพาะของรปู แบบน้ันๆ โดยทั่วไปแบบแผนการดำเนินการสอนดังกล่าวมักประกอบด้วย ทฤษฏีหลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือ และกระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะอันจะนำผู้เรียนไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะรูปแบบนั้นกำหนด ซึ่งผู้สอน สามารถนำไปใช้เป็นแบบแผนหรือ แบบอย่างในการจัดและดำเนินการสอนอื่นๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเฉพาะ เช่นเดยี วกันได้ รูปแบบ การจัดการเรียนการสอนที่ใช้กันแพร่หลายมีจำนวนมาก แต่ละรูปแบบมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนา ผู้เรียนตามจุดเน้นด้วยขั้นตอน วิธีการ องค์ประกอบที่แตกต่างกันไป บางรูปแบบใช้ได้ในวงกว้าง บางรูปแบบ จะใช้เจาะจงในวงแคบเฉพาะส่วน ผู้ใช้ควรศึกษาพิจารณาเลือกใช้ให้เหมาะสมกับมาตรฐานการเรียนรู้ตาม หลักสตู รการศึกษา การมสี ว่ นร่วมกบั ชมุ ชนและการสร้างเครอื ข่ายการดำเนินงาน การสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วม (Network Building and Participatory) เป็นเครื่องมือท่ี ปัจจุบันหลายสถานศึกษามีความพยายามในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาให้มี สมรรถนะสูง เพอ่ื ใหเ้ กดิ การมีสว่ นร่วมในกระบวนการบริหารจดั การ เนื่องจากกระบวนการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมเป็นปัจจัยสำคัญที่สนับสนุน และส่งเสริมให้ สถานศึกษามีพลังในการพัฒนาประเทศอย่างสร้างสรรค์ อันเป็นเป้าหมายหลักของการพัฒนาสถานศึกษายุค ใหม่ ทั้งนี้สถานศึกษาต้องสร้างระบบการดำเนินงานทางการศึกษาร่วมกับภาคีที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างเครือข่าย การปฏบิ ัตงิ านอย่างเปน็ ระบบร่วมกัน การเชื่อมโยงของกลุ่มของคนหรือกลุ่มองค์กรที่สมัครใจ แลกเปลี่ยนข่าวสารร่วมกัน หรือทำกิจกรรม รว่ มกัน มีการจดั ระเบยี บโครงสรา้ งของคนในเครือข่ายดว้ ยความเปน็ อสิ ระ มคี วามเทา่ เทียมกันภายใต้พื้นฐาน ของความเคารพสิทธิ เช่อื ถอื เอือ้ อาทร ซึ่งกันและกัน อาจเปน็ กจิ กรรมเฉพาะกจิ ตามความจำเป็น หรือจะเป็น เครือข่ายทดี่ ำเนนิ กิจกรรมอย่างตอ่ เนื่องระยะยาว 4

1. การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในเครือข่าย เป็นกระบวนการที่สำคัญมากในการพัฒนาความ เขม้ แขง็ ของเครอื ขา่ ย 1.1 เปน็ เงอื่ นไขท่ที ำใหเ้ กดิ การรว่ มรับรู้ ร่วมคดิ รว่ มตัดสนิ ใจ และรว่ มลงมือ กระทำอย่างเข้มแขง็ 1.2 สถานะของสมาชิกในเครอื ขา่ ยควรมคี วามเท่าเทียมกัน ทุกคนอยูใ่ นฐานะ “หุ้นส่วน” ของเครือข่าย 1.3 เ ป ็ น ค ว า ม ส ั ม พ ั น ธ ์ ใ น แ น ว ร า บ ( h o r i z o n t a l r e l a t i o n s h i p ) คื อ ความสมั พนั ธ์ฉันทเ์ พอ่ื นมากกว่าในลกั ษณะเจ้านายลูกน้อง 2. มีปฏิสมั พันธใ์ นเชิงแลกเปล่ยี น 2.1 สมาชิกในเครือข่ายต้องทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างกัน เช่น มีการ ติดต่อกันผ่านทางการเขียน การพบปะพูดคุย การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน หรือมีกิจกรรม ประชุมสัมมนา รว่ มกัน โดยทผ่ี ลของการปฏสิ มั พันธ์นีต้ อ้ งกอ่ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงใน เครือข่ายตามมา 2.2 ลักษณะของปฎิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกควรเป็นการแลกเปลี่ยนกัน มากกว่าที่จะเป็นผู้ให้หรือ เป็นผ้รู บั ฝ่ายเดียว 2.3 ยิ่งสมาชิกมีปฎิสัมพันธ์กันมากเท่าใดก็จะเกิดความผูกพันระหว่างกันมาก ขึ้นเท่านั้น ทำให้การ เช่อื มโยงแน่นแฟ้นมากขึ้น มกี ารเรียนรูร้ ะหว่างกันมาก ขึน้ สรา้ งความเขม้ แข็งใหก้ บั เครือข่าย 5

การบรู ณาการบรกิ ารวชิ าการกับการเรียนการสอน การบริการทางวิชาการแก่สังคม เป็นหนึ่งในภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพึงให้บริการ ทางวิชาการแก่ชุมชน สังคม ทั้งระดับชาติในรูปแบบต่างๆ ตามความถนัดและมีความเชี่ยวชาญการให้บริการ ทางวิชาการเป็นการทำประโยชน์แก่สังคม ทั้งยังช่วยเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของอาจารย์ อันจะ นำไปสู่การบูรณาการการจัดการเรียนการสอนและการวิจัย การพัฒนาหลักสูตร พัฒนาตำแหน่งทางวิชาการ ของอาจารย์ สรา้ งเครอื ขา่ ยกับหน่วยงานตา่ งๆ ซง่ึ เป็นแหล่งงานของนักศึกษา การบรู ณาการงานบรกิ ารวิชาการกับการเรยี นการสอน จะทำให้นักศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนสงู มี ศักยภาพทางวชิ าการดี มีความสามารถในการแก้ปญั หา ประยุกตใ์ ช้ความรู้กับชุมชนได้มากข้ึน มีเจตคติท่ีดีต่อ การรับใชช้ มุ ชนและสงั คม การบรู ณาการแบบนำความรูแ้ ละประสบการณจ์ ากการบรกิ ารวิชาการมาประยุกตใ์ ช้ในการเรยี นการสอน ข้ันตอนดำเนินงาน ขน้ั ตอนท่ี 1 สงั เคราะห์องค์ความร้จู ากการบริการวิชาการ/วชิ าชีพ ขน้ั ตอนท่ี 2 พจิ ารณารายวชิ าที่สอดคล้องกบั องค์ความรจู้ ากการบริการวชิ าการ/วชิ าชีพ ขนั้ ตอนท่ี 3 ระบกุ จิ กรรมการบรู ณาการใน มคอ.3 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล ขนั้ ตอนท่ี 4 การถ่ายทอด/ปฏบิ ตั ิ ขัน้ ตอนท่ี 5 วดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน วธิ ีดำเนนิ งาน สงั เคราะห์องค์ความรู้จากการบรกิ ารวิชาการ/วชิ าชพี พจิ ารณารายวชิ าทส่ี อดคลอ้ งกบั องคค์ วามรจู้ ากการบริการวิชาการ/วิชาชีพ ระบุกจิ กรรมการบรู ณาการใน มคอ.3 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล จัดการเรียนการสอน (การถา่ ยทอด/ปฏบิ ตั )ิ อาจารย์สงั เกตพฤตกิ รรมวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ของนกั ศกึ ษา 6

การบูรณาแบบให้นกั ศึกษามีส่วนร่วมในการบรกิ ารวิชาการ ขน้ั ตอนการดําเนินงาน ขั้นตอนท่ี 1 พิจารณารายวชิ าที่สอดคล้องกบั องค์ความรจู้ ากการบรกิ ารวชิ าการ/วชิ าชีพ ขั้นตอนที่ 2 ระบุกิจกรรมการบรู ณาการใน มคอ. 3 หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมนิ ผล ข้นั ตอนที่ 3 จัดใหน้ กั ศึกษามีสว่ นรว่ มในการให้บริการวชิ าการ/วิชาชพี กับชมุ ชน เช่นการเปน็ ผ้ชู ว่ ย วิทยากร การดำเนินงานอ่ืนๆ เปน็ ตน้ ข้ันตอนท่ี 4 ให้นกั ศึกษาคน้ ควา้ และเรียนรู้เพ่ืออภิปรายปรากฏการณ์พรอ้ มท้งั ค้นพบองค์ความร้หู รือ เทคนคิ ของการบรกิ ารวชิ าการ/วิชาชพี ดว้ ยการปฏบิ ัติจรงิ ขัน้ ตอนที่ 5 วดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธีดำเนินงาน กำหนดโครงการ/กิจกรรมการให้บริการวิชาการ/วชิ าชีพ องค์ความรู้หรือเทคนคิ ในรายวชิ า/ศาสตร์วชิ าท่สี อดคล้อง ให้นักศึกษาลงพน้ื ทีช่ ุมชนเป้าหมาย --->ดำเนนิ โครงการ/กิจกรรมการให้บริการวิชาการ/วชิ าชพี โดย ใหน้ ักศึกษาเป็นผถู้ ่ายทอดวธิ กี ารและเทคนคิ ให้แกช่ ุมชน ใหน้ กั ศึกษาคน้ ควา้ และเรยี นรู้พรอ้ มท้ังคน้ พบองค์ความร้จู นสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้ นักศึกษาประเมนิ ผลงานตนเอง นักศกึ ษาทำรายงานสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ/กจิ กรรมการใหบ้ ริการวิชาการ/วิชาชพี อาจารยส์ งั เกตพฤติกรรมวัดและประเมินผลจากผลงานของนกั ศึกษา ตวั อยา่ งรูปแบบกจิ กรรม 1) กำหนดให้นักศึกษาในรายวชิ าท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การใหบ้ รกิ ารวิชาการ เปน็ วทิ ยากรผชู้ ่วย ตอบปัญหา และชว่ ยฝึกปฏบิ ัติ หรือร่วมจดั นทิ รรศการ 2) สอดแทรกความตอ้ งการแกป้ ัญหาของผ้เู ขา้ รับบริการวิชาการในขณะจัดการเรยี นการสอนเพื่อ กระตุน้ นักศึกษา 7

3) ปรับลำดับหัวข้อการสอนของรายวิชาทั้งในส่วนภาคทฤษฎี/ภาคปฏิบัติ รวมทั้งการมอบหมาย ให้ นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเตรียมให้บริการวิชาการ ให้มีความสอดคล้องกับงานที่มอบหมาย ใน รายวชิ า รูปแบบการบูรณาการงานบรกิ ารวิชาแกส่ งั คมกบั การเรยี นการสอน มี 2 รปู แบบดังนี้ รปู แบบที่ 1 รายวิชาเปน็ ตวั ตั้งในรปู การบูรณาการ อาจารยผ์ ู้สอนวเิ คราะห์เน้ือหาของรายวชิ าทีส่ อดคล้องกบั โครงการบริการวชิ าการทมี่ ีอยู่ ในแผนและกำหนดใหน้ ักศกึ ษานำความรูภ้ าคทฤษฎีที่ได้รับจากรายวชิ าไปบริการร่วมกับโครงการบริการ วิชาการของมหาวิทยาลัย ข้นั ตอนท่ี กิจกรรม 1 คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มทร.ธญั บุรี มโี ครงการการบริการวิชาการที่อยู่ในแผน 2 อาจารย์วเิ คราะห์เนื้อหาในรายวิชาที่สอดคลอ้ งกับโครงการบริการวชิ าการ 3 อาจารย์ระบุกิจกรรมการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนใน มคอ.3 หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 4 อาจารยจ์ ัดการเรยี นการสอนหรือนกั ศึกษาคน้ ควา้ และเรียนรู้ภาคทฤษฎีจนสามารถ 5 ถา่ ยทอดความรู้ได้ อาจารย์จดั ใหน้ กั ศึกษามีสว่ นรว่ มบริการวิชาการในโครงการบรกิ ารวชิ าการ เชน่ การ 6 เป็นวทิ ยากร เปน็ ผู้ชว่ ยวิทยากร เปน็ ผู้รว่ ม ดำเนินโครงการกับท้องถ่ิน นกั ศึกษาประเมินผลงานของตนเอง จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนิน งานบริการ 7 วิชาการ อาจารย์วดั และประเมนิ ผลการเรยี นร้ขู องนักศกึ ษา 8

รปู แบบที่ 2 โครงการบรกิ ารวชิ าการเป็นตวั ต้งั ในการบรู ณาการ การจัดโครงการบริการวิชาการที่ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนโดยอาจารย์นำ องคค์ วามรู้ท่ีได้จากการบริการวิชาการมาบรู ณาการในรายวชิ าท่ีมีเน้ือหาสอดคล้อง และให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ จรงิ ร่วมกบั ชุมชนภายใตโ้ ครงการบรกิ ารวชิ าการ ขน้ั ตอนที่ กิจกรรม 1 สำรวจความต้องการของชมุ ชน 2 สงั เคราะห์องค์ความรูจ้ ากการบรกิ ารวชิ าการ 3 พจิ ารณารายวิชาทสี่ อดคลอ้ งกับองค์ความร้จู ากโครงการบรกิ ารวิชาการ 4 พิจารณารายวิชาท่สี อดคล้องกับองคค์ วามรจู้ ากโครงการบรกิ ารวิชาการ 5 ระบุกจิ กรรมบูรณาการงานบรกิ ารวิชาการกับการเรยี นการสอน ใน มคอ.3 หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมินผล 6 ดำเนินการบูรณาการ ในรายวิชาโดยใหน้ กั ศกึ ษาลงมือปฏิบตั ิศึกษา คน้ คว้าทดลอง 7 ร่วมกบั ชมุ ชน อาจารย์สังเกตพฤติกรรม วัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของนักศึกษา จากผลงานของ นักศึกษา 9

ผู้มบี ทบาทในการบรู ณาการ 1. บทบาทของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 1.1 เพื่อปรับปรุงอาชีพของประเทศไทยให้ถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ให้สอดคล้องกับการจัด ประเภทมาตรฐานอาชพี สากลที่ได้มีการปรบั ปรุงใหม่ 1.2 เพือ่ หนว่ ยงานภาครัฐ เอกชน และบุคคลท่วั ไปมีความรคู้ วามเขา้ ใจทีถ่ ูกต้องเก่ียวกบั ขอ้ มูล อาชีพ และสะดวกแก่การนำไปใช้ประโยชน์ 1.3 เพือ่ เพมิ่ ประสทิ ธผิ ลของการจัดของการจดั เก็บข้อมูลที่เกย่ี วขอ้ งกับอาชพี 1.4 เพอ่ื ใช้เป็นฐานขอ้ มูลอาชีพของประเทศไทย 2. บทบาทของอาจารย์ 2.1 พฒั นาศักยภาพของตนเองในการบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คม 2.2 สร้างงานบรกิ ารวชิ าการแก่สงั คม 2.3 ทำแผนการสอนแบบบรู ณาการงานบริการวิชาการกับการเรียนการสอนในรายวชิ าของตน (มคอ.3) 2.4 สอนแบบบรู ณาการงานบริการวิชาการกบั การเรียนการสอน 2.5 ประเมินผลสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการกับการเรยี นการสอน 10

การคดั เลอื กชมุ ชนในการบริการวิชาการ การสร้างและพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ เป็นการจัดให้มีการศึกษาที่เกื้อหนุนให้บุคคลในชุมชน สามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยการกระจายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงภายใต้สิ่งที่มีอยู่ใน สังคมรอบๆ ตัว ทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต เช่น จากประสบการณ์ของวิทยากรหรือปราชญ์ชาวบ้านจากแปลง สาธติ จากศูนย์เรียนรู้ ฯลฯ โดยมงุ่ หวังใหเ้ กิดการเรยี นรู้จากประสบการณจ์ รงิ การศึกษานอกระบบหรือการศกึ ษาอย่างไม่เป็นทางการ ที่ไม่เน้นการเรียนรูเ้ ฉพาะในห้องเรยี น ดังน้ัน การสร้างแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายในชุมชนจึงเป็นอีกสิ่งหนึ่งทีจ่ ะก่อประโยชน์ต่อกระบวนการเรียนรู้ที่ท าให้ ผู้เรยี นได้พฒั นาศกั ยภาพจากประสบการณต์ รง ซงึ่ สัมผสั และจับตอ้ งได้ ทงั้ นี้ความสำคญั ของแหล่งเรียนรใู้ นชุมชน ไมไ่ ดม้ เี ฉพาะต่อสมาชิกในชมุ ชนเทา่ นั้น แตย่ งั รวมถึงบุคคล ทั่วไปและผ้ทู ่ีศกึ ษาอยใู่ นสถาบันการศึกษาได้ใชป้ ระโยชน์จากแหลง่ เรียนรูเ้ พ่ือดำเนินกจิ กรรมต่างๆ ที่ก่อให้เกิด การเรยี นรรู่ ว่ มกนั และกอ่ ให้เกิดการจารกึ ข้อมูลชุมชนทีเ่ ปน็ ระบบด้วย กระบวนการบรกิ ารทางวิชาการใหเ้ กิดประโยชน์ต่อชุมชน 1) มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อ ประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบันมีการสำรวจ ความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหนว่ ยงานวิชาชีพ เพอ่ื ประกอบการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตรท์ ิศทางและการจัดทำแผนการบรกิ ารทางวิชาการตามจุดเน้นและความเชี่ยวชาญของสถาบัน 2) มีความร่วมมือด้านบริการวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือ ภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพสถาบันมีการเชิญหรือเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมจากชุมชน ภาครฐั ภาคเอกชน หรือหนว่ ยงานทเ่ี กีย่ วข้องกบั วชิ าชพี ท่ีจะให้บรกิ ารมารว่ มมอื รวมพลัง (Collaboration) ใน ลกั ษณะของการสร้างเครือข่าย (Networking) ระหว่างบุคคลหรือหนว่ ยงานในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ ความร่วมมือ กับสถานประกอบการในการนำผลการวจิ ยั ไปเป็นส่วนหน่งึ ของการปรับปรงุ ปัญหาทเี่ กิดขนึ้ 3) มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคมมีการประเมิน ประโยชนห์ รอื ผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการตอ่ สังคมว่า สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผู้รับบริการ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม มกี ารประเมนิ ผลท่เี กิดกับนักศึกษา อาจารยแ์ ละบคุ ลากรผูใ้ หบ้ ริการ ทงั้ ในด้านการนำ ความรคู้ วามเชย่ี วชาญ ไปใชป้ ระโยชน์ การสอ่ื สาร การชีแ้ จงแนะนำใหผ้ รู้ ับบริการและประชาชน 4) มีการนำผลการประเมนิ ในข้อ 3) ไปพฒั นาระบบและกลไก หรือกจิ กรรมการให้บริการทางวิชาการ มีการนำผลการประเมินการให้บริการทางวิชาการไปพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของการให้บริการ มีระบบและ กลไกการให้บริการ ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการให้บริการ ขอบเขตการให้บริการค่าใช้จ่ายระยะเวลาในการ ให้บริการ สัญญาการบริการ ซึ่งรวมทั้งการควบคุมและการกำกับคุณภาพของการใหบ้ ริการ โดยจัดให้มีระบบ ให้ข้อมูลทช่ี ัดเจน มคี วามเปน็ ธรรมโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ 5) มีการพฒั นาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถา่ ยทอดความรู้สู่บุคลากรภายในสถาบัน และเผยแพร่สู่สาธารณชนสถาบันมีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการ ส่งเสริมให้เกิด กระบวนการในการถ่ายทอดความรู้ไปสู่บุคลากรภายในสถาบัน ซึ่งรวมทั้งผู้เรียนด้วย จัดให้มีการแลกเปลี่ยน ความคิดและเผยแพร่ประสบการณ์ในการให้บริการผ่านทางสื่อการเรียนรู้ต่างๆ รวมทั้งจัดทำฐานข้อมูลการ บรกิ ารวิชาการเผยแพรส่ สู่ าธารณะชน 11

การประเมินผลรายวิชาเรียนทเี่ กย่ี วข้องกับการบริการวิชาการ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรม ที่คณะฯ เป็นผู้ดำเนินงาน สนับสนุนและส่งเสริมสาขาวิชาและ อาจารย์ผู้สอนเป็นที่พึ่งทางวิชาการที่เหมาะสมให้แก่สังคมชุมชนท้องถิ่นและประเทศชาติ ได้ใช้องค์ความ รู้ พัฒนาหลักสตู รการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกบั บริบทของชุมชนและสังคมไปในการใหบ้ ริการวิชาการ วิชาชีพแก่ชุมชนรวมทั้งได้นำองค์ความรู้จากการวจิ ัยหรือ การค้นคว้าไปใช้ในการให้บริการวิชาการวิชาชพี แก่ ชมุ ชนเพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนอย่างต่อเน่ือง การบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน หมายถึง การเชื่อมโยงหรือ ผสมผสานความรู้และประสบการณ์ผลการวจิ ัยไปสู่การใชป้ ระโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของทุกภาค ส่วนในทุกระดับ เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ นักศึกษาเกิดการเรียนรู้เนื้อหาในรายวิชาท่ี เกีย่ วข้องจากการลงพน้ื ทปี่ ฏิบตั งิ านจริง แนวทางการพัฒนา 1) ด้านผู้เรียน นักศึกษาได้มีโอกาส ทบทวนความรู้และศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วยตนเอง เพื่อเตรียม ความพร้อมในการเข้าร่วมกิจกรรม การจัดให้นักศึกษาได้ ทำงานเป็นกลุ่มและเรียนรู้การทำงาน ร่วมกับ อาจารย์เป็นการพัฒนาให้นักศึกษา รู้จักทำงานเป็นทีมและเรียนรู้การแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า ส่งเสริ มและ พัฒนาศักยภาพ/ทักษะการเป็นผู้นำ นักศึกษามีความมั่นใจในการทำงาน ร่วมกับเพื่อนๆ และอาจารย์ และ เกิดการเรยี นรทู้ จ่ี ะนำไปประยุกต์ใช้ได้เมื่อสำเร็จการศึกษา 2) ด้านผู้สอนผลจากการนำเนื้อหาที่ได้ ถ่ายทอดในชั้นเรียนมามอบหมายกิจกรรม และให้ผู้เรียนได้มี ส่วนร่วมในโครงการบริการวิชาการทำให้ผู้เรียนมีความระตือรือร้น ในการเตรียมความรู้ที่จะนำไปตอบข้อ สงสัยแก่ผู้รับบริการ การบูรณาการหัวข้อ การสอนกับกิจกรรมบริการวิชาการจึงเป็น วิธีที่ให้โอกาสแก่ทั้ง ผู้เรียนและผ้สู อนได้ ทำกจิ กรรมและเรียนรู้รว่ มกัน 3) ด้านผู้รับบริการและผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์ และได้รู้จักคณะ เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ ผู้รับบริการ เกิดความมั่นใจกับนักศึกษาผู้ซึ่งจะสำเร็จออกไปให้บริการแก่ ประชาชนว่าได้มีการเตรียมความพร้อมมาอย่างดี ประธานชุมชนและผู้เกี่ยวข้องให้การยอมรับและให้ความ รว่ มมอื อยา่ งดีย่งิ 4) ด้านรูปแบบการจัดกิจกรรมบริการวิชาการ มีการปรับตัวให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคโควิด 19 (Covid-19) โดยในช่วงที่ไม่สามารถลงพื้นท่ีชุมชนได้ อาจารย์ผู้สอนสามารถปรับรูปการบริการ วิชาการเป็นการจัดทำคลิปโดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในขั้นตอนการถ่ายทำเพื่อนำความรู้เพยแพร่ให้แก่ชุมชนใน รปู แบบออนไลน์ 12

ผลสำเร็จจากการเรยี นรขู้ องนักศกึ ษาทผ่ี ่านการเรยี นรู้แบบบรู ณาการ การทำกิจกรรม การทำงาน การประกอบการที่ไม่เป็นโทษแก่สังคม และมีรายได้ตอบแทน โดยอาศัย แรงงาน ความรู้ ทักษะ อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ แตกต่างกันไป อาชีพจำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถ เฉพาะด้านเรียกว่า วิชาชีพ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ทนายความ อาชีพที่ถูกกฎหมายและศีลธรรม เรียกว่า สัมมาชีพ เช่น ค้าขาย ส่วนบางอาชีพที่ผิดกฎหมาย เรียกว่า มิจฉาชีพ เช่น โจร อาชีพอาจมีรายได้แตกต่างกันไป ลักษณะอาชีพที่เป็นลูกจ้างจะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบเงินเดือน อาชีพค้าขายหรือประกอบกิจการ สว่ นตัวจะได้ค่าตอบแทนในรปู แบบ กำไร สิ่งสำคัญของการเริ่มต้นประกอบอาชีพอิสระ จะต้องพิจารณาว่าจะประกอบอาชีพอิสระอะไร โอกาส และความสำเร็จมีมากน้อยเพียงไร และจะต้อง เตรียมตัวอย่างไรจึงจะทำให้ประสบผลสำเร็จ ดังนั้น จึงต้อง คำนึงถงึ ปัจจัยหลักของการประกอบอาชีพ หลกั ของการประกอบอาชพี ไดแ้ ก่ 1) ทุน คือ สิ่งที่จำเป็นปัจจัยพื้นฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะต้องวางแผนและแนวทางการ ดำเนินธุรกิจไว้ล่วงหน้า เพื่อที่จะทราบว่าต้อง ใช้เงินทุนประมาณเท่าไร ถ้าไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากที่ใด อาจจะไดจ้ ากเงนิ เก็บออม หรอื จากการกยู้ มื จากธนาคาร หรอื สถาบนั การเงนิ อื่น ๆ อยา่ งไรก็ตาม ในระยะแรก ไมค่ วรลงทุน จนหมดเงินเกบ็ ออมหรอื ลงทนุ มากเกนิ ไป 2) ความรู้ หากไม่มีความรู้เพียงพอ ต้องศึกษาขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติม อาจจะฝึกอบรมจาก สถาบันที่ให้ความรู้ด้านอาชีพ หรือ ทำงานเป็นลูกจ้างคน อื่นๆ หรือทดลองปฏิบัติด้วยตนเองเพื่อให้ มีความรู้ ความชำนาญ และมปี ระสบการณใ์ นการประกอบอาชพี นนั้ ๆ 3) การจัดการ เป็นเรื่องของเทคนิคและวิธีการ จึงต้องรู้จักการวางแผนการทำงานในเรื่องของตัวบุคคล ท่จี ะรว่ มคิด รว่ มทำและรว่ มทุน ตลอดจนเคร่ืองมือ เครอื่ งใช้และกระบวนการทำงาน 4) การตลาด เป็นปัจจัยที่สำคัญมากที่สุดปัจจัยหนึ่ง เพราะหากสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นไม่เป็นที่ นิยมและไม่สามารถสร้างความพอใจให้แก่ผู้บริโภค ได้ก็ถือว่ากระบวนการทั้งระบบไมป่ ระสบผลสำเร็จ ดังนนั้ การวางแผนการตลาด ซึง่ ปจั จุบันมีการแขง่ ขันสูง จงึ ควรได้รับความสนใจในการพัฒนา 13

- มคอ.3 เอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ งในการบูรณาการจัดการเรยี นการสอน 14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

’ 25

26

27

- แบบฟอร์ม ง.7_1 โครงการบรกิ ารวิชาการ 28

29

30

31

32

ฝ่ายวิชาการ คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook