Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พุทธประวัติ นักธรรมตรี

พุทธประวัติ นักธรรมตรี

Description: พุทธประวัติ นักธรรมตรี

Search

Read the Text Version

นักธรรมชั้นตรีวิชาพุทธประวัติ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 1

ประโยชน์ของการเรียนพทุ ธประวตั ิ๑. ได้ศรัทธา และปสาทะ๒. ได้ทราบพระประวตั ิของพระองค์๓. ได้ทราบพระจริยาวตั ร การประพฤติปฏิบตั ิของพระองค์๔. ได้ทิฏฐานุคติ แบบแผนท่ีดีงาม๕. นาไปประพฤติปฏิบตั ิ เพื่อปรับปรุงชีวิตของตนเอง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 2

ปุริมกาล ปริจเฉทท่ี ๑ชมพทู วีปและประชาชน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 3

ชมพทู วีปชมพูทวีป คือ ประเทศอินเดีย ปัจจุบันนี้ได้แก่ อินเดีย ปากีสถานเนปาล บังคลาเทศประชาชนในชมพูทวีป มี ๒ พวก คือ ๑. พวกเจ้าของถ่ินเดิม เรียกว่า มิลกั ขะ ๒. พวกท่ียกมาจากแผ่นดินข้างเหนือ เรียกว่า อริยกะชมพูทวีป แบ่งออกเป็ นจังหวัดใหญ่ ๒ จังหวัด คือ ๑. ร่วมใน เรียกว่า มชั ฌิมชนบท ๒. ภายนอก เรียกว่า ปัจจนั ตชนบท จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 4

ชมพทู วีป แบ่งเป็ น ๑๖ แคว้นชมพูทวีปตามบาลีอุโบสถสูตร ในติกนิบาทอังคุตตรนิกาย ระบุว่า มี๑๖ แคว้น คือ องั คะ มคธะ กาสี โกสละ วชั ชี มลั ละ เจตี วงั สะกรุ ุ ปัญจาละ มจั ฉะ สรุ เสน อสั สกะ อวนั ตี คนั ธาระกมั โพชะและในบาลีอื่นทีไ่ ม่ซ้าอีก ๕ คือ สกั กะ โกลิยะ ภคั คะ วิเทหะ องั คตุตราปะ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 5

วรรณะ ๔คนในชมพูทวีป แบ่งเป็ น ๔ พวก เรียกว่า วรรณะ คือ ๑. กษัตริย์ พวกเจ้า มีธุระทางรักษาบ้านเมือง ๒. พราหมณ์ พวกเล่าเรียนมีธุระทางฝึ กสอนและทาพิธี ๓. แพศย์ พวกพลเรือน มีธุระทางทานา ค้าขาย ๔. ศทู ร พวกคนงาน มีธุระรับจ้างทาการ ทาของ และยงั มีคนนอกจาก ๔ พวกนีอ้ ีก เรียกว่า จณั ฑาล อนั เกิดมาจากบิดาและมารดาท่ีต่างวรรณะกนั เป็ นท่ีดหู ม่ินของคนมีชาติสกุลเป็ นอย่างยิ่ง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 6

การศกึ ษาของวรรณะ ๔พวกกษัตริย์ ศึกษาในเร่ืองยทุ ธวิธีพวกพราหมณ์ ศกึ ษาในเรื่องศาสนา และวิทยาการต่าง ๆพวกแพศย์ ศกึ ษาเร่ืองศิลปะ กสิกรรม และพาณิชการพวกศูทร ศกึ ษาเรื่องการงานท่ีจะพงึ ทาด้วยแรงกาย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 7

ความเช่ือชาวชมพทู วีปคนในชมพทู วีปแบ่งเป็ น ๒ พวก ๑. เก่ียวกบั ความเกิดและความตาย บางพวกเชื่อว่าตายแล้วเกิดใหม่ บางพวกเชื่อว่าตายแล้วสญู ๒. เก่ียวกบั ความสขุ และความทกุ ข์ บางพวกถือว่า สตั ว์จะได้สขุหรือทกุ ข์ก็ได้เอง สขุ ทกุ ข์ไม่มีเหตปุ ัจจยั บางพวกเห็นว่า สขุ ทกุ ข์มีเหตุปัจจยั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 8

วธิ ีปฏิบัตเิ ก่ียวกับความเกิด ความตาย และสุขทุกข์ พวกท่ีถือว่าตายแล้วเกิดอีก เข้าใจว่าประพฤติอย่างไรจะได้ไปเกิดในสวรรค์ และสคุ ติ ก็ประพฤติอย่างนนั้ พวกที่ถือว่าตายแล้วสญู ก็ประพฤติม่งุ แต่เพียงเอาตวั รอดในปัจจบุ นั ไม่กลวั แต่ความเกิดในนรกและทคุ ติ พวกที่ถือว่า จะได้สขุ หรือทกุ ข์ก็ได้เอง สขุ ทกุ ข์ไม่มีเหตปุ ัจจยั ก็ไม่มีการขวนขวาย ได้แต่คอยเสี่ยงสขุ เสี่ยงทกุ ข์ไปวนั ๆ พวกท่ีถือว่า สขุ ทกุ ข์มีมาเพราะเหตปุ ัจจยั ภายนอก ก็บวงสรวงเทวดาขอให้ช่วยบ้าง ขวนขวายในทางอื่นบ้าง พวกที่ถือว่า สขุ ทกุ ข์มีมาเพราะเหตปุ ัจจยั ภายใน คือ กรรม เห็นว่ากรรมใดเป็ นเหตแุ ห่งทกุ ข์ ก็เว้นกรรมนนั้ เสีย ไม่ทา เห็นว่ากรรมใดเป็ นเหตแุ ห่งสขุ ก็ทากรรมนนั้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 9

ปุริมกาล ปริจเฉทท่ี ๒สักกชนบท และศากยวงศ์ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 10

สักกชนบท สกั กชนบท ตงั้ อย่ใู นชมพทู วีปตอนเหนือ ท่ีได้ชื่ออย่างนนั้ เพราะตงั้ ขึน้ ในดงไม้สกั กะ ส่วนกษัตริย์ผ้ปู กครองสกั กชนบทนนั้ เรียกว่า ศากยะ ท่ีได้ช่ืออย่างนนั้ เพราะสามารถตงั้ บ้านเมืองและตงั้ วงศ์ได้ตามลาพงั แห่งโอรสของพระเจ้าโอกากราช ดงั มีประวตั ิย่อว่า พระเจ้าโอกากราช ได้ครองราชสมบตั ิในพระนครตาบลหน่ึง ทรงมีพระโอรส ๔ พระองค์ พระธิดา ๕ พระองค์ วนั หนึ่งทรงพลงั้ พระโอษฐ์พระราชทานพระนครให้กบั พระโอรสที่เพิ่งประสตู ิจากพระมเหสีอีกพระองค์หนึ่งจึงต้องรับสงั่ ให้พระโอรสและพระธิดาเหล่านนั้ ไปตงั้ เมืองใหม่ ทงั้ หมดได้ไปตงั้ อยู่ที่ดงไม้สกั กะประเทศหิมพานต์ สกั กชนบทนนั้ มีเมืองหลวงช่ือว่า กบิลพสั ด์ุ เพราะสถานท่ีนนั้ เคยเป็ นสถานท่ีอย่ขู องกบิลดาบสมาก่อน และเพราะถกู สร้างขนึ ้ ตามคาแนะนาของกบิลดาบส จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 11

ศากยวงศ์(๑) พระราชบตุ ร และพระราชบตุ รีของพระเจ้าโอกากราชสมรสกนั เองมีเชือ้ สายสืบสกุลลงมาเป็ นพวกศากยะ แต่บางแห่งก็แบง่ เรียกสกุลพระเชษฐภคินีว่า พวกโกลิยะ สกลุ พระศาสดา ครองนครกบิลพสั ด์ุ สืบเชือ้ สายลงมาโดยลาดบัจนถึงพระเจ้าชยเสนะ พระเจ้าชยเสนะ นนั้ มีพระราชบตุ รพระนามว่า สีหนุ มีพระราชบตุ รีพระนามว่า ยโสธรา ครัน้ พระเจ้าชยเสนะทิวงคตแล้ว สีหหนุกมุ ารได้ทรงครองราชย์สืบพระวงศ์ต่อมา ท้าวเธอทรงมีพระมเหสีพระนามว่า กญั จนา ซ่งึ เป็ นกนิษฐภคินีของพระเจ้าอญั ชนะ เจ้าผ้คู รองเทวทหนคร จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 12

ศากยวงศ์(๒) พระเจ้าสีหนุและพระนางกญั จนา มีพระราชบตุ ร ๕พระองค์ คือ สทุ โธทนะ ๑ สกุ โกทนะ ๑ อมิโตทนะ ๑ โธโตทนะ ๑ฆนิโตทนะ ๑ และ มีพระราชบตุ รี ๒ พระองค์ คือ ปมิตา ๑ อมิตา ๑ ส่วนพระนางยโสธรา ผ้เู ป็ นกนิษฐภคินีของพระเจ้าสีหนนุ นั้ ได้เป็ นมเหสีของพระเจ้าอญั ชนะ มีพระราชบตุ ร ๒ พระองค์ คือ สปุ ปพทุ ธะ ๑ทณั ฑปาณิ ๑ พระราชบุตรี ๒ พระองค์ คือ มายา ๑ ปชาบดี ๑ พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ผ้พู ระศาสดาของเราทงั้ หลายได้เสด็จมาอบุ ตั ิขึน้ ในพวกอริยกชาติ ในจงั หวดั มชั ฌิมชนบท ชมพทู วีป แคว้นสกั กะ ในสกุลกษัตริย์พวกศากยะผ้โู คตมโคตร เป็ นพระโอรสของพระเจ้าสทุ โธทนศากยะเจ้ากรุงกบิลพสั ด์ุ กบั พระนางมายา เม่ือก่อนพทุ ธศก ๘๐ ปี จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 13

ปุริมกาล ปริจเฉทท่ี ๓พระศาสดาประสูติ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 14

พระศาสดาประสูติ เม่ือพระเจ้าสทุ โธทนะกบั พระนางมายา ทรงอภิเษกสมรสกนัต่อมา พระศาสดาของเราทงั้ หลาย ได้ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของนางมายา ในวนั จะประสตู ิพระโอรส พระนางได้เสด็จประพาสอทุ ยานลมุ พินีวนั ทรงประชวรพระครรภ์ ประสตู ิพระโอรสใต้ร่มไม้สาละ เมื่อวนั ศกุ ร์เพ็ญเดือนวิสาขะ ปี จอ ก่อนพทุ ธศก ๘๐ ปี เวลาใกล้เท่ียง ขณะประสตู ิพระนางสิริมหามายาประทบั ยืนจบั ก่ิงสาละ พระโอรสพอประสตู ิแล้ว ดาเนินไปได้ ๗ ก้าว เปล่งอาสภิวาจา อนั เป็ นบพุ พนิมิตแห่งการตรัสรู้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 15

อสติ ดาบสเข้าเย่ยี ม ฝ่ ายอสิตดาบส (อีกอย่างหน่ึงเรียก กาฬเทวิลดาบส) ผ้เู ป็ นท่ีนบั ถือของราชสกลุ ได้ทราบข่าวจึงเข้าไปเย่ียม พระเจ้าสทุ โธทนะ ทรงอ้มุ พระราชโอรสออกมาเพ่ือจะให้นมสั การพระดาบส พระดาบสเห็นพระโอรสนนั้ มีลกั ษณะต้องด้วยตาหรับมหาบุรุษลกั ษณะ มีความเคารพนบั ถือในพระราชโอรสนนั้ มาก จึงลกุ ขนึ ้ กราบลงที่พระบาททงั้ สองของพระโอรสนนั้ ด้วยศีรษะของตน พร้อมกล่าวคาทานายลกั ษณะของพระราชโอรสแล้ว ถวายพระพรลากลบั ไปอาศรมแห่งตน ทาให้ราชสกุลทงั้ หลายเกิดความนบั ถือในพระโอรส ถวายโอรสของตนเป็ นบริวารสกุลละองค์ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 16

ประสูตไิ ด้ ๕ วัน ทานายลักษณะ ขนานพระนาม เม่ือพระราชกมุ ารประสตู ิได้ ๕ วนั พระเจ้าสทุ โธทนะโปรดให้ชมุ นุมพระญาติวงศ์และเสนามาตย์พร้อมกนั เชิญพราหมณ์ร้อยแปดคนมาฉนั โภชนาหารแล้วทานายพระลกั ษณะว่า พระกมุ ารมีคติเป็ น ๒ คือ ถ้าได้ครองฆราวาส จกั ได้เป็ นพระเจ้าจกั รพรรดิราช ครองแผ่นดิน มีสมทุ รสาคร ๔ เป็ นขอบเขต ถ้าออกทรงผนวช จกั ได้ตรัสรู้เป็ นพระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจ้า พระศาสดาเอกในโลก และขนานพระนามว่าสิทธัตถกมุ าร แต่มหาชนมกั เรียกตามพระโคตรว่า โคตมะ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 17

ประสูตไิ ด้ ๗ วัน พระมารดาสนิ้ พระชนม์ ฝ่ ายพระนางเจ้ามายาผ้เู ป็ นพระมารดา พอประสตู ิพระโอรสได้ ๗วนั ก็สิน้ พระชนม์ พระเจ้าสทุ โธทนะจึงทรงมอบพระราชโอรสนนั้ แก่พระนางปชาบดีโคตมี พระมาตจุ ฉาเลีย้ งต่อมา ภายหลงั พระนางนนั้ มีพระราชบตุ รพระองค์หน่ึงทรงพระนามว่านนั ทกมุ าร มีพระราชบตุ รีพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่า รูปนนั ทา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 18

พระชนมายุ ๗ ปี ขุดสระโบกขรณี ๓ สระ เม่ือสิทธัตถกมุ ารทรงเจริญพระชนมายไุ ด้ ๗ พรรษา พระราชบิดาตรัสให้ขดุ สระโบกขรณีในพระราชนิเวศน์ ๓ สระ ปลกู อบุ ลบวั ขาบสระ ๑ปลกู ปทมุ บวั หลวงสระ ๑ ปลกู บุณฑริกบวั ขาวสระ ๑ ให้เป็ นท่ีเล่นสาราญพระหฤทยั พระราชโอรส ครัง้ พระราชกมุ ารมีพระชนม์เจริญ ควรจะศึกษาศิลปวิทยาได้ จึงทรงพาไปมอบไว้ในสานกั ครูวิศวามิตร พระราชกมุ ารทรงเรียนได้ว่องไว จนสิน้ ความรู้ของอาจารย์แล้วได้แสดงให้ปรากฏแก่หม่พู ระญาติ ไม่มีพระกุมารอื่นจะเทียมถึง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 19

พระชนมายุ ๑๖ พรรษา อภเิ ษกพระชายา เมื่อพระราชกมุ ารทรงพระเจริญวยั มีพระชนมายไุ ด้ ๑๖ ปี ควรมีพระเทวีได้แล้ว พระราชบิดาตรัสสง่ั ให้สร้างปราสาท ๓ หลงั เพื่อเป็ นที่เสด็จอย่แู ห่งพระราชโอรสใน ๓ ฤดู คือ ฤดหู นาว ฤดรู ้อน ฤดูฝน แล้ว ได้ตรัสขอพระนางยโสธรา (บางแห่งเรียกพิมพา) พระราชบุตรีของพระเจ้าสปุ ปพุทธะในเทวทหนคร อนั ประสตู ิแต่นางอมิตาพระกนิษฐภคินีของพระองค์มาอภิเษกเป็ นพระชายา ฝ่ ายพระราชกนิษฐภาดา ของพระเจ้าสทุ โธทนะนนั้ สกุ โกทนศากยะ มีโอรสองค์หนึ่ง ทรงนามว่า อานนท์ อมิโตทนศากยะ มีโอรส ๒ องค์ ทรงนามว่า มหานามะ ๑ อนรุ ุทธะ ๑มีธิดา ๑ องค์ ทรงนามว่า โรหิณี นางอมิตาพระราชกนิษฐภคินี เป็ นพระมเหสีของพระเจ้าสปุ ปพทุ ธะ ประสตู ิราชบตุ รองค์ ๑ ทรงนามว่า เทวทตั ราชบตุ รีองค์ ๑ ทรงนามว่า ยโสธรา หรือพิมพาพระชายาของสิทธัตถกุมารพระกุมารและพระกุมารีในศากยวงศ์ทงั้ ๒ สายนนั้ เจริญขึน้ โดยลาดบั ดงั นีแ้ ล จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 20

ปุริมกาล ปริจเฉทท่ี ๔เสดจ็ ออกบรรพชา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 21

เสดจ็ ออกบรรพชา สิทธัตถกุมาร เสด็จอย่คู รองฆราวาสสมบตั ิ ตราบเท่าพระชนมายุ ๒๙พรรษา มีพระโอรสประสตู ิแต่พระนางยโสธราพระองค์หน่ึง ทรงพระนามว่าราหุลกุมาร วนั หน่ึง ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทตู ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตายและสมณะ อนั เทวดาแสร้างนิรมิตไว้ในระหว่างทาง เม่ือเสด็จประพาสพระราชอทุ ยาน ๔ วาระโดยลาดบั กนั ทรงสงั เวชเหตไุ ด้เห็นเทวทตู ๓ ข้างต้น ยงั ความพอพระหฤทยั ในบรรพชาให้เกิดขนึ ้ เพราะได้เห็นสมณะ ในเวลากลางคืนทรงม้ากัณฐกะ มีนายฉนั นะตามเสด็จ ถึงฝั่งแม่นา้ อโนมา ตรัสสงั่ นายฉนั นะให้นาม้าพระที่นง่ั กลบั คืนพระนครแล้ว ทรงตดั พระเมาลีด้วยพระขรรค์ อธิษฐานเพศเป็ นบรรพชิต ณ ที่นนั้ ส่วนไตรจีวรและบาตร ฆฏิการพรหมนามาถวาย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 22

ปุริมกาลปริจเฉทท่ี ๕ ตรัสรู้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 23

ตรัสรู้ พระมหาบรุ ุษทรงบรรพชาแล้ว เสด็จประทบั แรมอย่ทู ่ีอนปุ ิ ยอมั พวนัแขวงมลั ลชนบท ชวั่ เวลาราว ๗ วนั ได้เสด็จผ่านกรุงราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้ามคธ ได้เสด็จมาพบเข้า ตรัสถามถึงชาติสกลุ แล้วตรัสชวนให้อยู่จะพระราชทานอิสริยยศยกย่อง พระองค์ไม่ทรงรับ แสดงพระประสงค์ว่า ม่งุ จะแสวงหาพระสมั มาสมั โพธิญาณ พระเจ้าพิมพิสารทรงอนโุ มทนาแล้วตรัสขอปฏิญญาว่า ตรัสรู้แล้วขอให้เสด็จมาเทศนาโปรด ต่อจากนนั้ พระมหาบรุ ุษได้เสด็จไปอย่ใู นสานกั อาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ กดาบส รามบตุ ร ซึ่งมหาชนนบั ถือว่าเป็ นคณาจารย์ใหญ่ ขอศกึ ษาลทั ธิสมยั ของท่านทงั้ สอง ได้ทรงทาทดลองในลทั ธินนั้ ทกุ อย่างแล้วเห็นว่าไม่ใช่ทางพระสมั มาสมั โพธิญาณ จึงเสด็จจาริกไปในมคธชนบท บรรลถุ ึงตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ทรงพระดาริเห็นว่าประเทศนนั้ ควรเป็ นท่ีตงั้ ความเพียรของกุลบุตรผ้มู ีความต้องการด้วยความเพียรได้ จึงเสด็จประทบั อยู่ ณ ที่นนั้ ทรงบาเพ็ญทกุ รกิริยา ทรมานพระกายให้ลาบากเป็ นกิจยากที่จะกระทาได้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 24

ทุกรกริ ิยา ๓ วาระ วาระแรก ทรงกดพระทนต์ด้วยพระทนต์ กดพระตาลดุ ้วยพระชิวหาไว้ให้แน่น จนพระเสโทไหลออกจากพระกจั ฉะ ได้เสวยทกุ ขเวทนาอนั กล้า ครัน้ทรงเห็นว่าการทาอย่างนนั้ ไม่ใช่ทางตรัสรู้ จึงทรงเปลี่ยนอย่างอื่น วาระท่ี ๒ ทรงผ่อนกลนั้ ลมอสั สาสะ ปัสสาสะ ไม่ให้ลมหายใจเดินสะดวกทางช่องพระนาสิก และช่องพระโอษฐ์ ได้เสวยทกุ ขเวทนาอย่างแรงกล้าก็ไม่ได้ตรัสรู้ จึงทรงเปลี่ยนอย่างอ่ืนอีก วาระท่ี ๓ ทรงอดพระอาหาร ผ่อนเสวยแต่วนั ละน้อย ๆ บ้างเสวยพระอาหารละเอียดบ้าง จนพระกายเห่ียวแห้ง พระฉวีวรรณเศร้าหมองพระอฐั ิปรากฏทว่ั พระกาย ภายหลงั ทรงลงสนั นิษฐานว่า การทาทกุ รกิริยาไม่ใช่ทางตรัสรู้แน่แล้วได้ทรงเลิกเสียด้วยประการทงั้ ปวง กลบั เสวยพระอาหารโดยปกติ ไม่ทรงอดอีกต่อไป จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 25

อุปมา ๓ ข้อ ปรากฏ ๑. ไม้สดท่ีช่มุ ด้วยยาง แช่อย่ใู นนา้ จะเอามาสีกนั เพื่อให้เกิดไฟย่อมไม่ได้เหมือนสมณพราหมณ์บางพวก ตวั ก็ยงั หมกอย่ใู นกาม ใจก็ยงั รักใคร่ในกาม พากเพียรพยายามอย่างไรก็คงไม่ตรัสรู้ ๒. ไม้สดท่ีช่มุ ด้วยยาง แม้จะไม่ได้แช่อย่ใู นนา้ ก็ไม่สามารถสีให้เกิดไฟได้เช่นเดียวกนั เหมือนสมณพราหมณ์บางพวกแม้มีกายหลีกออกจากกามแล้ว แต่ใจยงั รักใคร่ในกาม จะพยายามอย่างไรก็คงไม่สามารถตรัสรู้ได้ ๓. ไม้แห้งท่ีวางไว้บนบก ไกลนา้ สามารถสีให้เกิดไฟได้ เหมือนสมณพราหมณ์บางพวก มีกายหลีกออกจากกาม ใจก็ละความรักใคร่ในกาม สงบดีแล้ว หากพากเพียรพยายามอย่างถกู ต้อง ย่อมสามารถตรัสรู้ได้ อุปมาทงั้ ๓ ข้อนี ้ ทาให้พระองค์เกิดพระสติหวนระลกึ ถึงความเพียรทางใจว่าจกั เป็ นทางตรัสรู้ได้กระมงั ใคร่จะตงั้ ความเพียรทางจิต ทรงคิดเห็นว่าคนซูบผอมเช่นนีไ้ ม่สามารถทาได้ จาเราจะกินอาหารแข้น คือ ข้าวสกุ ขนมกุมาส ให้มีกาลงั ก่อน จึงกลบัเสวยพระอาหารโดยปกติ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 26

ปัญจวคั คีย์หนี ฝ่ ายปัญจวคั คีย์ คือ บรรพชิต ๕ รูป ช่ือ โกณฑญั ญะ ๑ วปั ปะ ๑ภทั ทิยะ ๑ มหานามะ ๑ อสั สชิ ๑ ซ่งึ พากนั ออกบวชตามพระมหาบรุ ุษคอยเฝ้ าปฏิบตั ิทกุ เช้าค่า ด้วยหวงั ว่าพระองค์ได้บรรลธุ รรมใด จกั ทรงสงั่สอนตนให้บรรลธุ รรมนนั้ บ้าง ครัน้ เห็นพระองค์ทรงละทกุ รกิริยา มาเสวยพระอาหาร เข้าใจว่าคงไม่อาจบรรลธุ รรมพิเศษได้แล้ว จึงพากนั หนีไปอย่ทู ่ีป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 27

ความเพียรทางจติ ทาให้บรรลุธรรม ฝ่ ายพระมหาบุรุษเสวยอาหารแข้น ทาพระกายให้กลบั มีพละกาลงัได้อย่างเดิม ทรงเร่ิมความเพียรทางจิตต่อไป นบั แต่บรรพชามา ๖ ปี ล่วงแล้ว ในเวลาเช้าวนั เพ็ญวิสาขมาส ทรงรับถาดข้าวมธุปายาสจากนางสชุ าดา เสด็จไปส่ทู ่าแม่นา้ เนรัญชรา เสวยแล้วทรงลอยถาดในกระแสนา้ทรงรับหญ้าคาของคนหาบหญ้าชื่อ โสตถิยะ ในระหว่างทาง ทรงลาดหญ้าต่างบลั ลงั ก์ ณ ควงพระมหาโพธ์ิด้านบรู พาทิศแล้ว เสด็จนง่ั ขดั สมาธิผินพระพกั ตร์ทางบรู พาทิศ ทรงอธิษฐานพระหฤทยั ว่า ยังไม่ลุพระสัมมาสัมโพธิญาณเพียงใด จักไม่เสดจ็ ลุกขึน้ เพียงนัน้ แม้พระมังสะและพระโลหิตจะเหือดแห้งไป เหลือแต่พระตจะพระนหารุ และพระอัฐิ ก็ตามที จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 28

ทรงชนะมาร ในสมยั นนั้ พญามารเกรงว่า พระมหาบรุ ุษจะพ้นจากอานาจแห่งตน จึงยกพลเสนามาผจญ แสดงฤทธิ์มีประการต่าง ๆ เพื่อจะยงั พระมหาบุรุษให้ตกพระหฤทยั กลวัแล้วจะเสด็จหนีไป พระองค์ทรงนึกถึงพระบารมี ๓๐ ทศั ท่ีได้ทรงบาเพ็ญมา ตงั้ มหาปฐพีไว้ในท่ีเป็ นพยาน แล้วทรงต่อส้พู ระบารมี ๓๐ ทศั นนั้ เข้ามาช่วยผจญ ยงั พญามารกบั เสนาให้ปราชยั แต่ในเวลาพระอาทิตย์ยงั ไม่อสั ดงคตแล้วบรรลบุ ุพเพนิวาสานสุ สติญาณในปฐมยาม ได้จุตูปปาตญาณในมชั ฌิมยาม ทรงใช้พระปัญญาพิจารณาปฏิจจสสมปุ บาททงั้ ฝ่ ายเกิด ฝ่ ายดบั สาวหน้าสาวกลบั ไปมาในปัจฉิมยาม ก็ได้ตรัสรู้พระสมั มาสมั โพธิญาณ คือ อาสวกั ขยญาณ ในเวลาอรุณขนึ ้ พระผ้มู ีพระภาคเจ้า ได้พระปัญญาตรัสรู้ธรรมพิเศษเป็ นเหตถุ ึงความบริสทุ ธิ์จากกิเลสาสวะ จึงได้พระนามว่า อรห และตรัสรู้ชอบโดยลาพงั พระองค์เอง จึงได้พระนามว่าสมฺมาสมฺพุทฺโธ ๒ บทนี ้ เป็ นพระนามใหญ่ของพระองค์โดยคณุ นิมิตอย่างนีแ้ ล จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 29

ปฐมโพธกิ าล ปริจเฉทท่ี ๖ปฐมเทศนา และปฐมสาวก จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 30

เสวยวมิ ุตตสิ ุขใต้ร่มมหาโพธ์ิ ๗ วัน พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าตรัสรู้ธรรมพิเศษแล้ว เสด็จประทบั อยู่ภายใต้ร่มไม้มหาโพธิ์นนั้ เสวยวิมตุ ติสขุ สิน้ กาล ๗ วนั ทรงพิจารณาปฏิจจสมปุ บาท คือ ธรรมที่อิงอาศยั กนั เกิดขึน้ ทงั้ ข้างเกิด (อวิชชาเป็ นเหตุให้เกิดสงั ขาร สงั ขารเป็ นเหตใุ ห้เกิดวิญญาณ เป็ นต้น) ทงั้ ข้างดบั (เพราะอวิชชาดบั สงั ขารจึงดบั เป็ นต้น) จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 31

ใต้ร่มอชปาลนิโครธ ๗ วนั จากต้นมหาโพธ์ินนั้ เสด็จไปยงั ภายใต้ร่มไม้ไทร ชื่อว่า อชปาลนิโครธ เสวยวิมตุ ติสขุ ๗ วนั ทรงแสดงธรรมแก่พราหมณ์ผ้มู กั ตวาดผ้อู ่ืนว่า หึ หึ ว่า ผ้มู ีบาปธรรมอนั ลอยเสียแล้ว ไม่มีกิเลสเป็ นเหตขุ ่ผู ้อู ่ืนว่า หึ หึควรกล่าวถ้อยคาว่า ตนเป็ นพราหมณ์โดยธรรม จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 32

ใต้ร่มมุจจลนิ ท์ ๗ วันจากต้นอชปาลนิโครธนนั้ ได้เสด็จไปยงั ต้นไม้จิก ช่ือว่า มจุ จลินท์ เสวยวิมตุ ติสขุ ๗ วนั ทรงเปล่งอทุ านว่า ความสงดั เป็ นสขุ ของบุคคลผ้มู ีธรรมได้สดบั แล้วยินดีอย่ใู นท่ีสงดั รู้เห็นตามเป็ นจริง ฯ ความไม่เบียดเบียน คือ ความสารวมในสตั ว์ทงั้ หลาย และความปราศจากกาหนดั คือ ความก้าวลว่ งกามทงั้ หลายเสียได้ ด้วยประการทงั้ ปวงเป็ นสขุ ในโลก ความกาจดั อสั มิมานะ คือ ถือว่าตวั ตนให้หมดได้เป็ นสขุ อย่างยิ่ง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 33

ใต้ร่มราชายตนะ ๗ วัน จากต้นมจุ จลินท์นนั้ ได้เสด็จไปยงั ต้นไม้เกต ช่ือว่า ราชายตนะเสวยวิมตุ ติสขุ ๗ วนั สมยั นนั้ พานิช ๒ คน คือ ตปสุ สะ ๑ ภลั ลิกะ ๑เดินทางมาจากอกุ กล -ชนบท นาข้าวสตั ตผุ ง ข้าวสตั ตกุ ้อน เข้าไปถวายแล้วกราบทูลแสดงตนเป็ นอบุ าสก อ้างพระองค์กบั พระธรรมเป็ นสรณะ เป็ นปฐมอบุ าสกในพทุ ธกาลแล้วหลีกไป (เทฺววาจิกอบุ าสก) จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 34

ทรงตัดสินพระทยั แสดงธรรม ทรงคิดว่ามนุษย์ ก็เหมือนดอกบัว ๓ ชนิด คือ บางชนิดยงัจมอย่ใู นนา้ บางชนิดตงั้ อย่เู สมอนา้ บางชนิดตงั้ ขึน้ พ้นนา้ ดอกบัวท่ีตัง้ ขึน้ พ้นนา้ แล้วนัน้ คอยสมั ผสั รัศมีพระอาทิตย์อยู่ จกับาน ณ วนั นี ้ ดอกบัวทีตัง้ อยู่เสมอนา้ จกั บาน ณ วนั พรุ่งนี ้ ดอกบัวท่ียังไม่ขึน้ จากนา้ ยงั ตงั้ อย่ภู ายในนา้ จกั บาน ณ วนั ต่อ ๆไป ดอกบัวท่ียังจมอยู่ในโคลนตม อนั เป็ นภกั ษาแห่งปลาและเต่าฉิบหายเสีย ดอกบวั ท่ีจะบานมีต่างชนิด ฉันใด เวไนยสตั ว์ก็มีต่างพวกฉนั นนั้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 35

ทรงพระดาริหาคนผู้สมควรรับเทศนา ครัน้ พระองค์ทรงตดั สินพระหฤทยั เพ่ือจะแสดงพระธรรมเทศนาอย่างนนั้ แล้ว ครัง้ แรก ทรงคิดถึงอาฬารดาบสและอทุ กดาบส ซึ่งเป็ นผ้ฉู ลาด ทงั้ มีกิเลสเบาบาง แต่ทงั้ สองท่านสิน้ ชีพเสียแล้ว ต่อจากนนั้ ทรงราลกึ ถึงปัญจวคั คีย์และได้ตดั สินพระหฤทยั ว่า จะแสดงธรรมแก่พวกเขา จึงเสด็จออกจากต้นอชปาลนิโครธ ทรงพระดาเนินทางไปยงั เมืองพาราณสี อรรถกถากล่าวว่า ในเช้าวนั ขึน้ ๑๔ ค่า เดือน ๘ ระหว่างแห่งแม่นา้ คยากบั แดนมหาโพธิต่อกัน ทรงพบอุปกาชีวกเขาเห็นสีพระฉวีวรรณของพระองค์ผดุ ผ่อง นึกประหลาดใจ จึงทลู ถามถึงศาสดาของพระองค์ ทรงตอบว่า พระองค์เป็ นสยมั ภู คือ เป็ นเองในทางตรัสรู้ ไม่มีใครเป็ นครูสอน อปุ กาชีวก กล่าวว่า ขนาดนนั้ เชียวหรือ สนั่ ศีรษะแล้วหลีกไป จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 36

ทรงแสดงปฐมเทศนา(๑) เมื่อพระผ้มู ีพระภาคเจ้าเสด็จถึงป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั แขวงเมืองพาราณสี ได้เสด็จเข้าไปหาปัญจวคั คีย์ทงั้ ๕ แต่พวกเขาแสดงความไม่เคารพ พดู ออกพระนามและใช้คาว่า อาวโุ ส พระองค์ทรงห้ามแล้วตรัสบอกว่า เราได้ตรัสรู้อมฤตธรรมโดยชอบเองแล้ว ปัญจวคั คีย์ไม่เช่ือ กล่าวคดั ค้านว่า อาวโุ สโคดม แม้ท่านทาทกุ กรกิริยาอย่างหนกั ท่านยงั ไม่บรรลธุ รรมพิเศษอะไร บดั นี ้ ท่านมาปฏิบตั ิเพ่ือความเป็ นคนมกั มากเสียแล้ว เหตไุ ฉนจะบรรลธุ รรมพิเศษได้เล่า พวกเธอคดั ค้านอย่างนนั้ ถึง ๒ – ๓ ครัง้ พระองค์จึงทรงตรัสเตือนพวกเธอให้ระลกึ ถึงความหลงั ว่า ท่านทงั้ หลายจาได้อย่หู รือว่า วาจาเช่นนีเ้ ราได้เคยพดู แล้วในปางก่อนแต่กาลนี ้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 37

ทรงแสดงปฐมเทศนา(๒) ปัญจวคั คีย์นึกได้ว่า วาจาเช่นนีไ้ ม่เคยมีเลย จึงมีความสาคญั ในอนั ท่ีจะฟังพระองค์ทรงแสดงธรรม ครัน้ เมื่อพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า ตรัสเตือนปัญจวคั คีย์ให้ตงั้ ใจฟังธรรมได้แล้ว รุ่งขึน้ วนั อาสาฬหบรุ ณมี ได้ตรัสปฐมเทศนามีใจความโดยย่อว่า ที่สดุ ๒อย่าง ได้แก่ กามสขุ ลั ลิกานโุ ยค คือ การประกอบตนให้พวั พนั ด้วยสขุ ในกาม๑ อตั ตกิลมถานโุ ยค คือ การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า ๑ อนับรรพชิตไม่ควรเสพ (ประพฤติ) บรรพชิตควรเสพมชั ฌิมาปฏิปทา คือ ข้อปฏิบตั ิเป็ นทางกลาง ได้แก่ ทางมีองค์ ๘ อนั นาผ้ปู ฏิบตั ิให้เป็ นอริยะ คือปัญญาอนั เห็นชอบ ๑ ความดาริชอบ ๑ วาจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เลีย้ งชีพชอบ ๑ ความเพียรชอบ ๑ ระลึกชอบ ๑ ตงั้ ใจชอบ ๑ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 38

ทรงแสดงปฐมเทศนา(๓) ทรงแสดงอริยสจั ๔ คือ ๑. ทุกข์ ได้แก่ ความเกิด ความแก่ความเจ็บ ความตาย เป็ นต้น ๒. สมุทัย เหตใุ ห้ทกุ ข์เกิด ได้แก่ ตณั หา๓ คือ กามตณั หา ภวตณั หา วิภวตณั หา ๓. นิโรธ ได้แก่ ความดบั ทกุ ข์คือ ความสละ ละ วาง ไม่พวั พนั ติดอย่กู บั ตณั หาทงั้ ๓ นนั้ ๔. มรรคได้แก่ ทางท่ีทาให้ถึงความดบั ทกุ ข์ คือ ทางมีองค์ ๘ อนั นาผ้ปู ฏิบตั ิให้เป็ นอริยะ ดงั กล่าวแล้ว เมื่อพระสมั มาสมั พทุ ธเจ้าตรัสพระธรรมเทศนาอยู่ ธรรมจกั ษุ คือดวงตาอนั เห็นธรรม ปราศจากธุลีมลทิน ได้เกิดขึน้ แก่ท่านโกณฑญั ญะว่าสิ่งใดสิ่งหน่ึงมีความเกิดขนึ ้ เป็ นธรรมดา สิ่งนนั้ ทงั้ หมดมีความดบั เป็ นธรรมดา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 39

ทรงแสดงปฐมเทศนา(๔) พระองค์ทรงทราบว่า ท่านโกณฑญั ญะได้เห็นธรรมแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานว่า โกณฑญั ญะได้รู้แล้วหนอ โกณฑญั ญะได้รู้แล้วหนอ เพราะอทุ านว่าอญญาสิ อญญาสิ ท่ีเป็ นภาษามคธ แปลว่า ได้รู้แล้ว ๆ คาว่า อญั ญาโกณฑญั ญะ จึงได้เป็ นชื่อของท่านตงั้ แตก่ าลนนั้ มา ฝ่ ายท่านโกณฑญั ญะได้เห็นธรรมแล้ว จึงทลู ขออปุ สมบทในพระธรรมวินยั พระองค์ทรงอนญุ าตให้ท่านเป็ นภิกษุด้วยพระวาจาว่า ท่านจงเป็ นภิกษุมาเถิด ธรรมอนั เรากล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์ เพ่ือทาที่สดุ ทกุ ข์โดยชอบเถิด พระวาจานนั้ ให้สาเร็จการอปุ สมบทแก่ท่าน ต่อจากนนั้ ทรงจาพรรษาอย่ทู ี่ป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั ทรงสง่ั สอนบรรพชิตทงั้ ๔ รูปด้วยพระธรรมเทศนาเบ็ดเตล็ดตามสมควรแก่อธั ยาศยั ท่านวปั ปะและภทั ทิยะ ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงบวชให้พร้อมกนั ต่อมา ท่านมหานามะและอสั สชิ ได้ดวงตาเห็นธรรมจึงบวชให้พร้อมกนั ทงั้ ๔ ท่านบวชวิธีเดียวกบั ท่านโกณฑญั ญะ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 40

ปัญจวคั คีย์บรรลุพระอรหนั ต์ เม่ือภิกษุปัญจวคั คีย์ ตงั้ อย่ใู นท่ีสาวกแล้ว มีอินทรีย์ คือ ศรัทธาเป็ นต้นแก่กล้าควรเจริญวิปัสสนาเพ่ือวิมตุ ติแล้ว ครัน้ วนั แรม ๕ ค่า เดือน ๙ ตรัสพระธรรมเทศนาอนัตตลกั ขณสตู รสง่ั สอน ใจความโดยย่อว่า รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณเป็ นอนตั ตา คือ บงั คบั บญั ชาไม่ได้ว่า จงเป็ นอย่างนีเ้ ถิด อย่าเป็ นอย่างนนั้ เลย ได้ตรัสถามปัญจวคั คีย์ว่า รูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณ เที่ยง เป็ นสขุ เป็ นอตั ตา หรือไม่เท่ียง เป็ นทกุ ข์ เป็ นอนัตตา ทูลตอบว่า ไม่เท่ียงเป็ นทกุ ข์ เป็ นอนัตตาจึงตรัสให้ละความถือมน่ั ในรูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร และวิญญาณนนั้ เสีย แล้วถือด้วยปัญญาตามความจริงว่า นน่ั ไม่ใช่ของเรา นนั่ ไม่ใช่เป็ นเรา นนั่ ไม่ใช่ตนของเรา เมื่อพระศาสดาตรัสพระธรรมเทศนาแสดงอนตั ตาลกั ษณะอยู่ จิตของภิกษุปัญจวคั คีย์ ผ้พู ิจารณาภมู ิธรรมตามกระแสเทศนานนั้ พ้นแล้วจากอาสวะทงั้ หลาย ไม่ถือมน่ั ด้วยอปุ าทาน ครัง้ นนั้ มีพระอรหนั ต์ขนึ ้ ในโลก ๖ องค์ คือ พระศาสดา ๑ สาวก ๕ ด้วยประการฉะนี ้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 41

ปฐมโพธิกาล ปริจเฉทท่ี ๗ส่งสาวกไปประกาศพระศาสนา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 42

ส่งสาวกไปประกาศพระศาสนา(๑) สมยั นนั้ พระศาสดาเสด็จจงกรมอย่ใู นท่ีแจ้ง ในเวลาจวนใกล้รุ่ง ทรงได้ยินเสียงยสกลุ บุตรออกอทุ านว่า ท่ีน่ีว่นุ วายหนอ ที่นี่ขดั ข้องหนอ เดินมายงั ที่ใกล้ จึงตรัสเรียกว่า ที่นีไ้ ม่ว่นุ วาย ที่น่ีไม่ขดั ข้อง ท่านมานี่เถิด นั่งลงเถิด เราจกั แสดงธรรมแก่ท่าน ยสกุลบตุ รได้ยินอย่างนนั้ แล้ว คิดว่า เขาว่าท่ีนี่ไม่ว่นุ วาย ท่ีน่ีไม่ขดั ข้อง จึงถอดรองเท้า เข้าไปหา ไหว้แล้ว นัง่ ณ ท่ีสมควรข้างหนึ่ง พระศาสดาตรัสเทศนาอนปุ ุพพีกถา คือ ถ้อยคาท่ีกลา่ วโดยลาดบั ได้แก่ ทาน ศีล สคั คะ คือ สวรรค์ กามาทีนพโทษแห่งกาม เนกขมั มานิสงส์ อานิสงค์แห่งการออกจากกาม (บวช) ฟอกจิตของเขาให้ห่างไกลจากความยินดีในกามแล้วจึงทรงแสดงอริยสจั ๔ คือ ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ และมรรค ดงั ได้กลา่ วแล้วในปฐมเทศนา ยสกุลบตุ รได้ดวงตาเห็นธรรม ณ ที่นั่งนนั้ แล้วภายหลงั พิจารณาภมู ิธรรมท่ีพระศาสดาตรัสสอนเศรษฐีผ้เู ป็ นบิดาอีกวาระหนึ่ง จิตพ้นจากอาสวะ ไม่ถือมน่ั ด้วยอปุ าทาน (บรรลพุ ระอรหตั ) จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 43

ส่งสาวกไปประกาศพระศาสนา(๒) ณ ท่ีน่งั นนั้ แล้ว ภายหลงั พิจารณาภมู ิธรรมที่พระศาสดาตรัสสอนเศรษฐีผ้เู ป็ นบิดาอีกวาระหนึ่ง จิตพ้นจากอาสวะ ไม่ถือมน่ั ด้วยอปุ าทาน (บรรลพุ ระอรหตั ) ฝ่ ายมารดาของยสกุลบตุ ร เวลาเช้าขนึ ้ ไปบนเรือนไม่เห็นลกู จึงบอกแก่เศรษฐีผู้สามี เศรษฐีให้คนออกตามหาทงั้ ๔ ทิศ ตนเองก็ออกติดตามด้วย เผอิญไปทางป่ าอิสิปตนมฤคทายวนั เห็นรองเท้าของลกู จึงตามเข้าไปหา พระศาสดาได้ตรัสอนปุ พพีกถาและอริยสจั แก่เขา เมื่อจบเทศนาเขาได้แสดงตนเป็ นอบุ าสกถึงพระรัตนตรัยทงั้ ๓ เป็ นสรณะ เป็ นอุบาสกคนแรกในพระพุทธศาสนา แล้วได้กล่าวกบั บตุ รชายว่า พ่อยสะมารดาของเจ้าเศร้าโศกพิไรราพนั เจ้าจงให้ชีวิตแก่มารดาของเจ้าเถิด พระศาสดาจึงตรัสให้เศรษฐีทราบว่า ยสกุลบตุ รได้บรรลพุ ระอรหตั แล้ว ไม่มีการกลบั คืนไปครองฆราวาสอีก เศรษฐีเข้าใจดี จึงทูลอาราธนาพระศาสดาพร้อมกบัยสกุลบตุ รเพื่อทรงรับภตั ตาหารในเช้าวนั นนั้ พระศาสดาทรงรับด้วยพระอาการดุษณีภาพ เศรษฐีทราบแล้วจึงได้อภิวาททลู ลากลบั ไป จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 44

ส่งสาวกไปประกาศพระศาสนา(๓) เม่ือเศรษฐีกลบั ไปแล้ว ยสกลุ บตุ รได้ทลู ขออปุ สมบท พระศาสดาทรงอนญุ าตให้เป็ นภิกษุเหมือนที่ทรงอนญุ าตแก่พระโกณฑญั ญะ ต่างกนัตรงที่ไม่ตรัสว่าเพื่อทาท่ีสดุ ทกุ ข์โดยชอบ เพราะพระยสะได้บรรลพุ ระอรหนั ต์แล้ว พระยสะจึงเป็ นองค์ท่ี ๗ ในโลก ในเวลาเช้าวนั นนั้ พระศาสดาพร้อมกบั พระยสะ ได้เสด็จไปยงั เรือนของเศรษฐีนนั้ มารดาและภรรยาเก่าของพระยสะมาเฝ้ า ทรงแสดงอนุปพพีกถาและอริยสจั ๔ แก่พวกเขาให้เห็นธรรมแล้ว ได้แสดงตนเป็ นอบุ าสิกาถึงพระรัตนตรัย เป็ นสรณะ คนแรกในโลก จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 45

สหายพระยสะ ๕๔ คนบวช ฝ่ ายสหายของพระยสะ ๔ คน ช่ือ วิมละ ๑ สพุ าหุ ๑ ปณุ ณชิ ๑ ควมัปติ ๑ เป็ นบุตรเศรษฐีในเมืองพาราณสีได้ทราบข่าวว่า ยสกลุ บตุ รออกบวชแล้ว คิดว่าธรรมวินัยนนั้ คงเป็ นสิ่งอนั ประเสริฐ จึงพร้อมกนั ไปหาพระยสะ พระยสะก็พาสหายทงั้ ๔คนนนั้ ไปเฝ้ าพระศาสดา พระพทุ ธองค์ทรงแสดงธรรมให้กลุ บตุ รทงั้ ๔ เห็นธรรมแล้วประทานให้เป็ นภิกษุแล้ว ทรงสงั่ สอนให้บรรลพุ ระอรหตั ผล ยงั มีสหายของพระยสะ เป็ นชาวชนบทอีก ๕๐ คน ได้ทราบข่าวนนั้ แล้ว คิดเหมือนหนหลงั พากันบวชตามแล้วได้สาเร็จพระอรหตั ผลด้วยกนั สิน้ โดยนยั ก่อน รวมกนัเป็ นพระอรหนั ต์ ๖๑ องค์ พระศาสดาทรงส่งสาวก ๖๐ รูป ไปประกาศพระศาสนาด้วยพระดารัสว่าท่านทงั้ หลายจงเท่ียวไปในชนบทเพ่ือประโยชน์และความสขุ แก่มหาชน และอย่าไปรวมกนั ๒ รูป ผ้รู ู้ทวั่ ถึงธรรมคงมีอยู่ แต่ที่เส่ือมจากคณุ พิเศษ เพราะโทษท่ีไม่ได้ฟังธรรม แม้เราก็จะไปยงั ตาบลอุรุเวลาเสนานิคมเพ่ือแสดงธรรม จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 46

ทรงประทานวิธีอุปสมบทแก่สาวก ในสมยั นนั้ พระศาสดาทรงประทานวิธีอปุ สมบทแก่พระสาวกผ้ไู ปประกาศศาสนาว่า พึงให้ผ้อู ปุ สมบทปลงผมและหนวด ให้ครองผ้าย้อมด้วยนา้ ฝาด นง่ั กระโหย่งประนมมือ ไหว้เท้าภิกษุทงั้ หลาย แล้วสอนให้ว่าตามว่า พทุ ฺธ สรณ คจฺฉามิ ธมฺม สรณ คจฺฉามิ สงฺฆ สรณ คจฺฉามิทุติยมฺปิ ฯลฯ ตติยมฺปิ ฯลฯ การบวชวิธีนีเ้ รียกว่า ติสรณคมนูปสมั ปทา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 47

ทรงโปรดภทั ทวคั คีย์สหาย ๓๐ คน ครัน้ พระศาสดาประทบั อย่ใู นเมืองพาราณสีพอควรแก่พระประสงค์แล้ว เสด็จดาเนินไปยงั ตาบลอรุ ุเวลา ในระหว่างทางเข้าไปพกั อย่ทู ่ีไร่ฝ้ ายทรงนงั่ ในร่มไม้ตาบลหนึ่ง ได้ตรัสอนบุ พุ พีกถาและอริยสจั ๔ โปรดภทั ทวคั คีย์สหาย ๓๐ คน ให้ได้บรรลพุ ระอรหตั ประทานอปุ สมบทให้แล้ว ทรงส่งไปเพื่อประกาศพระศาสนาเหมือนนยั หนหลงั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 48

ทรงโปรดชฏลิ ๓ พ่นี ้อง ส่วนพระพทุ ธองค์เสด็จไปยงั ตาบลอรุ ุเวลา ซง่ึ เป็ นท่ีอย่แู ห่งชฏิล ๓พ่ีน้อง คือ อรุ ุเวลกสั สปะ นทีกสั สปะ และคยากสั สปะ ทรงชีแ้ จงให้อรุ ุเวลกสั สปะเห็นว่าลทั ธิของเขาไม่มีแก่นสาร จนอรุ ุเวลกสั สปะมีความสลดใจ เลิกละลทั ธินนั้ ลอยบริขารของชฏิลในแม่นา้ แล้วทูลขออปุ สมบท ก็ทรงประทานอปุ สมบท อนุญาตให้เป็ นภิกษุทงั้ สิน้ ฝ่ ายนทีกสั สปะเห็นบริขารของพ่ีชายลอยไปตามกระแสนา้ สาคญัว่าเกิดอนั ตราย พร้อมทงั้ บริวารรีบมาถึงเห็นพี่ชายถือเพศเป็ นภิกษุ ถามทราบความแล้วได้ทูลขอบวชพร้อมทงั้ บริวาร คยากสั สปะน้องชายเล็กพร้อมทงั้ บริวาร ก็ได้ไปเฝ้ าพระพทุ ธเจ้าและขอบวชทานองเดียวกบั นทีกสั สปะผ้พู ี่ชาย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งินโชตนาราม 49

ทรงแสดงอาทติ ตปริยายสูตร พระศาสดาประทบั อย่ทู ่ีตาบลอรุ ุเวลา ตามสมควรแก่พทุ ธอธั ยาศยัแล้ว พร้อมด้วยภิกษุหม่ชู ฏิลเหลา่ นนั้ เสด็จไปยงั ตาบลคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา ทรงแสดงธรรมว่า ดกู ่อนภิกษุทงั้ หลาย ตา หู จมกู ลิน้ กายใจ เป็ นของร้อน ร้อนเพราะอะไร อะไรมาเผาให้ร้อน เรากลา่ วว่าร้อนเพราะไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ ร้อนเพราะความเกิด ความแก่ความตาย ความโศก ความราพนั ความเจ็บไข้ ความเสียใจ ความคบั ใจ เมื่อพระศาสดาตรัสพระธรรมเทศนานีจ้ บลง จิตของภิกษุเหล่านนั้พ้นจากอาสวะทงั้ หลาย ไม่ถือมน่ั ด้วยอปุ าทาน (สาเร็จพระอรหนั ต์) พระธรรมเทศนานีช้ ่ือว่า อาทิตตปริยายสตู ร จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงินโชตนาราม 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook