Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

Description: วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

Search

Read the Text Version

อายตนะภายใน ๖๑.ตา หมายถึง ประสาทท่ีใช้สาหรับการดูรูป เรียกว่า จักขุประสาท๒.หู หมายถึง ประสาทท่ีใช้สาหรับฟังเสียง เรียกว่า โสตประสาท๓.จมูก หมายถึง ประสาทท่ีใช้สาหรับดมกล่ิน เรียกว่า ฆานประสาท๔.ลิน้ หมายถึง ประสาทท่ีใช้สาหรับลิม้ รส เรียกว่า ชิวหาประสาท๕.กาย หมายถึง ประสาทท่ีใช้รับรู้ถึงส่ิงท่ีมาถูกต้อง เรียกว่า กายประสาท๖.ใจ หมายถึง ธาตุท่ีใช้รับรู้เร่ืองราวต่างๆ เรียกว่า มโนธาตุจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 51

อายตนะภายนอก ๖๑.รูป หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถเห็นได้ด้วยตา๒.เสียง หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถได้ยินด้วยหู๓.กล่ิน หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถสูดดมได้ด้วยจมูก๔.รส หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถลิม้ รสได้ด้วยลิน้๕.โผฏฐัพพะ หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถสัมผัสได้ด้วยกาย๖.ธรรมารมณ์ หมายถึง ส่ิงท่ีสามารถรู้สึกได้ทางใจ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 52

วิญญาณ ๖รู้ทางตา เพราะรูปมากระทบ เรียกว่า จักขุวิญญาณรู้ทางหู เพราะเสียงกระทบ เรียกว่า โสตวิญญาณรู้ทางจมูก เพราะกล่ินมากระทบ เรียกว่า ฆานวิญญาณรู้ทางลิน้ เพราะรสมากระทบ เรียกว่า ชิวหาวิญญาณรู้ทางกาย เพราะโผฏฐัพพะ(อารมณ์ท่ีถูกต้องทางกาย) มากระทบ เรียกว่า กายวิญญาณรู้ทางใจ เพราะอารมณ์ท่ีเกิดกับใจมากระทบ เรียกว่า มโนวิญญาณ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 53

สัมผัส ๖ตา + รูป + จกั ขวุ ิญญาณ = จกั ขสุ มั ผสัหู + เสียง + โสตวิญญาณ = โสตสมั ผสัจมกู + กล่ิน + ฆานวิญญาณ = ฆานสมั ผสัสิน้ + รส + ชิวหาวิญญาณ = ชิวหาสมั ผสักาย + โผฏฐัพพะ + กายวิญญาณ = กายสมั ผสัใจ + ธรรมารมณ์ +มโนวิญญาณ = มโนสมั ผสัจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 54

เวทนา ๖ความรู้สกึ อารมณ์อนั มากระทบ ทางตา เรียกว่า จกั ขุสมั ผสั สชาเวทนาความรู้สึกอารมณ์อนั มากระทบ ทางหู เรียกว่า โสตสมั ผสั สชาเวทนาความรู้สกึ อารมณ์อนั มากระทบ ทางจมกู เรียกว่า ฆานสมั ผสั สชาเวทนาความรู้สกึ อารมณ์อนั มากระทบ ทางลิน้ เรียกว่า ชิวหาสมั ผสั สชาเวทนาความรู้สึกอารมณ์อนั มากระบท ทางกาย เรียกว่า กายสมั ผสั สชาเวทนาความรู้สึกอารมณ์อนั มากระทบ ทางใจ เรียกว่า มโนสมั ผสั สชาเวทนาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 55

๑. ปฐวีธาตุ ธาตุ ๖๒. อาโปธาตุ๓. เตโชธาตุ คือ ธาตดุ ิน๔. วาโยธาตุ คือ ธาตนุ า้๕. อากาสธาตุ คือ คือ ธาตไุ ฟ๖. วิญญาณธาตุ คือ ธาตลุ ม ช่องว่างมีในกาย คือ ความรู้อะไรก็ได้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 56

สัตตกะ คอื หมวด ๗จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 57

อปริหานิยธรรม ๗ อย่าง๑. หมนั่ ประชมุ กนั เนืองนิตย์๒. เม่ือประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิก และพร้อมเพรียงกันทากิจท่ีสงฆ์จะต้องทา๓. ไม่บญั ญัติส่ิงท่ีพระพุทธเจ้าไม่บญั ญัติขึน้ ไม่ถอนสิ่งท่ีพระองค์ทรงบญั ญัติไว้แล้ว สมาทานศึกษาอย่ใู นสิกขาบทตามที่พระองค์ทรงบญั ญัติไว้๔. เคารพผ้เู ป็ นใหญ่เป็ นประธาน คือ ผ้ทู ่ีมีความเคารพยาเกรงต่อผ้ใู หญ่๕. ไม่ลอุ านาจแก่ความอยากท่ีเกิดขึน้ คือ ตณั หาความดิน้ รนอยากได้จนเกินขอบเขต๖. ยินดีในเสนาสนะป่ า การคลกุ คลีกบั หม่คู ณะจนไม่รู้จกั แบ่งเวลา ชื่อว่าเป็ นผ้ผู ลาญประโยชน์ส่วนตน ส่วนผ้ชู อบอย่ใู นสถานท่ีสงบเงียบเป็ นเหตใุ ห้ได้ความสงบกาย สงบใจ๗. ตงั้ ใจอย่วู ่า เพ่ือนภิกษุสามเณรซงึ่ เป็ นผ้มู ีศีล ซ่ึงยงั ไม่มาส่อู าวาส ขอให้มา ท่ีมาแล้วขอให้อย่เู ป็ นสขุ ธรรม ๗ อย่างนี ้ตงั้ อย่ใู นผ้ใู ด ผ้นู นั้ ไม่มีความเสื่อมเลย มีแต่ความเจริญฝ่ ายเดียวจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 58

อริยทรัพย์ ๗๑. สทั ธา หมายถึง เช่ือสิ่งที่ควรเชื่อ๒. สีล หมายถึง การรักษา กาย วาจา ให้เรียบร้อย๓. หิริ หมายถึง ความละอายต่อบาปทจุ ริต๔. โอตตปั ปะ หมายถึง ความสะด้งุ กลวั ต่อบาป๕. พาหสุ จั จะ หมายถึง ความเป็ นคนเคยได้ยินได้ฟังมาก คือ จาทรงธรรมและรู้ศิลปวิทยามาก๖. จาคะ หมายถึง การสละให้ปันส่ิงของของตนให้แก่คนท่ีควรให้ปัน๗. ปัญญา หมายถึง รอบรู้ส่ิงที่เป็ นประโยชน์ และไม่เป็ นประโยชน์อริยทรัพย์ ๗ จดั ลงในสิกขา ๓ ได้ ๒ สิกขา คือ สีล หิริ โอตตปั ปะ และ จาคะ จดั เป็ น สีลสิกขา, สทั ธา พาหสุ จั จะ และปัญญา จดั เป็ นปัญญาสิกขาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 59

สัปปุริสธรรม ๗ อย่าง๑. ธัมมญั ญตุ า หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้จกั เหตุ เช่นรู้จกั ว่า ส่ิงนีเ้ ป็ นได้ทงั้ เหตแุ ห่งสขุ หรือเหตแุ ห่งทกุ ข์๒. อตั ถญั ญตุ า หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้จกั ผล เช่นรู้จกั ว่า สขุ เป็ นผลแห่งเหตอุ นั นี ้ทกุ ข์เป็ นผลของเหตอุ นั นนั้๓. อตั ตญั ญุตา หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้จกั ตนว่า โดยชาติตระกลู ศกั ดิ์ สมบตั ิ บริวาร ความรู้ และคณุ ธรรมเพียงเท่านีๆ้ แล้วประพฤติตนให้สมควรแก่ที่เป็ นอย่อู ย่างไร๔. มตั ตญั ญตุ า หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้จกั เช่น ในการแสวงหาเคร่ืองเลีย้ งชีวิตแต่โดยทางท่ีชอบ และรู้จกั ประมาณในการบริโภคแต่พอสมควร๕. กาลญั ญตุ า หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้จกั กาล เวลาอนั สมควรในอนั ประกอบกิจนนั้ ๆ๖. ปริสญั ญตุ า หมายถึง ความเป็ นผ้รู ู้ชมุ ชน และกิริยาที่จะต้องประพฤติต่อประชมุ ชนนนั้ ๆว่า หม่นู ี ้เม่ือเข้าไปหา จะต้องทากิริยาอย่างนี ้จะต้องพดู อย่างนี ้เป็ นต้น๗. ปคุ คลปโรปรัญญตุ า หมายถึง ความรู้จกั เลือกบคุ คลว่า ผ้นู ีเ้ ป็ นบคุ คลดีควรคบ ผ้นู ีเ้ ป็ นคนไม่ดี ไม่ควรคบเป็ นต้น สปั ปรุ ิสธรรม เป็ นธรรมท่ีทาให้ผ้ปู ฏิบตั ิตาม เป็ นผ้ดู ีควรแก่การยกย่องนบั ถือ เป็ นผ้ทู ี่น่าคบหาสมาคมด้วยจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 60

สัปปุริสธรรมอีก ๗ อย่าง๑. สตั บรุ ุษ ประกอบด้วยธรรม 7 ประการ คือ มีศรัทธา มีความละอายต่อบาป มีความกลวั ต่อบาป เป็ นคนได้ยินได้ฟังมากเป็ นคนมีความเพียร เป็ นคนมีสติมน่ั คง เป็ นคนมีปัญญา.๒. จะปรึกษาส่ิงใดๆ กบั ใครๆ ก็ไม่ปรึกษาเพ่ือจะเบียดเบียนตนและผ้อู ื่น.๓. จะคิดสิ่งใด ก็ไม่คิด เพ่ือจะเบียดเบียนตนและผ้อู ่ืน.๔. จะพดู สิ่งใด ก็ไม่พดู เพ่ือจะเบียดเบียนตนและผ้อู ื่น.๕. จะทาสิ่งใด ก็ไม่ทา เพ่ือจะเบียดเบียนตนและผ้อู ื่น.๖. มีความเห็นชอบ เห็นว่า ทาดีได้ดี ทาชว่ั ได้ชว่ั เป็ นต้น.๗. ให้ทานโดยเคารพ คือเอืเ้ ฟื อ้ แก่ของท่ีตวั ให้และผ้รู ับทานจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 61

โพชฌงค์ ๗๑. สติ ความระลกึ ได้๒. ธัมมวิจยะ ความสอดส่องธรรม๓. วิริยะ ความเพียร๔. ปี ติ ความอิ่มใจ๕. ปัสสทั ธิ ความสงบใจและอารมณ์๖. สมาธิ ความตงั้ ใจมน่ั๗. อเุ ปกขา ความวางเฉยโพชฌงค์ ๗ จดั ลงในสิกขา ๓ ได้ ๒ สิกขา คือ สติ วิริยะ ปี ติ ปัสสทั ธิ และ อเุ บกขา เป็ นจิตตสิกขา, ธัมมวิจยะ เป็ นปัญญาสิกขา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 62

อฏั ฐกะ คอื หมวด ๘จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 63

โลกธรรม ๘ธรรมที่ครอบงาสตั ว์โลกอยู่ และสตั ว์โลกย่อมเป็ ไปตามกรรมนนั ้ เรียกว่าโลกธรรม ๑. มีลาภ ๒. เสื่อมลาภ ๓. มียศ ๔. เสื่อมยศ ๕. นินทา ๖. สรรเสริญ ๗. สุข ๘. ทุกข์จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 64

ลักษณะตดั สินธรรมวินัย ๘ ประการ๑.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความกาหนดั ย้อมใจ๒.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความประกอบทกุ ข์๓.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความสละกองกิเลส๔.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความอยากใหญ่๕.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความไม่สนั โดษยินดีด้วยของมีอยู่ คือ มีน่ีแล้วอยากได้นน่ั๖.ธรรมเหลา่ ใดเป็ นไปเพ่ือความคลกุ คลีด้วยหม่คู ณะ๗.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความเกียจคร้าน๘.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความเลีย้ งยาก ธรรมเหล่านีพ้ ึงรู้ว่า ไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินยั ไม่ใช่คาสงั่ สอนของพระศาสดาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 65

มรรคมอี งค์ ๘(๑)๑. สัมมาทฏิ ฐิ หมายถึง ปัญญาอนั เห็นชอบ คือ เห็นอริยสจั๒. สัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดาริชอบ คือ ดาริจะออกจากกาม.ดาริไม่พยาบาท.ดาริไม่เบียดเบียน๓. สัมมาวาจา หมายถึง เจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทจุ ริต พดู เท็จพดู ส่อเสียดพดู คาหยาบพดู เพ้อเจ้อ๔. สัมมากัมมันตะ หมายถึง ทาการงานชอบ คือเว้นจากกายทจุ ริต ๓คือ ฆ่าสตั ว์, ลกั ทรัพย์,ประพฤติผิดในกามจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 66

มรรคมอี งค์ ๘(๒)๕. สัมมาอาชีวะ หมายถึง การเลีย้ งชีพท่ีถกู ต้อง ได้แก่เว้นจากการเลีย้ งชีวิตท่ีมีโทษทงั้ ๒ ฝ่ าย คือ โทษทางโลก และ โทษทางพระบญั ญตั ิ รู้ประมาณในการแสวงหา การรับ และ การบริโภค๖. สัมมาวายามะ หมายถึง ความเพียรที่ถกู ต้อง ได้แก่ความเพียรในสมั มปั ปธาน ๔ คือ เพียรระวงั ไม่ให้บาปเกิดขนึ ้ เพียรละบาปท่ีเกิดขนึ ้ แล้ว,เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ,เพียรรักษากุศลที่เกิดขนึ ้ แล้ว๗. สัมมาสติ ระลกึ ชอบ คือระลึกในสติปัฏฐานทงั้ ๔๘. สัมมาสมาธิ ตงั้ ใจไว้ชอบ คือเจริญฌานทงั้ ๔ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 67

ลักษณะตัดสินธรรมวินัย ๘ ประการ 68๑.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความคลายกาหนดั๒.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความปราศจากทุกข์๓.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความไม่สะสมกองกิเลส๔.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความอยากอนั น้อย๕.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความสนั โดษยินดีด้วยของมีอยู่๖.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพื่อความสงดั จากหมู่๗.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความเพียร๘.ธรรมเหล่าใดเป็ นไปเพ่ือความเลีย้ งง่าย ธรรมเหล่านีพ้ ึงรู้ว่า เป็ นธรรม เป็ นวินยั เป็ นคาสงั่ สอนของพระศาสดา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม

นวกะ คือ หมวด ๙จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 69

มละ คอื มลทนิ ๙ อย่าง๑.โกธะ หมายถึง ความโกรธ๒.มกั ขะ หมายถึง ความลบหล่คู ณุ ท่าน๓.อิสสา หมายถึง ความริษยา๔.มจั ฉริยะ หมายถึง ความตระหน่ี๕.มายา หมายถึง ความมีมารยา๖.สาเถยยะ หมายถึง ความมกั อวด๗.มสุ าวาท หมายถึง การพดู ปดมดเท็จ๘.ปาปิ จฉา หมายถึง ความปรารถนาอนั ลามก๙.มิจฉาทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นผิด จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 70

ทสกะ คอื หมวด ๑๐จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 71

อกุศลกรรมบถ ๑๐ 72จดั เป็ นกายกรรม คือทาด้วยกาย ๓ อย่าง๑. ปาณาติบาต หมายถึง การฆ่าสตั ว์ การทาชีวิตสตั ว์ให้ตกล่วงไป๒. อทินนาทาน หมายถึง การลกั ทรัพย์ ถือเอาส่ิงของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยการขโมย๓. กาเมสุ มิจฉาจาร หมายถึง การประพฤติผิดในกามจดั เป็ นวจีกรรม คือทาด้วยวาจา ๔ อย่าง๔. มุสาวาท หมายถึง การพูดเท็จ๕. ปิ สุณาวาจา หมายถึง การพูดส่อเสียด๖. ผรุสวาจา หมายถึง พูดคาหยาบ๗. สัมผัปปลาปะ หมายถึง พูดเพ้อเจ้อจดั เป็ นมโนกรรม คือทาด้วยใจ ๓ อย่าง๘. อภิชฌา หมายถึง ความโลภอยากได้ของเค้า๙. พยาบาท หมายถึง ปองร้ ายผ้อู ่ืน๑๐. มิจฉาทิฏฐิ หมายถึง ผิดจากคลองธรรม จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม

บญุ กริ ิยาวตั ถุ ๑๐ อย่าง๑. ทานมัย หมายถึง บญุ สาเร็จด้วยการบริจาคทาน๒. สีลมัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล๓. ภาวนามัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา๔. อปจายนมัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตนต่อผู้ใหญ่๕. เวยยาวัจจมัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการช่วยขวนขวายในกิจท่ีชอบ กิจท่ีถกู ต้อง๖. ปัตติทานมัย หมายถึง บญุ สาเร็จด้วยการให้สว่ นบุญ๗. ปัตตานุโมทนามัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญความดีของคนอื่น๘. ธัมมัสสวนมัย หมายถึง บญุ สาเร็จด้วยการฟังธรรม คือ ฟังเทศน์ ฟังธรรมบรรยาย๙. ธัมมเทสนามัย หมายถึง บุญสาเร็จด้วยการแสดงธรรม คือตงั้ ใจเทศน์ ตงั้ ใจบรรยาย๑๐. ทฏิ ฐุชุกัมม์ หมายถึง การทาความเห็นให้ตรง ตามความเป็ นจริงจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 73

ธรรมท่บี รรพชติ ควรพจิ ารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง๑. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า บดั นีเ้ รามีเพศต่างจากคฤหสั ถ์แล้ว อาการกิริยาใดๆ ของสมณะ เราต้องทาอาการกิริยานัน้ ๆ๒. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ความเลีย้ งชีพของเราเนื่องด้วยผ้อู ื่น ควรทาตัวให้เขาเลีย้ งง่าย๓. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า อาการ กาย วาจาอย่างอ่ืนที่เราจะต้องทาให้ดีขึน้ ไปกว่านีย้ งั มีอย่อู ีก ไม่ใช่เพียงเท่านี ้๔. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ตัวของเราเองติเตียนตวั ของเราเองโดยศีลได้หรือไม่๕. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า ผู้รู้ใคร่ครวญแล้ว ติเตียนเราโดยศีลได้หรือไม่๖. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เราจะต้องพลดั พรากจากของรักของชอบใจทงั ้ นัน้๗. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตวั เราทาดีจกั ได้ดี ทาชว่ั จกั ได้ช่วั๘. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า วนั คืนล่วงไปๆ บดั นีเ้ ราทาอะไรอยู่๙. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า เรายินดีท่ีสงดั หรือไม่๑๐. บรรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ว่า คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะให้เราเป็ นผ้ไู ม่เก้อเขินในเวลาเพ่ือนบรรพชิตถามในกาลภายหลงัจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 74

กุศลกรรมบถ ๑๐๑. ปาณาติปาตา เวรมณี หมายถึง การเว้นจากทาชีวิตสตั ว์ให้ตกล่วง๒. อทินนาทานา เวรมณี หมายถึง การเว้นจากถือเอาสิ่งของท่ีเจ้าของ๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี ไม่ได้ให้ ด้วยอาการขโมย๔. มสุ าวาทา เวรมณี หมายถึง การเว้นจากประพฤติผิดในกาม๕. ปิ สณุ าย วาจาย เวรมณี หมายถึง เว้นจากการพดู เท็จ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี หมายถึง เว้นจากการพดู ส่อเสียด๗. สมั ผปั ปลาปา เวรมณี หมายถึง เว้นจากการพดู คาหยาบ๘. อนภิชฌา หมายถึง เว้นจากการพดู เพ้อเจ้อ๙. อพยาบาท หมายถึง ความไม่โลภอยากได้ของเขา๑๐. สมั มาทิฏฐิ หมายถึง ความไม่พยาบาทปองร้ายเขา หมายถึง การเห็นชอบตามคลองธรรม จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 75

นาถกรณธรรม คือ ธรรมทาท่พี ่งึ ๑๐ อย่าง๑. สีล หมายถึง การรักษากายวาจาให้เรียบร้ อย๒. พาหุสัจจะ หมายถึง ความเป็ นผ้ไู ด้สดบั ตรับฟังมาก๓. กัลยาณมิตตตาหมายถึง ความเป็ นผ้มู ีเพื่อนดีงาม๔. โสวจัสสตา หมายถึง ความเป็ นผ้วู ่าง่ายสอนง่าย๕. กิงกรณีเยสุ ทักขตา หมายถึง ความขยนั เอาใจใส่ในกิจธุระของเพื่อนภิกษุสามเณร๖. ธัมมกามตา หมายถึง ความใคร่ในธรรมที่ชอบเป็ นผ้ใู คร่รู้ใคร่เห็น๗. วิริยะ หมายถึง เพียรเพ่ือจะละความชวั่ ประพฤติความดี๘. สันโดษ หมายถึง ความยินดี ความพอใจ ด้วยผ้าน่งุ ผ้าห่ม อาหาร ที่นอนที่นงั่ และยาตามมีตามได้๙. สติ หมายถึง การนึกขนึ ้ ได้ก่อนที่จะทา จะพดู จะคิด มิให้กิจนนั ้ ๆ ดาเนินไปส่ทู างท่ีผิด๑๐. ปัญญา หมายถึง รอบรู้ในกองสงั ขารตามความเป็ นจริง จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 76

อนุสสติ คอื อารมณ์ควรระลกึ ๑๐ ประการ๑. พุทธานุสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงคณุ ของพระพทุ ธเจ้าอย่เู นืองๆ๒. ธัมมานุสสติ หมายถึง ความระลึกถึงคณุ ของพระธรรมอย่เู นืองๆ๓. สังฆานุสสติ หมายถึง ความระลึกถึงคณุ ของพระสงฆ์อย่เู นืองๆ๔. สีลานุสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงศีลของตนอย่เู นืองๆ๕. จาคานุสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงทานท่ีตนเคยบริจาคอย่เู นืองๆ๖. เทวตานุสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงคณุ ที่ทาบคุ คลให้เป็ นเทวดาอย่เู นืองๆ๗. มรณัสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงความตายที่จะมาถึงตนอย่เู นืองๆ๘. กายคตาสติ หมายถึง ความระลกึ ทว่ั ไปในกาย ให้เห็นว่า ไม่งาม น่าเกลียดโสโครกอย่เู นืองๆ๙. อานาปานสติ หมายถึง ความตงั้ สติกาหนดลมหายใจเข้าออกอย่เู นืองๆ๑๐. อุปสมานุสสติ หมายถึง ความระลกึ ถึงพระคณุ พระนิพพาน ซง่ึ เป็ นท่ีระงบั กิเลสและกองทกุ ข์ทงั้ ปวงอย่เู นืองๆจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 77

กถาวัตถุคือถ้อยคาท่คี วรพดู ๑๐ อย่าง๑. อัปปิ จฉกถา หมายถึง ถ้อยคาท่ีชดั นาให้มีความปรารถนาน้อย๒. สันตุฏฐิกถา หมายถึง ถ้อยคาที่ชกั นาให้มีสนั โดษ ยินดีด้วยปัจจยั ตามมีตามได้๓. ปวิเวกกถา หมายถึง ถ้อยคาท่ีชกั นาให้สงดั กายสงดั ใจ๔. อสังสัคคกถา หมายถึง ถ้อยคาที่ชกั นาไม่ให้ระคนด้วยหมู่๕. วิริยารัมภกถา หมายถึง ถ้อยคาที่ชกั นาให้ปรารภความเพียร๖. สีลกถา หมายถึง ถ้อยคาที่ชดั นาให้ตงั้ อย่ใู นศีล๗. สมาธิกถา หมายถึง ถ้อยคาท่ีชกั นาให้ทาใจให้สงบ๘. ปัญญากถา หมายถึง ถ้อยคาท่ีชกั นาให้เกิดปัญญา๙. วิมุตตกิ ถา หมายถึง ถ้อยคาท่ีชกั นาให้ทาใจให้พ้นจากกิเลส๑๐.วิมุตติญาณทัสสนกถา หมายถึง ถ้อยคาที่ชกั นาให้เกิดความรู้ความเห็นในความท่ีใจพ้นจากกิเลสจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 78

ปกณิ ณกะ คือ หมวดเป็ ดเตลด็จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 79

อุปกเิ ลสหมายถงึ โทษเคร่ืองเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง(๑)๑.อภิชฌาวิสมโลภะ หมายถึง ความโลภไม่สม่าเสมอความเพ่งเล็ง๒. โทสะ หมายถึง ความร้ายกาจ๓. โกธะ หมายถึง ความโกรธ๔. อุปนาหะ หมายถึง ความผกู โกรธ๕. มักขะ หมายถึง ความลบหล่คู ณุ ท่าน๖. ปลาสะ หมายถึง ตีเสมอคือยกตนเทียมท่าน๗. อิสสา หมายถึง ความริษยา เห็นเค้าได้ดี ทนอย่ไู ม่ได้๘. มัจฉริยะ หมายถึง ความตระหน่ีจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 80

อุปกิเลสหมายถึง โทษเคร่ืองเศร้าหมอง ๑๖ อย่าง(๒)๙. มายา หมายถึง ความมีมารยา เป็ นคนเจ้าเล่ห์๑๐. สาเถยยะ หมายถึง ความโอ้อวด๑๑. ถัมภะ หมายถึง ความหวั ดือ้๑๒. สารัมภะ หมายถึง ความแข่งดี เป็ นคนไม่รู้จกั ประมาณตน๑๓. มานะ หมายถึง ความถือตวั๑๔. อติมานะ หมายถึง ความดหู ม่ินท่าน๑๕. มทะ หมายถึง ความมวั เมา๑๖. ปมาทะ หมายถึง ความประมาทเลินเล่อจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 81

โพธปิ ักขยิ ธรรม ๓๗ 82๑.สติปัฏฐาน ๔ ประการ๒.สมั มปั ปธาน ๔ ประการ๓.อิทธิบาท ๔ ประการ๔.อินทรีย์ ๕ ประการ๖.พละ๕ ประการ๗.โพชฌงค์ ๗ ประการ๘.มรรคมีองค์ ๘ ประการ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม