Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

Description: วิชาธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี

Search

Read the Text Version

นักธรรมชัน้ ตรีวิชาธรรมวิภาคจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 1

ทกุ ะ คือ หมวด ๒จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 2

ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง๑. สติ ความระลึกได้๒. สัมปชัญญะ ความรู้ตวั สติ ความระลกึ ได้ หมายความว่า ก่อนจะทาจะพดู คิดให้รอบคอบก่อนแล้วจึงทาจึงพดู ออกไป สมั ปชญั ญะ ความรู้ตวั หมายความว่า ขณะทา ขณะพดู มีความรู้ตวั ทวั่พร้อมอย่ตู ลอดเวลา ไม่ใช่ทาหรือพดู เร่ืองหนึ่งใจคิดอีกเรื่องหนึ่งจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 3

ธรรมเป็ นโลกบาล คอื คุ้มครองโลก ๒๑. หริ ิ ความละอายแก่ใจ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลวั หิริ ความละอายแก่ใจ หมายความว่ารู้สึกรังเกียจทจุ ริต มีกายทจุ ริต เป็ นต้น เหมือนคนเกลียดสิ่งโสโครกมีอจุ จาระ เป็ นต้น ไม่อยากจบั ต้อง โอตตปั ปะ ความเกรงกลวั หมายความว่า สะด้งุ กลวั ต่อทจุ ริตมีกายทจุ ริตเป็ นต้น เหมือนคนกลวั ความร้อนของไฟ ไม่กล้าไปจบั ไฟ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 4

ธรรมอนั ทาให้งาม ๒ อย่าง๑. ขันติ ความอดทน๒. โสรัจจะ ความเสงีย่ ม ขนั ติ ความอดทน หมายความว่า ทนได้ไม่พ่ายแพ้ ความหนาว ร้อน หิวกระหายทกุ ขเวทนา อนั เกิดจากความเจ็บป่ วย ความบาดเจ็บ ถ้อยคาด่าว่าเสียดสีดถู กูดหู ม่ิน และการถกู ทาร้าย โสรัจจะ ความเสงี่ยม หมายความว่า เป็ นผ้ไู ม่มีอาการผิดแปลกไปจากปกติประหนึ่งว่า ไม่เห็น ไม่ได้ยิน ไม่รับรู้ความหนาว ความร้อนเป็ นต้นเหล่านนั ้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 5

บุคคลหาได้ยาก ๒ อย่าง๑. บุพพการี บุคคลผูท้ าอปุ การะก่อน๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผูร้ ู้อปุ การะทีท่ ่านทาแล้วและตอบแทน บพุ พการี บคุ คลผ้ทู าอปุ การะก่อน หมายความว่า เป็ นผ้ชู ่วยเหลือเกือ้ กลูผ้อู ื่นโดยไม่คิดถึงเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. ผ้นู นั้ เคยช่วยเหลือเรามาก่อน ๒. ผ้นู นั้ จะทาตอบแทนเราในภายหลงั ยกตวั อย่าง เช่น บิดามารดาเลีย้ งดบู ตุ รธิดา และครูอาจารย์สงั่ สอนศิษย์เป็ นต้น กตญั ญกู ตเวที บคุ คลผ้รู ู้อปุ การะที่ท่านทาแล้วและตอบแทน หมายความว่าผ้ไู ด้รับการช่วยเหลือจากใครแล้วจดจาเอาไว้ ไม่ลืม ไม่ลบล้าง ไม่ทาลายจะด้วยเหตุใดก็ตาม คอยคิดถึงอย่เู สมอ และทาตอบแทนอย่างเหมาะแก่อปุ การะที่ตนได้รับมาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 6

รตนะ ๓ อย่าง พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ๑. ท่านผูส้ อนให้ประชมุ ชนประพฤติชอบดว้ ย กาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินยั ทีเ่ รียกว่าพระพทุ ธศาสนา ชือ่ พระพทุ ธเจ้า ๒. พระธรรมวินยั ที่เป็นคาสอนของท่าน ชื่อพระธรรม ๓. หมู่ชนทีฟ่ ังคาสงั่ สอนของท่านแลว้ ปฏิบตั ิชอบตามพระธรรมวินยั ชื่อพระสงฆ์ พระพุทธเจ้า พระธรรม และพระสงฆ์ ทรงจดั ว่าเป็ นรตนะ เพราะเป็ นผ้มู ีค่ามากโดยตนเองเป็ นผู้สงบจากบาปแล้ว สอนผ้อู ื่นให้ละชั่วประพฤติชอบ ถ้าคนในโลกไม่ละช่วั ประพฤติชอบแล้ว ส่ิงมีค่าทงั้ หลายก็จะกลายเป็ นศตั รูนาภยั อนั ตรายมาส่ตู นเอง เพราะฉะนนั้ พระพุทธเจ้า• พระธรรม และพระสงฆ์ จึงช่ือว่า รตนะ คือเป็ นสิ่งที่มีค่า น่ายินดีจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 7

ตกิ ะ คอื หมวด ๓จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 8

คุณของรตนะ ๓ อย่าง พระพุทธเจ้า รู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผ้อู ่ืนให้รู้ตามด้วยพระธรรม ย่อมรักษาผ้ปู ฏิบตั ิไม่ให้ตกไปในท่ีชว่ัพระสงฆ์ ปฏิบตั ิชอบตามคาสอนของพระพทุ ธเจ้าแล้ว สอนให้ผ้อู ่ืนกระทา ตามด้วย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 9

โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่าง ๑. เว้นจากทุจริต คือประพฤติชวั่ ด้วยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติชอบ ด้วยกาย วาจา ใจ ๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเคร่ืองเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็ นต้นจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 10

อาการท่พี ระพทุ ธเจ้าทรงส่ังสอน ๓ อย่าง ๑ ทรงสง่ั สอน เพื่อจะให้ผ้ฟู ังรู้ยิ่งเห็นจริงในธรรมท่ีควรรู้ควรเห็น ๒ ทรงสงั่ สอน มีเหตทุ ่ีผ้ฟู ังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้ ๓ ทรงสงั่ สอน เป็ นอศั จรรย์ คือผ้ปู ฏิบตั ิตามย่อมได้ประโยชน์ โดยสมควรแก่การปฏิบตั ิจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 11

ทจุ ริต ๓ อย่าง๑ ประพฤติชวั่ ด้วยกาย เรียก กายทจุ ริต๒ ประพฤติด้วยวาจา เรียก วจีทจุ ริตพดู เท็จ ๑ พดู ส่อเสียด ๑ พดู คาหยาบ ๑ พดู เพ้อเจ้อ๓ ประพฤติชว่ั ด้วยใจ เรียก มโนทจุ ริตโลภอยากได้ของเขา ๑ พยาบาทปองร้ายเขา ๑เห็นผิดจากครองธรรม ๑ทจุ ริต ๓ อย่างนี ้เป็ นกิจไม่ควรทา ควรละเสีย จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 12

สุจริต ๓ อย่าง๑ ประพฤติชอบด้วยกาย เรียก กายสุจริต๒ ประพฤติชอบด้วยวาจา เรียก วจีสุจริต๓ ประพฤติชอบด้วยใจ เรียก มโนสจุ ริตจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 13

อกุศลมูล ๓ อย่างรากเง่าของอกุศล เรียกอกศุ ลมลู มี ๓ อย่าง คือ โลภะ อยากได้ ๑ โทสะ คิดประทษุ ร้ายเขา ๑ โมหะ หลงไม่รู้จริง ๑จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 14

กุศลมูล ๓ อย่างรากเหง้าของกศุ ล เรียกกุศลมลู มี ๓ อย่าง คืออโลภะ ไม่อยากได้ ๑อโทสะ ไม่คิดประทุษร้ายเขา ๑อโมหะ ไม่หลง ๑ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 15

สัปปุริสบญั ญตั ิ คือข้อท่ที ่านสัตบุรุษตงั้ ไว้ ๓ อย่าง ๑ ทาน สละส่ิงของของตนเพื่อเป็ นประโยชน์แก่ผ้อู ื่น ๒ ปัพพัชชา ถือบวชเป็ นอบุ ายเว้นจากเบียดเบียนกนั และกนั ๓ มาตาปิ ตุอุปัฏ1616ฐาน ปฏิบตั ิมารดาบิดาของตนให้เป็ นสขุจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 16

อปัณณกปฎปิ ทา คือปฏบิ ตั ไิ ม่ผดิ ๓ อย่าง๑ อินทรียสงั วร สารวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถกู ต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ๒ โภชเน มตั ตญั ญตุ า รู้จกั ประมานในการกินอาหารแต่พอสมควร ไม่มากไม่ น้อย๓ ชาคริยานุโยค ประกอบความเพียรเพ่ือชาระล้างใจให้หมดจดไม่เห็นแก่ นอนมากนกัจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 17

สามัญลกั ษณะ ๓ อย่างลกั ษณะที่เสมอกนั แก่สงั ขารทงั้ ปวง เรียกสามญั ญลกั ษณะ ไตรลกั ษณะก็เรียก แจกเป็ น ๓ อย่าง๑ อนิจตา ความเป็ นของไม่เท่ียง๒ ทุกขตา ความเป็ นทกุ ข์๓ อนัตตา ความเป็ นของไม่ใช่ตวั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 18

บญุ กริ ิยาวัตถุ ๓ อย่าง ส่ิงเป็ นท่ีตัง้ แห่งการบาเพ็ญบุญ เรียกบุญกิริยาวัตถุ โดยย่อมี ๓ อย่าง๑ ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน๒ สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศิล๓ ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภจโณดั วทดั ไาผโ่เงดนิ โยชตนพารรามะธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 19

จตุกะ คือ หมวด ๔จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 20

วุฑฒิ คือธรรมเป็ นเคร่ืองเจริญ ๔ อย่าง๑ สัปปุริสสังเสวะ คบท่านผ้ปู ระพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ท่ีเรียกสตั บรุ ุษ๒ สัทธัมมัสสวนะ ฟังคาสง่ั สอนของท่านโดยเคารพ๓ โยนิโสมนสิการ ตริตรองให้รู้จกั ส่ิงท่ีดีหรือชวั่ โดยอบุ ายท่ีชอบ๔ ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซง่ึ ได้ตรองเห็นแล้วจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 21

จกั ร ๔๑ ปฏิรูปเทสวาสะ อย่ใู นประเทศอนั สมควร๒ สัปปุริสูปัสสยะ คบสตั บุรุษ๓ อัตตสัมมาปณิธิ ตงั้ ตนไว้ชอบ๔ ปุพเพกตปุญยตา ความเป็ นผ้ไู ด้ทาความดีไว้ก่อนธรรม ๔ อย่างนี ้ดจุ ล้อรถนาไปส่คู วามเจริญ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 22

อคติ ๔๑ ลาเอียงเพราะรักใคร่กนั เรียก ฉันทาคติ๒ ลาเอียงเพราะไม่ชอบกนั เรียก โทสาคติ๓ ลาเอียงเพราะเขลา เรียก โมหาคติ๔ ลาเอียงเพราะกลวั เรียก ภยาคติอคติ ๔ อย่างนี ้ไม่ควรประพฤติจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 23

อันตรายของภกิ ษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง๑ อดทนต่อคาสอนไม่ได้ คือเบ่ือต่อคาสงั่ สอนขีเ้กียจทาตาม๒ เป็ นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง ทนความอดอยากไม่ได้๓ เพลิดเพลินในกามคณุ ทะยานอยากได้สขุ ย่ิงๆขึน้ ไป๔ รักผ้หู ญิง ภิกษุสามเณรผ้หู วงั ในความเจริญแก่ตน ควรระวงั อย่าให้อนั ตราย ๔ อย่างนีย้ า่ ยีได้จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 24

ปธาน คอื ความเพียร ๔ อย่าง๑ สังวรปธาน เพียรระวงั ไม่ให้บาปเกิดขนึ ้ ในสนั ดาน๒ ปหานปธาน เพียรระบาปที่เกิดขนึ ้ แล้ว๓ ภาวนาปธาน เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ในสนั ดาน๔ อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลท่ีเกิดขนึ ้ แล้วไม่ให้เส่ือมความเพียร ๔ อย่างนีเ้ ป็ นความเพียรชอบควรประกอบให้มีในตน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 25

อธษิ ฐานธรรม คือธรรมท่คี วรตงั้ ไว้ในใจ ๔ อย่าง๑ ปัญญา รอบรู้ส่ิงท่ีควรรู้๒ สัจจะ ความจริงใจ๓ จาคะ สละสิ่งที่เป็ นข้าศกึ แก่ความจริงใจ๔ อุปสมะ สงบใจจากสิ่งท่ีเป็ นข้าศกึ แก่ความสงบ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 26

อิทธิบาท คือคุณเคร่ืองให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง๑ ฉันทะ พอใจรักใคร่ในส่ิงนนั ้๒ วิริยะ เพียรประกอบส่ิงนนั ้๓ จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนนั้๔ วิมังสา หมน่ั ตริตรองพิจารณาเหตผุ ลในส่ิงนนั้คณุ ๔ อย่างนี ้ มีบริบรูณ์แล้ว อาจชกั นาบคุ คลให้ถึงสิ่งท่ีต้องประสงค์ซง่ึ ไม่ เหลือวิสยั จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 27

ควรทาความไม่ประมาทในท่ี ๔ สถาน๑ ในการละกายทจุ ริต ประพฤติกายสจุ ริต๒ ในการละวจีทจุ ริต ประพฤติวจีสจุ ริต๓ ในการละมโนทจุ ริต ประพฤติ มโนสจุ ริต๔ ในการละความเห็นผิด ทาความเห็นให้ ถกู อีกอย่างหน่ึง๑ ระวงั ใจไม่ให้กาหนดั ในอารมณ์เป็ นท่ีตงั้ แห่งความกาหนดั๒ ระวงั ใจไม่ให้ขดั เคืองในอารมณ์เป็ นท่ีตงั้ แห่งความขดั เคือง๓ ระวงั ใจไม่ให้หลงในอารมณ์เป็ นท่ีตงั้ แห่งความหลง๔ ระวงั ใจไม่ให้มวั เมาในอารมณ์เป็ นท่ีตงั้ แห่งความมวั เมาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 28

ปาริสุทธิศิล ๔๑ ปาติโมกขสงั วร สารวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อท่ีพระพทุ ธเจ้าห้าม ทา ตามข้อที่พระองค์อนญุ าต๒ อินทรียสงั วร สารวมอินทรีย ๖ คือ ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจไม่ให้ยินดียินร้ายในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถกู ต้องโผฏฐัพพะ รู้ ธรรมารมณ์ด้วยใจ๓ อาชีวปาริสทุ ธิ เลีย้ งชีวิตโดยทางท่ีชอบ ไม่หลอกลวงเขาเลีย้ งชีวิต๔ ปัจจยปัจจเวกขณะ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปัจจยั ๔ คือ จีวรบิณฑบาต เสนาสนะ และเภสชั ไม่บริโภคด้วยตนั หาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 29

อารักขกัมมัฏฐาน๑ พุทธานุสสติ ระลกึ ถึงคณุ พระพทุ ธเจ้าที่มีในพระองค์และทรงเกือ้ กูลแก่ ผ้อู ื่น๒ เมตตา แผ่ไมตรีจิตคิดจะให้สตั ว์ทงั้ ปวงเป็ นสขุ ทว่ั หน้า๓ อสุภะ พิจารณาร่างกายตนและผ้อู ื่นให้เห็นเป็ นไม่งาม๔ มรณัสสติ นึกถึงความตายอนั จะมีแก่ตน กมั มฏั ฐาน ๔ อย่างนี ้ควรเจริญเป็ นนิตย์จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 30

พรหมวิหาร ๔๑ เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็ นสขุ๒ กรุณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พ้นทกุ ข์๓ มุทิตา ความพลอยยินดี เมื่อผ้อู ่ืนได้ดี๔ อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดีใจไม่เสียใจเม่ือผ้อู ่ืนถึง ความวิบตั ิธรรม ๔ อย่างนี ้เป็ นเครื่องอย่ขู องท่านผ้ใู หญ่ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 31

สตปิ ัฏฐาน ๔ ๑ กายานุปัสสนา ๒ เวทนานุปัสสนา ๓ จิตตานุปัสสนา ๔ ธัมมานุปัสสนา สติกาหนดพิจารณากายเป็ นอารมณ์ว่า กายนีส้ กั ว่ากายไม่ใช่สตั ว์บคุ คลตวั ตนเราเขา เรียกว่ากายานปุ ัสสนาสติกาหนดพิจารณาเวทนา คือ สขุ ทกุ ข์ และไม่สขุ ไม่ทกุ ข์ เป็ นอารมณ์ว่า เวทนานี ้ ก็สกั ว่าเวทนา ไม่ใช่สตั ว์บคุ คล ตวั ตนเราเขา เรียกว่าเวทนานปุ ัสสนาสติกาหนดพิจารณาใจท่ีเศร้าหมอง หรือผอ่ งแผ้ว เป็ นอารมณ์ว่า ใจนีก้ ็สกั ว่าใจ ไม่ใช่สตั ว์บคุ คล ตวั ตนเราเขา เรียกจิตตานปุ ัสสนาสติกาหนดพิจารณาธรรมที่เป็ นกศุ ลหรืออกศุ ล ที่บงั เกิดกบั ใจเป็ นอารมณ์ว่า ธรรมนีก้ ็สกั ว่าธรรม ไม่ใช่สตั ว์บคุ คล ตวั ตนเราเขา เรียกธัมมานปุ ัสสนาจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 32

ธาตกุ มั มฏั ฐาน ๔ ธาตุ ๔ คือ ธาตดุ ิน เรียกปฐวีธาตุ ธาตนุ า้ เรียกอาโปธาตุ ธาตไุ ฟ เรียกเตโชธาตุ ธาตลุ ม เรียกวาโยธาตุธาตอุ นั ใดมีลกั ษณะแข้นแข็ง ธาตนุ นั้ เป็ น ปฐวีธาตุ ปฐวีธาตนุ นั้ที่เตปบั ็ นพภางั ผยืดในไตคือปผอดม ไขสน้ใหเลญ็บ่ ไฟสัน้น้อหยนงัอาเนหือา้ รเใอห็นมก่ อราะหดากู รเเยก่ือ่าในกระดกู ม้าม หวั ใจธคาือตอุ ดนั ี เใสดลมดีลหกั ษนอณงะเเลอือิบดอาเหบงธ่ือามตนันุ ขนั้ ้นเปน็ นา้อตาาโปเปธลาตวมุ อนั าโนปา้ธลาาตยนุ นนั้ าท้ ม่ีเปกู ็ นไภขาข้ยอใมนตู รธาอกตาาอุหยนัใาหใรด้ใอหมบ้ยีลอ่อกั่นุ ยษไณฟยะงัร้กอานยธใาหต้ทเุ รปุด็ นโเทตรโมชธไาฟตทุ เี่ยตงัโกชธายาตใหนุ ้กนั้ รทะ่ีเวปน็ นกภราะยวใานย คือไไฟฟทท่ีเี่ยผงัาธาหลตมาอุยพนัใดั จใขดนึ ้มเีลบกั ือ้ ษงบณนะพลมดั ไพปดั มลางเธบาือ้ตงนุ ตนั้่าเปล็ นมวในาโทย้อธงาตลมุ วใานโยไสธ้ าลตมนุ พนั้ ดั ทไปี่เปต็ นามภลายาตในวั คลือมควกาันมอกยาุ่ ไหมน่ใดชพ่เริจาาไรมณ่ใชาก่ขอายงเนรีา้ใหเร้เียหก็นวเป่า็ นธเาพตียกุ งัมธมาตฏั ุฐ๔านคือ ดิน นา้ ไฟ ลม ประชุมจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 33

อริยสัจ ๔๑ ทุกข์๒ สมุทัย คือ เหตใุ ห้ทกุ ข์เกิด๓ นิโรธ คือ ความดบั ทกุ ข์๔ มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดบั ทกุ ข์จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 34

อริยสัจ ๔ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ได้ชื่อว่าทกุ ข์ เพราะเป็ นของทนได้ยากตนั หาคือความทะยานอยากในอารมณ์ท่ีน่ารักใคร่ เรียกว่ากามตนั หาอย่าง ๑ความดบั ตนั หาได้สิน้ เชิง ทกุ ข์ดบั ไปหมด ได้ชื่อว่านิโรธ เพราะเป็ นความดบั ทกุ ข์ปัญญาอนั เห็นชอบว่าส่ิงนีเ้ หตใุ ห้ทกุ ข์เกิด สิ่งนีค้ วามดบั ทกุ ข์ ส่ิงนีท้ างให้ถึงความ ดบั ทกุ ข์ ได้ชื่อว่ามรรค เพราะเป็ นข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดบั ทกุ ข์ มรรคนั้นมีองค์ ๘ ประการ คือ ปัญญาอันเห็นชอบ ๑ ดาริชอบ ๑เจรจาชอบ ๑ ทาการงานชอบ ๑ เล้ียงชีวิตชอบ ๑ ทาความเพียรชอบ ๑ ต้ังสติชอบ ๑ ต้ังใจชอบ ๑จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 35

ปัญจกะ คือ หมวด ๕จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 36

อนันตริยกรรม ๕ ๑ มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒ ปิ ตุฆาต ฆ่าบิดา ๓ อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหนั ต์ ๔ โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพทุ ธเจ้าจนถึงยงั พระโลหิตให้ห้อขนึ ้ ไป ๕ สังฆเภท ยงั สงฆ์ให้แตกจากกนักรรม ๕ อย่างนี ้เป็ นบาปอนั หนกั ที่สดุ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตงั้ อย่ใู นฐานปาราชิกผู้ ถือพระพทุ ธศาสนา ห้ามไม่ให้ทาเป็ นเด็ดขาดจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 37

อภณิ หปัจจเวกขณ์ ๕ ๑ ควรพิจารณาทกุ วนั ๆ ว่า เรามีความแก่เป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒ ควรพิจารณาทกุ วนั ๆ ว่า เรามีความเจ็บเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความเจ็บไปได้ ๓ ควรพิจารณาทกุ วนั ๆ ว่า เรามีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔ ควรพิจารณาทกุ วนั ๆ ว่า เราเราจะต้องพลดั พรากจากของรักของชอบใจทงั้ สิน้ ๕ ควรพิจารณาทกุ วนั ๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตวั เราทาดี จกั ได้ดีทาชวั่ จกั ได้ชวั่จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 38

เวสารัชชกรณธรรม คอื ธรรมทาความกล้าหาญ ๕ อย่าง๑ สัทธา เช่ือในสิ่งที่ควรเชื่อ๒ สีล รักษากายวาจาให้ เรียบร้ อย๓ พาหุสัจจะ ความเป็ นผ้ศู กึ ษามาก๔ วิริยารัมภะ ปรารภความเพียร๕ ปัญญา รอบรู้ส่ิงที่ควรรู้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 39

องค์แห่งภกิ ษุใหม่ ๕ อย่าง๑ สารวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อที่พระพทุ ธเจ้าห้าม ทาตามข้อท่ีพระองค์ อนุญาต๒ สารวมอินทรี คือ ระวงั ตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ไม่ให้ความยินดียินร้าย ครอบงาได้ ในเวลาท่ีเห็นรูปด้วยนยั น์ตาเป็ นต้น๓ ความเป็ นคนไม่เอิกเกริกเฮอา๔ อย่ใู นเสนาสนะอนั สงดั๕ มีความเห็นชอบ ภิกษุใหม่ควรตงั้ อย่ใู นธรรม ๕ อย่างจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 40

องค์แห่งธรรมกถึก คือ นักเทศก์ ๕ อย่าง๑ แสดงธรรมไปตามลาดบั ไม่ตดั ลดั ให้ขาดความ๒ อ้างเหตผุ ลแนะนาให้ผ้ฟู ังเข้าใจ๓ ตงั้ จิตเมตตาปรารถนาให้เป็ นประโยชน์แก่ผ้ฟู ัง๔ ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ๕ ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผ้อู ่ืน คือว่า ไม่ยกตนเสียดสีผ้อู ื่น ภิกษุผ้เู ป็ นธรรมกถึก พงึ ตงั้ องค์ ๕ อย่างนีไ้ ว้ในตนจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 41

ธัมมสั สวนานิสงส์ คอื อานิสงส์แห่งการฟัง ๕ อย่าง ๑ ผ้ฟู ังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งท่ียงั ไม่เคยฟัง ๒ ส่ิงใดเคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชดั ย่อมเข้าใจสิ่งนนั้ ชดั ๓ บรรเทาความสงสยั เสียได้ ๔ ทาความเห็นให้ถกู ต้องได้ ๕ จิตของผ้ฟู ังย่อมผ่องใสจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 42

พละ คอื ธรรมเป็ นกาลัง ๕ อย่าง๑ สัทธา ความเชื่อ๒ วิริยะ ความเพียร๓ สติ ความระลกึ ได้๔ สมาธิ ความตงั้ ใจมนั่๕ ปัญญา ความรอบรู้อินทรี ๕ ก็เรียก เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 43

นิวรณ์ ๕ กามฉันทะ ความพอใจ ติดใจ หลงใหลใฝ่ ฝัน ในกามโลกีย์ทงั้ ปวงดจุ คนหลบั อยู่ พยาบาท ความไม่พอใจ จากความไม่ได้สมดงั ปรารถนาในโลกียะสมบตั ิทงั้ ปวง ดจุ คนถกู ทณั ท์ทรมานอยู่ ถีนมิทธะ ความขีเ้ กียจ ท้อแท้ อ่อนแอ หมดอาลยั ไร้กาลงั ทงั้ กายใจไม่ฮึกเหิม อุทธัจจะกุจจะ ความคิดส่ายตลอดเวลาไม่สงบน่ิงในความคิดใดๆ วิจิกิจฉา ความไม่แน่ใจ ลงั เลใจ สงสยั กงั วล กล้าๆ กลวั ๆ ไม่เต็มท่ีไม่มน่ั ใจจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 44

รูป ขันธ์ ๕เวทนาสัญญา ที่อาศยั อย่ขู องจิตสังขาร ระบบรับวิญญาณ ระบบจา ระบบคิดปรุงแต่ง ระบบรู้ จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 45

ฉักกะ คือ หมวด ๖จดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 46

คารวะ ๖ อย่าง (๑) ๑.พุทธคารวตา หมายถึง ความเคารพนบั ถือพระพทุ ธเจ้าด้วยการกราบไหว้บูชา ตงั้ ใจปฏิบตั ิตามคาสอน ๒.ธัมมคารวตา หมายถึง ความเคารพนบั ถือพระธรรมด้วยการตงั้ ใจศกึ ษาเล่าเรียน ที่เรียกว่า ปริยตั ิสทั ธรรม ๓.สังฆคารวตา หมายถึง ความเคารพนบั ถือพระสงฆ์ด้วยการกราบไหว้ แสดงกิริยาท่ีนอบน้อมต่อท่านจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 47

คารวะ ๖ อย่าง (๒) ๔.สิกขาคารวตา หมายถึง ความเคารพเอือ้ เฟื อ้ ในการศกึ ษาด้วยกาตงั้ ใจใฝ่ ศึกษา ๕.อัปปมาทคารวตา หมายถึง ความเคารพเอือ้ เฟื อ้ ในความไม่ประมาทด้วยการไม่เป็ นผ้เู ลินเล่อเผลอสติ ๖.ปฏิสันภารคารวตา หมายถึง ความเคารพเอือ้ เฟื อ้ ในการทาปฏิสนั ถารด้วยการไม่ทาตนให้เป็ นคนใจแคบ ต้อนรบผ้มู าเยือนด้วยอธั ยาศยัไมตรีท่ีดีงามจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนทฺ โสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 48

สาราณิยธรรม ๖ อย่าง(๑)๑. เข้าไปตัง้ กายกรรมประกอบด้วยเมตตา ในเพ่ือนภิกษุสามเณรทัง้ต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยขวนขวายกิจธุระของเพ่ือนกันด้วยกาย มีพยาบาลภกิ ษุไข้เป็ นต้น ด้วยจิตเมตตา๒. เข้าไปตัง้ วจีกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพ่ือนภิกษุสามเณรทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง คือ ช่วยขวนขวายในกิจธุระของเพ่ือนกันด้วยวาจาเข่นกล่าวคาส่ังสอนเป็ นต้น ด้วยจิตเมตตา๓. เข้าไปตัง้ มโนกรรมประกอบด้วยเมตตาในเพ่ือนภิกษุสามเณรทัง้ต่อหน้าและลับหลัง คือคิดแต่ส่ิงท่ีเป็ นประโยชน์แก่เพ่ือนกันจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผ่เงนิ โชตนาราม 49

สาราณิยธรรม ๖ อย่าง(๒)๔. แบ่งปันลาภท่ีตนได้มาแล้วโดยชอบธรรมให้แก่เพ่ือนภกิ ษุสามเณร ไม่หวงไว้บริโภคจาเพาะผู้เดียว๕. รักษาศีลบริสุทธ์ิเสมอกันกับเพ่ือนภกิ ษุสามเณรอ่ืนๆ ไม่ทาตนให้เป็ นท่ีรังเกียจของผู้อ่ืน๖. มีความเห็นร่วมกันกับภิกษุสามเณรอ่ืนๆ ไม่วิวาทกับใครๆ เพราะมีความเห็นผิดกันจดั ทาโดย พระธีรวฒั น์ จนฺทโสภโณ วดั ไผเ่ งนิ โชตนาราม 50