Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลครูผู้สอนคณิตศาสตร์ดีเด่น ปี2565

รายงานผลครูผู้สอนคณิตศาสตร์ดีเด่น ปี2565

Published by ยามีละห์ สุกี, 2022-07-03 03:19:04

Description: รายงานผลครูผู้สอนคณิตศาสตร์ดีเด่น ปี2565

Search

Read the Text Version

-ก- คำนำ เอกสารรายงานประวตั ิและผลงาน การปฏิบัตติ นและผลการจัดการเรยี นรเู้ ล่มน้ี จัดทำขึ้นเพือ่ เสนอผล การจดั การ เรียนการสอน การส่งเสรมิ พัฒนาผเู้ รียน ตลอดจนการปฏบิ ัตงิ านและการพัฒนาตนเองของครูและ บคุ ลากรทางการศึกษา เพื่อประกอบการพิจารณาการประเมนิ คัดเลอื กรางวลั ครูผู้สอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ดีเด่น ประจำปี ๒๕๖5 ซง่ึ รายงานการปฏิบตั ิงาน การปฏบิ ัติตนและผลการจดั การเรียนร้เู ปน็ การ นำเสนอผลการ ปฏิบตั งิ านในสถานศกึ ษา ทั้งนี้เพือ่ เปน็ การทบทวนและพฒั นาตนเองเพื่อปรบั ปรุงพัฒนาการ จัดการเรยี นร้ตู อ่ ไป ขอขอบพระคณุ ผูบ้ ริหาร นกั เรยี น เพ่อื นครู ทมี่ สี ว่ นเกี่ยวข้อง ช่วยเหลอื สนับสนนุ ใหก้ าร ดำเนนิ งานของ ขา้ พเจ้าในรอบปที ่ีผา่ นมาประสบผลสำเรจ็ ดว้ ยดี และหวังวา่ เอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ตอ่ ผทู้ ี่สนใจศึกษาและพฒั นา ตนเองอีกทางหน่ึงดว้ ย นางสาวยามลี ะห์ สุกี

-ข- หนา้ 1 สารบญั 24 แบบรายงานประวตั ิและผลงาน 25 แบบสรปุ ชื่อผลงานนวัตกรรมของผู้ท่จี ะเสนอขอรับรางวลั ครูผู้สอนดเี ดน่ ประจำปี 2565 (เอกสารหมายเลข 1) 26 แบบเสนอผลงานนวตั กรรม หรือการปรับปรุงพัฒนาการเรียน การสอน 27 แบบตรวจสอบเอกสารประกอบการเสนอประวตั แิ ละผลงาน นวัตกรรม เพื่อพิจารณาคัดเลือกรางวลั ครผู ู้สอนดเี ด่น ประจำปี 2565 ภาคผนวก

-1- แบบรายงานประวตั ิและผลงาน เสนอเพื่อพิจารณาคัดเลือกรับรางวัลครูผูส้ อนดีเดน่ ประจำปี ๒๕๖5 ประเภทครผู ู้สอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรด์ ีเดน่ ตอนที่ ๑ ข้อมูลเบอื้ งต้นของผเู้ สนอขอรบั รางวัล ๑. ชอื่ นางสาวยามีละห์ นามสกลุ สกุ ี 2. เลขทบี่ ัตรประจำตวั ประชาชน 3 9 6 0 5 0 0 8 4 9 2 2 2 เลขท่ีใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครู 6 4 4 0 1 7 8 1 0 5 3 0 3 3 ออกให้ ณ วนั ที่ 5 มิถุนายน 2564 หมดอายุ ณ วันที่ 4 มิถนุ ายน 2569 ๓. ขอ้ มูลสว่ นบุคคล ๓.๑ เกิดเม่ือวันที่ 17 เดือนกรกฎาคม พ.ศ.2526 ๓.๒ ปัจจบุ นั อายุ 38 ปี ๓.๓ ทอี่ ย่ทู ต่ี ิดต่อได้สะดวกเลขท่ี 308 ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวดั นราธิวาส รหสั ไปรษณยี ์ 96130 โทรศพั ท์ - โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี 092-7259819 โทรสาร - e-mail address [email protected] ๓.๔ วนั ท่เี ร่มิ ปฏบิ ัตหิ น้าที่ครู 1 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2550 ๓.๕ ประสบการณ์การสอน รวมเป็นเวลา 14 ปี 11 เดอื น ๓.๖ ตำแหนง่ หนา้ ท่ใี นปัจจุบนั ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ โรงเรยี นอนบุ าลระแงะ ๓.๗ สถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลระแงะ สงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 ตำบล ตนั หยงมสั อำเภอ ระแงะ จงั หวดั นราธวิ าส รหัสไปรษณยี ์ 96130 โทรศพั ท์ 073-671012 โทรสาร - ๓.๘ ประวัตกิ ารศกึ ษา วฒุ กิ ารศกึ ษา วิชาเอก/โท/ ปีทส่ี ำเร็จการศกึ ษา สถาบนั การศกึ ษา สาขา วทิ ยาศาสตรบัณฑิต 2549 มหาวิทยาลัยทกั ษิณ ประกาศนยี บัตรบัณฑติ คณิตศาสตร์ 2550 มหาวิทยาลัยทักษณิ การศึกษามหาบัณฑติ 2558 มหาวิทยาลัยทักษณิ ทางการสอน การวจิ ัยและ ประเมนิ

-2- ๔. ประวัตกิ ารทำงาน (เฉพาะตำแหน่งทส่ี ำคญั ) วนั – เดอื น - ปี ตำแหนง่ สอนช้นั /ระดับ สถานทท่ี ำงาน 1 พฤษภาคม 2550 ครูผชู้ ่วย ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4-5 โรงเรียนอนุบาลระแงะ 1 พฤษภาคม 2552 ครู ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3,6 โรงเรียนอนบุ าลระแงะ 5 มนี าคม 2556 ครูชำนาญการ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5-6 โรงเรยี นอนุบาลระแงะ 18 เมษายน 2560 ครูชำนาญการพเิ ศษ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5-6 โรงเรยี นอนบุ าลระแงะ ๕. ประวัตกิ ารสอนของครูผสู้ อน ๕.๑ เร่ิมสอนครง้ั แรก เม่ือวนั ท่ี 1 เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2550 ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 – 5 สถานศึกษา โรงเรยี นอนุบาลระแงะ ตำบลตนั หยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส สังกดั (ระดับกรมหรือเทียบเท่า) สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ๕.๒ ปจั จบุ ันสอนระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 5-6 สถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลระแงะ ตำบล ตนั หยงมัส อำเภอ ระแงะ จังหวดั นราธิวาส รหัสไปรษณีย์ 96130 โทรศพั ท์ 073-671012 โทรสาร - ๖. การพัฒนาวชิ าชีพในรอบ ๕ ปี (ประสบการณ์ การฝกึ อบรม การเปน็ สมาชิกองคก์ รวิชาชีพ การมีสว่ นร่วมด้านวิชาชีพฯ) เพมิ่ เตมิ * โปรดแนบหลักฐาน เช่นเกียรตบิ ัตร/ภาพถ่าย/หนังสอื รับรอง ทเี่ กย่ี วข้องกบั นวัตกรรมทีข่ อเสนอ (เนน้ ว่าทเ่ี กยี่ วข้องเทา่ นนั้ ) ที่ วนั /เดอื น/ปี หวั ข้อในการอบรมพัฒนา จัดโดยหน่วยงาน เอกสาร/ ท่ีไดร้ ับการอบรมพัฒนา หลกั ฐาน 1 4-6/8/2561 อบรมคปู องครู เรื่อง กิจกรรมเกม วุฒิบตั ร คณิตศาสตร์ดว้ ย Hands on บริษทั นานมีบุ๊ค จำกัด 2 21-22/9/2561 สาธิตการสอนคณติ ศาสตร์ ชั้น สำนักงานเขตพ้ืนท่ี ภาพถา่ ย ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 การศึกษาประถมศึกษา นราธิวาส เขต 3 3 9-11/4/2562 วิทยากร การออกแบบการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หนังสอื ราชการ จดั การเรียนรู้สำหรับครสู อนไม่ ยะลา ตรงวุฒิ 4 25-27/4/2562 ปฏบิ ัตงิ านหัวหนา้ ครพู ่ีเลยี้ งการ โรงเรียนอนบุ าลระแงะ ภาพถา่ ย อบรมครดู ้วยระบบทางไกล หลกั สูตรฝกึ อบรมสะเต็มศกึ ษา 5 18/6/2562 รับการนิเทศการจดั การเรียนรู้ ผตู้ รวจราชการ ภาพถ่าย จาก ดร.พรี ศักด์ิ รัตนะ ผตู้ รวจ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร

-3- ที่ วนั /เดอื น/ปี หวั ข้อในการอบรมพัฒนา จดั โดยหนว่ ยงาน เอกสาร/ ท่ไี ด้รบั การอบรมพัฒนา หลักฐาน 6 29-30/6/2562 วิทยากรวเิ คราะห์โจทย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หนังสอื ราชการ O-NET ยะลา 7 2-23/7/2562 คณะทำงานและศึกษาวิจยั เร่ือง สำนกั งานศึกษาธกิ าร เกียรตบิ ัตร สภาพและปัญหาการเรยี นการ ภาค 7 สอนครติ ศาสตร์ในโรงเรยี น ประถมศึกษาพื้นที่ 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส) ประจำปี งบประมาณ 2562 8 6/8/2562 เข้าร่วมกจิ กรรมครตู น้ แบบ One สำนักงานศึกษาธิการ เกียรติบตั ร teacher เพือ่ พัฒนาทกั ษะการ ภาค 7 ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียน การสอน 9 7/8/2562 เข้ารว่ มเสวานาวชิ าการสำหรบั สำนักงานศึกษาธิการ เกยี รตบิ ตั ร ผบู้ รหิ าร เร่อื ง “การศึกษา ภาค 7 ชายแดนใต้ บรบิ ท บริการ กับ การบรหิ ารที่ทา้ ทาย 10 9-10/8/2562 คณะกรรมการออกแบบทดสอบ สำนกั งานศึกษาธกิ าร คำส่ัง วิชาเอกคณิตศาสตรใ์ นการสอบ จงั หวัดนราธิวาส คัดเลือกบุคคลเพอ่ื เขา้ รับราชการ ตำแหน่งครูผ้ชู ว่ ย กรณพ์ ิเศษ 11 16/8/2562 วิทยากรการวิเคราะห์โจทย์ สำนักงานเขตพ้นื ที่ หนงั สือเชิญ O-NET ป.6 การศกึ ษาประถมศกึ ษา นราธวิ าส เขต 3 12 17-18/8/2562 วิทยากรการผลติ ส่อื การเรยี นรู้ สำนักงานเขตพน้ื ที่ ภาพถ่าย คณติ ศาสตร์ ป.1 การศกึ ษาประถมศึกษา นราธวิ าส เขต 3 13 7/9/2562 เสวนาทางวิชาการ และเผยแพร่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ ภาพถ่าย ผลงาน นวตั กรรมทางการศึกษา ยะลา 14 29-30/10/2562 วิทยาอบรมส่ือสามมิติสำหรบั ครู สำนักงานเขตพืน้ ที่ ภาพถ่าย ภาษาองั กฤษ การศกึ ษาประถมศกึ ษา นราธวิ าส เขต 3 15 17/12/2562 วิทยากรอบรมการจัดทำ กลมุ่ โรงเรียนซาเบ็ง 2 ภาพถ่าย หลกั สูตรสถานศกึ ษาและเอกสาร สพป.นราธิวาส เขต 1 ประกอบหลักสูตร 16 4/2/2563 วิทยากรโครงการตเิ วข้มเตมิ เต็ม กศน.อำเภอระแงะ ภาพถา่ ย ความรู้

-4- ท่ี วนั /เดอื น/ปี หวั ข้อในการอบรมพัฒนา จัดโดยหน่วยงาน เอกสาร/ ทไ่ี ด้รับการอบรมพฒั นา หลักฐาน 17 18-20/3/2563 เหรยี ญเงินครผู สู้ อนยอดเยี่ยม สำนักงาน เกยี รตบิ ตั ร ระดบั ประถมศึกษา บูรณาการ คณะกรรมการ ดา้ นบริหารจัดการโครงการ การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ประกวดหนว่ ยงานและผู้มี ผลงานดีเดน่ ประสพผลสำเรจ็ เป็นที่ประจกั ษเ์ พอื่ รงั ราวลัทรง คณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครัง้ ท่ี 9 ประจำปีการศึกษา 2562 ระดบั ภาคใต้ 18 29/5/2563 ไดร้ ับการคัดเลือกเปน็ ผทู้ ีม่ ี จังหวดั นราธวิ าส ประกาศ ผลงานดีเด่นของจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ประจำปี พ.ศ.2562 19 13/8/2563 รบั การนเิ ทศการจัดการเรียนรู้ ผตู้ รวจราชการ ภาพถ่าย/ จาก ดร.พีรศกั ด์ิ รตั นะ ผ้ตู รวจ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร บันทึกการ ราชการกระทรวงศึกษาธิการ นิเทศ 20 3/9/2563 คณะตรวจเย่ียมโรงเรยี นบา้ น สำนกั ตรวจราชการ หนังสือราชการ ไอร์โซ อำเภอจะแนะ จังหวัด และตดิ ตามประเมนิ ผล นราธวิ าส สำนกั งาน ปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการ 21 29-30/9/2563 ผทู้ รงคุณวฒุ ิยกรา่ งหลักสูตรเพ่ือ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั หนงั สือราชการ ยกระดับคะแนน (o-NET) กลุ่ม ยะลา สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 5-6 22 9-27/10/2563 Course on STEM for SEAMEO Regional วฒุ ิบตั ร Mathematics Learning for Center foe QITEP in Primary School Teacher Mathematics 23 15/11/2563 ผู้สนับสนุนและร่วมจัดสอบ TEDET เกียรติบตั ร ประเมนิ โครงการประเมนิ และ พัฒนาสู่ความเป็นเลศิ ทาง คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (TEDET) ประจำปี 2563 24 29-30/11/2563 วิทยากรอบรมเชงิ ปฎบิ ัตกิ าร สำนกั งานเขตพื้นท่ี เกยี รตบิ ัตร การใชผ้ ลการทดสอบระดับชาติ การศึกษาประถมศึกษา ในการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ นราธิวาส เขต 3 ทางการเรียนของนักเรียน ประจำปีการศึกษา 2563

-5- ท่ี วัน/เดือน/ปี หวั ข้อในการอบรมพฒั นา จัดโดยหนว่ ยงาน เอกสาร/ ทไี่ ดร้ บั การอบรมพัฒนา หลกั ฐาน 25 19/12/2563 รางวลั ครูดีมคี ุณธรรมจรยิ ธรรม องค์กรสโมสรพ่อแห่ง โล่ห์/เกยี รติ ตามรอยศาสตรพ์ ระราชา ประเทศไทย บัตร 26 16/1/2564 ครดู ีในดวงใจ ประจำปี พ.ศ. สำนักงาน โล่ห/์ เกียรติ 2564 คณะกรรมการ บัตร การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 27 15-19/2/2564 จัดการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ในการ มหาวิทยาลัยราชภัฎ หนงั สอื ราชการ วิเคราะห์โจทย์ (O-NET) ยะลา ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5-6 28 22/2/2564 วทิ ยากรการจัดกจิ กรรมติวเข้ม โรงเรียนบ้านลโู บะ๊ กา เกียรติบตั ร เติมเต็มความรูใ้ ห้กับนักเรียนชนั้ เยาะ สำนกั งานเขต ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ในวิชา พืน้ ที่การศึกษา คณิตศาสตร์ ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 29 3/5/2564 International Webinar : SEAMEO QITEP in เกียรตบิ ัตร Contribution and Impacts Mathematics of SEAMEO Centres- Indonesia on Education in Indonesia and Southeast Asia 30 24-25/5/2564 วทิ ยากรอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารผลติ โรงเรียนบ้านบกู ติ เกียรติบัตร ส่ือเพื่อพัฒนาทักษะคดิ คำนวณ สำนกั งานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษา นราธวิ าส เขต 3 31 3/6/2564 International Webinar Series SEAMEO QITEP in เกียรติบตั ร : How to Better Harness the Mathematics Potential of Technology in Learning Mathematics 32 14-15/8/2564 อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนา สำนักงาน วฒุ ิบัตร ทักษะการเรียนรรู้ ปู แบบ คณะกรรมการ ออนไลน์ สำหรับครูสงั กดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน สำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 33 7/9/2564 โครงการพัฒนาทักษะศักยภาพ สำนักงานเขตพ้ืนที่ เกยี รติบตั ร ครูดา้ นผลติ สือ่ ดิจิทัลและการ การศึกษาประถมศึกษา ประยุกต์ใชส้ ่ือเพ่ือจดั การเรยี น นราธวิ าส เขต 3 ผ่าน Application Zoom 34 16/1/2565 รางวัลพระพฤหัสบดี ประเภท สำนกั งาน เกยี รติบตั ร บุคคล กลุ่มครูและคณาจารย์ คณะกรรมการสง่ เสรมิ ระดบั จงั หวดั โครงการรางวัล สวัสดิการและสวัสดิ

-6- ที่ วัน/เดอื น/ปี หัวข้อในการอบรมพฒั นา จัดโดยหนว่ ยงาน เอกสาร/ ท่ไี ดร้ บั การอบรมพัฒนา หลกั ฐาน พระพฤหัสบดี ประจำปี พ.ศ. ภาพครูและบุคลากร 2564 ทางการศึกษา 35 23/1/2565 รบั รางวลั ในการอบรมหลักสูตร สำนกั งาน วุฒิบัตร Holistic School Safety ระดบั คณะกรรมการ ประถมศึกษาตอนปลาย การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กจิ กรรมการประยุกตใ์ ช้แนวการ ร่วมกับมหาวิทยาลัย สอน “ การคดิ เชงิ คำนวณ” ราชภฎั นครราชสีมา 36 18/4/2565 รองชนะเลิศเหรยี ญทอง สำนกั งาน ประกาศ ครผู ู้สอนยอดเยยี่ ม Active คณะกรรมการ Teacher ระดบั ประถมศกึ ษา การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพอื่ การเรียนการสอน โครงการ ประกวดหนว่ ยงานและผมู้ ี ผลงานดีเดน่ ประสพผลสำเรจ็ เป็นที่ประจักษเ์ พอื่ รงั ราวลัทรง คณุ ค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) คร้งั ที่ 10 ประจำปีการศกึ ษา 2563 ระดับชาติ ๗. ผลงานเพื่อพิจารณาตามหลกั เกณฑ์ที่ประกาศกำหนดฯ ในขอ้ 5 ข้อ ๕.1(2) และ 5.2 7.1 ด้านการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนจัดกระบวนการโดยยึดหลักว่า นักเรียนต้องมีความสุข สนุก และมีสาระ นั่นคือ 3ส พิชิต คณติ ศาสตร์ น่นั คอื 1) สุข การเอาใจใสด่ ูแลนักเรียนเปน็ รายบุคคล โดยการวเิ คราะห์นกั เรยี นเพื่อจัดการเรียน การสอนให้เหมาะสม ตอบสนองกับความต้องการและวัยของนักเรียน 2) สนุก ปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน โดยการให้นักเรียนได้ทดลองผ่านกระบวนการกลุ่ม ซึ่งเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูออกแบบเชื่อมโยงกับ สถานการณ์ในชวี ิตจรงิ และฝึกฝนการสรา้ งองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ซึง่ ครผู ู้สอนจะใช้รูปแบบ เทคนคิ วธิ ีการสอน ที่หลากหลาย เช่น ABL Hands-on PBL BBL RBL เป็นต้น นอกจากนี้ ครูผู้สอนจะยึดในการเรียนการสอน หลักๆ คอื ของจรงิ (Concrete) รูปภาพ (Picture) และ สญั ลักษณ์ (Abstract) ซึ่งสอดคลอ้ งกับทฤษฎีของบ รูเนอร์ 3) สาระ ครูผู้สอนยึดหลักเสมอว่า เรียนคณิตศาสตร์ให้สนุกและมีความหมาย ( Learning Mathematics Joyfully and Meaningfully) พัฒนาสร้างเสริมทักษะสู่ผู้เรียนให้เป็นคนดี คนเก่ง มี คุณธรรม อยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสุข โดยผลการพัฒนาการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยใช้ “3ส พชิ ิตคณติ ศาสตร”์ มดี ังนี้ 1. นักเรียนที่ได้เรียนรู้ตาม“3ส พิชิตคณิตศาสตร์” มีความสุข สนุกสนาน และมีส่วนร่วมในการ จัดการเรียนรู้ สามารถสรุปองค์ความรู้ได้เป็นอยา่ งดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 2. นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงขึ้น ดงั นี้

-7- ปี จำนวน จำนวนนกั เรียนทไ่ี ดร้ ะดับผลการเรยี น / ผลการ จำนวน รอ้ ยละที่ คะแนน นักเรียนท่ไี ด้ ได้ระดบั ดี เฉลี่ย การศึกษา นักเรียน ประเมนิ ระดบั ดีขึ้นไป ขึ้นไป รอ้ ยละ 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 49 2563 70 24 10 15 10 8 3 0 55 70.00 79.11 2564 57 29 16 10 2 0 0 0 96.49 79.45 3. นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 มผี ลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั น้ี ปี จำนวน จำนวนนักเรียนท่ีได้รับการประเมิน จำนวนนักเรียนท่ี ร้อยละที่ได้ การศกึ ษา นักเรียน ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น ไดร้ ะดบั ดีขึ้นไป ระดบั ดขี น้ึ ไป 2563 70 63 7 0 0 70 100 2564 57 57 0 0 0 57 100 4. นักเรียนชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผลการประเมนิ การอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียน ดงั นี้ ปี จำนวน จำนวนนกั เรียนท่ไี ดร้ บั การประเมิน จำนวนนกั เรยี นที่ รอ้ ยละทไ่ี ด้ การศกึ ษา นักเรยี น ดีเย่ียม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน ได้ระดับดขี น้ึ ไป ระดบั ดีขน้ึ ไป 2563 70 49 14 7 0 63 90.00 2564 57 29 23 5 0 52 91.23 5.ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ลำดบั รายการ ความคดิ เห็น แปล ลำดับ ผล ที่ ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ x S.D. มาก (3) 1 การกระตุ้นใหน้ ักเรยี นอยากเรียนรู้ มาก 10 2 นักเรียนเรียนรู้อย่างมีความสขุ 4.10 0.81 มาก 13 3 นักเรยี นชอบอภิปรายและแลกเปลีย่ นความรู้ 4.15 0.85 มาก 15 กบั เพื่อนๆ 4.04 0.74 4 นักเรียนมสี ่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมการ 3.85 0.89 มาก 12 เรียนรรู้ ่วมกบั ครู 5 นักเรียนชอบวธิ กี ารเรยี นรู้ 4.07 0.90 มาก 5 มาก (2) ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.37 0.67 มาก 3 6 กิจกรรมการเรียนรูม้ ีความท้าทายทำให้ 4.31 0.71 ที่สุด นักเรยี นตอ้ งหาคำตอบและวธิ ีการแกป้ ัญหา 4.59 0.49 ดว้ ยตนเอง มาก 7 7 กจิ กรรมการเรียนรทู้ ำให้นักเรียนได้พฒั นา 4.26 0.80 การศึกษาคน้ ควา้ รวบรวมข้อมูลและทำ ความเข้าใจเน้ือหาดว้ ยตนเอง

-8- ลำดบั รายการ ความคดิ เห็น แปล ลำดับ ผล ที่ 8 กิจกรรมการเรยี นรทู้ ำใหน้ ักเรียนมอี สิ ระใน x S.D. มาก 2 การเรียนรู้ และพฒั นาการทำงานเปน็ กล่มุ ท่ีสุด 4.63 0.55 มาก (1) ด้านประโยชนท์ ่ีไดร้ บั มาก 4 11 นกั เรยี นได้พัฒนาทักษะการแกป้ ัญหา 4.33 0.66 มาก 11 12 นักเรียนสามารถติดต่อส่ือสารกบั กลมุ่ เพอื่ น 4.44 0.74 4.07 0.72 มาก 1 ครู และบคุ คลอ่นื ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ท่สี ดุ 13 นกั เรยี นมคี วามเปน็ ผู้นำ ผตู้ ามและ 4.70 0.46 มาก 9 พัฒนาการทำงานโดยใช้กลุ่ม 4.15 0.65 มาก 6 14 นักเรยี นสามารถแสดงความคิดเห็นอย่าง 4.26 0.75 มาก สร้างสรรค์ มเี หตุผลและยอมรบั ความ คิดเหน็ ของผู้อื่น 4.24 0.73 15 นักเรียนสามารถนำกระบวนการแกป้ ัญหา ไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวัน เฉล่ยี ๗.2 ดา้ นผลงานนวตั กรรม (เปน็ นวัตกรรมท่ีใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้กบั ผเู้ รียน) 1. มีนวัตกรรมในการพัฒนาผเู้ รียนท่สี อดคล้องหรอื เก่ยี วข้องกบั เร่ืองทเี่ สนอขอรับรางวัลโดยสามารถเสนอ นวตั กรรมในลักษณะรปู แบบ วิธกี าร สงิ่ ของหรือส่ิงประดิษฐ์ และงานวิจัย เอกสารหรอื บทความวิชาการท่ีไดร้ บั การตีพมิ พ์ เช่น รปู แบบการสอน รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ ชดุ การเรยี นรู้ ชดุ กจิ กรรม ตำรา แบบเรียน บทความทางวิชาการ งานวิจัย ฯลฯ 1.1 ชือ่ นวัตกรรม การพัฒนาการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 โดยใช้ “3ส พิชติ คณิตศาสตร”์ 1.2 มูลเหตุจงู ใจในการสร้างนวตั กรรม การศกึ ษาเป็นตัวแปรสำคัญ ท่ีจะชว่ ยให้เด็กไดม้ ที ักษะพน้ื ฐานทส่ี ำคญั ในการคดิ ได้อย่างถูกต้อง และมคี วามหมายประเทศใดก็ตามถา้ คนในประเทศรจู้ ักคดิ คิดได้อยา่ งถกู ต้องและมีความหมายย่อมทำให้ ประเทศนั้นมกี ารพัฒนาอย่างรวดเรว็ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2543 : คำชีแ้ จง) ซ่งึ สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ ารในการพฒั นาเยาวชนของชาติเขา้ สโู่ ลกยุคศตวรรษท่ี 21 โดยมุง่ สง่ เสริมผเู้ รียนมีคณุ ธรรม รกั ความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวเิ คราะห์ สรา้ งสรรค์ มีทักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทำงานรว่ มกับผูอ้ ่นื และสามารถอยรู่ ว่ มกบั ผ้อู นื่ ในสังคมโลกได้อยา่ งสันติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. 2552 : 1) คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตุผล เป็นระเบียบ มีแบบแผน สามารถคิดวิเคราะหป์ ัญหาสถานการณ์ ได้อย่างถี่ถ้วน รอบคอบ ทำให้ สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแก้ปัญหาได้ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังเป็นเครื่องมือในการศึกษา วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอ์ นื่ ๆ ที่เกี่ยวข้องคณิตศาสตรจ์ งึ มีประโยชน์ต่อการดำรงชวี ติ และช่วยพัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นนอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์สามารถคิดเป็น ทำเป็นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ. 2552 : 1) ซึ่งสอดคล้องกับ ยุพิน พิพิธกุล (2546 : 3) ที่กล่าวไว้ว่าคณิตศาสตร์มีความ จำเปน็ อยา่ งยิ่งสำหรับการดำรงชวี ิต และก้าวเขา้ สยู่ ุคโลกาภิวัฒนเ์ พราะคณิตศาสตรเ์ ปน็ วิชาที่สร้างสรรค์มนุษย์ ให้มกี ระบวนการคิด และเหตุผล ฝกึ คดิ อย่างมีระเบยี บและเป็นรากฐานของวทิ ยาการหลายสาขา ดงั นั้น การนำ

-9- ความรูท้ างคณิตศาสตร์ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน ต้องอาศยั กระบวนการคิดท่ีแปลกใหม่เปน็ ความคิดรเิ ริ่มไม่ติดอยู่ใน กรอบประกอบกับการคิดและมีความคิดที่ยืดหยุ่นเพื่อให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยกระบวนการคิดนี้จะเป็นไป ในทางสรา้ งสรรค์ตอ่ ตนเองและสงั คม สามารถใช้แกป้ ญั หาอยา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ได้ โรงเรยี นอนุบาลระแงะ อำเภอระแงะ จังหวดั นราธิวาส เปิดทำการเรยี นการสอนตงั้ แตร่ ะดับชั้น อนุบาลปที ่ี 1 ถงึ ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 จดั การศึกษาตามโครงสรา้ งหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนแตล่ ะวิชาโดยเฉพาะวชิ าคณิตศาสตร์ ครูต้องจดั กระบวการเรยี นการสอนโดยเนน้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ จากประสบการณ์โดยตรงของผู้รายงาน ในการจัดการเรยี นการสอนวิชาคณิตศาสตรช์ ้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ได้พบปัญหาในการจัดการเรียนการสอน คณติ ศาสตร์ คอื นักเรยี นไม่สามารถเชอ่ื มโยงความรู้คณติ ศาสตร์กับชวี ติ จรงิ ไม่เขา้ ใจเนื้อหาอยา่ งแท้จรงิ ไม่ สามารถแกโ้ จทยป์ ัญหา เช่น การหาความยาวรอบรูปและพ้ืนทีข่ องรูปสามเหล่ียม รปู ส่ีเหลีย่ ม และวงกลม เป็นต้น สง่ ผลให้นกั เรยี นไม่มคี วามสขุ ความสนกุ สนาน และได้องค์ความรทู้ คี่ งทนในการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ จากเหตุผลดังกลา่ ว ทำใหข้ า้ พเจ้าได้ศกึ ษาคน้ คว้าเอกสาร งานวจิ ยั และเขา้ รบั การอบรมพัฒนาตนเอง ได้คิดค้นรูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จนได้โมเดล “ 3 ส พิชิต คณติ ศาสตร์” ในการพฒั นาการเรยี นการสอน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตรต์ อ่ ไป 1.3 กระบวนการในการออกแบบและสร้างนวตั กรรม ผูส้ อนได้ใช้ประยุกตใ์ ช้ทฤษฎีการเรยี นรูข้ องบรเู นอร์ (Bruner, 1956) ทีส่ บื สานความคิดของเพีย เจต์ โดยเช่ือว่าพฒั นาการและการเรยี นรู้ของเดก็ เกดิ จากกระบวนการภายในอนิ ทรีย์ (Organism) เนน้ ความสำคัญของสิ่งแวดลอ้ มและวฒั นธรรมท่แี วดลอ้ มเด็ก ซง่ึ จะพัฒนาได้ดีเพียงใดนั้นข้ึนอยกู่ บั ประสบการณ์ และสิง่ แวดล้อมรอบตัวเด็ก และช้ใี หเ้ หน็ วา่ การศึกษาวา่ เด็กเรยี นร้อู ย่างไร ควรศึกษาตวั เดก็ ในชนั้ เรียนไม่ควร ใชห้ นูและนกพิราบ ทฤษฎขี องบรเู นอร์เน้นหลกั การ กระบวนการคดิ ซ่งึ ประกอบดว้ ย ลักษณะ 4 ข้อ คอื แรงจงู ใจ (Motivation) โครงสร้าง (Structure) ลำดับข้นั ความต่อเน่ือง (Sequence) และการเสริมแรง (Reinforcement) ใช้หลักการที่เป็นโครงสรา้ งของความรู้ของมนุษย์ บรูเนอร์แบ่งข้นั พัฒนาการคดิ ในการ เรยี นรูข้ องมนุษย์ออกเป็น 3 ข้นั ดว้ ยกัน ซ่งึ คลา้ ยคลึงกบั ข้ันพัฒนาการทางสติปญั ญาของเพียเจต์ ได้แก่ 1. ข้ันการกระทำ (Enactive Stage) เดก็ เรียนรู้จากการกระทำและการสมั ผสั 2. ขั้นคดิ จนิ ตนาการหรือสร้างมโนภาพ (Piconic Stage) เดก็ เกิดความคิดจากการรับรู้ตามความ เปน็ จริง และการคดิ จากจนิ ตนาการดว้ ย 3. ขัน้ ใชส้ ัญลกั ษณแ์ ละคิดรวบยอด (Symbolic Stage) เด็กเรมิ่ เข้าใจเรยี นรู้ความ สมั พนั ธข์ องสิง่ ต่าง ๆ รอบตัว และพฒั นาความคิดรวบยอด เกย่ี วกับสิง่ ท่ีพบเห็น มาเปน็ กรอบในการพัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนท่ีใหน้ ักเรียนได้ปฏบิ ัตแิ ละเรียนรดู้ ้วยการใช้ “ 3 ส พิชิตคณติ ศาสตร์” ซึ่งมรี ายละเอยี ดในการจดั การเรียนการสอนตามกรอบของ Model ดงั น้ี 1.หลกั การพฒั นาการสอน โดยขา้ พเจ้าไดท้ ำการศกึ ษาตามกรอบแผนงานในการพัฒนาการสอน ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ตวั ชี้วดั และ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ดำเนนิ การพฒั นา หลกั สูตรรว่ มกนั คณะครูและบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรยี นอนุบาลระแงะ 1.2. ศึกษานกั เรียนเป็นรายบคุ คล โดยเม่ือสอนไประยะหน่ึงไดท้ ำการคดั กรองนกั เรียนตาม แบบการคดั กรองของกระทรวงศกึ ษาธิการ เพ่ือปรบั เปลยี่ นวธิ กี ารสอนใหเ้ หมะสมกับความสามารถของนักเรยี น รายบุคคล 1.3 ทำการศกึ ษาวิธกี ารสอน Active learning เพือ่ จดั ทำแผนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั นักเรียนในระดับชน้ั ท่ีสอน

-10- 1.4 ออกแบบการจดั การเรยี นการสอนให้สอดคล้องกบั สภาพบริบทของนักเรยี นและชุมชน ซ่งึ ชุมชนตนั หยงมสั เปน็ ชมุ ชนพหวุ ฒั นธรรมดา้ นเช้ือชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี โรงเรยี นใจกลาง อำเภอมเี ศรษฐกิจการค้าขายอยา่ งหลากหลาย ดังน้นั ในฐานะครผู ูส้ อนจะจัดการเรียนการสอนอยา่ งไรให้ นักเรยี นมองเหน็ คุณคา่ ของวิชาคณติ ศาสตร์ที่คนส่วนใหญ่มกั มองวา่ เปน็ วชิ าท่ียาก จงึ ก่อใหเ้ กิดชดุ ฝึกทกั ษะ เรอื่ ง การคูณ การหารเศษสว่ นและจำนวนคละ เพื่อให้นักเรยี นไดเ้ รยี นร้วู ชิ าคณิตศาสตร์สนุกและมีความหมาย มเี จตคติทด่ี ีตอ่ วิชาคณิตศาสตร์ และเหน็ ความสำคัญของการเรียนในระดับทส่ี ูงข้ึน 1.5 แผนการจดั การเรียนรู้ Active learning ในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 และชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 6 จงึ เกิดข้ึนจากการศึกษาบริบทของนักเรียนและชมุ ชน 1.6 การวัดและประเมนิ ผลจากสภาพความเป็นจริงท่หี ลากหลาย 2. กระบวนการจดั กจิ กรรมการ เรยี นรู้ ภายในชน้ั เรียน 3ส พชิ ิต คณติ ศาสตร์ โดยใช้กระบวนการ ดังนี้ ผสู้ อนจัดกระบวนการโดยยึดหลักว่า นกั เรียนต้องมีความสุข สนกุ และมี สาระ น่ันคอื 3ส พชิ ิตคณิตศาสตร์ นั่นคอื 1) สุข การเอาใจใสด่ แู ลนักเรียน เป็นรายบุคคล โดยการวเิ คราะห์ นกั เรียนเพ่ือจดั การเรยี นการสอนให้ เหมาะสม ตอบสนองกับความ ต้องการและวยั ของนักเรยี น 2) สนุก ปรบั วิธีเรียน เปลี่ยนวธิ ี สอน โดยการให้นกั เรียนไดท้ ดลอง ผ่านกระบวนการกลุ่ม ซ่งึ เป็น กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีค่ รูออกแบบ เช่ือมโยงกบั สถานการณ์ในชวี ติ จริง และฝกึ ฝนการสร้างองค์ความรู้ดว้ ย ตนเอง ซ่ึงครผู สู้ อนจะใชร้ ปู แบบ เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย เชน่ ABL Hands-on PBL BBL RBL เป็นต้น นอกจากนี้ ครูผสู้ อน จะยดึ ในการเรยี นการสอนหลักๆ คือ ของจริง (Concrete) รปู ภาพ (Picture) และ สญั ลักษณ์ (Abstract) ซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎี ของบรเู นอร์ 3) สาระ ครผู สู้ อนยึดหลักเสมอวา่ เรยี นคณติ ศาสตร์ใหส้ นกุ และ

-11- มคี วามหมาย (Learning Mathematics Joyfully and Meaningfully) พัฒนาสรา้ งเสรมิ ทักษะสู่ผเู้ รยี นให้ เปน็ คนดี คนเก่ง มีคุณธรรม อยู่รว่ มในสังคมอย่างมีความสุข 3. วิธีการจัดการเรียนการสอน โดยการ จับคูบ่ ัดดนี้ ิเทศเพื่อร่วมวพิ ากษพ์ ัฒนาการสอน สบื ค้น คน้ หา หารอื สู่การออกแบบวิธี ทำได้วิธกี ารสกู่ ารสอนด้วย”พีระมิดแหง่ การเรยี นร้”ู พรอ้ มด้วยสสาธิต แลกเปล่ยี น นิเทศ และ PLC มุง่ มน่ั ทบทวน และสะท้อนผลจากเพ่อื นร่วมงาน นักเรยี นของตนเองเพือ่ พัฒนา วัดประเมินผลประสิทธิภาพของการจัดการเรยี นการสอนโดยการหาเวทใี ห้นกั เรียนได้แสดงความสามารถใน ระดบั ต่าง ๆ ตามความเหมาะสม 1.4 การนำนวตั กรรมสู่การปฏบิ ตั ิ ผู้สอนได้นำกระบวนการสอนดงั กล่าวนไี้ ปจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่หี ลากหลายในช้ันเรยี น ผู้สอนจะให้นกั เรียนเป็นผูม้ บี ทบาทในการจัดการเรยี นการสอน และครูเปน็ ผู้รับฟงั นักเรียนใหม้ ากทส่ี ุด ร่วมทั้ง คอยชีแ้ นะ อำนวยความสะดวกใหก้ ับผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยความสุข สนกุ ในการเรยี น หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา คอยชี้แนะและเป็นทป่ี รกึ ษา รวมถึงตรวจสอบนักเรียนเปน็ รายบคุ คล นักเรยี นฝึกปฏบิ ัติจริงในการคูณเศษส่วน นักเรยี นฝึกปฏบิ ตั ิจริงในการหา ห.ร.ม. นกั เรียนฝึกสรา้ งคค์ วามรเู้ รอื่ ง นักเรยี นชืน่ ชอบและมคี วามสุขในการเรยี น ภาพ/วดิ โี อการเรยี นการสอน คลปิ การเรียนการสอน

-12- 1.4.1 มีกจิ กรรมทเี่ ปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการจดั การเรยี นรู้ ผูส้ อนเปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมีส่วนรว่ มในการจัดการเรยี นรู้ โดยการร่วมแลกเปลยี่ นเรียนรู้ มสี ว่ นใน การนำเสนอผลงานของตนเอง มีสว่ นร่วมในการสร้างองค์ความรู้ มสี ่วนร่วมในการสะท้อนผลในการสอนของ ครผู ูส้ อน หลักฐานประกอบการพจิ ารณา นักเรยี นทำงานกลมุ่ รว่ มแสดงความคิดเหน็ นักเรยี นรว่ มกันนำเสนองานกล่มุ นำเสนอบทเพลงประจำกลุ่มพรอ้ มท่าเต้นกอ่ น นำเสนอผลงาน นกั เรยี นรว่ มกันนำเสนองานกลมุ่ นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการผลติ ส่อื การสอนดว้ ย นำเสนอบทเพลงประจำกลมุ่ พร้อมทา่ เตน้ ก่อน ตนเอง นำเสนอผลงาน นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการนำเสนอวิธคี ิดและแนว นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในชว่ ยสอนเพ่ือนนักเรยี น ทางการแก้ปัญหาผา่ น whiteboard online ดว้ ยกัน

-13-

-14-

-15- 2. มีกิจกรรมการเรยี นร้ทู หี่ ลากหลาย ท้าทาย ผ้สู อนมีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณติ ศาสตร์อย่างหลากหลาย และได้มกี ารจัดทำนวตั กรรม เอกสารประกอบการเรียนในวิชาคณิตศาสตร์เปน็ ประจำทุกปีการศึกษาตลอด โดยใช้ซง่ึ ครผู สู้ อนจะใชร้ ปู แบบ เทคนคิ วธิ ีการสอนที่หลากหลาย เช่น ABL Hands-on PBL BBL RBL เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ครูผู้สอนจะยึดใน การเรียนการสอนหลกั ๆ คือ ของจริง (Concrete) รปู ภาพ (Picture) และ สัญลกั ษณ์ (Abstract) ซง่ึ สอดคล้องกับทฤษฎขี องบรูเนอร์ และครูผสู้ อนยึดหลกั เสมอวา่ เรยี นคณิตศาสตรใ์ หส้ นุกและมีความหมาย (Learning Mathematics Joyfully and Meaningfully) พฒั นาการเรียนการสอนควบคู่กับการพัฒนา นวัตกรรม หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา นักเรยี นสรุปองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง นักเรียนฝกึ แก้ปัญหาโดยใชส้ ่อื จริง นักเรียนฝกึ ปฏบิ ตั ิจริงโดยการสรา้ งองค์ความรู้ ดว้ ยตนเอง

-16- ความคิดเห็นของ ดร.พรี ศกั ดิ์ รัตนะ ผู้ตรวจราชการ กระทรวงศึกษาธิการต่อการจัดการเรยี นรู้ของขา้ พเจา้ 3. กจิ กรรมการเรยี นรเู้ ปิดโอกาสให้ผู้เรียนมกี ารส่ือสารและแลกเปลย่ี นอยา่ งหลากหลาย ในการจัดกิจกรรมการเรียนรผู้ สู้ อนเปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนมีการสื่อสารและแลกเปลยี่ นอยา่ ง หลากหลาย ใหน้ ักเรยี นมสี ่วนรว่ มทางความคดิ การออกแบบการเรยี นตามแนวคดิ ทฤษฏที ี่ใชใ้ นการพฒั นา นวัตกรรมได้ใชท้ ฤษฎกี ฎการเรยี นรขู้ องธอร์นไดด์ที่ใหค้ วามสำคญั กับการได้ฝึกฝนอยู่เปน็ ประจำว่า จะทำให้เกดิ การเรยี นรไู้ ด้ดี มีความภาคภูมใิ จในการทำงานของตนเอง และสามารถนำเสนอผลการปฏบิ ตั ิงานได้ทง้ั ในและ นอกสถานศึกษา จนทำให้ได้รบั รางวัลด้านความสามารถในกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ท้ังในระดบั เครือข่าย ระดบั เขตพ้ืนที่ หลักฐานประกอบการพิจารณา นักเรยี นรว่ มแสดงความคิดเห็นในการทำงานกล่มุ สอบถาม/แลกเปลีย่ นเรียนรู้ ร่วมกัน

-17- นักเรียนร่วมแสดงความคดิ เห็นต่อ นายณัฐพงษ์ นักเรียนได้ฝกึ เปน็ ผู้ดำเนนิ การการนำเสนอ นวลมาก ผู้ตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ข่าวสารของโรงเรยี น นกั เรียนร่วมแสดงความสามารถการแขง่ ขัน นกั เรยี นรว่ มแสดงความสามารถการแข่งขัน คิดเลขเร็ว ป.4-6 คิดเลขเรว็ ป.1-3

-18- 4.มีกิจกรรมที่ผู้เรยี นแสดงออกหรอื ถ่ายทอดความคดิ ผา่ นสอื่ ตา่ ง ๆ อยา่ งหลากหลาย จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาคณติ ศาสตร์ ผา่ นชดุ ฝึกทักษะ ชุดการสอน และฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ใหก้ บั ผ้เู รยี น ผู้เรียนสามารถแสดงออกทางความคิดผ่านกจิ กรรมการเรียนการสอนในห้องเรยี นและ นอกเรยี น ออกมาในรปู แบบตา่ ง ๆ เช่น ส่ืองจรงิ สอ่ื สามมิติ ชน้ิ งานประดิษฐ์ แผนผังความคดิ รายงาน และการร่วมกจิ กรรมวันสำคัญตา่ ง ๆ ทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา นอกจากนผ้ี ูเ้ รียนยังสามารถ แสดงออกผา่ นการประกวดแขง่ ขนั ทั้งในระดับสถานศึกษา เครือขา่ ย เขตพ้ืนท่ี หลกั ฐานประกอบการพิจารณา นกั เรยี นปฏบิ ัตจิ รงิ นำเสนอผลงานจากฝมี อื ของนกั เรยี นเอง นักเรยี นนำเสนอผลงานของกลมุ่ ต่อเพ่ือน ๆ •นกั เรเยี กนียร่วรมตแสบิ ดัตงครวามคิดเหน็ นำเสนอในรูปแผนผังความคิด นักเรยี นจำหนา่ ยผักท่ีตนเองปลกู นักเรียนรว่ มแสดงความสามารถการแขง่ ขันคดิ เลขเร็ว ป.4-6 นกั เรียนร่วมแสดงความสามารถการแขง่ ขันคดิ เลขเรว็ ป.1-3 นกั เรยี นรว่ มแสดงความคิดเห็นตอ่ นายณฐั พงษ์ นวลมาก ผ้ตู รวจ นกั เรยี นได้ฝึกเป็นผดู้ ำเนินการการนำเสนอข่าวสารของโรงเรยี น ราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

-19- 1.5 ผลลัพธท์ ่ีเกดิ ขึ้นกับผ้เู รยี น 1.5.1 ผู้เรยี นสามารถสร้างความรู้ ความเขา้ ใจหลังปฏิบัตกิ จิ กรรมร้อยละ 100 จากการจัดกจิ กรรมแบบ Active Learning ให้แกน่ ักเรียน ส่งผลใหค้ วามสามารถของนักเรยี น ดังตารางผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนทงั้ 5 ด้าน หลักฐานประกอบการพิจารณา ตารางแสดงผลการประเมินสมรรถนำสำคัญของผู้เรยี น 5 ดา้ น ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 ข้อท่ี สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ระดบั คุณภาพ จำนวนนักเรียน จำนวนนักเรียนท่ผี า่ น คดิ เป็นรอ้ ยละ สรุป 57 เกณฑ์ ดเี ยี่ยม 35 1 ดา้ นการส่อื สาร ดี 19 57 100 ผ่านเกณฑ์ 3 ปรบั ปรงุ - ดีเยย่ี ม 30 2 ด้านการคดิ ดี 17 57 100 ผ่านเกณฑ์ 10 ปรบั ปรุง - ดเี ย่ียม 36 3 ดา้ นการแก้ปัญหา ดี 14 57 100 100 ผ่านเกณฑ์ 7 ปรับปรุง - ดเี ยีย่ ม 38 4 ดา้ นการใช้ทักษะชีวติ ดี 19 57 100 ผ่านเกณฑ์ - ปรบั ปรงุ - ดเี ยีย่ ม 36 5 ด้านการใช้เทคโนโลยี ดี 14 57 100 ผ่านเกณฑ์ 7 ปรบั ปรงุ - จากตารางแสดงสมรรถนะผู้เรยี นทง้ั 5 ดา้ นปรากฏวา่ นกั เรยี นมีสมรรถผ้เู รยี นผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 100 ส่งผลให้ นกั เรียนเป็นคนรจู้ ักการค้นคว้าดว้ ยตนเอง การมีความคิดสรา้ งสรรค์ในการสร้างผลงาน รับผดิ ชอบหนา้ ทก่ี าร เรยี นจนทำให้ผลสมั ฤทธเิ์ พิ่มสูงขน้ึ สอดคลอ้ งกับรายวชิ าทีท่ ดสอบระดบั ชาติ (O-NET)ของปกี ารศึกษา 2563- 2564 หลกั ฐานประกอบการพจิ ารณา ตารางแสดงการเปรยี บเทียบผลการทดสอบ O-NET ปีการศกึ ษา 2563-2564 โรงเรียนอนุบาลระแงะ สำนักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3 ปกี ารศึกษา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ เฉลี่ย 2563 61.91 29.24 49.28 37.67 44.53 2564 55.93 32.97 43.54 33.08 41.38 ผลต่าง -5.98 3.73 -5.74 -4.59 -3.145 1.5.2 ความสามารถวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินคา่ จากการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ส่งผลให้ผเู้ รยี นสามารถวิเคราะห์สงั เคราะห์และประเมินค่า มีทักษะ การอา่ นคดิ วเิ คราะห์ และเขียนได้ ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 100 ปี จำนวน จำนวนนกั เรยี นท่ไี ด้รับการประเมนิ จำนวนนกั เรียนที่ รอ้ ยละทไ่ี ด้ การศกึ ษา นกั เรยี น ดีเยย่ี ม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น ไดร้ ะดับดีขนึ้ ไป ระดับดขี ึ้นไป 2563 70 49 14 7 0 63 90.00 2564 57 29 23 5 0 52 91.23

-20- 1.5.3 ความสามารถในการคิดสรา้ งสรรค์ ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์ ผ้เู รียนมีความสามารถในการสรา้ งสรรค์ ช้นิ งาน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 100 ดงั ตารางตอ่ ไปนี้ หลกั ผฐลากนาปรรปะกอบการพจิ ารณา การประเมินความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี นโรงเรยี นอนุบาลระแงะ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับชน้ั จำนวน นร. จำนวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คุณภาพ ทง้ั หมด ดีเย่ยี ม ดี ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ า่ น ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 57 37 13 7 - เฉล่ยี รอ้ ยละ 100 64.37 22.99 12.64 - จากผลการประเมินความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในการเรยี นรายวชิ า คณติ ศาสตร์ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินร้อยละ 100 หลักฐานประกอบการพิจารณา กิจกรรมที่ 1 การสอนโครงงานน้ำสมนุ ไพรเพือ่ สุขภาพ กจิ กรรมที่ 2 การสอนโครงงานกระเปา๋ ผา้ ลดโลกรอ้ น

-21- กิจกรรมท่ี 3 การสอนโครงงานประหยดั น้ำและไฟฟา้ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นไดบ้ รู ณาการวชิ าคณติ ศาสตร์ เรอื่ ง ปริมาตร ในการตวงน้ำทเี่ ปิดทิ้งไว้ แลว้ ทำการเปรยี บเทียบ จากการดำเนินงานนกั เรียนสามารถดำเนินโครงงานและ นำเสนอต่อคณะกรรมการทป่ี ระเมนิ โรงเรยี นปลอดขยะจนโรงเรยี นไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ กจิ กรรมที่ 4 การสอนโครงงานจกั รยานปน่ั พลังงานกล เพ่อื ให้นักเรียนได้บรู ณาการวชิ าคณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ coding ในการแกป้ ญั หาปญั หาการใชไ้ ฟฟา้ ที่เกนิ ความจำเปน็ การลดภาระค่าใช้จ่ายภายในโรงเรยี น 1.6 สรปุ ผลการจดั ทำนวตั กรรม การจดั การเรยี นร้โู ดยใช้ 3ส พิชติ คณิตศาสตร์ ของช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 สามารถนำไปใช้เป็น กระบวนการสอนในการท่ีจะทำให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ แสดงให้เห็นว่า3ส พชิ ติ คณิตศาสตร์ น้ี นำมาใชใ้ นการ พัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นไดเ้ ป็นอย่างดี ซง่ึ เปน็ สงิ่ ท่ีครูควรไดร้ ับการพัฒนา เพื่อประโยชน์ให้นกั เรียน ประสบความสำเร็จในการศึกษาทกุ ระดับช้นั และทุกวชิ า 1.7 ประโยชนท์ ีเ่ กิดจากการใช้นวัตกรรมต่อการจดั การเรยี นรู้ ผูส้ อนไดค้ ดิ พฒั นานวตั กรรมในรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ 3 ส พชิ ิตคณิตศาสตร์ สามารถ สะท้อนถึงการมแี นวคิดใหม่ ในการแกป้ ัญหาใหมห่ รือสถานการณใ์ หม่ 1.7.1 แก้ปัญหาความเชอื่ มั่นต่อคณุ ภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนอนุบาลระแงะ โรงเรียน อนุบาลระแงะเปน็ โรงเรียนที่มีโรงเรียนเอกชนอยใู่ กลๆ้ ถึง 2 โรง ทำให้โรงเรยี นตอ้ งพยายามสร้างคุณภาพให้ เกิดกบั นักเรยี นอย่างยัง่ ยนื รวมถงึ การสรา้ งความยอมรบั จากชุมชน โดยการสร้างความภาคภมู ิใจใหช้ มุ ชนเหน็ เชงิ ประจักษ์ จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนรปู แบบการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ 3 ส พชิ ติ คณิตศาสตร์ สง่ ผลใหผ้ ลการทดสอบ O-NET ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โดยรวม 4 สาระ วิชาคณติ ศาสตร์ และ วชิ าภาษาองั กฤษมีค่าเฉลย่ี สงู กวา่ ระดบั ประเทศ และชุมชนให้การยอมรับโดยการส่งบตุ รหลานเข้าเรียนทำให้ นักเรียนมีจำนวนเพ่ิมมากข้นึ จากปกี ารศึกษา 2562 คือ 550 คน ในปกี ารศึกษา 2563 เป็นจำนวน 616 คน และปีการศกึ ษา 2564 มจี ำนวนนกั เรยี น เปน็ 679 คน

-22- 1.7.2 แก้ปัญหานักเรยี นบางสว่ นไม่ชอบวชิ าคณิตศาสตร์ สบื เนือ่ งจากวิชาคณติ ศาสตร์นกั เรยี น ส่วนใหญม่ องวา่ เปน็ วิชาท่นี ่าเบื่อ ยาก ทำให้นักเรียนมีเจตคติทไี่ มด่ ีต่อวิชา ดังน้นั วธิ กี ารแก้ปญั หาทด่ี ีทสี่ ุด คือ เปล่ยี นห้องเรยี นให้เหมะสมกับวยั และความต้องการของนักเรยี น โดยใช้นวตั กรรม 3 ส พิชติ คณิตศาสตร์ เรยี นคณติ ศาสตร์ให้มีความสุข สนุก และสาระ จากการดำเนินงานนกั เรยี นชอบวิชาคณิตศาสตร์ และนำ ความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน นกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 สามารถศึกษาต่อห้องเรียนพเิ ศษตา่ งๆ เป็น จำนวนมากยงิ่ ข้นึ หลักฐานประกอบการพิจารณา 1.7.3 ผู้เรยี นไดใ้ ชค้ วามคดิ ของตนอยา่ งมีเหตผุ ล จากการจดั กจิ กรรมผเู้ รยี นไดใ้ ช้ความคดิ ของตนอย่างมเี หตุผล ผา่ นกระบวนการจดั กิจกรรมการ เรยี นการสอนรายวชิ าคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ที่ผู้สอนปฏิบัตกิ ารสอน ไดจ้ ัดกิจกรรมสง่ เสริมให้ ผ้เู รียนได้ใชค้ วามคิดของตนอย่างมีเหตุผล ในรูปของการสอนแบบโครงงาน ฝกึ กระบวนการคดิ อย่างมีลำดับ ขน้ั ตอน และใหน้ กั เรยี นนำเสนอผลงานของตนเองอย่างสมเหตสุ มผล การเขา้ รว่ มกิจกรรมโครงการของ สถานศึกษาและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง สง่ เสริมให้นกั เรียนมีความกลา้ แสดงออกในการร่วมแสดงความคิดและ รว่ มกิจกรรมอยา่ งมีเหตผุ ล และการรว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอนในห้องเรยี น นกั เรียนสามารถแสดง ความคิดเหตุของตนเองได้อย่างมเี หตุผล โดยที่ผ้สู อนจะเป็นผรู บั ฟงั ที่ดใี นการจัดการเรยี นการสอนใหผ้ เู้ รียนได้ แสดงบทบาทของตนเองอยา่ งเต็มความสามารถ

-23- 1.7.4 การนำเสนอหน้าหอ้ งเรยี น นกั เรียนมคี วามกล้าแสดงออกไมอ่ าย และพูดนำเสนอ ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้อยา่ งสมเหตุสมผล เหมาะกบั ระดบั ช้ันของตน 1.7.5 การทำกจิ กรรมกล่มุ ร่วมกนั ฝกึ ใหน้ ักเรยี นแสดงออกทางความคดิ และให้การยอมรบั ความ คดิ เห็นของผอู้ ื่น 1.7.6 การปฏบิ ัติงานจริง ฝกึ ใหน้ ักเรยี นความสามารถเฉพาะตนอยา่ งมเี หตุผลเพ่ือใหง้ านสำเร็จ 1.7.7 การรว่ มงานกับชุมชน องค์กรหรอื หนว่ ยงานอ่นื ๆ

-24- 2. มผี ลการเรยี นรู้ที่สะท้อนพฒั นาการหลงั จากการใช้นวัตกรรม และผลการแก้ปญั หา และ/หรือ การพฒั นา มีการเผยแพรผ่ ลงาน/ชนิ้ งาน จนเป็นที่ยอมรับหรอื ได้รบั การยกย่องเชิดชเู กียรติ (เปน็ ผลท่เี กิดจาก การใชน้ วัตกรรมท่ีได้ส่งในการคดั เลอื กในครั้งนี้ 2.1 การเผยแพร่ผลงานนักเรียน นำเสนอการซื้อขายในงานตลาดนกั เรยี น นำเสนอการซื้อขาย สพป.นราธวิ าส เขต 3 นำเสนอองค์ความรู้ ในคา่ ยโรงเรียนคณุ ธรรม นำเสนอหนังสัน้ คณุ ธรรมต่อ ผอู้ ำนวยการโรงเรียนและ คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน นำเสนอองค์ความรู้ ในคา่ ยโครงงานคุณธรรม นำเสนอตอ่ ดร.พรี ะศกั ด์ิ รตั นะ

-25- 2.2 ผลงาน/ชน้ิ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบตั ิงานของนักเรียน/ไดร้ บั รางวลั /ยกย่องเชิดชูและมีผู้ นำไปประยุกต์ใช้/เปน็ แนวคิดในการพัฒนาผลงานของนักเรียน/ครนู อกสถานท่ี 2.3 ผลท่ีเกดิ ข้ึนกบั ครู ไดร้ ับเชิญใหไ้ ปเปน็ คณะตรวจเยยี่ มโรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ จัดการเรยี นรู้วิชาคณติ ศาสตร์ ณ โรงเรยี น บ้านลโู บะกาเยาะ จดั การเรียนรวู้ ิชาคณิตศาสตรใ์ ห้กับนกั เรียนโรงเรยี นตระเวนชายแดน ณ มหาวทิ ยาลัยราช ภฎั ยะลา และได้รบั เกียรติจาก ดร.พรี ศกั ด์ิ รัตนะ ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ ตรวจเยี่ยมชน้ั เรยี น วชิ า คณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5/1

-26- 2.4 การยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ 1. รองชนะเลิศเหรียญทอง ครผู ้สู อนยอดเย่ียม Active Teacher ระดับประถมศึกษา กลุม่ สาระ การเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียนการสอน โครงการประกวดหน่วยงานและ ผู้มผี ลงานดเี ดน่ ประสพผลสำเร็จเป็นท่ปี ระจักษ์เพื่อรังราวลัทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งท่ี 10 ประจำปกี ารศกึ ษา 2563 ระดับชาติ 2. รับรางวัลในการอบรมหลักสูตร Holistic School Safety ระดับประถมศึกษาตอนปลาย กจิ กรรมการประยุกตใ์ ชแ้ นวการสอน “ การคิดเชิงคำนวณ” 3. รางวัลพระพฤหัสบดี ประเภทบุคคล กลุม่ ครูและคณาจารย์ ระดบั จังหวัด โครงการรางวัล หวั ขอ้ ในการอบรมพัฒนาพระพฤหัสบดี ประจำปี พ.ศ.2564 4. ครูดีในดวงใจ ประจำปี พ.ศ.2564 5. ได้รบั การเสนอชื่อ ผู้ทรงคุณวุฒิ เข้ารบั การเลือกเป็นกรรมการในคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ระดบั ประถมศึกษา 6. Course on STEM for Mathematics Learning for Primary School Teacher 7. ผ้ทู รงคณุ วฒุ ยิ กร่างหลกั สูตรเพอื่ ยกระดับคะแนน (O-NET) กลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5-6 8. คณะตรวจเย่ียมโรงเรียนบ้านไอรโ์ ซ อำเภอจะแนะ จงั หวดั นราธวิ าส 9. รับการนเิ ทศการจดั การเรียนรู้ จาก ดร.พรี ศักดิ์ รตั นะ ผูต้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร 10. ได้รบั เกียรติเปน็ วทิ ยากรในสังกัด ภายในจงั หวดั และตา่ งจงั หวัด ข้าพเจ้าขอรบั รองวา่ มีคุณสมบัติเหมาะสมตามประกาศการคัดเลือกครผู ู้สอนดเี ด่นทกุ ประการ ลงชอ่ื เจา้ ของประวตั ิ ลงชอ่ื ............................... ผู้มสี ทิ ธเิ สนอช่อื (นางสาวยามีละห์ สกุ ี) (..................................) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ตำแหนง่ .................................. วันที่ 20 / เมษายน / 2565 วันที่ ....... / ............. / ............ (เฉพาะกรณผี อู้ ่ืนเสนอ) ตอนท่ี ๒ คำรบั รอง และความเหน็ เพิม่ เตมิ เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามมงุ่ มั่นในการทำงาน เปน็ ตน้ แบบและสามารถเปน็ ท่ปี รึกษาในด้านการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และการปฏิบตั งิ านให้แก่เพ่ือนครู ลงช่อื (นายบัญญตั ิ แทนหนู) ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรยี นอนุบาลระแงะ ตอนท่ี ๓ แบบความเห็นเพ่ิมเติมเก่ียวกับคุณสมบัติของครูผู้สอนดีเด่นท่ีได้รับการคัดเลือก .…………………………………………………………………………………………………............................................................. …………………………………………………………………………………………..................................................…………...…… ลงชื่อ............................................................................. (……….....................………………………..……………...) ประธานคณะกรรมการคัดเลือก

-27- เอกสารหมายเลข ๑ แบบสรปุ ชอื่ ผลงานนวตั กรรมของผทู้ จี่ ะเสนอขอรับรางวลั ครูผู้สอนดเี ดน่ ประจำปี 2565 1. ชือ่ ผู้เสนอขอรับรางวลั 2. สถานทป่ี ฏบิ ตั ิงานปัจจบุ ัน นางสาวยามลี ะห์ สกุ ี โรงเรยี นอนบุ าลระแงะ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ ประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3 บา้ นเลขที่ 165 หมทู่ ี่ 1 สงั กัด ตำบลตนั หยงมสั อำเภอระแงะ จังหวดั นราธวิ าส โรงเรียนอนบุ าลระแงะ สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา โทรศัพท์ 092-7259819 ประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 3 ระยะเวลาการปฏิบัตงิ าน 14 ปี 3. ผลงานที่เสนอเพื่อประกอบการพจิ ารณา (โปรดทำเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องประเภทผลงาน) ชอ่ื ผลงาน การจดั ประเภทผลงาน งานวิชาการ ปีการศกึ ษา การเรียนรู้ หรอื งานอื่นๆ ทีผ่ ลิต การพัฒนาการเรียนการสอน กล่มุ สาระการเรียนรู้ นวตั กรรมหรือ ผลงาน คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ “3ส การปรับปรงุ พัฒนา พิชิตคณติ ศาสตร์” 2563 / - 2564

-28- เอกสารหมายเลข 2 แบบเสนอผลงานนวัตกรรม หรือการปรบั ปรุงพัฒนาการเรยี นการสอน 1. ช่ือผลงาน 2. ผลงานน้ีเปน็ การพัฒนาการเรียนการสอน กล่มุ สาระการเรียนรู้ ✓ นวัตกรรม.............................................................................. คณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ “3ส พิชติ  การปรบั ปรงุ พฒั นาจากพนื้ ฐานแนวคิด............................... คณติ ศาสตร์” ............................................................................................... 3. ชื่อผูเ้ สนอผลงาน 4. สถานท่ปี ฏบิ ัตงิ านปจั จุบัน นางสาวยามลี ะห์ สุกี โรงเรียนอนบุ าลระแงะ สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ตำแหน่ง ประถมศึกษานราธวิ าส เขต 3 บ้านเลขที่ 165 หมู่ที่ 1 ตำบล ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ ตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวดั นราธวิ าส สังกดั โทรศพั ท์ 092-7259819 โรงเรียนอนุบาลระแงะ สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ระยะเวลาการปฏบิ ตั ิงาน 14 ปี ประถมศกึ ษานราธิวาส เขต 3 5. วัตถุประสงคข์ องผลงานนี้ (เพอ่ื อะไร) 5.1 เพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีทื่ 6 5.2 เพอื่ พัฒนาทักษะเชอื่ มโยงทางคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ื 6 5.3 เพอื่ สร้างเจคติท่ีดตี อ่ การเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ 6. การนำผลงานไปใช้โดยย่อใหเ้ หน็ เปน็ รูปธรรมท่ีชดั เจน 6.1 ใช้กบั ใคร 6.2 ใชท้ ่ไี หน 6.3 ใช้อย่างไร นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนอนุบาลระแงะ สำนักงานเขต 1) สขุ การเอาใจใส่ดแู ลนักเรียนเปน็ พ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษานราธวิ าส รายบคุ คล โดยการวิเคราะห์นักเรยี นเพ่ือ เขต 3 จดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสมกบั บริบทของนักเรยี น 2) สนุก ปรับวิธีเรยี น เปลย่ี นวธิ ีสอน โดย ยึดในการเรยี นการสอนหลักๆ คอื ของจริง (Concrete) รูปภาพ (Picture) และ สัญลักษณ์ (Abstract) 3) สาระ ครูผ้สู อนยึดหลกั เสมอวา่ เรียน คณติ ศาสตร์ใหส้ นุกและมคี วามหมาย (Learning Mathematics Joyfully and Meaningfully) 7. ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นกับผู้เรียนโดยย่อ 1. นักเรยี นมีความสามารถในการคดิ เลขเปน็ ร้อละ 98.35 2. โรงเรยี นมผี ลการทดสอบ O-NET ป.6 วชิ าคณติ ศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2564 สงู กวา่ ปกี ารศกึ ษา 2563 3. นักเรียนมเี จคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ ขอรบั รองวา่ ข้าพเจา้ เป็นผรู้ ิเร่ิมผลงานนจ้ี รงิ เจ้าของผลงาน ลงชอื่ ( นางสาวยามีละห์ สกุ )ี 20 / เมษายน / 2565

-29- สำเนาถูกตอ้ ง (นางสาวยามลี ะห์ สกุ ี) ครู โรงเรยี นอนุบาลระแงะ

-30- สำเนาถูกต้อง (นางสาวยามีละห์ สกุ ี) ครู โรงเรียนอนบุ าลระแงะ กพ.7 เกยี รติบตั ร VDOการสอน ผลงานนกั เรยี น ส่ือ นวตั กรรม วิจัย ภาพกจิ กรรม2563 ภาพกจิ กรรม2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook