Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

Published by srn office, 2022-01-07 08:04:10

Description: แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบัตริ าชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์ สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารหมายเลข 1 /2565 กลุ่มนโยบายและแผน

คำนำ ตามท่ีพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 ได้กำหนดว่าการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการ ปฏิบัติ ดังต่อไปน้ี (1) ก่อนจะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ ล่วงหน้า (2) การกำหนดแผนปฏิบัตริ าชการของส่วนราชการตาม (1) ตอ้ งมรี ายละเอยี ดของขั้นตอน ระยะเวลา และงบประมาณท่ีจะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภาร กิจ และตัวชว้ี ัดความสำเรจ็ ของภารกจิ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกจิ การบา้ นเมือง ท่ีดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควร ที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนที่เก่ียวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่น ประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผน ระดบั 3 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ น้ัน ดังน้ัน เพื่อให้เป็นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัด การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 จุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (ฉบับ ปรับปรุงตามงบประมาณท่ไี ด้รบั จัดสรร) แผนระดับตา่ งๆ และเช่อื มโยงขอ้ มูลเขา้ สรู่ ะบบติดตามและประเมินผล แ ห่ ง ช า ติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการตาม ยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทำ แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ บรหิ ารงานของผูบ้ รหิ ารและให้บุคลากรใชเ้ ป็นกรอบแนวทางในการปฏิบตั ิงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ขอขอบคุณทุกท่านท่ีให้ความร่วมมือในการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ (ตาม งบประมาณท่ไี ด้รบั จดั สรร) แลว้ เสรจ็ สมบรู ณ์ตามวตั ถปุ ระสงค์ สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสรุ นิ ทร์ กลมุ่ นโยบายและแผน

สารบัญ หนา้ คำนำ บทสรุปผบู้ ริการ (ก)-(ช) สว่ นท่ี 1 บทนำ ความเป็นมา 1 บทบาทหน้าท่สี ำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ 2 วัตถปุ ระสงค์ 3 วิธกี ารดำเนนิ การ 3 ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ 4 สว่ นท่ี 2 ข้อมูลสภาพทัว่ ไปของจังหวดั สรุ นิ ทร์ 1. บริบทของจังหวัดสุรินทร์ 5 2. ขอ้ มลู พื้นฐานด้านการศึกษา 10 ส่วนท่ี 3 สาระสำคัญของแผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั สรุ ินทร์ 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 22 2. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ.2561-2580 23 3. แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 24 4. แผนการปฏริ ูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) 24 5. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับทส่ี ิบสอง พ.ศ.2560-2564 29 6. นโยบายและแผนระดับชาตวิ า่ ด้วยความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) 29 7. นโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรฐั มนตร)ี 30 8. เปา้ หมายการพัฒนาที่ยัง่ ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 30 9. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560-2579 33 10. นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564-2565 35 11. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) 38 12. แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 39 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบบั ปรบั ปรุงตามงบประมาณท่ีได้รบั จดั สรร) 42 13. แผนพฒั นาดา้ นการศึกษากลมุ่ จงั หวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง 1 (พ.ศ.2566-2570) 43 14. ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาจังหวัดสรุ นิ ทร์ 44

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ สว่ นที่ 4 กรอบวงเงินงบประมาณ และรายละเอยี ดโครงการ กจิ กรรม ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ตุลาคม 2564 – มนี าคม 2565) 4.1 กรอบวงเงนิ งบประมาณ 50 4.2 โครงการและกจิ กรรม จำแนกตามประเดน็ ยุทธศาสตร์และประเดน็ ยุทธศาสตร์ 52 สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนที่ 5 การตดิ ตาม ประเมนิ ผล 5.1 แนวทางการติดตาม ประเมนิ ผล 55 5.2 ระเบียบท่ีเก่ียวข้องกบั การตดิ ตาม ประเมนิ ผล 55 ภาคผนวก - รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 - คณะผดู้ ำเนนิ การ [พิมพท์ ่ีน่ี]

(ก) บทสรปุ สำหรบั ผูบ้ ริหาร ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 ได้กำหนดว่าการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการ ปฏิบัติ ดังต่อไปน้ี (1) ก่อนจะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ ลว่ งหนา้ (2) การกำหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมรี ายละเอียดของขนั้ ตอน ระยะเวลา และงบประมาณท่ีจะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชีว้ ัดความสำเร็จของภารกิจ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกจิ การบ้านเมือง ทดี่ ี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดใหส้ ว่ นราชการจดั ให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรอื สมควร ท่ีจะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่น ประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผน ระดบั 3 ใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาตแิ ละแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ น้ัน ดังนน้ั เพื่อให้เป็นตามพระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบา้ นเมืองท่ี ดี พ.ศ. 2546 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมท้ังสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัด การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 จุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) แผนระดับต่างๆ และเชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่ระบบติดตามและ ป ระเมิน ผลแห่ งช าติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทำ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ตามงบประมาณท่ีไดร้ ับจัดสรร) เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการ บริหารงานของผู้บริหารและให้บุคลากรใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมี สาระสำคัญ ดังน้ี วิสัยทัศน์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ บริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการอย่างมี ประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรยี นรูต้ ลอดชีวิตอย่างมคี ณุ ภาพและมีทกั ษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21

(ข) พนั ธกิจ 1.ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการทุกระดับทุกพ้ืนท่ีอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ส่งผลตอ่ การพัฒนาคณุ ภาพของผเู้ รยี น 2.ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ใหส้ อดคล้องกบั ทักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 3.ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษาอย่าง ทว่ั ถงึ ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น เพ่อื ลดความเหลอื่ มล้ำทางการศกึ ษา 4.ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะของ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 เป้าหมายองคก์ ร “ องคก์ รคณุ ธรรม องคก์ รคุณภาพ องค์กรแห่งความสขุ ” วัฒนธรรมองคก์ ร ประสิทธิภาพของ “TEAM” คอื ความสำเรจ็ ขององคก์ ร T=Trust ไวไ้ จให้เกียรติกัน E=Everyone รกั ผกู พันเป็นหน่ึงเดียว A=Activeness เช่ียวชาญสู่เปา้ หมาย M=Moral ภายใตร้ ะบบคณุ ธรรม ค่านิยมองคก์ ร “สรา้ งสรรค์องคก์ ร บุคลากรคณุ ภาพ ดว้ ยกระบวนการมสี ว่ นร่วมแบบ KTPC-S” K = Knowledge ร้เู รือ่ งชัด T = Team จดั ทมี ดี P = Process มีกระบวนการ C = Co-operation ประสานรอบทศิ S = Success พชิ ติ ความสำเรจ็

(ค) ทศิ ทางการบริหารองคก์ ร เปา้ ประสงคร์ วม 1.สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ มีการบริหารและการจัดการศึกษาแบบบูรณาการ ตามหลักธรรมาภบิ าล 2. ผเู้ รียนมีการศึกษาและเรียนรตู้ ลอดชวี ิตท่ีมคี ุณภาพ และมีทักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 3. ผเู้ รียนได้รับโอกาสเขา้ ถึงการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพอย่างทว่ั ถงึ และเสมอภาค 4. ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานในศตวรรษท่ี 21 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ 1. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั การศึกษาเพื่อความมน่ั คง 2. ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนากำลังคน งานวิจัยและนวัตกรรมเพ่ือสร้างความสามารถในการ แขง่ ขันของประเทศ 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษยใ์ หม้ ีคณุ ภาพ 4. เสรมิ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา 5. ส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เสรมิ สร้างคณุ ภาพชีวติ ทเี่ ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม 6. พฒั นาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธภิ าพ

(ง) เปา้ ประสงค์ตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ 1. ผู้เรียนมีคุณภาพ ทักษะ และสมรรถนะการเรียนรู้ที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 สอดคล้อง เหมาะสมกบั การเสรมิ สร้างความม่ันคงในแต่ละบริบท 2. ผู้เรียน ข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา มีสมรรถนะที่ตอบสนอง ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและการแขง่ ขนั ของประเทศ 3. ผเู้ รยี นมีคณุ ภาพ ทักษะและสมรรถนะการเรียนรทู้ ี่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 4. ครู และบุคลากรทางการศึกษามีสมรรถนะการปฏิบัติงานท่ีส่งผลต่อการพัฒนาทักษะที่ จำเปน็ ของผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 5. หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา มีกิจกรรมสง่ เสริมคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์และปรบั เปล่ียน พฤติกรรม ใหเ้ ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม 6. ผู้เรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคุณภาพ อย่างทั่วถึง และเสมอภาคด้วยรูปแบบที่ หลากหลาย 7. หน่วยงานมีระบบการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของ ผูร้ บั บริการไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส ตามหลกั ธรรมาภิบาล กลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคง กลยทุ ธ์ 1.1 ส่งเสริมการปลูกฝังผู้เรียนด้านคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ บนพืน้ ฐานวัฒนธรรมท่ีดงี ามของไทย 1.2 ส่งเสริมการให้ความรู้ท่ีถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ 1.3 ส่งเสริมการสร้างภูมิคุ้มกัน และน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใช้ใน ชีวิตประจำวนั 1.4 สง่ เสริมการปลูกผงั การต่อต้านการทจุ ริตคอรัปช่นั ทุกรปู แบบ ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 สง่ เสริม สนับสนนุ การพฒั นากำลังคน งานวจิ ยั และนวัตกรรม เพอื่ สร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ กลยทุ ธ์ 2.1 ส่งเสรมิ ใหม้ ีการพฒั นาทกั ษะและสมรรถนะใหต้ รงตามความต้องการของตลาดแรงงาน หรือความต้องการของประเทศ 2.2 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะตามความถนัดเฉพาะบุคคล เพื่อสร้างโอกาส ในประกอบอาชีพรูปแบบใหม่ในยุคดิจทิ ัล

(จ) คุณภาพ 2.3 ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรให้มี ทางการศึกษา 2.4 ส่งเสริมการวิจัยและนวัตกรรมการบริหารและจัดการศึกษา และพัฒนาบุคลากรวิจัย ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนุษยใ์ ห้มีคณุ ภาพ กลยทุ ธ์ 3.1 พัฒนาการจดั การศึกษาโดยบรู ณาการองคค์ วามรแู้ บบสะเตม็ ศึกษา 3.2 ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ผ่าน ประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏบิ ตั ิ 3.3 สร้างเสริมและพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สมวัย ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตท่ีเท่าทันและ สามารถอยรู่ ่วมในสังคมศตวรรษท่ี 21 3.4 สร้างแพลตฟอรม์ ดจิ ิทลั รองรับการเรยี นรรู้ ูปแบบใหม่ 3.5 พัฒนาทักษะการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศและสมรรถนะท่ีจำเป็นของผู้เรียนครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 3.6 บูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เสริมสร้างหลักคิดและทัศนคติท่ีถูกต้องด้านระเบียบ วินยั คุณธรรม จริยธรรม จิตสาธารณะ ความเป็นพลเมือง 3.7 พัฒนาทักษะการสือ่ สารและการใช้ภาษาไทย ภาษาถิ่น (ภาษาแม่) ตอ่ ยอดการเรยี นร้แู ละ การประกอบอาชพี 3.8 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ประเด็นยทุ ธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา กลยทุ ธ์ 4.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาเพื่อคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถ พเิ ศษอยา่ งเหมาะสม 4.2 ส่งเสริมพัฒนาโปรแกรมประยุกต์และสื่อการเรียนรู้ผ่านระบบดิจิทัลออนไลน์แบบเปิด ที่เหมาะสมต่อการเข้าถงึ และพัฒนาการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ 4.3 ส่งเสรมิ กระบวนการแนะแนวเพ่ือการเรียนต่อหรือการเรียนเพื่อการประกอบอาชีพ 4.4เพ่ิ มและกระจายโอกาสทางการศึกษาในระบบ น อกระบบและการศึกษ า ตามอัธยาศัย ให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงโอกาสทางการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพได้อย่างหลากหลายครอบคลุมทุกพื้นท่ี และกลมุ่ เป้าหมาย

(ฉ) ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี 5 สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่อื เสรมิ สร้างคุณภาพชวี ติ เปน็ มิตร กับสิ่งแวดลอ้ ม กลยทุ ธ์ 5.1 ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมความรู้ สร้างความตระหนัก และปลูกฝัง จติ สำนึกในการอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 5.2 ส่งเสรมิ สนับสนุนหน่วยงานทางการศึกษา/สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นแหล่ง เรียนรู้ทีเ่ ปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม 5.3 ส่งเสริมการสรา้ งนิสยั ในการประหยดั พลังงาน และการจัดการขยะ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการให้มีประสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ 6.1 พัฒนากระบวนการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้เป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครฐั 6.2สร้างและพัฒนากลไกการบริหารจัดการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการบูรณาการ เชือ่ มโยงทุกระดับ 6.3 จัดระบบ ส่งเสริมและประสานงานเครือขา่ ยข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อ การศึกษา 6.4 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือ ยกระดบั สมรรถนะการปฏิบัตงิ าน 6.5 ส่งเสริม สนับสนุน งานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนวการศึกษาทุกระดับและ ทกุ ประเภท รวมท้ังติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา 6.6 พัฒนาเครือข่ายต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบให้มีส่วนร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ เฝ้า ระวังและติดตามพฤตกิ รรมเสีย่ งการทจุ ริต

(ช) สรปุ แผนงาน/ผลผลติ /กจิ กรรม/งบรายจา่ ย ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสุรนิ ทร์ แผนงาน/ผลผลติ /กจิ กรรม/งบรายจา่ ย ปีงบประมาณ 2565 (หนว่ ย : บาท) รวมงบประมาณท้ังสน้ิ (1+2+3+4) 3,246,568 1. งบดำเนนิ งาน (1.1+1.2) 2,403,360 1.1 งบดำเนินงาน 1) ค่าตอบแทน ใช้สอย และวสั ดุ โครงการบรหิ ารจัดการสนง. 2,029,380.- 1,637,380 2) คา่ สาธารณปู โภค 392,000 3) โครงการประชมุ คณะกรรมการศึกษาจังหวัดสุรินทร์ และคณะอนุกรรรม 200,000 การศกึ ษาจงั หวัดสรุ นิ ทร(์ ประชมุ กศจ./อกศจ.) 4) โครงการขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งานของโรงเรียนเอกชนในจังหวัดสรุ ินทร์ 20,000 1.2 งบดำเนนิ งาน 1) คา่ อินเตอรเ์ นต็ 154,080 2. งบรายจ่ายอ่ืน 1) โครงการจดั ทำแผนพฒั นาการศึกษาจังหวัด 30,300 2) โครงการเสริมสร้างศกั ยภาพบุคลากรของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัด 40,000 3) โครงการตรวจ ติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานตามนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 60,000 4) โครงการขับเคลอ่ื นการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและประสทิ ธิภาพการศกึ ษา 90,900 จงั หวัดโดยผา่ นกลไกของ กศจ. 5) โครงการประชุมปฏบิ ตั ิการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิราชการพฒั นาการศึกษาพื้นท่ี 31,100 ชายแดนระดับจงั หวดั 6) โครงการจัดกจิ กรรมจติ อาสาบำเพ็ญประโยชน์ในสว่ นภูมิภาค 23,500 7) โครงการสง่ เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม เพ่อื สร้างพื้นฐานแกผ่ เู้ รียนด้านการศึกษา 4 40,000 ด้าน ในระดบั จังหวัด (เพอื่ ดำเนนิ โครงการสง่ เสรมิ การจัดงาน 100 ปี ยุวกาชาดไทย) 8) โครงการ Innovation For Thai Education (TFTE) นวตั กรรมการศกึ ษา 86,000 เพ่อื พฒั นาการศกึ ษา 9) โครงการสรา้ งและสง่ เสรมิ ความเปน็ พลเมอื งดตี ามรอยพระยคุ ลบาท 275,425 ดา้ นการศกึ ษาสู่การปฏบิ ตั ิ 72,000 10) โครงการส่งเสริมเวทแี ละประชาคมเพอ่ื การจดั ทำรปู แบบและการพัฒนาหลักสตู ร 52,000 ตอ่ เน่อื ง เชอ่ื มโยงการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา 11) โครงการขับเคล่อื นการพฒั นาการศึกษาปฐมวัยในระดับพ้ืนท่ี

(ซ) ปงี บประมาณ 2565 (หน่วย : บาท) แผนงาน/ผลผลิต/กิจกรรม/งบรายจา่ ย 15,000 12) โครงการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นในโครงการอนรุ ักษ์ 16,883 พันธุกรรมพชื อนั เนือ่ งมาจากพระราชดำรสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกมุ ารี ในระดับพนื้ ทใ่ี นพื้นที่ 10,000 13) สง่ เสรมิ ศกั ยภาพการตรวจ ตดิ ตามความประพฤตินักเรียนและนักศกึ ษา 3. งบเงนิ อุดหนุน 1) โครงการชมุ นุมยุวกาชาดและกจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน์ยวุ กาชาดเฉลมิ พระเกยี รติ (ค่าใชจ้ ่ายโครงการนิเทศการจดั กิจกรรมยุวกาชาตใิ นสถานศึกษา) รบั ผิดชอบ ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สรุ ินทร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

ส่วนที่ 1 บทนำ ความเป็นมา ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 หมวด 3 มาตรา 9 ได้กำหนดว่าการบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการ ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้ (1) ก่อนจะดำเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทำแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ ล่วงหนา้ (2) การกำหนดแผนปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมรี ายละเอียดของข้ันตอน ระยะเวลา และงบประมาณท่ีจะต้องใช้ในการดำเนินการของแต่ละข้ันตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ และตัวชี้วัดความสำเร็จของภารกิจ และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกจิ การบา้ นเมือง ท่ีดี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มาตรา 7 กำหนดให้ส่วนราชการจัดให้มีการทบทวนภารกิจของตน หรือสมควร ที่จะยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงการดำเนินการต่อไปหรือไม่ โดยคำนึงยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอ่ืนที่เก่ียวข้อง รวมถึงกำลังเงินงบประมาณของประเทศ ความคุ้มค่าของภารกิจและสถานการณ์อื่น ประกอบกัน กอรปกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 12 มีนาคม 2562 เห็นชอบให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผน ระดบั 3 ใหส้ อดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ นนั้ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ได้รับการจัดสรรงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งสิ้น 3,293,185 บาท (1) แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์จำแนกเป็นงบดำเนินงาน 2,423,460 บาท งบรายจ่ายอื่น 879,725 บาท (2) แผน พ้ืนฐานการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์งบดำเนินงาน ค่าสาธารณูปโภค จำนวน 392,000 บาท เพื่อให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ข้ึน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับเร่งรัดติดตาม ประเมินผล ของผู้บริหารของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์และเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติงานของสำนักงาน ศึกษาธกิ ารจังหวดั สุรนิ ทร์ ดังน้ัน เพื่อให้เป็นตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และสนับสนุนการบรรลุเป้าหมายในแผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 รวมทั้งสอดรับกับมติคณะรัฐมนตรี นโยบายรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 นโยบายการจัด การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 จุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ (ฉบับปรับปรุงตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) แผนระดับต่างๆ และเชื่อมโยงข้อมูลเข้าสู่ระบบติดตาม และประเมินผลแห่งชาติ (Electronic Monitoring and Evaluation System of National Strategy and country Reform : eMENSCR) ตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินการ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 1

ตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทำ แผนปฏิบตั ิราชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 (ตามงบประมาณทไ่ี ด้รบั จัดสรร) ข้นึ บทบาทหน้าทขี่ องสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สุรินทร์ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์ ตง้ั อยู่เลขที่ 50 ถนนกรุงศรนี อก ตำบลในเมอื ง อำเภอเมือง สุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ รับผิดชอบในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา ครอบคลุมเขตพื้นที่บริการ 17 อำเภอ ได้แก่ อำเภอกาบเชิง อำเภอเขวาสินรินทร์ อำเภอจอมพระ อำเภอชุมพลบุรี อำเภอท่าตูม อำเภอ โนนนารายณ์ อำเภอบัวเชด อำเภอปราสาท อำเภอพนมดงรัก อำเภอเมืองสุรินทร์ อำเภอรัตนบุรี อำเภอ ลำดวน อำเภอศรีณรงค์อำเภอศขี รภมู ิ อำเภอสนม อำเภอสงั ขะ อำเภอสำโรงทาบ ตามคำส่งั หวั หนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี 19/2560 เรือ่ ง การปฏิรูปการศึกษาใน ภูมภิ าคของกระทรวงศกึ ษาธิการ สัง่ ณ วนั ท่ี 3 เมษายน พ.ศ. 2560 ข้อ 11 ให้มีสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สังกดั สำนักงานปลดั กระทรวงกระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อปฏิบตั ภิ ารกจิ ของกระทรวงศึกษาธิการเกย่ี วกับการ บริหารและการจดั การศึกษาตามทีก่ ฎหมายกำหนด การปฏิบัตริ าชการตามอำนาจหนา้ ท่ี นโยบาย และ ยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการต่าง ๆ ที่มอบหมาย และใหม้ ีอำนาจหน้าท่ีในเขตจงั หวัด ดังตอ่ ไปน้ี (1) รับผิดชอบงานธุรการของ กศจ. อกศจ. คณ ะอนุกรรมการบริหารราชการ เชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเก่ียวกับการพัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน รวมทั้ง ปฏิบตั ิงานราชการทเ่ี ป็นไปตามอำนาจและหน้าที่ของ กศจ. และตามท่ี กศจ. มอบหมาย (2) จดั ทำแผนพัฒนาการศกึ ษาและแผนปฏิบัติการ (3) สั่งการ กำกับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หรอื หน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ ารใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ (4) จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีดิจิทัล เพอ่ื การศึกษา (5) ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษาเพ่ือคนพกิ าร ผู้ด้อยโอกาส และผูม้ คี วามสามารถพิเศษ (6) ดำเนินงานเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา (7) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และดำเนนิ การเก่ยี วกับงานด้านวชิ าการ การนเิ ทศ และแนะแนว การศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมทงั้ ติดตามและประเมนิ ผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา (8) ดำเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบรหิ าร การเงิน และการบญั ชีของสว่ น ราชการหรอื หนว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ (9) ส่งเสรมิ และประสานงานการศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม และการกีฬาเพื่อการศึกษา (10) สง่ เสรมิ สนับสนนุ และดำเนินการเกยี่ วกบั การจดั การศกึ ษาเอกชน (11) ปฏบิ ัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการหรอื ตามที่ได้รบั มอบหมาย รวมทัง้ ปฏบิ ตั ิภารกจิ เกี่ยวกับราชการประจำทว่ั ไปของกระทรวงศึกษาธิการ และประสานงานตา่ ง ๆ ในจงั หวดั วตั ถุประสงค์ เพ่ือจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัด สุรนิ ทร์ สำหรับใช้เป็นกรอบแนวทางในการปฏิบตั ิงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์ หนา้ 2

วธิ ีการดำเนนิ งาน 1. ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์แผนระดับ 1 และแผนระดับ 2 ของประเทศและบริบทต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ประกอบดว้ ย รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561-2580) แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยทุ ธศาสตร์ชาติ อันเป็น ผลมาจากสถานการณ์โควิด - 19 พ.ศ. 2564 - 2565 โครงการสำคัญเพื่อบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติและ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง (คณะ รัฐมนตรีมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560 – 2564 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562 - 2565) นโยบาย รัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) แถลงต่อรัฐสภา เมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม 2562 เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สำหรับประเทศไทย แผนการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ร่าง แผนปฏิบัติราชการ ประจำปี พ.ศ.2565 ของกระทรวงศึกษาธิการและบรบิ ทต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2. กำหนดกรอบ/ แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ตามกรอบสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำคำขอ งบประมาณรายจ่ายประจำปี) 3. จัดทำข้อมูลสารสนเทศที่เก่ียวข้องและยกร่างสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์ เพื่อประกอบการพิจารณาทบทวนสาระสำคัญ ของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ อันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด – 19 โครงการสำคัญเพ่อื บรรลุเป้าหมายยุทธศาสตรช์ าตแิ ละแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนการปฏิรูปประเทศ ฉบับปรับปรุง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ีสิบสอง นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ นโยบายของคณะรฐั มนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา เป้าหมาย การพัฒนาท่ีย่งั ยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) สำหรบั ประเทศไทย แผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายและจุดเน้นกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) ผลการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2563 อำนาจหน้าท่ี ของสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์และบรบิ ทอนื่ ท่เี ก่ียวข้อง 4. ประชุมทบทวนสาระสำคัญของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.256 5 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ เม่ือวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2564 5. ประชุมปฏิบัติการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565ของสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ เพื่อจัดทำรายละเอียดงาน/โครงการและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับสาระสำคัญ ของแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับจัดทำ คำของบประมาณรายจ่ายประจำปี) แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หนา้ 3

6. เสนอขออนุมัติแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการ จงั หวดั สุรนิ ทร์ ต่อผู้บริหารของสำนักงานศึกษาธิการจังหวดั สรุ ินทร์ 7. เผยแพร่แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด สุรินทร์ทางเว็บไซต์ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สุรินทร์ 8. จัดส่งแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สุรินทร์ ให้สำนักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ สป. เมอ่ื วนั ท่ี 30 ธนั วาคม 2564 ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ มีแผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ท่ีสามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์ หนา้ 4

สว่ นท่ี 2 ข้อมลู สภาพท่วั ไปของจงั หวดั 1. บรบิ ทของจังหวัดสรุ ินทร์ 1.1 ความเปน็ มา จงั หวัดสุรนิ ทรไ์ ด้รับการสนั นิษฐานจากนักประวัตศิ าสตร์ว่า พ้ืนท่ีอนั เปน็ ท่ตี ้งั เมืองสุรนิ ทร์ มีชุมชน อาศัยอยู่เมื่อประมาณ 2,000 ปี ล่วงมาแล้ว พบหลักฐานการอยู่ของมนุษย์ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ยุคโลหะตอนปลาย ซึ่งมีการใช้เครื่องมือเหล็กแล้ว ซึ่งยังปรากฏให้เห็นชุมชนโบราณกว่า 59 แห่ง จากสภาพ ภูมิศาสตร์ ที่มีอาณาเขตต่อเนื่องกับพื้นที่ที่เคยเป็นอาณาจักรขอมโบราณ ทำให้ชุมชนในจังหวัดสุรินทร์ได้รับ วฒั นธรรมขอมมาโดยตลอดต้งั แต่ในช่วงพุทธศตวรรษท่ี 12 เปน็ ต้นมา เมือ่ ขอมเสอ่ื มอำนาจลง ไมป่ รากฏหลักฐาน เด่นชัดที่แสดงถึงการอยู่อาศัยของชุมชนในสมัยต่อมา จนกระทั่งในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย พ.ศ. 2260 จึงปรากฏร่องรอยขึน้ อกี ครั้งหนึ่งในพงศาวดารอสี าน ชาวพ้นื เมอื งกล่มุ หนง่ึ ท่เี รยี กตัวเองว่า กยู ซึ่งอาศยั อยู่แถบ เมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาศักด์ิ ซึ่งขณะน้ันเป็นดินแดนของไทย และเปน็ ผทู้ ่ีมีความสามารถในการจับช้าง ปา่ มาเล้ียงไวใ้ ชง้ าน พากนั อพยพขา้ มลำน้ำโขงมาสู่ฝ่งั ขวา โดยได้แยกย้ายกันไปต้งั ชมุ ชนที่เมืองลงี (อ.จอมพระ) บ้านโคกลำดวน (อ.ขุขันธ์ จ.ศรีสะเกษ) บ้านอัจจะปะนึ่ง (อ.สังขะ) และบ้านกุดปะไท (อ.ศีขรภูมิ) ในปี พ.ศ. 2303 หัวหน้าชาวกูยที่อาศัยอยู่ในบริเวณน้ีได้ช่วยขุนนางจากราชสำนักคล้องช้างเผือกแตกโรง มาจากกรุงศรีอยุธยา กลับไปได้ ต่อมาได้ส่งส่วยของป่าและรับราชการกับราชสำนัก จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์และยกบ้าน ทปี่ กครองข้ึนเปน็ เมือง ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2306 หลวงสุรนิ ทรภกั ดีหรอื เชียงปมุ หวั หนา้ หมบู่ ้านเมืองทไี ดข้ อให้เจ้า เมืองพิมายกราบบังคมทูลขอพระกรุณาโปรดเกล้าฯ จากพระเจ้าอยู่หัวพระทีน่ ั่ง สุริยามรินทร์ย้ายหมู่บ้านจาก บา้ นเมืองที มาตั้งอยทู่ บ่ี ริเวณบ้านคูประทายซึ่งเปน็ ที่ตง้ั เมืองสุรนิ ทรใ์ นปัจจุบนั เนือ่ งจากเห็นว่าเป็นบริเวณท่ีมี ชัยภูมิเหมาะสม มีกำแพงค่ายคูล้อมรอบ 2 ชั้น มีน้ำอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพและอยู่อาศัย ต่อมาหลวงสุรนิ ทรภกั ดไี ด้กระทำความดีความชอบเปน็ ทีโ่ ปรดปรานของพระเจ้าอยูห่ วั พระท่ีนง่ั สรุ ยิ ามรนิ ทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านคูประทายเป็นเมืองประทายสมันต์และเล่ือนบรรดาศักดิ์หลวงสุรินทรภักดี เป็นพระยาสุรินทรภักดี ศรณี รงค์จางวางใหเ้ ป็นเจ้าเมอื งปกครอง ในปี พ.ศ. 2329 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เปลี่ยนชื่อเมืองประทายสมันต์เป็นเมืองสุรินทร์ ตามสร้อยบรรดาศักดิ์เจ้าเมืองเมืองสุรินทร์มีเจ้าเมือง ปกครอง สืบเชื้อสายกันมารวม 11 คน จนถึงปี พ.ศ.2451 ได้มีการปรับปรุงระบบบริหารราชการแผ่นดินเป็น แบบเทศาภิบาล สว่ นกลางจึงได้แต่งตงั้ พระกรงุ ศรบี รุ ีรักษ์ (สุม สุมานนท์) มาดำรงตำแหน่งเป็นข้าหลวงประจำ จังหวัดหรือผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นคนแรก ส่วนผูว้ ่าราชการจังหวัดคนปัจจุบัน คือ นายสุวพงศ์ กิติภัทย์พิบูลย์ ซึง่ เปน็ ผู้ว่าราชการจังหวัด คนที่ 57 แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สรุ ินทร์ หนา้ 5

1.2 ลักษณะทางกายภาพ 1) ทต่ี ง้ั จังหวัดสุรนิ ทร์ตั้งอยู่ทางทิศใตข้ องภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ ระหว่างเส้นแวงท่ี 103 และ 105 องศาตะวันออก เส้นรุ้งที่ 15 และ 16 องศาเหนือ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานคร ทางรถยนต์ประมาณ 450 กิโลเมตร ทางรถไฟ 420 กิโลเมตร อยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดนครราชสมี า บุรรี ัมย์ ชยั ภมู ิ และสุรนิ ทร์ 2) ขนาดพน้ื ที่ จังหวัดสุรินทร์ มีเนื้อที่ประมาณ 8,124.1 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 5,077,535 ไร่คิดเป็น ร้อยละ 1.6 ของพ้นื ทที่ งั้ ประเทศ หรือร้อยละ 4.8 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อาณาเขตติดตอ่ ทศิ เหนอื ตดิ ต่อกบั จงั หวัดรอ้ ยเอด็ และจงั หวดั มหาสารคาม ทิศตะวนั ออก ติดต่อกับจังหวดั ศรีสะเกษ ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับจงั หวดั อดุ รมีชัย ราชอาณาจกั รกมั พชู า ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อกบั จงั หวัดบรุ รี ัมย์ แผนท่ีจงั หวัดสรุ ินทร์ แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 6

1.3 การปกครอง จังหวัดสุรินทร์ แบ่งเขตการปกครองเป็น 17 อำเภอ 158 ตำบล 2,122 หมู่บ้าน 1 เทศบาลเมือง 27 เทศบาลตำบล 144 องค์การบริหารส่วนตำบล ปี 2563 จังหวัดสุรินทร์มีประชากร 1,378,221คน (ตามประกาศกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563) เป็น เพศชาย 685,800 และ หญงิ 692,421 คน มสี ญั ชาติ ไทย 1,376,726 คน เป็นชาย 684,821 คน และหญงิ 691,905 คน ไม่ได้สญั ชาติ ไทย 1,495 คน เป็นชาย 979 คน และหญิง 516 คน มีจำนวนครัวเรือน 403,890 ครัวเรือน ในปี 2563 จังหวัดสุรินทร์มีประชากรมากเป็นอันดับที่ 19 ของประเทศ ความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ในจังหวัด เทา่ กับ169.9 คนตอ่ ตารางกโิ ลเมตร ตาราง : แสดงข้อมูลหน่วยการปกครองและประชากรจังหวดั สรุ ินทร์ ปี 2563 ลำ อำเภอ ตง้ั พน้ื ท่ี ห่างจาก เทศบาล อบต. จำนวน ชาย ประชากร รวม ดบั เม่อื (ตร.กม.) จังหวดั (แหง่ ) (แหง่ ) ตำบล หม่บู ้าน หญิง พ.ศ. (กม.) 1 เมอื งสุรนิ ทร์ (Mueang Surin) 2440 903.8 - 2 20 20 290 126,563 131,576 258,139 2 ชมุ พลบุรี (Chumphon Buri) 2445 520.3 92 5 5 9 122 35,660 35,521 71,181 3 ทา่ ตมู (Tha Tum) 2465 643.3 52 2 10 10 165 48,007 47,879 95,886 4 จอมพระ (Chom Phra) 2505 314.0 26 3 6 9 105 29,386 29,448 58,834 5 ปราสาท(Prasat) 2480 908.8 28 3 17 18 241 75,399 77,263 152,662 6 กาบเชิง (Kap Chaoeng) 2522 574.0 58 2 4 6 86 30,107 29,930 60,037 7 รตั นบรุ ี (Rattanaburi) 2439 202.8 70 1 12 12 162 45,976 46,397 92,373 8 สนม (Sanom) 2520 203.0 51 2 6 7 78 21,903 21,775 43,678 9 ศขี รภูมิ (Sikhoraphum) 2446 561.6 34 2 14 15 228 66,960 68,029 134,989 10 สงั ขะ (Sangkha) 2450 1,009.0 47 1 12 12 186 65,676 65,218 130,894 11 ลำดวน (Lumduan) 2520 301.0 26 1 5 5 51 15,481 15,682 31,163 12 สำโรงทาบ (Samrong Thap) 2502 375.3 54 2 9 10 100 26,421 26,289 52,710 13 บัวเชด (Buachet) 2527 479.0 70 1 6 6 68 20,996 20,434 41,430 14 พนมดงรัก (Phanom Dong Rak) 2550 318.0 78 - 4 4 55 19,254 18,755 38,009 15 ศรีณรงค์ (Sri Narong) 2550 410.0 64 - 5 5 62 23,591 23,244 46,835 16 เขวาสินรินทร์ (Khwao Sinsrin) 2550 201 14 1 4 5 55 17,012 17,401 34,413 17 โนนนารายณ์ (Nhon Narai) 2550 199.2 72 - 5 5 68 17,408 17,580 34,988 รวม - 8,124.1 - 28 144 158 2,122 685,800 692,421 1,378,221 ท่ีมา: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ขอ้ มลู ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2563 1.4 ประชากรและวฒั นธรรม ประชากร (ข้อมูล ณ ธันวาคม 2563) ปี 2563 จังหวัดสุรินทร์มีประชากร 1,378,221 คน เป็น เพศชาย 685,800 และหญิง 692,421 คน มีจำนวนครัวเรือน 403,890 ครัวเรือน จากสภาพภูมิศาสตร์และ ประวตั ศิ าสตรก์ ารกอ่ ต้ังจังหวัดสรุ ินทร์ทำให้ชมุ ชนพ้นื เมืองในจงั หวัดสุรนิ ทร์ประกอบด้วย 3 ชาติพันธุ์ ไดแ้ ก่ เขมร ลาว และกูยหรือส่วย (เป็นผู้ที่มีความสามารถในการจบั ช้างปา่ มาเลี้ยงไว้ใช้งาน) ก่อให้เกิดการผสมผสานวัฒนธรรม แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทร์ หน้า 7

ของชุมชนได้อย่างกลมกลืนและลงตัวโดยประชากรส่วนใหญ่ยังคงประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรม มีการทำข้าว ทำสวน และเพราะปลูกพืชไร่ชนิดต่าง ๆ เช่น มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ยางพารา อาชีพสำคัญ รองลงมา คือ การเล้ยี งไหม ตาราง : จำนวนประชากรและครวั เรือนจงั หวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2563 จงั หวัด จำนวนประชากร (คน) จำนวนครัวเรอื น สุรินทร์ ชาย หญิง รวม (ครัวเรอื น) 685,800 692,421 1,378,221 403,890 ทีม่ า : กรมการปกครอง ตาราง : ประชากรและโครงสรา้ งประชากรจังหวัดสรุ ินทร์ พ.ศ. 2563 ช่วงอายุ ชาย หญงิ 32,807 0 – 4 34,289 40,403 41,820 5 – 9 42,282 43,140 49,567 10 - 14 44,245 51,726 45,621 15 - 19 46,495 51,251 53,225 20 - 24 51,073 55,433 51,442 25 - 29 55,374 46,730 37,953 30 - 34 49,013 29,649 24,352 35 - 39 54,423 16,198 11,504 40 - 44 55,273 6,368 2446 45 - 49 54,875 581 205 50 - 54 50,063 692,421 55 - 59 42,808 60 - 64 34,018 65 - 69 25,144 70 - 74 19,735 75 - 79 12,212 80 – 84 8,110 85 - 89 4,337 90 - 94 1522 95 -99 372 100 ปีขึน้ ไป 137 รวม 685,800 ทม่ี า : สำนกั งานสถติ จิ ังหวดั สุรินทร์ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ หน้า 8

แผนภูมิ : โครงสร้างทางอายุและเพศของประชากรของจงั หวดั สุรินทร์ ปี 2563 100 ปี ข้ึนไป หญิง ชาย 95-99 90-94 85-89 80-84 75-79 70-74 65-69 60-64 55-59 50-54 45-49 40-44 35- 39 30-34 25-29 20-24 15-19 10-14 5-9 0-4 ทม่ี า : สำนกั งานสถติ ิจังหวัดสรุ ินทร์ จากการวิเคราะห์โครงสรา้ งทางอายุและเพศของประชากรของจงั หวัดสุรินทร์ ปี 2563 โดยใช้พีระมิด ประชากรพบว่า 1. รูปแบบพีระมิดประชากรเป็นแบบหดตัว เป็นพีระมิดของประชากรที่มีรูปแบบของฐาน พีระมิดแคบ ตรงกลางพองออกและยอดค่อยๆแคบเข้าคล้ายรปู ดอกบวั แสดงให้เห็นว่าอัตราการเกิดและอัตรา การตายตำ่ หรอื มีโครงสรา้ งประชากรลดลง 2. แนวโนม้ จำนวนประชากรจังหวัดสรุ ินทรจ์ ะเพ่ิมขนึ้ ช้าๆ และลดลง แลประชากรในวัยเด็กมี แนวโน้มลดลง ขณะที่ประชากรวัยผู้สูงอายุมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุจะส่งผลต่อการ ลดลงของรายได้เฉลี่ยของประชากรและส่งผลต่อรายได้จากภาษีอากรที่อาจจะลดลงด้วย นอกจากนี้ยังมี ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในด้านที่เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุอีกด้วย เช่น ปัญหาด้านสุขภาพอนามัย การประกันสังคม และสวัสดกิ ารต่าง ๆ ควรมกี ารเตรียมความพร้อมไว้ 3. รูปแบบของการพึ่งพิงกันระหว่างกันของประชากร จากโครงสร้างประชากรดังกล่าว ประชากรในวัยเด็กที่ต้องพึ่งพิงวัยทำงานลดลง แต่กลับมีวัยสูงอายุที่ต้องพึ่งพิงวัยทำงานเพิ่มขึ้น เมื่อวัยเด็ก ลดลงก็จะส่งผลต่อการลดลงของวัยทำงานในอนาคตด้วย หากวัยผู้สูงอายุมากกว่าวัยทำงาน ก็จะทำให้พบกั บ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หน้า 9

ปัญหาของการขาดทีพ่ ง่ึ พงิ ของกลุ่มคนสงู อายุ ในแตล่ ะครอบครัวก็จะมสี มาชกิ ทีจ่ ะดูแลผู้สูงอายนุ ้อยลง อาจส่งผลให้ ผ้สู งู อายถุ ูกทอดทิ้งได้ ลักษณะทางสังคม จังหวัดสุรินทร์เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประเพณีและ ความเป็นอยูเ่ นื่องจากประชากรท่ีพูดภาษาต่างกัน 3 กลุ่ม หรือ “สุรินทร์ 3 เผ่า” คือ เขมร กูย และลาว แต่ประชากร ทั้งหมดมีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีความสามัคคี อยู่ร่วมกันอย่างสงบ ต่างได้รักษาวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา ของตนไวเ้ ปน็ อยา่ งดี และเปน็ เอกลกั ษณ์ท่ีโดดเดน่ จังหวดั สุรินทร์ ศาสนา ปี 2563 จังหวัดสุรินทร์มีวัด 961 แห่ง และจำนวนที่พักสงฆ์ 479 แห่ง มีโบสถ์คริสต์ 27 แห่ง มัสยิด 1 แห่ง พระภกิ ษุ 6,104 รปู สามเณร 543 รูป โดยมีพระอารามหลวง คอื วัด ศาลาลอย และ วัดบูรพาราม (เป็น วัดสำคัญเก่าแก่ของจังหวัด มีอายุประมาณ 200 ปี เป็นที่ประดิษฐานหลวงพ่อพระชีว์ พระพุทธรูปสำคัญ ประจำจังหวัด) รวมทั้งวนอุทยานพนมสวาย มีพระพุทธสุรินทรมงคล (นาม พระราชทาน) พระพุทธรูปองค์ใหญ่ที่สุด ในจังหวัดสุรินทร์ ซึ่งผู้เดินทางไปสักการะ จะได้เคาะระฆัง 1,080 ใบ เสริมสิริมงคลแก่ชีวิตด้วย (แหล่งข้อมูล สำนกั งานวัฒนธรรมจังหวัดสรุ นิ ทร์ และสำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจังหวดั สุรนิ ทร์ ข้อมูล 31 ธันวาคม 2563) ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรม จังหวัดสุรินทร์มีประเพณีที่สําคญั มากมาย ได้แก่ ประเพณี บวชนาคช้าง งานประเพณีขึ้นเขาสวาย เคาะระฆังพันใบ ไหว้ 9 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ งานช้างและกาชาดสุรินทร์ ประเพณีแซนโฎนตากันตรึม การกวนข้าวทิพย์ การแต่งงาน หรือ แซนการ์กะโน้ปติงตอง เรือมอันเร หรือ ลูด อนั เรเรอื มตรด เรอื มอายยั โชง สะบา้ ลิเกเขมร มโหรี เจรยี ง และ เจรยี งเบริน มีวัฒนธรรมการเล้ยี งชา้ งเสมือน เป็นสัตว์เลี้ยงภายในบ้าน เป็นวฒั นธรรมการอยู่รว่ มกันของคนกับช้างอันเป็นเอกลกั ษณ์อันโดดเดน่ ไม่เหมือนท่ี แห่งใดในโลก 2. ข้อมลู พืน้ ฐานดา้ นการศึกษา สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สุรนิ ทร์ ได้รวบรวมสรปุ ขอ้ มลู พ้ืนฐานด้านการศึกษา เพอ่ื แสดงให้ เห็นถึงบริบทด้านการจัดการศึกษาของหน่วยงานทางการศกึ ษาในจงั หวัดเปน็ เบื้องต้น ดังต่อไปนี้ 2.1 จำนวนนกั เรยี น จำนวนครู จำนวนโรงเรียน จำแนกตามสงั กัด 2.2 จำนวนสถานศึกษา จำแนกตามขนาด 2.3 รายช่ือหน่วยงานทางการศึกษา 2.4 ขอ้ มูลด้านคุณภาพการศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) 2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านอาชีวศกึ ษา (V-NET) 3) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 4) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ ้านพระพุทธศาสนา (B-NET) แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สรุ ินทร์ หน้า 10

2.1 จำนวนนักเรยี น จำนวนครู จำนวนโรงเรียน จำแนกตามสังกดั ตารางข้อมูลจำนวนนักเรยี น นักศึกษาทงั้ หมดตามสังกดั ปีการศึกษา 2564 จังหวัดสรุ นิ ทร์ ที่ สงั กัด จำนวน นร. จำนวนครู จำนวน รร. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 228,050 15,483 868 1 สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 51,975 4,189 292 1.1 สำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 1 28,532 2,598 218 1.2 สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2 49,393 3,578 233 1.3 สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 52,735 3,565 85 1.4 สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ 668 162 2 1.5 สำนกั บรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ 17,774 612 8 22,555 427 18 2 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 3 สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 4,418 352 12 29,434 947 570 จงั หวัดสรุ ินทร์ 29,434 947 570 4 สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน (โรงเรยี นเอกชน) 8,422 182 11 กระทรวงมหาดไทย 21,012 765 559 1 กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น 1,125 75 7 1,125 75 7 1.1 โรงเรยี นในระบบสงั กดั (รร.เทศบาล) 732 118 8 1.2 ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ 732 118 8 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (บงั คับบัญชาขนึ้ ตรงต่อนายกรฐั มนตร)ี 408 50 1 1 กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (รร.ตชด. 408 50 1 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (บงั คบั บัญชาข้ึนตรงต่อนายกรฐั มนตรี) 408 50 1 1 สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ 10,692 705 4 กระทรวงสาธารณสุข 6,932 387 1 1 สำนักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ (สถาบนั พระบรมราชชนก) 188 17 1 1.1 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรนิ ทร์ 3,128 224 1 กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 444 77 1 1 1.1 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรนิ ทร์ 1.2 โรงเรียนสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุรนิ ทร์ ไม่มีขอ้ มลู ไมม่ ขี อ้ มลู 1 1.3 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ ไมม่ ีข้อมลู ไม่มีขอ้ มลู 1 1.4 มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสรุ ินทร์ มหาวทิ ยาลัยเอกชน 1 มหาวิทยาลยั เฉลมิ กาญจนา (สุรนิ ทร์) 2 มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง (สาขาวทิ ยบรกิ ารเฉลิมพระเกยี รติ จงั หวดั สุรินทร์) แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 11

2.2 จำนวนสถานศกึ ษา จำแนกตามขนาด 1) สังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 1 – 3 ขนาดเล็ก 596 โรง ขนาดกลาง 107 โรง ขนาดใหญ่ 42 โรง ขนาดใหญม่ าก 2 โรง 2) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา ขนาดเล็ก 53 โรง ขนาดกลาง 17 โรง ขนาดใหญ่ 4 โรง ขนาดใหญม่ าก 11 โรง 3) สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ขนาดเล็ก 1 โรง ขนาดกลาง 4 โรง ขนาดใหญ่ 3 โรง 4) สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา ขนาดเล็ก 1 โรง ขนาดกลาง 4 โรง ขนาดใหญ่ 3 โรง 2.3 รายชื่อหน่วยงานทางการศกึ ษา ตารางรายชอ่ื หนว่ ยงานทางการศึกษาจงั หวัดสุรินทร์ ปกี ารศกึ ษา 2564 หน่วยงานทางการศกึ ษา ระดบั การศึกษา 1. กระทรวงศึกษาธกิ าร อ.1 – ม.3 1.1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน (สพฐ.) อ.1 – ม.3 1.1.1 สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 อ.1 – ม.3 1.1.2 สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 ม.1 – ม.6 1.1.3 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3 1.1.4 สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร์ อ.1 - ม.6 1.1.5. สำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ (สศศ.) เตรยี มความพรอ้ ม 1.1.5.1 โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสรุ ินทร์ 1.1.5.2 ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสรุ นิ ทร์ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สรุ ินทร์ หนา้ 12

หน่วยงานทางการศึกษา ระดบั การศกึ ษา 1.2. สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวดั สุรินทร์ (กศน.) ป.1 – ม.6 1.3. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) อ.1 - ม.6 1.3.1. ในระบบ ม.1 – ม.3 1.3.1.1 ในระบบ 1 แหง่ ม.1 – ม.6 1.3.1.2 ในระบบ 1 แหง่ อ.1 – ป.6 1.3.1.3 ในระบบ 1 แห่ง อ.1 – อ.3 1.3.1.4 ในระบบ 5 แห่ง 1.3.1.5 ในระบบ 2 แหง่ กวดวชิ า วชิ าชีพ 1.3.2. นอกระบบ ศลิ ปะและกีฬา 1.3.2.1 นอกระบบ 15 แหง่ สร้างเสรมิ ทักษะชีวติ 1.3.2.2 นอกระบบ 10 แหง่ 1.3.2.3 นอกระบบ 2 แห่ง ปวช. - ปวส 1.3.2.4 นอกระบบ 1 แห่ง ปวช. - ปวส ปวช. - ปวส 1.4. สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (สอศ.) ปวช. – ป.ตรี 1.4.1 วทิ ยาลยั การอาชพี ท่าตมู ปวช. - ปวส 1.4.2 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาสุรนิ ทร์ ปวช. - ปวส 1.4.3 วิทยาลยั สารพัดชา่ งสุรนิ ทร์ ปวช. - ปวส 1.4.4 วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละการจัดการรตั นบรุ ี 1.4.5 วิทยาลัยเทคนิคสรุ นิ ทร์ อ.1 – อ.3 1.4.6 วิทยาลยั การอาชีพสังขะ ป.1 – ป.6 1.4.7 วทิ ยาลยั การอาชีพศีขรภมู ิ ม.1 – ม.6 1.4.8 วทิ ยาลยั การอาชพี ปราสาท อ.1 – ป.4 อ.1 – ป.6 2. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ อ.1 – อ.3 2.1 รร.เทศบาล 1 สรุ ินทรว์ ิทยาคม ป.1 – ป.6 2.2 รร.เทศบาล 2 วภิ ัชศกึ ษา อ.1 – อ.1 2.3 รร.เทศบาล 3 เทศบาลอนสุ รณ์ 2.4 รร.อนุบาลเทศบาลตำบลกระหาด 2.5 รร.เทศบาลทา่ ตูม 2.6 รร.อนบุ าลเทศบาลตำบลกันตวจระมวล 2.7 รร.เทศบาลรตั นบรุ ี 2.8 รร.อนบุ าลเทศบาลตำบลผกั ไหม แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หนา้ 13

หน่วยงานทางการศึกษา ระดบั การศกึ ษา 2.9 รร.เทศบาลตำบลแคน อ.1 – อ.3 2.10 รร.เทศบาลสงั ขะ ป.1 – ป.6 2.11 รร.กีฬาหม่นื ศรีวทิ ยานสุ รณ์ ป.1 – ม.3 3. สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ 3.1 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน อ.1 – ป.6 4. สำนกั งานพระพุทธศาสนาแหง่ ชาติ 4.1 โรงเรยี นปริยตั ิสามญั ม.1 – ม.6 5. มหาวิทยาลัย 5.1 มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง (สาขาวิทยบรกิ ารเฉลมิ พระเกยี รติ จ.สุรินทร์) ปรญิ ญาตรี 5.2 มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุรินทร์ ปริญญาตรี-เอก 5.3 มหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสรุ นิ ทร์ ปรญิ ญาตรี-เอก 5.4 มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตสรุ นิ ทร์ 5.5 มหาวทิ ยาลยั เฉลิมกาญจนา (สุรินทร์) ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี 2.4 ข้อมูลดา้ นคุณภาพการศึกษาจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ปกี ารศึกษา 2563 (1) ผลการทดสอบทางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ตารางที่ 1 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2563 ระดับจังหวดั กับระดบั ประเทศ จำแนกรายวิชา คะแนนเฉลย่ี ร้อยละจำแนกตามระดบั คะแนนเฉลยี่ ร้อยละจำแนกตามสงั กัด ในจังหวัดสรุ นิ ทร์ วิชา จงั หวดั ศกึ ษาธกิ าร เปรียบเทยี บ สรุ ินทร์ ภาค 13 ประเทศ จังหวัดกับ ประเทศ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 สพป. สช. อว. อปท. ตชด. ภาษาไทย 57.56 55.96 56.20 +1.36 57.56 61.69 59.78 57.03 47.47 ภาษาองั กฤษ 40.34 39.99 43.55 -3.21 39.83 58.36 53.75 42.43 30.17 คณิตศาสตร์ 29.24 28.84 29.99 -0.75 29.11 32.11 51.00 31.35 25.43 วทิ ยาศาสตร์ 39.10 38.16 38.78 +0.32 38.97 44.63 38.93 39.76 34.46 รวมเฉลย่ี 41.56 40.74 42.13 -0.57 41.37 49.20 50.87 42.64 34.38 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 สพม. สพป. สช. อว. อปท. พศ. ภาษาไทย 55.10 53.22 54.29 +0.81 58.19 52.02 41.18 42.92 43.93 39.74 ภาษาองั กฤษ 32.70 32.36 34.38 -1.68 35.73 28.99 26.60 29.17 29.55 26.30 คณิตศาสตร์ 24.47 23.97 25.46 -0.99 26.94 21.39 20.09 18.13 19.00 20.52 แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 14

คะแนนเฉลย่ี ร้อยละจำแนกตามระดบั คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละจำแนกตามสงั กัด ในจงั หวดั สรุ ินทร์ วิชา จังหวดั ศกึ ษาธกิ าร เปรียบเทยี บ สุรนิ ทร์ ภาค 13 ประเทศ จงั หวัดกับ ประเทศ วทิ ยาศาสตร์ 29.30 29.17 29.89 -0.59 30.45 27.97 26.61 26.13 27.79 25.50 รวมเฉลี่ย 35.39 34.68 36.01 -0.61 37.83 32.59 28.62 29.09 30.07 28.02 มัธยมศึกษาปที ี่ 6 สพม. สพป. สช. อว. อปท. พศ. ภาษาไทย 44.23 41.93 44.36 -0.13 44.53 36.86 30.15 38.49 36.00 สงั คมศกึ ษาฯ 35.85 34.97 35.93 -0.08 35.97 33.66 29.62 33.07 32.82 ภาษาองั กฤษ 26.44 26.37 29.94 -3.50 26.59 21.99 22.39 23.12 22.15 คณิตศาสตร์ 23.32 22.81 26.04 -2.72 23.48 18.97 17.71 21.75 16.34 วิทยาศาสตร์ 31.84 30.93 32.68 -0.84 32.02 26.79 24.29 29.51 25.83 รวมเฉลยี่ 32.34 31.40 33.79 -1.45 32.52 27.65 24.83 29.19 26.63 หมายเหตุ 1. สพฐ. หมายถงึ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 2. สพป. หมายถึง สำนักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1 เขต 2 และ เขต 3 3. สพม. หมายถงึ สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษาสรุ นิ ทร์ 4. สช. หมายถงึ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน 5. อว. หมายถึง โรงเรยี น สงั กดั กระทรวงอุดมศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม 6. อปท. หมายถึง กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 7. พศ. หมายถงึ สำนักงานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ 8. ตชด. หมายถงึ กองบญั ชาการตำรวจตระเวนชายแดน ตารางท่ี 2 คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) ระหว่างปีการศึกษา 2561-2563 ระดับจงั หวัดสรุ ินทร์ ระดบั ชน้ั / คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ เปรียบเทยี บ สรปุ ผล กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2561 2562 2563 2563 กับ 2562 ประถมศึกษาปีที่ 6 ภาษาไทย 57.97 51.17 57.56 +6.39 เพิม่ ขึ้น ภาษาองั กฤษ 37.57 32.97 40.34 +7.37 เพิ่มขึ้น คณติ ศาสตร์ 39.62 35.17 29.24 -5.93 ลดลง วทิ ยาศาสตร์ 40.92 36.76 39.10 +2.34 เพิ่มข้ึน จำนวนเฉลย่ี 44.02 39.02 41.56 +2.54 เพ่มิ ข้ึน มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาษาไทย 53.70 55.62 55.10 -0.52 ลดลง ภาษาอังกฤษ 27.46 31.05 32.70 +1.65 เพม่ิ ขนึ้ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 15

ระดับชนั้ / คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ เปรียบเทยี บ สรปุ ผล กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 2561 2562 2563 2563 กบั 2562 28.59 35.17 24.47 ลดลง คณติ ศาสตร์ 35.97 36.76 29.30 -10.70 ลดลง วทิ ยาศาสตร์ 36.43 39.65 35.39 -7.46 ลดลง จำนวนเฉลี่ย -4.26 มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เพิม่ ขึ้น ภาษาไทย 47.01 42.33 44.23 +1.90 เพิม่ ขึ้น สงั คมศึกษาฯ 34.81 35.36 35.85 +0.49 เพมิ่ ขึ้น ภาษาอังกฤษ 27.46 25.89 26.44 +0.55 เพมิ่ ขึ้น คณติ ศาสตร์ 27.03 22.27 23.32 +1.05 เพม่ิ ขึ้น วิทยาศาสตร์ 29.60 28.49 31.84 +3.35 เพ่มิ ขนึ้ จำนวนเฉลย่ี 33.18 30.87 32.34 +1.47 ตารางที่ 3 จำนวนนกั เรยี นที่ไดค้ ะแนนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) ปกี ารศึกษา 2563 รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป ระดับจังหวัด ภาค และประเทศ ระดับช้นั / จำนวนนกั เรยี นท่ีไดค้ ะแนน จำนวนนกั เรียนทไี่ ด้คะแนน กลมุ่ สาระ ร้อยละ 50 ข้ึนไป จำแนกตามระดับ ร้อยละ 50 ขนึ้ ไป จำแนกตามสงั กัดในจงั หวัด การเรยี นรู้ ศธจ.สุรนิ ทร์ ศธภ. 13 ประเทศ ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 สพป. สช. อว. อปท. ตชด. ภาษาไทย 8,130 33,167 319,977 7,592 256 7 219 56 ภาษาองั กฤษ 3,001 12,653 154,036 2,681 197 6 107 10 คณติ ศาสตร์ 1,096 4,290 50,913 998 51 5 38 4 วทิ ยาศาสตร์ 2,193 8,762 94,426 1,999 105 1 77 11 จำนวนเฉลย่ี 3,605 14,718 154,838 3,318 152 5 110 20 มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 สพม. สพป. สช. อว. อปท. พศ. ภาษาไทย 4,861 22,985 221,531 3,070 1,709 39 9 7 27 ภาษาองั กฤษ 741 3,676 50,097 643 95 1 - 1 1 คณิตศาสตร์ 384 1,838 24,684 355 28 1 - - - วทิ ยาศาสตร์ 164 1,024 13,095 147 17 - - - - จำนวนเฉล่ีย 1,538 7,381 77,352 1,054 462 10.25 2.25 2 7 มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 สพม. สพป. สช. อว. อปท. พศ. ภาษาไทย 2,500 11,086 138,717 2,456 17 1 16 10 สงั คมศึกษาฯ 299 1,436 23,165 296 1 - 11 ภาษาอังกฤษ 310 1,680 37,425 310 - - -- แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 16

ระดับชน้ั / จำนวนนกั เรียนที่ไดค้ ะแนน จำนวนนกั เรียนทไ่ี ด้คะแนน กลมุ่ สาระ รอ้ ยละ 50 ข้นึ ไป จำแนกตามระดับ รอ้ ยละ 50 ขนึ้ ไป จำแนกตามสงั กดั ในจังหวดั การเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ศธจ.สุรนิ ทร์ ศธภ. 13 ประเทศ 374 - - 1- 375 1,964 37,719 472 - 1 3- วทิ ยาศาสตร์ 476 2,394 37,009 782 3.60 0.40 4.20 2.20 792 3,712 54,807 จำนวนเฉล่ีย หมายเหตุ 1. สพฐ. หมายถงึ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน 2. สพป. หมายถงึ สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 1 เขต 2 และ เขต 3 3. สพม. หมายถึง สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษาสรุ ินทร์ 4. สช. หมายถึง สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน 5. อว. หมายถึง โรงเรียน สังกดั กระทรวงอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม 6. อปท. หมายถงึ กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น 7. พศ. หมายถึง สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาแห่งชาติ 8. ตชด. หมายถึง กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน (2) ผลการทดสอบระดับชาติด้านอาชีวศกึ ษา (V-NET) ตารางที่ 1 คะแนนเฉลีย่ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ า้ นอาชีวศกึ ษา (V-NET) ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ ปีท่ี 3 (ปวช. 3) ปีการศึกษา 2563 ระดบั จงั หวัดภาค และ ประเทศ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ เปรียบเทยี บ ระดบั /วิชา จังหวดั ศธภ.13 ภาคตะวันออก ประเทศ จังหวัดกับ สรปุ ผล เฉยี งเหนือ ประเทศ สงู กว่า ทักษะภาษาและการสอื่ สาร 36.74 34.67 34.44 36.17 +0.57 ตำ่ กวา่ สูงกว่า ทักษะการคิดและการแกป้ ัญหา 24.09 26.16 26.46 29.91 -5.82 ตำ่ กว่า ต่ำกวา่ ทักษะทางสังคมและการดำรงชีวติ 60.00 54.48 52.47 53.25 +6.75 ทกั ษะการจัดการงานอาชีพ 37.48 36.01 36.20 39.91 -2.43 รวมเฉล่ีย 37.00 35.69 35.64 38.73 -1.73 ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ า้ นอาชวี ศกึ ษา (V-NET) ระหวา่ งปีการศึกษา 2561-2563 ระดับจงั หวดั สรุ ินทร์ ระดบั /วชิ า คะแนนเฉล่ยี ร้อยละ เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ สรปุ ผล ทกั ษะภาษาและการสื่อสาร 2563 กับ 2562 2561 2562 2563 40.76 39.38 36.74 -2.64 ลดลง แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สรุ นิ ทร์ หนา้ 17

ทกั ษะการคิดและการแก้ปัญหา 30.60 35.79 24.09 -11.70 ลดลง ทักษะทางสงั คมและการดำรงชีวิต 50.97 53.43 60.00 +6.57 เพมิ่ ข้นึ ทกั ษะการจัดการงานอาชีพ 42.46 46.35 37.48 -8.87 ลดลง 41.20 43.74 37.00 -6.74 ลดลง รวมเฉลี่ย (3) ผลการทดสอบระดับชาตกิ ารศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้งั ที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เปรียบเทียบระดับจงั หวดั ภาค และประเทศ ระดับ/วชิ า คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ เปรยี บเทียบ สรปุ ผล จังหวัด ศธภ.13 ประเทศ จังหวัดกบั ประเทศ ต่ำกวา่ ประถมศึกษา 41.33 41.61 41.92 สงู กว่า ทักษะการเรียนรู้ 42.50 39.72 40.88 -0.59 สงู กว่า ความรพู้ ื้นฐาน 49.38 46.79 46.86 +1.62 สูงกว่า การประกอบอาชพี 57.18 50.99 49.53 +2.52 สูงกว่า ทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต 52.26 48.4 47.99 +7.65 สูงกวา่ การพฒั นาสงั คม 48.53 45.50 45.44 +4.27 +3.09 สูงกว่า รวมเฉล่ีย 34.95 34.06 34.88 ตำ่ กว่า มัธยมศึกษาตอนตน้ 32.23 31.77 32.30 +0.07 สูงกว่า ทักษะการเรยี นรู้ 39.01 37.01 38.02 -0.07 สูงกวา่ ความรพู้ ื้นฐาน 47.81 44.60 45.92 +0.99 ต่ำกว่า การประกอบอาชพี 39.96 38.97 40.44 +1.89 สูงกวา่ ทักษะการดำเนนิ ชวี ติ 38.79 37.28 38.31 -0.48 การพฒั นาสงั คม +0.48 ต่ำกว่า 35.53 33.86 35.66 สูงกวา่ รวมเฉลีย่ 26.97 25.88 26.61 -0.13 สงู กวา่ มัธยมศึกษาตอนปลาย 39.85 37.22 38.95 +0.36 สูงกว่า ทกั ษะการเรียนรู้ 41.00 38.03 39.70 +0.90 สูงกว่า ความรู้พน้ื ฐาน 41.03 38.24 40.19 +1.30 การประกอบอาชพี +0.84 ทักษะการดำเนินชวี ติ การพัฒนาสงั คม แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์ หน้า 18

ตารางที่ 2 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ครั้งที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เปรยี บเทยี บระดบั จังหวัด ภาค และประเทศ ระดับ/วชิ า คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ เปรยี บเทยี บ สรปุ ผล จังหวัด ศธภ.13 ประเทศ จงั หวดั กับ ประเทศ ตำ่ กว่า ประถมศึกษา 36.47 33.77 36.9 สูงกวา่ ทกั ษะการเรียนรู้ 40.43 37.28 40.36 -0.43 สงู กว่า ความรูพ้ นื้ ฐาน 39.93 38.05 39.19 +0.07 สงู กวา่ การประกอบอาชพี 47.71 40.96 41.73 +0.74 สูงกวา่ ทักษะการดำเนินชวี ิต 44.98 42.10 43.47 +5.98 สูงกวา่ การพัฒนาสังคม 41.90 38.43 40.33 +1.51 +1.57 สงู กวา่ รวมเฉลี่ย 38.48 36.83 38.30 ต่ำกวา่ มัธยมศึกษาตอนต้น 32.49 32.47 33.30 +0.18 สูงกว่า ทกั ษะการเรยี นรู้ 38.15 36.89 38.07 -0.81 สูงกว่า ความรู้พืน้ ฐาน 44.97 42.26 43.30 +0.08 ต่ำกวา่ การประกอบอาชีพ 34.87 34.66 35.74 +1.67 สงู กว่า ทักษะการดำเนนิ ชวี ติ 37.79 36.62 37.74 -0.87 การพฒั นาสงั คม +0.05 สงู กวา่ 29.07 27.76 29.02 สงู กวา่ รวมเฉลยี่ 32.04 30.96 31.53 +0.05 สูงกว่า มธั ยมศึกษาตอนปลาย 39.70 36.76 38.12 +0.51 สงู กวา่ ทักษะการเรียนรู้ 30.55 27.97 28.95 +1.58 ตำ่ กวา่ ความร้พู ื้นฐาน 28.61 28.45 29.16 +1.60 สงู กว่า การประกอบอาชีพ 31.99 30.38 31.36 -0.55 ทักษะการดำเนนิ ชีวติ +0.64 การพฒั นาสงั คม รวมเฉลยี่ (4) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านพระพทุ ธศาสนา (B-NET) ตารางที่ 1 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพทุ ธศาสนา (B-NET) ปกี ารศึกษา 2563 ระดับจงั หวดั ภาค และประเทศ แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สรุ ินทร์ หนา้ 19

ระดบั / คะแนนเฉลี่ยร้อยละจำแนกตามระดับ วิชา จำนวน จังหวัด ภาค ประเทศ เปรียบเทยี บจังหวัด สรปุ ผล กบั ประเทศ สงู กว่า ชน้ั มัธยมศึกษาตอนต้น สงู กว่า สูงกวา่ ภาษาบาลี 110 32.80 31.19 32.11 +0.69 สูงกวา่ 34.62 32.26 33.21 +1.41 สูงกว่า ธรรม 110 34.25 31.41 32.36 +1.89 32.64 30.25 30.56 +2.08 สงู กว่า พทุ ธประวัติ 110 33.58 31.28 32.06 +1.52 สูงกวา่ สูงกว่า วินัย 110 สูงกว่า สงู กว่า รวมเฉลี่ย 110 ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ภาษาบาลี 57 41.47 34.83 37.15 +4.32 36.91 32.72 33.45 +3.46 ธรรม 57 49.82 39.23 41.04 +8.78 46.21 38.32 38.91 +7.30 พทุ ธประวัติ 57 43.60 36.28 37.64 +5.97 วินยั 57 รวมเฉล่ยี 57 ตารางท่ี 2 คะแนนเฉลย่ี ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตดิ ้านพระพุทธศาสนา (B-NET) ระหวา่ งปกี ารศึกษา 2559-2562 ระดับจังหวัดสุรนิ ทร์ ระดับ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ เปรียบเทยี บ สรปุ ผล 2561 2562 2563 2563 กบั 2562 ระดบั มัธยมศึกษาปีที่ 3 35.71 39.05 33.58 -4.16 ลดลง ระดบั มัธยมศึกษาปีที่ 6 41.54 34.38 43.60 +9.22 เพ่ิมขน้ึ ท่ีมา : สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) www.niets.or.thสำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน bet.obec.go.th แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ หนา้ 20

ส่วนท่ี 3 กรอบแนวคดิ และความสอดคลอ้ งกับแผน 3 ระดบั กรอบแนวคดิ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้กำหนดแนวทางการดำเนินการตาม ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2562 ใหท้ ุกส่วนราชการดำเนนิ การ ตามหนังสือ สศช. ด่วนทส่ี ุด ที่ นร 1112/ว5811 ลงวันท่ี 2 ตุลาคม 2562 ดังน้ี (1) การจัดทำแผนระดับ 3 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 (แผนปฏิบัติ ราชการ หรือแผนปฏิบัติการ ด้าน ....) หรือปรับปรุงแผนระดับ 3 ให้สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรเี มอ่ื วันที่ 12 มนี าคม 2562 (2) การจดั ทำแผนงาน/โครงการทมี่ ีความสำคัญ (Flagship Project) (3) การรายงานผลการดำเนินงานเข้าสรู่ ะบบ eMENSCR (4) การเชื่อมต่อระบบฐานข้อมูลในการติดตามและประเมินผลตามระเบียบว่าด้วยการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล การดำเนนิ การตามยทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏริ ูปประเทศ แผนปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ (ตามงบประมาณท่ีได้รับจัดสรร) ได้จัดทำภายใต้กรอบแนวคิดและความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผน แมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนระดับต่างๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ดังน้ี 1. รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 2. ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580 3. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ 4. แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบบั ปรับปรงุ ) 5. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่สี ิบสอง พ.ศ.2560-2564 6. นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) 7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตร)ี 8. เปา้ หมายการพฒั นาทีย่ ั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 9. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 10. นโยบายการจัดการศึกษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565 11. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 – 2565 (ฉบับทบทวน) 12. แผนปฏบิ ัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของสำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั ปรับปรงุ ตามงบประมาณท่ีได้รับจดั สรร) 13. แผนพัฒนาด้านการศึกษากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 (พ.ศ.2566-2570) 14. ทิศทางการพฒั นาการศกึ ษาจงั หวดั สรุ ินทร์ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 21

1. รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กฎหมายหลักในการปกครอง ประเทศได้กำหนดหมวดสำคัญๆ ท่ีเก่ียวกับการจัดการศึกษา การส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศึกษา และ การเข้ารับบริการการศึกษาของประชาชน หมวดหน้าท่ีของปวงชนชาวไทย มาตรา 50 (4) บุคคลมีหน้าที่ เขา้ รับการศกึ ษาอบรมในการศึกษาภาคบังคับ หมวดหน้าท่ีของรัฐ มาตรา 54 รัฐต้องดำเนินการให้เดก็ ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสอง ปีต้ังแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รัฐต้อง ดำเนินการให้เด็ก เล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้สมกับวัย โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคเอกชน เข้ามา มีส่วนร่วมในการดำเนินการด้วย รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบ ต่างๆ รวมท้ังส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและจัดให้มีการร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุนให้การ จัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ซ่ึงอย่าง น้อยต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการจัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ และการดำเนินการและตรวจสอบ การดำเนินการให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติด้วย การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ มีความสามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ในการดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแล และพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษา ภาคบังคับ หรือให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบตา่ ง ๆ และได้รับการส่งเสรมิ การเรียนรู้ ตลอดชีวิต รัฐต้องดำเนินการให้ผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตาม ความถนัดของตน ให้จัดตั้งกองทุนเพ่ือใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์เพื่อลดความเหล่ือมล้ำ ในการศึกษาและเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู โดยให้รัฐจัดสรรงบประมาณให้แก่ กองทุนหรือใช้มาตรการหรือกลไกทางภาษี รวมท้ังการให้ผู้บริจาคทรัพย์สินเข้ากองทุนได้รับประโยชน์ในการ ลดหย่อนภาษีด้วย ท้ังน้ีตามที่กฎหมายบัญญัติซ่ึงกฎหมายดังกล่าวอย่างน้อยต้องกำหนดให้การบรหิ ารจดั การ กองทนุ เปน็ อิสระและกำหนดใหม้ ีการใชจ้ ่ายเงินกองทนุ เพอื่ บรรลุวัตถปุ ระสงคด์ งั กล่าว หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 258 (จ) ให้ดำเนินการปฏิรูปประเทศในด้านการศึกษาให้ เกดิ ผลดังตอ่ ไปน้ี (1) เร่ิมดำเนินการให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนาก่อนเข้ารับการศึกษาภาคบังคับ เพื่อให้ เดก็ เลก็ ไดร้ ับการพฒั นารา่ งกาย จิตใจ วนิ ยั อารมณ์ สังคม และสตปิ ัญญา ใหส้ มกบั วัยโดยไม่เกบ็ คา่ ใช้จ่าย (2) ดำเนนิ การตรากฎหมายเพ่ือจดั ต้ังกองทุนเพือ่ ใช้ในการชว่ ยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อ ลดความเหลื่อมล้ำในการศึกษา และเพื่อเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ให้แล้วเสร็จ ภายในหนึง่ ปีนับตั้งแต่วนั ประกาศใช้รฐั ธรรมนญู น้ี (3) ให้มีกลไกและระบบการผลติ คัดกรอง และพัฒนาผู้ประกอบวชิ าชีพครูและอาจารย์ ให้ได้ผู้ มีจิตวิญญาณแห่งความเป็นครูมีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ หน้า 22

กับความสามารถ และประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบคุณธรรมในการบริหารงานบุคคล ของผู้ประกอบวชิ าชพี ครู (4) ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความถนัด และปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยสอดคล้องกันท้ังในระดับชาติ และระดบั พน้ื ที่ หมวดการปฏิรูปประเทศ มาตรา 261 ในการปฏิรูปตามมาตรา 258 จ. ด้านการศึกษาให้มี คณะกรรมการที่มีความเปน็ อิสระคณะหนงึ่ ท่ีคณะรัฐมนตรีแต่งตงั้ ดำเนินการศึกษาและจัดทำขอ้ เสนอแนะและ ร่างกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งในการดำเนนิ การใหบ้ รรลุเปา้ หมาย เพ่อื เสนอคณะรฐั มนตรดี ำเนินการ 2. ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561-2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา 65 บัญญัติให้รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ใหส้ อดคล้องและบูรณาการกนั เพ่ือให้เกดิ เปน็ พลงั ผลกั ดนั ร่วมกนั ไปส่เู ป้าหมาย วิสัยทัศน์ “ประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติม่ันคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนา อยา่ งต่อเนอ่ื ง สงั คมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติย่งั ยนื ” ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ 6 ด้าน และภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สนบั สนนุ ให้บรรลุเปา้ หมายการพัฒนาทส่ี ำคญั ทัง้ 6 ดา้ น ดงั น้ี 1) ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง 2) ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3) ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ 4) ยุทธศาสตร์ชาตดิ า้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม 6) ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ การประเมินผลการพฒั นาตามยทุ ธศาสตรช์ าติ 1) ความอย่ดู มี สี ขุ ของคนไทยและสังคมไทย 2) ขีดความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ 3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษยข์ องประเทศ 4) ความเทา่ เทยี มและความเสมอภาคของสังคม 5) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิง่ แวดล้อม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ 6) ประสทิ ธิภาพการบริหารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ. แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 23

3. แผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เป็นแผนแม่บทเพื่อบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ใน ยุทธศาสตร์ชาติ มีผลผูกพันต่อหน่วยงานของรัฐท่ีเกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามน้ัน รวมท้ังการจัดทำ งบประมาณรายจ่ายประจำปีต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย โดยแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย 23 ประเด็น 62 แผนย่อย (ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561-2580) ณ วันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2562 ซึ่งเกี่ยวข้องกับภารกิจสำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 11 ประเดน็ 18 แผนยอ่ ย ดงั นี้ 1) ประเด็นความม่ันคง ใน 2 แผนย่อย ไดแ้ ก่ 3.1 การรักษาความสงบภายในประเทศ 3.2 การ ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาที่มีผลกระทบตอ่ ความมน่ั คง 2) ประเด็นการต่างประเทศ ใน 1 แผนย่อย คือ 2.2 ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจและความ ร่วมมือเพื่อการพฒั นาระหวา่ งประเทศ 10) ประเด็นการปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การปลูกฝัง คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และการเสรมิ สรา้ งจติ สาธารณะและการเป็นพลเมอื งท่ีดี 11) ประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.2 การพัฒนาเด็ก ตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย 3.3 การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น 3.4 การพัฒนาและยกระดับศักยภาพ วยั แรงงาน 3.5 การส่งเสริมศักยภาพผูส้ ูงอายุ 12) ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ ท่ีตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 17) ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การคุ้มครอง ทางสงั คมขน้ั พน้ื ฐานและหลกั ประกันทางเศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ 18) ประเด็นการเติบโตอย่างย่ังยืน ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.5 การยกระดับกระบวนทัศน์ เพอื่ กำหนดอนาคตประเทศ 20) ประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ใน 4 แผนย่อย ได้แก่ 3.1 การ พัฒนา บริการประชาชน 3.2 การบริหารจัดการการเงินการคลัง 3.4 การพัฒนาระบบบริหารงานภาครัฐ 3.5 การสร้างและพัฒนาบุคลากรภาครฐั 21) ประเดน็ การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การป้องกันการ ทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ 22) ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยตุ ิธรรม ใน 1 แผนย่อย คือ 3.1 การพัฒนากฎหมาย 23) ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ใน 1 แผนย่อย ได้แก่ 3.4 การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมด้านองคค์ วามรพู้ ืน้ ฐาน 4. แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) คณะรัฐมนตรีได้ให้ความเห็นชอบแผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) และได้ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ณ วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 จำนวน 13 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการเมือง 2) ด้าน แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ ินทร์ หนา้ 24

การบริหารราชการแผ่นดิน 3) ด้านกฎหมาย 4) ด้านกระบวนการยุติธรรม 5) ด้านเศรษฐกิจ 6) ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 7) ด้านสาธารณสุข 8) ด้านส่ือสารมวลชนเทคโนโลยีสารสนเทศ 9) ด้าน สงั คม 10) ด้านพลังงาน 11) ด้านการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ 12) ด้านการศึกษา และ 13) ด้านวัฒนธรรม กฬี า แรงงาน และการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ ภารกจิ สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ เกยี่ วข้องและสนบั สนนุ เปา้ ประสงค์แผนการปฏิรูป ประเทศ (ฉบับปรับปรุง) รวม 5 ดา้ น ประกอบดว้ ย (2) ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน (3) ด้านกฎหมาย (6) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (11) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ มิชอบ (12) ด้านการศึกษา 2) แผนการปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ดา้ นการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ เป้าประสงค์ เพ่ือให้ความสำคญั ในการเตรียมความพร้อมเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง ในทุกมิติ และรองรบั ผลกระทบของสถานการณ์ชีวิตวถิ ใี หม่ และทิศทางท่ีกำหนดไว้ตามยุทธศาสตรช์ าติ กจิ กรรม Big Rock ดา้ นการบริหารราชการแผน่ ดิน ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏริ ปู สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเกี่ยวขอ้ งท้งั 4 กจิ กรรมปฏริ ูป (1) ปรับเปลย่ี นรูปแบบการบรหิ ารงานและการบริการภาครัฐไปสู่ระบบดิจิทัล (2) จดั โครงสร้างองค์กร และระบบงานภาครฐั ให้มีความยืดหยนุ่ คล่องตัวและเปล่ียนแปลงได้ ตามสถานการณ์ (3) ปรับเปล่ียนการบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐสู่ระบบเปิด เพื่อให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่ง คนเก่ง ดี และมคี วามสามารถอย่างคลอ่ งตวั ตามหลกั คุณธรรม (4) สรา้ งความเข้มแขง็ ในการบริหารราชการในระดับพน้ื ท่ี โดยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 3) แผนการปฏริ ปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรุง) ดา้ นกฎหมาย เป้าประสงค์ เพื่อให้เกิดผลอันพึงประสงค์ในการมีกฎหมายท่ีดีและมีเพียงเท่าท่ีจำเป็นตาม หลักการของมาตรา 258 ค. ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย กิจกรรม Big Rock ดา้ นกฎหมาย ประกอบด้วย 5 กิจกรรมปฏิรูป สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเกย่ี วข้องกิจกรรมปฏริ ปู ท่ี 1 (1) มีกลไกยกเลิกหรือแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีสร้างภาระหรือเป็นอุปสรรคต่อการดำรงชีวิต หรือการประกอบอาชพี ของประชาชน เพ่ือขับเคลือ่ นให้เกดิ ผลอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรม 6) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เป้าประสงค์ เพ่ือให้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ได้รับการดูแล รักษา และฟื้นฟู อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพและมีความสมบูรณ์ยั่งยืน เป็นฐานการพัฒนาประเทศท้ังทางเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม พร้อมท้งั เกิดความสมดุลระหวา่ งการอนุรักษ์ และการใช้ประโยชน์ลดความขัดแย้งของการพัฒนาที่ ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติ บรรเทาผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมและลดภัยพิบัติทางธรรมชาติ และมีระบบบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพบนพ้ืนฐานการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตาม แนวทางประชารัฐ แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หน้า 25

กิจกรรม Big Rock ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ปฏริ ปู สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารเกีย่ วขอ้ งกิจกรรมปฏริ ปู ท่ี 2 (2) การบรหิ ารจดั การเขตทางทะเลและชายฝงั่ รายจังหวัด (บรรจุในหลกั สูตรการศึกษาฯ) 11) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบับปรับปรงุ ) ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและ ประพฤตมิ ิชอบ เป้าประสงค์ เพ่ือแก้ปัญหาการทุจริตและประพฤติมิชอบ ให้มีการส่งเสริม สนับสนุน และ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับการทุจริตประพฤติมิชอบ และให้มีมาตรการควบคุม กำกับ ติดตามการบริหาร จัดการของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตของบุคลากร ใช้ดุลยพินิจโดยสุจริต ภายใตก้ รอบธรรมาภิบาลและการกำกับกิจการท่ีดอี ยา่ งแท้จริง รวมถึงการเปิดเผยข้อมูล ข่าวสารภาครฐั ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ และตรวจสอบได้และสนับสนนุ แนวร่วมปฏิบตั ิของภาคเอกชนในการ ตอ่ ตา้ นการทุจรติ เพ่ือขจัดปัญหาการทจุ รติ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การติดต่อกับหน่วยงานภาครฐั กิจกรรม Big Rock ด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏริ ปู สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ ารเก่ียวข้องกิจกรรมปฏริ ูปท่ี 4 (4) พัฒนาระบบราชการไทยใหโ้ ปรง่ ใส ไร้ผลประโยชน์ 12) แผนการปฏิรปู ประเทศ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ) ด้านการศึกษา เป้าประสงค์ เพ่ือยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล้ำทางการ ศึกษา มุ่งความเป็ นเลิศและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ปรับปรุงระบ บการศึกษา ให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของการจัดการ ศึกษาและ สรา้ งเสริมธรรมภบิ าล ซ่ึงครอบคลุมการปฏิรูปการเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ความสอดคลอ้ งของการปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษากบั ยุทธศาสตรช์ าติ 1. ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒ นาและเสริมสร้างศักยภ าพ ทรัพ ยากรมนุษ ย์ ข้อ 4.2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ข้อ 4.3 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการ เปล่ยี นแปลง ในศตวรรษที่ 21 ขอ้ 4.4 การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย 2. ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ข้อ 4.1 การลดความ เหล่ือมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ ข้อ 4.2 การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี ข้อ 4.3 การเสรมิ สร้างพลงั ทางสงั คม ความสอดคลอ้ งของการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษากับแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ 1. แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็นการพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต 1.1 เดก็ เกดิ อยา่ งมคี ุณภาพ มีพฒั นาการสมวยั สามารถเข้าถึงบรกิ ารที่มคี ุณภาพมากข้นึ 1.2 วัยเรียน/วยั รุ่น มี ความรู้ และทักษะในศตวรรษที่ 21 ครบถว้ น รูจ้ ักคดิ วิเคราะห์ รักการเรยี นรู้ มสี ำนึกพลเมอื ง มีความกล้าหาญ ทางจริยธรรม มีความสามารถในการแก้ปัญหา ปรับตัว ส่ือสาร และทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีประสิทธิผล ตลอดชีวติ ดขี ึ้น 1.3 แรงงานมีศักยภาพในการเพม่ิ ผลผลิต มีทักษะอาชีพสูง ตระหนักในความสำคัญท่ีจะพัฒนา แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สรุ ินทร์ หนา้ 26

ตนเองให้เต็มศักยภาพ สามารถปรับตัวและเรยี นรู้ส่ิงใหม่ตามพลวัตของโครงสร้างอาชีพและความต้องการของ ตลาดแรงงานเพิ่มขึ้น 1.4 มีคนไทยที่มีความสามารถและผู้เช่ียวชาญต่างประเทศเข้ามาทำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมในอุตสาหกรรมเป้าหมายเพมิ่ ขนึ้ 1.5 ผ้สู ูงอายุมีคุณภาพชีวิตทด่ี ี มีความมนั่ คงในชีวิต มที กั ษะการดำรงชวี ติ เรียนรพู้ ัฒนาตลอดชวี ติ มสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมสงั คม สร้างมลู ค่าเพมิ่ ให้แก่สงั คมเพม่ิ ขน้ึ 2. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ 2.1 คนไทยได้รับ การศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้และทักษะท่ีจ้าเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารถ เข้าถึงการเรยี นร้อู ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวิตดขี ้ึน 3. แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพลังทางสังคม 3.1 ประชากรไทยมีการ เตรยี มการก่อนยามสูงอายเุ พอ่ื ใหส้ งู วัยอย่างมคี ุณภาพเพ่ิมขึ้น กิจกรรม Big Rock ดา้ นการศึกษา ประกอบด้วย 5 กจิ กรรมปฏิรูป สำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการเกีย่ วขอ้ งกิจกรรมปฏิรปู ที่ 1 - 3 กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาต้ังแต่ระดับ ปฐมวัย (หน่วยรับผดิ ชอบหลกั : กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา) กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพ่อื ตอบสนองการเปล่ยี นแปลงในศตวรรษท่ี 21 (หนว่ ยรับผดิ ชอบหลกั : กระทรวงศกึ ษาธิการ) กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน (หน่วยรับผิดชอบหลัก : กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรม) ภารกิจของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีส่วนเกี่ยวข้องและสนับสนุน ในข้ันตอน ของกจิ กรรมปฏริ ปู ท่ี 1, 2 และ 3 ดังนี้ กิจกรรมปฏิรูปท่ี 1 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษาตั้งแต่ระดับ ปฐมวยั (กองทนุ เพ่อื ความเสมอภาคทางการศึกษา) ข้นั ตอนการดำเนินการปฏริ ปู 1. การพัฒนาเครื่องมือและระบบบูรณาการทำงานเพ่ือสนับสนุนการดำเนินการ ปฏิรปู 2. การสนับสนุนนวัตกรรมการป้องกัน (Prevention) และการแก้ไข (Correction) ปัญหาเด็กและเยาวชนออกจากระบบการศกึ ษาตง้ั แตร่ ะดบั ปฐมวัย เพ่ือลดความเหลื่อมล้ำทางการศกึ ษา 3. การสนับสนนุ กลไกการดำเนินงานในระดบั พื้นที่และต้นสังกัด 4. การตดิ ตามความคืบหน้าและการระดมการมสี ่วนรว่ มของสงั คม กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพือ่ ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) ขัน้ ตอนการดำเนนิ การปฏิรปู 1. ปรับแนวทางการจดั การเรียนรู้ทุกระดับ 2. พฒั นาครใู หม้ ีศกั ยภาพในการออกแบบการเรียนรู้ แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 27

3. ปรบั ปรุงระบบการวัดผลและประเมนิ ผล 4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้กับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น 5. คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ประชุมหน่วยงานผู้รับผิดชอบ ติดตามความคืบหนา้ ในการดำเนนิ การ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 การปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน (กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม) ขน้ั ตอนการดำเนินการปฏิรปู 2) ด้านกลไกและระบบการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาสายสามัญศึกษาและ สายอาชวี ศึกษาให้มคี ณุ ภาพ ประสทิ ธิภาพและมคี วามกา้ วหนา้ ในการประกอบอาชีพ ขั้นตอนท่ี 1 การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวชีว้ ัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา ขั้นตอนท่ี 2 การศึกษาวิเคราะห์และกำหนดสมรรถนะและการพัฒนามาตรฐาน และตัวชี้วัดสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา และการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามความตอ้ งการจำเปน็ ข้ันตอนที่ 3 การศกึ ษาและพฒั นาระบบ/รปู แบบการนิเทศ การติดตามชว่ ยเหลือ ครู และการพัฒนาสมรรถนะศกึ ษานิเทศกต์ ามความต้องการจำเปน็ ขัน้ ตอนที่ 4 การส่งเสริม สนับสนุนระบบกลไกให้ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มีการพัฒ นาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการติดตามช่วยเหลือครูใหม่ ครูที่ไม่มีวุฒิ ทางการศึกษา ครูที่มีความรู้ ความสามารถและมีคุณลักษณะไม่เพียงพอกับการปฏิบัติงานในหน้าท่ี ครูและสถานศึกษาในท้องถ่ิน ยากจน ห่างไกลและทุรกันดาร อาทิ การร่วมมือกับชุมชน (PLC&CPD: (Professional Learning Community & Continuous Professional Development) ก ารศึก ษ าอ บ รม และแพลตฟอร์ม กระบวนการจดั การเรยี นรกู้ ารบริหารการศึกษาและการนิเทศการศึกษา ขั้นตอนที่ 5 การปรับปรุงระบบการประเมินการปฏิบัติงานและสมรรถนะ วิชาชพี ครู ขั้นตอนที่ 6 การพัฒนาระบบกลไกในการเล่ือนวิทยฐานะที่ได้รับการ ปรบั ปรงุ ใหมแ่ ละการคงวิทยฐานะของครู โดยนำผลการประเมนิ วิทยฐานะไปเป็นสว่ นสำคญั ในการประเมินและ การปรบั ปรงุ ค่าตอบแทนที่เหมาะสม แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ นิ ทร์ หนา้ 28

5. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ีสบิ สอง (พ.ศ.2560-2564) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ.2560-2564) สำหรับใช้เป็นแผนพัฒนาประเทศไทยในระยะ 5 ปี ซ่ึง เป็นการแปลงยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเพ่ือเตรียมความพร้อมและ วางรากฐานในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้วมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ด้วยการพัฒนา ตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตร์การพัฒนา 9 ยุทธศาสตร์ โดยมี 5 ยุทธศาสตร์ตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 และอีก 4 ยุทธศาสตร์ที่เป็นปัจจัยสนับสนุน ซึ่งภารกิจสำนักงานปลัด กระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายรวม 10 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1) การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพ ทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2) การสร้างความเป็นธรรมลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ยุทธศาสตร์ท่ี 4) การเติบโต ท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 5) การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นค่ังและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ท่ี 6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการ ทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 7) การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบ โลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8) การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 9) การ พัฒนาภาค เมือง และพ้ืนทเ่ี ศรษฐกิจ 10) ความร่วมมือระหวา่ งประเทศเพ่ือการพฒั นา 6. นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความมน่ั คงแห่งชาติ (พ.ศ.2562-2565) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ณ วันท่ี 19 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2562 เพ่ือเป็น แผนหลัก ของชาติท่ีเป็นกรอบทิศทางการดำเนินการป้องกัน แจ้งเตือน แก้ไข หรือระงับยับย้ังภัยคุกคาม เพื่อธำรงไว้ ซึ่งความม่ันคงแห่งชาติ รวม 7 กรอบแนวคิด 16 นโยบาย 19 แผน ซึ่ง ภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธิการมีส่วนเก่ียวข้อง รวม 7 นโยบาย 6 แผน ได้แก่นโยบายท่ี 1) เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลัก ของชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สอดรับด้วย แผนที่ 3) แผ น การเส ริม ส ร้างคว ามม่ั น คงของส ถาบั น ห ลั กขอ งช าติ ภ ายใต้ การปก ครอ งระบ อบ ป ระช าธิป ไตยอัน มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นโยบายท่ี 2) สร้างความเป็นธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันท์ ในชาติ สอดรับด้วยแผนท่ี 6) แผนการสร้างความสามัคคีปรองดอง นโยบายท่ี 3) ป้องกันและแก้ไขการก่อเหตุ รุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สอดรับด้วย แผนที่ 7) แผนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการก่อเหตุรุนแรง ในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ นโยบายท่ี 5) สร้างเสริมศักยภาพการป้องกันและแก้ไขปัญ หา ภัยคุกคามข้ามชาติ และนโยบายท่ี 8) เสริมสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันความม่ันคงภายใน สอดรับด้วยแผนที่ 10) แผนการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด นโยบายท่ี 9) เสริมสร้างความมั่นคง ของช าติจากภั ยการทุ จริต สอดรับ ด้ วยแผน ท่ี 11) แผน การเสริม สร้างความม่ั น คงของช าติ จากภัยทุจริต และนโยบายท่ี 10) เสรมิ สร้างความม่ันคงปลอดภัยไซเบอร์ สอดรบั ด้วยแผนท่ี 15) แผนการป้องกันและ แก้ไขปัญหาความมัน่ คงทางไซเบอร์ แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 29

7. นโยบายรัฐบาล (พลเอก ประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตร)ี นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติเม่ือวันที่ 25 กรกฎาคม 2562 รวม 12 นโยบายหลัก และ 12 นโยบายเร่งด่วน ซ่ึงภารกิจสำนักงานปลัดกระทรวง ศกึ ษาธกิ ารมสี ว่ นเก่ียวขอ้ ง รวม 11 นโยบายหลัก 5 นโยบายเร่งด่วน ดังนี้ นโยบายหลักที่ 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ นโยบายหลักที่ 2 การสร้าง ความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ นโยบายหลักท่ี 3 การทำนุบ ำรุง ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (3.2 ปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดี ท้ังด้านคุณธรรม จริยธรรม กตัญญู ความ ซื่อสัตย์ การมีวินัย เคารพกฎหมาย มีจิตสาธารณะและการมีส่วนร่วมทำประโยชน์ให้ประเทศและการเป็น พลเมืองดี) นโยบายหลักที่ 4 การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก (4.2 สร้างความเป็นปึกแผ่นของอาเซียน) นโยบายหลักที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย (5.3 พัฒนาภาคเกษตร 5.4 พัฒนาภาคการท่องเท่ียว) นโยบายหลักที่ 6 การพัฒนาพ้ืนท่ีเศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค (6.1 ส่งเสริมพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษเพ่ือเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของเอเชีย 6.2 ส่งเสรมิ และเรง่ รัดการพัฒนา เมืองอัจฉริยะน่าอยู่ท่ัวประเทศ) นโยบายหลักที่ 8 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของ คนไทยทุกช่วงวัย (8.1 ส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัย 8.2 พัฒนาบัณฑิตพันธ์ุใหม่ 8.5 วิจัยและพัฒนา นวัตกรรมท่ีตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ 8.6 ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาทักษะทุกช่วงวัย 8.7 จัดทําระบบ ปริญญาชุมชนและการจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้น) นโยบายหลักที่ 9 การพัฒนาระบบสาธารณสุขและ หลักประกันทางสังคม (9.4 สร้างหลักประกันทางสังคม) นโยบายหลักที่ 10 การฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ การรักษาส่ิงแวดล้อมเพ่ือสร้างการเติบโตอย่างย่ังยืน นโยบายหลักที่ 11 การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ นโยบายหลักที่ 12 การปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ และกระบวนการยตุ ธิ รรม นโยบายเร่งด่วนท่ี 6 การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต นโยบายเร่งด่วนท่ี 7 การเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 นโยบายเร่งด่วนที่ 8 การแก้ไขปัญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ นโยบายเร่งด่วนท่ี 9 การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นท่ีชายแดนภาคใต้ นโยบายเรง่ ด่วน ที่ 10 การพัฒนาระบบการใหบ้ ริการประชาชน 8. เปา้ หมายการพฒั นาที่ยงั่ ยนื (Sustainable Development Goals: SDGs) การประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ (United Nations General Assembly - UNGA) เมอ่ื วนั ท่ี 25 กนั ยายน 2558 ผนู้ ำประเทศสมาชิกสหประชาชาติและประเทศไทย รวม 193 ประเทศ ได้ลงนาม รับรองเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals; SDGs) ทดแทนเป้าหมายการ พฒั นาแหง่ สหัสวรรษ (Millennium Development Goals ; MDGs) ซึ่งหมดอายุลงในปี 2558 เป้าหมายการ พัฒนาท่ียั่งยืนจะถูกใช้เป็นเคร่ืองกำหนดทิศทางการพัฒนาท้ังของประเทศไทยและของโลกจนถึงปี ค.ศ.2030 (พ.ศ.2573) ครอบคลุมระยะเวลา 15 ปี ท่ีประกอบด้วย 17 เป้าหมาย (Goal) 169 เป้าประสงค์ (Target) ครอบคลุมประเด็นการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อมอย่างสมดุล อันเป็นสามเสาหลักของการ พัฒนาท่ีย่ังยืน โดยมีเป้าหมายสูงสุดเพ่ือขจัดความยากจน ลดความเหล่ือมล้ำ โดยไม่ท้ิงใครไว้เบ้ืองหลัง แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 30

ไมท่ ำลายแหลง่ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งให้ความสำคัญมากย่ิงข้ึนต่อการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนซึ่ง จะตอ้ งร่วมขบั เคล่ือนการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื ประเทศไทยได้กำหนดกลไกการขบั เคล่ือนเปา้ หมายการพัฒนาที่ย่ังยืนในรปู แบบคณะกรรมการ โดยมีการปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงาน ดังน้ี (มติที่ประชุมคณะกรรมการเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน : กพย. เมอ่ื วนั ที่ 19 ธันวาคม 2562) 1. เห็นชอบหลกั การรา่ งแผนการขับเคล่ือน SDGs สำหรับประเทศไทยตามท่ี สศช. เสนอ 2. มอบหมายให้ สศช. ดำเนินงานตามแผนขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับ ประเทศไทยรว่ มกบั หน่วยงานต่าง ๆ 3. เห็นชอบให้ยกเลิกการดำเนินงานต่าง ๆ ตามท่ีคณะอนุกรรมการต่าง ๆ ภายใต้ คณะกรรมการเพ่ือการพฒั นาทย่ี ่ังยืนท่ไี ดเ้ คยมีข้อสง่ั การหรือเคยมีมติ 4. ปรบั การดำเนนิ งานให้สอดคลอ้ งกับร่างแผนการขับเคลื่อนฯ รา่ ง แผนการขับเคลือ่ นการพฒั นาทยี่ ง่ั ยืนของประเทศไทย ประกอบด้วย 1. การสรา้ งการตระหนักรู้ 2. การเชอ่ื มโยงเปา้ หมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืนกับยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนระดบั ท่ี 2 และแผนระดับท่ี 3 ของประเทศ 3. กลไกการขบั เคลือ่ นเปา้ หมายการพฒั นาท่ียั่งยนื 3.1 คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน (กพย.) เป็นกลไกหลักในการขับเคล่ือน ระดับชาติเชิงนโยบาย (นายกรัฐมนตรี : ประธาน ปลัดกระทรวง ผู้แทนส่วนราชการ และหน่วยงานต่าง ๆ : กรรมการ สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ (สศช.) : เลขานุการ) 3.2 คณะอนุกรรมการเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน เป็นกลไกในการแปลงนโยบายและ ยทุ ธศาสตร์ด้านการพฒั นาท่ียง่ั ยืนของประเทศไทยสู่การปฏิบัติอยา่ งบรู ณาการ รวม 4 คณะ ประกอบด้วย 3.2.1 คณะอนุกรรมการขบั เคลอื่ นเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ั่งยนื 3.2.2 คณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 3.2.3 คณะอนกุ รรมการตดิ ตามและประเมนิ ผลการพฒั นาที่ยั่งยนื 3.2.4 คณะอนกุ รรมการการประเมนิ ส่งิ แวดลอ้ มระดับยุทธศาสตร์ 4. การจัดทำโครงการ/การดำเนนิ งานเพอื่ บรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่งั ยืน ผ่านการดำเนินการ ตามยุทธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทฯ ดว้ ยหลักการความสมั พันธ์เชิงเหตแุ ละผล (Causal Relationship: XYZ) 5. ภาคีการพัฒนา (ภาคธุรกิจเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม ภาคภาคีเพ่ือการพัฒนา ระหวา่ งประเทศ) กพย. ได้มอบหมายให้กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงาน หลกั การขบั เคลื่อนเปา้ หมายการพฒั นาท่ยี ่ังยืน 1. รายเป้าหมายหลัก (Goal) เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป้าหมายที่ 4 สร้างหลัก ประกันว่า ทุกคนมกี ารศึกษาท่มี ีคณุ ภาพอย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนนุ โอกาสในการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 31

2. รายเปา้ หมายย่อย (Target) ท่ี 4.1/4.2/4.4/4.5/4.6/4.7/4.A/4.C เปา้ หมายย่อย 4.1 : สรา้ งหลักประกันว่าเดก็ ชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาท่ีมีคุณภาพ เท่าเทียม และไม่มีค่าใช้จ่าย นำไปสู่ผลลัพธ์ทางการเรียนที่มี ประสทิ ธผิ ล ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าหมายย่อย 4.2 : สร้างหลักประกันว่าเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถึงการ พัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยท่ีมีคุณภาพ เพื่อให้เด็ก เหลา่ นน้ั มีความพร้อมสำหรับการศึกษาระดบั ประถมศึกษา ภายในปี 2573 เป้าหมายย่อย 4.4 เพ่ิมจำนวนเยาวชนและผู้ใหญ่ท่ีมีทกั ษะที่เกีย่ วข้อง รวมถึงทักษะ ทางดา้ นเทคนคิ และอาชีพสำหรบั การจา้ งงาน การมงี านทมี่ คี ณุ ค่า และการเปน็ ผู้ประกอบการภายในปี 2573 เป้าหมายยอ่ ย 4.5 ขจัดความเหล่ีอมล้ำทางเพศด้านการศึกษาและสร้างหลักประกัน ว่ากลุ่มที่เปราะบางซง่ึ รวมถึงผูพ้ ิการ ชนพ้ืนเมือง และเด็ก เข้าถึงการศึกษาและการฝกึ อาชพี ทกุ ระดับ อยา่ งเท่า เทียม ภายในปี พ.ศ. 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.6 สร้างหลักประกันวา่ เยาวชนทุกคนและผู้ใหญ่ในสัดส่วนสูงทงั้ ชาย และหญงิ สามารถอา่ นออกเขียนได้และคำนวณได้ ภายในปี 2573 เปา้ ประสงค์ที่ 4.7 สร้างหลกั ประกันว่าผู้เรียนทุกคนได้รับความรู้และทักษะทจี่ ำเป็น สำหรับส่งเสรมิ การพัฒนาอยา่ งย่ังยืน รวมไปถงึ การศึกษาสำหรบั การพฒั นาอยา่ งย่ังยืนและการมวี ถิ ีชวี ติ ท่ียง่ั ยืน สทิ ธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริมวฒั นธรรมแห่งความสงบสุข และไม่ใชค้ วามรุนแรง การ เป็นพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมีสว่ นร่วมของวัฒนธรรมต่อการ พัฒนาทย่ี ่งั ยืน ภายในปี 2573 เป้าประสงค์ท่ี 4.A สร้างและยกระดับอุปกรณ์และเครื่องมือทางการศึกษาท่ีอ่อนไหว ต่อเด็ก ผู้พิการ และเพศภาวะ และให้มีสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสทิ ธผิ ลสำหรับทุกคน เป้าประสงค์ที่ 4.C เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณวุฒิ รวมถึงการดำเนินการผ่านทางความ ร่วมมือระหว่างประเทศในการฝึกอบรมครูในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศพัฒนาน้อย ท่สี ดุ และรฐั กำลังพฒั นาที่เป็นเกาะขนาดเลก็ ภายในปี 2573 ภารกจิ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ มีส่วนเก่ียวขอ้ งกับเป้าหมายการพฒั นา ทีย่ ั่งยืน รายเป้าหมายหลัก (Goal) ที่ 4 สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุมและ เท่ าเที ยม แ ละส นั บ ส นุ น โอ ก าส ใน ก ารเรียน รู้ตล อ ด ชี วิต แล ะทุ กรายเป้ าห ม ายย่ อ ย (Target) ท่ีกระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักการขับเคล่ือนเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน แผนปฏบิ ตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 32

9. แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560-2579) แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 เป็นแผนท่ีวางกรอบเป้าหมายและทิศทาง การ จัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาค ใน การศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนาคน ให้มีสมรรถนะในการ ทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาประเทศ แนวคิดการจัดการศึกษาตาม แผนการศึกษาแห่งชาติ ยึดหลักสำคัญในการจัดการศึกษา ประกอบด้วย หลักการจัดการศึกษาเพ่ือปวงชน (Education for All) หลกั การจดั การศึกษาเพื่อความเทา่ เทยี มและท่ัวถงึ (Inclusive Education) หลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) และหลักการมีส่วนร่วมของสังคม (All For Education) อีก ทั้งยึดตามเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs 2030) ประเด็น ภายในประเทศ (Local Issues) อาทิ คุณภาพของคนช่วงวัย การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศ ความเหลื่อมลำ้ ของการกระจายรายได้และวิกฤตดิ ้านส่ิงแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์ชาติมาเป็นกรอบความคิด สำคัญในการจดั ทำแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ โดยมีสาระสำคญั ดังน้ี วิสัยทัศน์ : คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอย่าง เป็นสุข สอดคลอ้ งกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลยี่ นแปลงของโลก ศตวรรษที่ 21 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพือ่ พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาที่มคี ุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพ 2. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะ ทักษะและสมรรถนะท่ีสอดคล้องกับ บทบญั ญตั ขิ องรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ และยุทธศาสตรช์ าติ 3. เพื่อพัฒนาสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และคุณธรรม จริยธรรม รู้รักสามัคคี และ รว่ มมือผนกึ กำลงั มุง่ สูก่ ารพฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 4. เพ่ือนำประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลางและความเหล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง ยุทธศาสตร์แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 ประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ซ่ึง เกี่ยวขอ้ งกบั ภารกจิ ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการทงั้ 6 ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การจดั การศึกษาเพื่อความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ เป้าหมาย 1) คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดม่ันการปกครอง ระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) คนทุกช่วงวัยในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัด ชายแดนภาคใต้และพื้นที่พิเศษได้รบั การศึกษาและเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ 3) คนทุกช่วงวัยได้รับการศกึ ษา การ ดูแลและป้องกันจากภยั คุกคามในชวี ติ รปู แบบใหม่ แนวทางการพัฒนา 1) พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของ ชาติและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2) ยกระดับคุณภาพและ ส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3) ยกระดับคุณภาพ และส่งเสริมโอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในพ้ืนท่ีพิเศษ (พ้ืนที่สูง พ้ืนที่ตามแนวตะเข็บชายแดนและพ้ืนที่เกาะ แก่ง ชายฝั่งทะเล ท้ังกลุ่มชนต่างเช้ือชาติ ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มชนชายขอบและแรงงานต่างด้าว) 4) แผนปฏบิ ัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ หนา้ 33

พฒั นาการจัดการศึกษาเพื่อการจดั ระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ อาทิ อาชญากรรมและ ความรนุ แรงในรปู แบบตา่ ง ๆ ยาเสพตดิ ภัยพิบตั ิจากธรรมชาตภิ ยั จากโรคอุบตั ใิ หม่ ภยั จากไซเบอร์ เปน็ ตน้ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เป้าหมาย 1) กำลังคนมีทักษะที่สำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาด งานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 2) สถาบันการศึกษาและหน่วยงานที่จัดการศึกษาผลิต บัณฑิตที่มีความเช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) การวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ี สรา้ งผลผลติ และมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกจิ แนวทางการพัฒนา 1) ผลิตและพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในสาขาที่ตรงตามความต้องการ ของตลาดงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศ 2) สง่ เสรมิ การผลิตและพัฒนา กำลังคนท่มี ีความ เช่ียวชาญและเป็นเลิศเฉพาะด้าน 3) ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมท่ีสร้าง ผลผลติ และมลู คา่ เพิ่มทางเศรษฐกจิ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว่ งวยั และการสร้างสังคมแหง่ การเรียนรู้ เป้าหมาย 1) ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพ้ืนฐานของพลเมืองไทยและทักษะและ คุณลักษณะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 2) คนทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ความสามารถและสมรรถนะตาม มาตรฐานการศึกษาและมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ตามศักยภาพ 3) สถานศึกษาทุกระดับ การศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรได้อย่างมีคุณภาพและมาตรฐาน 4) แหล่ง เรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรมและส่ือการเรียนรมู้ ีคุณภาพและมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงไดโ้ ดย ไม่จำกัดเวลาและสถานที่ 5) ระบบและกลไกการวัด การติดตามและประเมินผลมีประสิทธิภาพ 6) ระบบการ ผลิตครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาได้มาตรฐานระดับสากล 7) ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการ ศึกษาได้รับการพฒั นาสมรรถนะตามมาตรฐาน แนวทางการพัฒนา 1) ส่งเสริม สนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และ การพัฒนาคุณภาพชวี ติ อย่างเหมาะสม เต็มตามศักยภาพในแต่ละช่วงวยั 2) ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ส่ือ ตำราเรียน และส่ือการเรียนรู้ต่าง ๆ ให้มีคณุ ภาพมาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้โดยไม่ จำกัดเวลาและสถานที่ 3) สรา้ งเสริมและปรับเปล่ยี นค่านิยมของคนไทยให้มีวินยั จิตสาธารณะ และพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ 4) พัฒนาระบบและกลไกการติดตาม การวัดและประเมินผลผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ 5) พัฒนา คลังข้อมูล สื่อ และนวัตกรรมการเรยี นรู้ที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน 6) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการผลิตครู อาจารย์และบุคลากรทางการศกึ ษา 7) พฒั นาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสรุ นิ ทร์ หน้า 34

10. นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสวุ รรณ) ได้ประกาศนโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ วันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 เพื่อมุ่งม่ันดำเนินการ ภารกิจกระทรวงศึกษาธกิ ารบงั เกิดผลสมั ฤทธิ์สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ท่ี ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21 ประเดน็ การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ และประเด็นอ่ืน ที่เก่ยี วขอ้ งกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลักการตามนโยบาย ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 1. ปลดลอ็ ก ปรับเปลีย่ น และเปดิ กว้าง ระบบการบริหารจัดการและการพฒั นากำลังคน โดยมุ่ง ปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้าน เทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ เพือ่ เพ่ิมประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมท้ังการนำเทคโนโลยีดจิ ิทัลเข้า มาชว่ ยในการบริหารงานและการจดั การศึกษา 2. ป ลดล็อก ป รับ เป ล่ียน และเปิดกว้าง ระบบ การจัดการศึกษ าและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตท่ีสามารถตอบสนองการ เปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21 3. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน เปิดกว้าง ท่ีเป็นเงื่อนไขต่าง ๆ เพ่ือให้บรรลุผลตามนโยบายการศึกษา ยกกำลังสอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาท่ีเข้าใจ Supply และตอบโจทย์ Demand โดยให้ทุกหน่วยงานพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันอย่างรอบด้าน ครบถ้วน ร่วมกันพิจารณาหา แนวทาง ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการร่วมกนั แบบบูรณาการการทำงานทุกภาคส่วน จุดเนน้ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ 1. ICT (Information and Communication Technologies) เท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เท ศ และการส่ือสาร ประกอบดว้ ย 7 เร่ืองย่อย ได้แก่ (1) Data Center ศูนย์ขอ้ มูลกลาง (2) Big Data ข้อมูลขนาด ใหญ่ (คลังข้อมูล การนำข้อมูลมารวมกัน) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบบริหารจัดการห้องเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสร้างพื้นฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจัดการองค์ความรู้และยกระดับทักษะที่จำเป็น เน้นพัฒนาความรู้และสมรรถนะด้าน Digital Literacy สำหรับผู้เรียนทม่ี ีความแตกต่างกนั ตามระดับและประเภทของการจัดการ ศึกษา เช่น STEM Coding เป็นตน้ 3. การศึกษาเพื่อทักษะอาชพี และการมีงานทำ พัฒนา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์ อาชพี การ เสรมิ ทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพ่ิมทักษะใหม่ที่จำเป็น (Re-Skills) ให้แก่ กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยู่ ในระบบการศึกษา (การศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบการศึกษา (3) วัยแรงงาน (4) ผู้สูงอายุ เพ่ือให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงที่เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัลและอาชีพท่ี แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์ หน้า 35

เกิดข้ึนใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพ่ิมบทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้านอาชีวศึกษากับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา 4. การต่างประเทศ เน้นภารกิจท่ีต้องใช้ความร่วมมือระดับนานาชาติในการจัดหาครู ชาวต่างชาติให้แก่สถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ของกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือจัดการศึกษา ในสถานศกึ ษา 2 ดา้ นหลกั ๆ ไดแ้ ก่ (1) ดา้ นภาษาต่างประเทศ และ (2) ดา้ นวชิ าการ โดยเฉพาะอาชีวศกึ ษา 5. กฎหมายและระเบียบ เน้นแผนงาน 2 เร่ือง ท่ีบรรจุอยู่ในแผนการปฏิรูปประเทศ ด้าน การศึกษา ประกอบด้วย เรื่องท่ี 1 : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดย พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่และกฎหมายลำดับรอง มีประเด็นปฏิรูป 5 ประเด็น ได้แก่ – การมี พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. และมีการทบทวน จัดทำ แก้ไขและปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง – การสร้างความร่วมมือระหว่างรฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพ่ือการจัดการศึกษา – การขับเคล่ือน การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือรองรับการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต – การทบทวนและปรับปรุง แผนการศึกษาแห่งชาติ – การจัดตง้ั สำนักงานคณะกรรมการนโยบาย การศึกษาแห่งชาติ เร่ืองท่ี 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบด้วยประเด็นปฏิรูป 3 ประเด็น ได้แก่ สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษา การ ปรับปรุงโครงสร้างของกระทรวงศกึ ษาธิการ 6. ระบบบริหารจัดการและการพัฒ นาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของ แต่ละหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดฝึกอบรมให้แต่ละ กลุ่มเป้าหมาย และใช้ประโยชน์จากสถาบันพัฒนาท่ีมีอยู่แล้ว เช่น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือเป็นหน่วยงานกลางในการจัดฝึกอบรมพัฒนาทักษะสมรรถนะให้แก่บุคลากร ของกระทรวงศึกษาธิการ (ผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกระดับทุกประเภท ครู อาจารย์ และบคุ ลากรอ่ืน ๆ) รวมท้งั พฒั นายกระดบั ให้เป็นสถาบันฝกึ อบรมระดบั นานาชาติ 7. การป ระช าสัม พั น ธ์ โดย จัด ต้ังศูน ย์ป ระช าสั ม พั น ธ์ขอ งกระท รวงศึกษ าธิก าร เป็นหน่วยงานสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการผลิตส่ือและจัดทำเน้ือหา (Content) เพื่อ เผยแพร่ผลงาน กจิ กรรมและการเขา้ รว่ มงานตา่ ง ๆ ของทุกหนว่ ยงานในภาพรวมของกระทรวงศกึ ษาธิการ 8. การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ดำเนินการขบั เคลือ่ นนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิในการจัดการ ศกึ ษาและ การเรียนรสู้ ำหรบั เด็กปฐมวยั 9. การพฒั นาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการส่งเสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ 10. การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ท่ีเกี่ยวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำเทคโนโลยี มาใช้ในการบริหารจัดการ เช่น การยกระดับตอบรับอัตโนมัติเพื่อแก้ไขปัญหาเบื้องต้น (Call Center ด้านกฎหมาย) ก า ร ว า ง ร ะ บ บ เท ค โน โล ยี ส า ร ส น เท ศ เพ่ื อ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ก า ร รั บ เรื่ อ ง ร า ว ร้ อ ง ทุ ก ข์ ใน ภ า พ ร ว ม ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการ 11. การปฏริ ูปองค์การและโครงสรา้ งกระทรวงศึกษาธิการ 12. การพฒั นาครู ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เพ่ือให้มีมาตรฐานวิชาชพี ที่สงู ข้นึ แผนปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์ หน้า 36

13. การศึกษายกกำลังสอง โดย - พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ท่ีจำเป็นเพ่ือทำหน้าที่ วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็น เลิ ศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จั ด ก า ร เรี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ผ่ า น เว็ บ ไซ ต์ http://www.deep.go.th โดยปลดล็อกและเปิดกว้างให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและตลอดเวลา ผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษา เพ่ือความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ให้ผู้เรียน ครู ผู้บริหารทางการ ศึกษามีแผนพัฒ นารายบุคคลผ่านแผนพัฒ นารายบุคคลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) – จัดทำ “คู่มือมาตรฐานโรงเรียน” เพื่อกำหนด ให้ทุกโรงเรียนต้องมีพ้ืนฐานท่ี จำเปน็ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน - มุ่งเน้นการศกึ ษาเพื่อทักษะอาชีพและการมงี านทำด้วยคุณภาพ โดยสร้างค่านิยมอาชีวศึกษา และเติมเต็มช่องว่างระหว่างทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชีวศึกษา ทวิภาคีสู่คุณภาพ มาตรฐาน เน้นร่วมมือกับสถานประกอบการช้ันนำ (Tailor-made Curriculum) ขับเคลื่อนความร่วมมือการ จดั การอาชีวศึกษาระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนส่มู าตรฐานนานาชาติ - มุ่งเน้น Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝึกอบรมวิชาชีพระยะส้ัน รวมทั้งผลิต ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ต า ม ค ว า ม เป็ น เลิ ศ ข อ ง แ ต่ ล ะ ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ ต า ม บ ริ บ ท ของพ้ืนที่ เพอ่ื ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศและสถานประกอบการ - มุ่งเน้นพัฒนาศูนย์ประสานงานกลางการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (TVET Excellence Center) สู่มาตรฐานสากล ผลิตอาชีวะพันธุ์ใหม่ รวมถึงการนำนวัตกรรม Digital เพื่อมุ่งสู่การ อาชีวศกึ ษาดจิ ิทัล (Digital College) - มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพผู้เรียนอาชีวศึกษา ให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ผู้ เรีย น เพ่ื อ ก าร ด ำร งชี วิ ต ให้ มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ งป ระ ส งค์ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ที่ จ ำ เป็ น ใน ศ ต ว รร ษ ท่ี 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) ร ว ม ทั้ ง ให้ความร่วมมือในการพัฒนาขีดความสามารถของผู้เรียนผ่านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพในต่างประเทศและการ แขง่ ขันในเวทรี ะดบั นานาชาติ - มุ่งเน้นการเพิ่มปริมาณผู้เรียนในหลักสูตรอาชีวศึกษา สร้างภาพลักษณ์สถานศึกษา อาชีวศึกษา เพ่อื ดึงดดู ให้ผู้ทีส่ นใจเข้ามาเรียน สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบรหิ ารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการ เรยี นการสอนด้วยเครือ่ งมือปฏบิ ตั ิท่ีทนั สมยั การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา - ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 - ส่งเสริมให้ผู้เรียนท่ียุติการศึกษา ทั้งก่อนและหลังสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ ให้ไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาจนสำเร็จการศกึ ษาภาคบงั คับ การจดั การศกึ ษาเพ่ือสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม แผนปฏิบตั ริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของสำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์ หนา้ 37


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook