Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารจัดการความเสี่ยง ศธจ.สุรินทร์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

การบริหารจัดการความเสี่ยง ศธจ.สุรินทร์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

Published by srn office, 2022-07-07 14:02:37

Description: การบริหารจัดการความเสี่ยง ศธจ.สุรินทร์ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565

Search

Read the Text Version

การบริหารจดั การความเส่ียง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ เอกสารหมายเลข 5/2565 กลุ่มนโยบายและแผน สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สรุ ินทร์ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร

คำนำ แผนการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงาน สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ดำเนินการเพือ่ ลวดความเสย่ี งต่าง ๆ ท่ีจะสง่ ผลกระทบต่อคุณภาพการดำเนินงานของแผนงาน/โครงการ ซึ่งได้ วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลการะทบหรือสร้างความเสียหาย หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายขององค์กร 4 ด้าน คือ ด้านกลยุทธ์ ด้านการดำเนนิ งาน ด้านการเงินและดา้ นการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ อีกทั้งวางระบบ ในการกำกบั ดแู ล ติดตาม ประเมินผล นำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรุงแผนการบรหิ ารจัดการความเสี่ยง และมีผลสำเร็จในการการบรหิ ารจัดการความเส่ียงท่ีดีขึ้น ซงึ่ สอดคลอ้ งกับหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองท่ีดี ทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายที่กำหนด ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและส่งเสริมธรรมาภิบาลใน สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั สุรินทร์ การรายงานติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงจะเป็นเครื่องมือ สำคัญในการผลักดันการป้องกันความเส่ียงที่จะเกดิ ข้นึ จากการดำเนนิ การที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล กลุ่มนโยบายและแผน สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์

สารบัญ หนา้ หวั เรือ่ ง 1 1 บทที่ 1 บทนำ 3 หลักการบริหารความเสยี่ งองค์การ 3 วัตถปุ ระสงค์ 3 เป้าหมาย 4 ประโยชนข์ องการบรหิ ารความเสี่ยง 4 4 บทท่ี 2 แนวทางการบรหิ ารจัดการความเสยี่ ง 4 นิยามความเส่ียง 5 ปจั จัยเสย่ี ง (Risk Factor) 6 ประเภทความเสย่ี ง 7 แนวทางปฏบิ ตั ิทดี่ ีโดยทวั่ ไป 10 ติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน 12 บทท่ี 3 การสรปุ และข้อเสนอแนะ รายงานผลการบรหิ ารจัดการความเส่ียง สรปุ การประเมินโอกาสในการเกิดความเสยี่ ง ภาคผนวก - แบบฟอร์มการวิเคราะห์ความเสี่ยงแผนงาน/โครงการ SRN.1-SRN.4 ของสำนักงานศึกษาธิการ จงั หวดั สุรินทร์ - คำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ที่ 514/2565 เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเด็นที่ 1.4 ระดับพื้นฐาน (Basic) ความสำเรจ็ ในการเตรยี มการรองรับผลกระทบเชิงลบต่อสงั คม - ภาพการประชุมการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของคณะทำงาน ประเด็นตัวชี้วัดที่ 1.4 ระดับพื้นฐาน (Basic) ความสำเร็จในการเตรียมการรองรับ ผลกระทบเชิงลบต่อสังคม เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2565 ณ ห้องประชุมจรัณยานนท์ สำนักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั สุรินทร์ .

บทท่ี 1 บทนำ หลกั การบริหารความเส่ยี งองคก์ ร หลักการพื้นฐานที่สำคัญชองการบริหารความเสี่ยงขององค์กรก็คือ องค์กรทั้งหลายนั้นดำรงอยู่ เพื่อสร้างมูลค่าให้กับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย องค์กรทุกแห่งต่างก็เผชิญกับความไม่แน่อนอน และความท้าทายต่อฝ่าย บรหิ าร กค็ ือจะต้องกำหนดให้ไดว้ า่ ยอมรับความไม่แนน่ อนและความทา้ ทายน้ันได้เพียงใด ในขณะท่กี ำลงั พยายาม เพิ่มมูลค่าของผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ให้สูงขึ้น ความไม่แน่นอนเป็นทั้งความเสี่ยงและโอกาส คือมีศักยภาพที่จะลดหรือ เพิม่ มลู ค่าใหก้ บั องคก์ รก็ได้ การบริหารความเสงี่ ขององค์กรจะชว่ ยใหฝ้ ่ายบรหิ ารสามารถจัดการกบั ความไม่แน่นอน และความเสี่ยงกับโอกาสที่มาพร้อมกับความไม่แน่อนนั้นได้อย่างมีประสิทธิผล เพื่อยกระดับขีดความสามารถ ขององค์กรของตน องค์การจะสามารถสร้างขีดความสามารถให้สูงสุดได้ ก็ต่อเมื่อฝ่ายบริหารได้กำหนดยุทธศาสตร์และ วัตถุประสงค์ให้เกิดดุลยภาพที่สูงสดุ ระหว่างการเติบโตและเป้าหมายความสำเร็จกับความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง รวมถึง การใช้ทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผ เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ในด้านต่างๆ ขององค์กร การบรหิ ารงานขององคก์ รทุกประเภททัง้ หน่วยงาน ภาครฐั และหนว่ ยงานภาคเอกชนตา่ งมีวัตถปุ ระสงค์ของตนเอง และมุ่งหวังที่จะทำงนไปให้ถึงเป้าหมายที่วางไว้อย่างดีที่สุด คุ้มค่ามากที่สุด โดยสูญเสียทรัพยการให้น้อยที่สุด แต่ การดำเนินการใดๆ เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ มักจะต้องประสบกับปัญหาความไม่แน่นอนเสมอ อันอาจเกิด จากสภาวะแวดล้อมที่แต่ละหน่วยงานจะเผชิญอยู่ ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม ภายนอกองค์กร ได้แก่ เสถียรภาพ ทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกระแสสังคม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง ทางกฎหมาย หรือแม้กระทั้งสภาพแวดล้อมภายในองค์กรเอง ไม่ว่าจะไปในด้านกลยุทธ์ (Strategy) ด้านการ ดำเนินงาน (Operation) ด้านการเงินและงบประมาณ (Financial) ด้านกฎระเบียบ (Compliance) หรือแม้แต่ ชื่อเสียงภาพลักษณ์ (Image) ซึ่งสภาวะความไม่แน่นอนที่องการทุกองค์การต้องเผชิญดังกล่าวนี้ เรียกว่า “ความเสีย่ ง” ความเสี่ยง ตามหลักการก็คือโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสยี หาย การรว่ั ไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ ที่ไม่พึงประสงค์ ซึ่งเป็นภาวะคุกคาม ปัญหา อุปสรรคหรือการสูญเสียโอกาสซึ่งอาจเกิดขึ้นใน อนาคนและมีผลกระทบหรือทำให้การดำเนนิ งานไม่ประสบความสำเรจ็ ตามวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายขององค์การ หรือก่อนผลเสียหายแก่องค์การ ดังนั้น จึงทำให้การบริหารความเสี่ยงถูกนำมาเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารจัดการ องค์กร ซึ่งเป็นเรื่องส่วนรวมที่ทุกคนในองค์กร ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง จนถึงบุคลากรทุกคนทุกระดับ ควรจะต้อง เข้าใจในพื้นฐานของแนวความคิดของการบิหารความเสี่ยงและตอ้ งทำความเข้าใจร่วมกนั โดยการมสี ่วนร่วมในการ คิด วิเคราะห์เพื่อบูรณาการและเชื่อมโยงสัมพันธ์กับแผนปฏิบัติการ การกำหนดนโยบาย กลยุทธ์ แผนงานและ กจิ กรรมขององค์กร เพื่อให้การบรหิ ารความเสยี่ งขององค์การบรรลุ วิสยั ทศั น์ พันธกจิ และเปา้ ประสงค์ เพราะการ บริหารความเสย่ี งที่ดจี ะเป็นการวดั ความสามารถของการดำเนนิ งานของผู้บรหิ ารและบุคลากรภายในองค์กร

การบริหารความเสี่ยงขององค์กรตามหลักการก็คือ กระบวนการที่กำหนดขึ้นและนำไปใช้โดยฝ่าย บริหารและบุคลากรอื่นๆ ในองค์การ เพื่อกำหนดกลยุทธ์และใช้กับหน่วยงานทั้งหมดในองค์กร โดยได้รับการ ออกแบบมาเพื่อระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นซึ่งอาจมีผลการะทบต่อองค์กร รวมทั้งการบริหารความเสี่ยงให้อยู่ ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ (Risk Appetite) ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล ว่าองคก์ รจะบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ตี่ ้ังไว้ การนำกระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้ในองค์การจะช่วยเป็นหลักประกันในระดับหนึ่งว่าการ ดำเนินการต่างๆ ขององค์การ จะมีการดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ เนื่องจากการบริหารความเสี่ยงเป็น การทำนายอนาคตอย่างมีเหตผุ ล มหี ลักการและหาทางลดหรือป้องกนั ความเสียหายในการทำงานแต่ละขั้นตอนไว้ ล่วงหนา้ หรือในกรณีที่พบวา่ เหตุการณ์ที่ไม่คาดคิด โอกาสที่จะประสบกับปัญหาก็น้อยกว่าองค์กรอื่นหรือหากเกิด ความเสียหายขึ้น ก็จะเป็นความเสียหายที่น้อยกว่าองค์กรที่ไม่มีการนำกระบวนการบริหารความเสียงมาใช้ เพราะได้มีการเตรียมการไว้ล่วงหน้า ในขณะที่องค์กรอื่นไม่เคยมีการเตรียมการหรือไม่มีการนำแนวคิด ของกระบวนการบริหารความเสี่ยงมาใช้ เช่น เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤตขึ้น องค์กรเหล่านั้นจะประสบกับปัญหา และความเสียหายที่ตามมาโดยยากที่จะแก้ไข ดังนั้นการนำกระบวนการบริหารความเสี่ยงมาช่วยเสริมร่วมกับการ ทำงาน จะช่วยในภาระงานทีป่ ฏิบัตกิ ารอยู่เป็นไปตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ และป้องกันโอกาสที่จะเกิดความเส่ยี ง และปัญหาที่จะเป็นอุปสรรคตอ่ การดำเนินงานได้ และหากองค์กรสามารถเข้าไปบริหารความเสี่ยงได้อยา่ งถูกต้อง ภาวะคุกคาม ปญั หา อุปสรรคท้งั หายท่ีคาดไว้อาจก่อให้เกิดโอกาสและนำไปสนู่ วัตกรรมขององค์กรได้ แต่ส่วนใหญ่ จะเห็นชัดว่าการที่องค์การจะหันมาให้ความสำคัญกับความเสี่ยงในด้านใดก็ดี มักเกิดขึ้นขึ้นหลังจากเกิดความสูญ เสยี วแลว้ ยิ่งความสูญเสียนน้ั มากเท่าไหร่ เรายงิ่ หนั มาใหค้ วามสำคญั กับาความเสย่ี งที่นำมาซง่ึ ความเสียน้ันมากขึ้น เท่านั้น ดังนั้นการบริหารควยามเสี่ยงจึงเป็นเร่ืองประกอบกันระหว่างโอกาสที่น่าจะเกิดขึ้นของสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ กับผลกระทบที่ตามมา ซึ่งการบริหารความเส่ียงอย่างเหมาะสมจะเป็นการสนับสนุนกลยุทธ์ แผนงานให้บรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ เพราะการบริหารความเสี่ยงระดับองค์การเป็นการพิจารณาจากความเสี่ยงทั้งหมด เป็นกระบวนการเชิงระบบ เพื่อระบุ ประเมิน ควบคุม และสื่อสารความเสี่ยงโดยให้ครอบคลุมทั่งทั้งองค์กร โดยได้รบั การสนบั สนุนและมสี ่วนร่วมจากผูบ้ รหิ ารระดับสูง และจากบุคลากรทกุ ระดับในองค์กร การบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) เป็นกระบวนการ ที่ส่งเสริมให้บุคลากรทั่วทั้งองค์ได้มีส่วนร่วมในการคดิ วิเคราะห์ และคาดการณ์ถึงเหตุการณ์หรือความเสี่ยงท่ีอาจ เกิดขึ้น รวมทั้ง การะบุแนวทางในการจัดการกับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมหรือยอมรับได้ เพื่อช่วย ในองค์กรสามารถบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ที่ต้องการ มีการระบุระดับความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงแต่ละ ประเภทตามการวิเคราะห์โอกาส ทเี่ กิดความเสย่ี ง (Likelihood) และผลการทบ (Impact) ของความเส่ียงนน้ี และ มีการจัดลำดับความเสี่ยงจากผลการวิเคราะห์ความเสียหายข้างต้น พร้อมทั้งมีการกำหนดระดับความเสี่ยง ที่ยอมรับ (Risk Appetite) และช่วงเบี่ยงเบนของระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) รวมทั้งมีการ กำหนดและคัดเลือกวิธีการในการจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment) โดยพิจารณาถึงผลการะทบและโอกาส ทจ่ี ะเกดิ ความเสย่ี งและระดบั ความเสีย่ งท่ยี อมรบั ไดข้ องความเสี่ยงทย่ี ังเหลืออยู่ (Residual Risk) 2

วัตถปุ ระสงค์ในการบรหิ ารจัดการความเสี่ยงของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสุรินทร์ สำนักงานงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาองค์กรตามแนว ทางการบริหารจัดการที่ดีและมีธรรมาภิบาล การดำเนินงานด้านการบริหารความเส่ียงอย่างเป็นระบบและมีความ ต่อเนื่องอันจะส่งผลให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ สามารถเป็นองค์กรหลักที่มีการบิหารงาน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินการขับเคลื่อนแนวทางการดำเนินงาน ของหน่วยงานในสังกัด ในการนี้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงกำหนดวัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการ ความเส่ยี งไว้ดังน้ี 1) เพ่ือปรับปรงุ และพัฒนาการบรหิ ารจัดการความเสยี่ งให้ดียง่ิ ข้นึ 2) เพื่อให้เกิดการรับรู้ ตระหนักและเข้าใจถึงความเสี่ยงด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์กร และหาวิธี จัดการที่เหมาะสมในการลดระดับความเส่ียงให้อยใู่ นระดบั ท่ีองค์กรยอมรบั ได้ 3) เพือ่ สร้างกรอบและแนวทางในการดำเนินงานให้แกบ่ ุคลากร ให้สามารถบรหิ ารจัดการความเสี่ยง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4) เพอ่ื ให้มกี ารทบทวน นำไปปฏิบัติ ตดิ ตามและรายงานผลได้อย่างเป็นระบบและตอ่ เนื่อง 5) เพอ่ื ใช้เป็นเครอื่ งมอื ในการบริหารจดั การความเสีย่ งของสำนักงานศึกษาธิการจงั หวดั สุรินทร์ เป้าหมายในการบริหารจัดการความเสยี่ ง ดงั ต่อไปน้ี 1) ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อนำไปใช้ ในการดำเนินงานใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์และเปา้ หมายที่กำหนดไว้ 2) ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน สามารถระบุความเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง และจดั การความเสีย่ งให้อยใู่ นระดบั ท่ียอมรบั ได้ 3) สามารถนำแผนการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งไปใชใ้ นการบรหิ ารงานที่รบั ผดิ ชอบได้ 4) พฒั นาความสามารถของบุคลากรและกระบวนการดำเนนิ งานภายในองค์กรอย่างต่อเนอื่ ง 5) ความรับผิดชอบต่อความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยงถูกกำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม ทว่ั ท้งั องคก์ ร 6) การบรหิ ารจดั การความเส่ยี งไดร้ ับการปลูกฝงั ใหเ้ ปน็ วัฒนธรรมองคก์ ร ประโยชน์ของการบริหารจัดการความเสี่ยง 1) สะท้อนให้เห็นภาพรวมของความเสี่ยงภายในองค์กร การบริหารจัดการความเสี่ยงจะทำให้ บุคลาการภายในองค์กรมีความเข้าใจเป้าหมายและภารกิจหลักขององค์กรและตระหนักถึงความเสี่ยงที่ส่งผล กระทบในเชิงลบตอ่ องค์กรไดอ้ ย่างครบถ้วน ซึง่ ครอบคลุมความเส่ียงธรรมาภิบาล 2) เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงาน ที่ช่วยให้ผู้บริหารสามารถม่ันใจได้ว่าความเสี่ยงได้รับการ จดั การอยา่ งเหมาะสมและทนั เวลา และตัดสนิ ใจด้านตา่ งๆ 3

บทท่ี 2 แนวทางการบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง เป็นกระบวนการที่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน ร่วมกันระบุความเสี่ยงและปัจจัยความเสี่ยง โดยต้อง คำนึงถึงความเสี่ยงที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ปัจจัยเหล่านี้มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์และ เป้าหมายองค์กร หรือผลการปฏิบัติทั้งในระดับองค์กรและระดับโครงการกิจกรรม ในการระบุปัจจัยเสี่ยงต้อง พิจารณาว่ามีเหตุการณ์ใดหรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิบัติงานที่อาจเกิดความผิดพลาดความเสียหายและ ไม่บรรลุวัตถปุ ระสงคท์ กี่ ำหนด ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเข้าใจความหมายของ “ความเสี่ยง (Risk)” “ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) และ “ประเภทความเสีย่ ง” ก่อนทจ่ี ะดำเนนิ การระบุความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม 1. ความเสีย่ ง (Risk) หมายถึง เหตุการณ์การกระทำใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผล กระทบสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน) หรือก่อให้เกิดความล้มเหลวหรือลดโอกาสที่จะ บรรลคุ วามสำเร็จตอ่ การบรรลุเปา้ หมายและวตั ถปุ ระสงคท์ งั้ ในระดบั องค์การและเป้าหมายตามแผนดำเนินงาน 2. ปจั จัยเส่ียง (Risk Factor) หมายถึง ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยง ที่จะทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยตอ้ งระบุได้ดว้ ยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหน เมอื่ ใดและจะเกิดขึ้นได้อย่างไรและทำไม ทั้งน้ีสาเหตุของความ เสี่ยงที่ระบุควรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพื่อจะได้วิเคราะห์และกำหนดมาตรการความเสี่ยง ในภายหลังได้อย่าง ถกู ต้อง โดยปัจจยั เสี่ยงแบง่ เป็น 2 ด้าน ดงั น้ี 1) ปจั จยั ภายนอก คือความเส่ียงท่ีไมส่ ามารถควบคุมการเกดิ ได้โดยองค์การ อาทิ เศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง กฎหมาย เทคโนโลยี ภัยธรรมชาติ ส่งิ แวดลอ้ ม 2) ปัจจัยภายใน คือความเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้โดยองค์การ อาทิ กฎระเบียบ ข้อบังคับภาย ในองค์กร วัฒนธรรมองค์กร นโยบายการบริหารและการจัดการ ความรู้ความสามารถของบคุ ลากร กระบวนการ ทำงาน ขอ้ มูล/ระบบสารสนเทศ เคร่ืองมือ/อปุ กรณ์ 3. ประเภทความเสยี่ ง แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องในระดับยุทธศาสตร์ เกี่ยวข้องกับกับกลยุทธ์ เป้าหมาย พันธกิจ ในภาพรวมขององค์กรที่อาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือการไม่ บรรลุผลตามเปา้ หมายในแตล่ ะประเด็นยุทธ์ศาสตรอ์ งค์การ 2) ความเสยี่ งดา้ นการปฏบิ ัติงาน (Operational Risk : O) เปน็ ความเสี่ยงทเ่ี กย่ี วข้องในกบั ประเด็น การปฏิบัติงานประจำวัน หรือการดำเนินงานปกติที่องค์กรต้องเผชิญเพื่อให้วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ความเสี่ยง ด้านนี้ อาทิ การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามแผนดำเนินงานโดยไม่มีผังการปฏิบัติงานที่ชัดเจน หรือไม่มีการ มอบหมายหนา้ ที่ความรับผิดชอบ บคุ ลากรขาดแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงาน 4

3) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk : F) เป็นความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการบริหารและ ควบคุมทางด้านการเงินและงบประมาณขององค์กรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล ผลกระทบการเงินที่เกิดจาก ปัจจยั ภายนอก 4) ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามระเบียบและกฎหมาย (Compliance Risk : C) เป็นความเสี่ยง ท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามระเบยี บและกฎหมาย เชน่ ระเบยี บ กฎหมาย พระราชกฤษฎีกา ระเบียบข้อบังคับ ขอ้ กำหนดของทางการ นโยบายของรฐั เปน็ ตน้ 4. แนวทางการปฏบิ ัตทิ ่ดี ีโดยทั่วไป 1. การบรหิ ารความเส่ยี งระดบั องคก์ ร - คณะกรรมการการจัดการกำหนดนโยบายด้านการบริหารความเสี่ยงให้ครอบคลุม ท้ังองค์กร - ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรให้ความสำคัญและมีการบริหารจัดการความเสี่ยง ในระดับองค์กรตามนโยบายที่วางไว้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง รวมทั้งมีการจัดตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานการบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อร่วมกันพิจารณาจัดลำดบั ชนั้ ของความเสี่ยงแต่ละประเภท ที่อาจมีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร โดยในการจัดทำแผนการบริหาร การจัดการความเสี่ยง ผู้บริหารระดับสูงต้องนำปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกมาประกอบการพิจารณา กำหนดกลยุทธ์และกรอบการดำเนินการ เพื่อควบคุม จำกัด หรือหลีกเล่ยี งผลกระทบจากความเสยี่ งดังกล่าวด้วย ความรอบคอบและระมดั ระวงั เพ่ือสรา้ งความเชอื่ มัน่ ว่าองคก์ รจะสามารถบรรลุต่อวัตถปุ ระสงคท์ ี่กำหนด 2. ความเสี่ยงระดับกระบวนการปฏบิ ัติงาน - ผู้บริหารระดับสูงร่วมกับ ผู้อำนวยการกลุ่ม/หน่วย และส่วนงานต่างๆ ประเมินความ เสี่ยงในทกุ ด้าน ทีอ่ าจกระทบต่อการไม่บรรลุวัตถปุ ระสงค์ของกระบวนการปฏิบตั ิงานขององค์กร เพื่อให้การกำกับ ดแู ลการบริหารความเส่ยี ง บรรลุผลและเปน็ ไปอย่างตอ่ เน่อื ง 3. ความเส่ียงกรณีเกิดจากเหตุการณ์ไมป่ กตหิ รือฉกุ เฉนิ - จัดใหม้ ีการบริหารความเส่ียงจากเหตุการณภ์ ัยธรรมชาติ เหตกุ ารณ์วินาศภัยหรือภาวะ ฉุกเฉินใดๆ ที่ส่งผลกระทบให้คณะกรรมการ ผู้บริหารและพนักงานไม่สามารถเข้าปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน หรือสามารถมาปฏิบัติงานได้ โดยให้ทุกฝายมีส่วนร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินการ และจัดเตรียมแผนฉุกเฉิน เพื่อลดผลกระทบจากเหตุฉุกเฉินดังกล่าว ทั้งนี้ แผนฉุกเฉินจะต้องกอบกู้กระบวนการหลักและระบบเทคโนโลยี สารสนเทศดว้ ย และให้มีการบทบทวนและซกั ซ้อมการดำเนินการตามแผนฯ อย่างสม่ำเสมอย่างนอ้ ยปลี ะครง้ั 4. ผู้บริหารระดับสูงมีหน้าที่กำกับดูแล ควบคุมกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กร โดยเฉพาะในการปฏิบัติงาน ที่เป็นกิจกรรมหลักที่มีความสำคัญและลักษณะฐานความเสี่ยงสูง โดยให้หน่วยงาน ตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ในการเข้าตรวจสอบกระบวนการในการบริหารความเสี่ยงตามแผนงานรวมถึ งเข้า ตรวจสอบการบริหารความเสี่ยงจาก เหตกุ ารณ์ไมป่ กติหรือเหตฉุ ุกเฉิน และมีการสอบทานความเหมาะสม ประเมิน ความเพียงพอ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐานการตรวจสอบและ แนวทางปฏบิ ตั ิทด่ี ี 5

5. การตดิ ตามและการประเมนิ ผลการดำเนินงาน เพื่อให้การบริหารจัดการความเสี่ยงเป็นไปตามมาตรฐานสากล จะต้องมีการติดตาม ประเมนิ ผลอย่างนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง เพอ่ื ประเมินความพอเพียงของแผนบริหารความสี่ยงและสามารถทำการปรับปรุง แก้ไขได้ทันท่วงที อันจะส่งผลให้การดำเนินงานของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์บรรลุเป้าหมายตาม ท่ี กำหนดไว้ในแผนการบริหารจดั การความเส่ยี ง โดยจะตอ้ งดำเนินการตามลำดับ ดังนี้ 1. ดำเนินงานตามแผนบริหารความสี่ยงของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ สำหรับ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้ผู้รับผดิ ชอบระดับหนว่ ยงาน ดำเนนิ งานตามแผนงาน/มาตรการ ตอบสนองความ เส่ียงที่กำหนด เพอ่ื นำผลการดำเนินงานมาประเมินการบรรลุผลในภาพรวมของระดับองค์กร 2. สื่อสารแผนการบริหารจัดการความเสี่ยงสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ สำหรับ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผ่านช่องทางการสื่อสาร ต่างๆ เช่น เว็ปไซด์ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ การประชุมชีแ้ จงระดบั คณะทำงานการบริหารจัดการความเสยี่ งและคณะผบู้ ริหารองค์การ 3. การติดตามการดำเนินงานในการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน 3.1 การวางแผนและกำหนดแนวทางในการติดตามความก้าวหน้าในการบริหาร จัดการความเส่ียง 3.2 ประสานงานการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงและคณะทำงานบริหารจดั การความ เส่ยี งของสำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สรุ นิ ทร์ 3.3 รายงานผลการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยแสดงระดับความสำเร็จ ของกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ หรือระดับความเสี่ยง (โอกาสในการเกิดและผลกระทบของความเสี่ยง) ที่เกิดข้ึน จรงิ หลังจากไดด้ ำเนินการตามมาตรการบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง 3.4 รายงานต่อคณะผู้บริหารเพื่อทราบอย่างน้อย ปีละครั้ง ในการพัฒนาและ ทบทวนกระบวนการบริหารจัดการความเสี่ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีกรวางแผนการดำเนินการ ซง่ึ การดำเนนิ งานในแตล่ ะคร้ัง ได้กำหนดผู้ท่คี วรจะเข้ารว่ มคือ 1 คณะทำงานการบริหารจัดการความเส่ยี ง 2 คณะ ผบู้ รหิ าร 6

บทที่ 3 บทสรุปและขอ้ เสนอแนะ การบริหารจดั การความเสี่ยงประจำปีงบประมาณพ.ศ 2565 นสี้ ำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสุรินทร์ ดำเนินการตามกระบวนการบริหารจัดการความเส่ียงตามมาตรฐานสากลซึ่งเป็นกระบวนการที่ส่งเสริมให้บุคลากร ทัว่ ทั้งองค์กรได้มีส่วนร่วมในการคิดวิเคราะห์และคาดการณ์ถึงเหตุการณห์ รือความเส่ียงที่อาจจะเกิดข้ึนรวมท้ังการ ระบุแนวทางในการจัดการกับความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมหรือยอมรับได้เพื่อช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุ วัตถุประสงค์ที่ต้องการมีการระบุระดับความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นจากความเสี่ยงนั้นโดยนำข้อมูลจากการ วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกขอ้ มูลจากการระดมความคิดเห็นมาพิจารณาเป็นหลักเพื่อใหไ้ ด้ปัจจัย เสี่ยงที่มีนัยยะสำคัญและอาจส่งผลกระทบในระดับองค์กรรวมทั้งกำหนดเกณฑ์ในการประเมินระดับความรุนแรง ความเสี่ยงโดยพิจารณาจากโอกาสในการเกิดและผลกระทบของความเสี่ยง จากนั้นทำการประเมินระดับความ รุนแรงของปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เพอื่ จดั ลำดับความเสยี่ งขององค์กร และกำหนดมาตรการในการบริหารจัดการความเส่ยี งต่อไป ปจั จัยเสย่ี งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ไดว้ เิ คราะหค์ วามเสี่ยง ทงั้ 4 ประเภท โดยจากการระดม ความเห็นร่วมกนั พบวา่ มลี กั ษณะความเส่ยี งและปัจจัยคงเหลอื ดังน้ี 1) ความเสีย่ งดา้ นการดำเนนิ งาน (Operation Risk) 1.1 ร้อยละของโครงการทดี่ ำเนนิ การล่าช้า ไม่เปน็ ไปตามระยะเวลาในแผนงาน/โครงการ 1.2 ร้อยละของการเกิดข้อผดิ พลาดจากการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ 1.3 ร้อยละของความพึงพอใจ 2) ความเส่ยี งด้านการเงิน - 3) ความเส่ียงด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบยี บ - 4) ความเส่ียงด้านกลยทุ ธ์ - ในการดำเนนิ งานตามแผนงาน/โครงการ ของสำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสุรนิ ทร์ ให้บรรลุ เปา้ หมายท่กี ำหนดไวใ้ นแผนการบริหารจัดการความเส่ียง ต้องมรี ะบบและเปน็ ไปตามมาตรฐานสากล สำนกั งาน ศกึ ษาธิการจังหวดั สุรินทรม์ กี ารติดตามความคบื หนา้ การดำเนนิ งานตามแผนบรหิ ารจดั การความเส่ยี ง เพ่ือรายงาน ตอ่ ผบู้ รหิ ารทราบอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้งั รวมทงั้ ติดตามประเมินผลแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง เพ่ือพจิ ารณา ปรับปรุงแก้ไขความเส่ียงได้อย่างทันท่วงที ความสำเร็จในการจัดการความเสี่ยงของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ในฐานะหน่วยงาน ทด่ี ูแลหน่วยงานทางการศกึ ษาในจังหวัด ความสำเร็จจะเกดิ ข้นึ ไดต้ อ้ งอาศยั ความร่วมมือจากทกุ คนในองค์กร ตัง้ แต่ ระดับผู้บริหารระดับสูง จนถึงผู้ปฏิบัติงาน หากมีเจตนารมณ์ในการสนับสนุนและเข้ามามีส่วนร่วมจะทำให้เกิ ด คุณค่าของการจัดการความเสี่ยงและสามารถลดความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ ของสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดสุรินทร์ ลงได้อย่างแท้จริง แต่ทั้งนี้ต้องดำเนินการควบคู่ไปกับการจัดทำแผนการบริหารจัดการความเสี่ยง 7

อย่างเป็นระบบและมีขั้นตอนตามหลักการที่เหมาะสมรวมทั้งมีการติดตามประเมินผลเพื่อให้การกำกับดูแล การบรหิ ารความเสีย่ งอย่างต่อเนื่อง ซ่งึ จะทำให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสรุ ินทรส์ ามารถบรรลวุ ตั ถุประสงค์และ เปา้ หมายทีก่ ำหนดไวไ้ ด้ การประเมินระดับความรุนแรงของความเสี่ยง (Risk Assessment) เป็นการประเมินค่าโอกาส ในการเกิดความเสี่ยงและระดับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยง ของแต่ละปัจจัยความเสี่ยงในปัจจุบันและ วเิ คราะหร์ ะดบั ความรุนแรงความเสีย่ งท่ีอาจจะเกดิ ขึ้นเนื่องจากความเส่ยี งแต่ละประเภท โดยค่าระดับความรุนแรง ความเสี่ยงจะพิจารณาจาก โอกาสในการเกิดการเสี่ยง X ระดับผลกระทบที่เกิดจากความเสี่ยงแล้วนำมาจัดลำดบั ความสำคัญของความเสี่ยง โดยพิจารณาจากค่าระดับความรุนแรงทีค่ ำนวณได้ โดยจัดเรยี งตามลำดับจากระดบั สงู มาก สูง ปานกลาง ต่ำ และต่ำมาก และนำความเสี่ยงที่ได้วิเคราะห์ดังกล่าวมาจัดทำแผนการบริหารความเสี่ยงใน ขั้นตอนตอ่ ไป เกณฑก์ ารประเมนิ ความเสี่ยง (Opportunities & Impact) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้มีการปรับปรุงเกณฑ์การประเมินโอกาสเกิด (Opportunities/Likelihood) และผลกระทบ (Impact) ทั้งนี้ เพื่อให้ครอบคลุมถึงการประเมินทุกปัจจัยเสี่ยงที่ เหมาะสมและเป็นมาตรฐานมากข้ึน โดยในการประเมินระดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยงจะพิจารณาจากโอกาส เกิด (Opportunities/Likelihood) และผลกระทบ (Impact) ของความเสี่ยง สำนักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้กำหนดระดับการพิจารณา เป็น 5 ระดับ เรียงลำดับจาก โอกาสเกิดน้อยที่สุดจนถึงโอกาสมากที่สุด และ ผลกระทบจากน้อยทีส่ ุดจนถึงผลกระทบรุนแรงสงู สุด แต่ค่าระดบั คะแนน การประเมินโอกาสและผลกระทบความ เสยี่ งจะกำหนดไว้ 4 ระดับ ไดแ้ ก่ ต่ำ ปานกลาง สูง และสูงมาก สรปุ ได้ดงั น้ี 8

9

ภาคผนวก

SRN.1 แบบฟอร์มโครงการ/กิจกรรมทส่ี ำคญั ของสำนักงาน สำนกั งานศึกษาธกิ โครงการ/กิจกรรม ยทุ ธศาสตร์ ความสำคญั ของโครงกา คำอธิบาย 1. โครงการ/กจิ กรรม หมายถึง โครงการหรือกจิ กรรมของหนว่ ยงานท่ีมีความสำคัญ โครงการท่ีสำคัญและมคี วามเสย่ี งสูง 2. ยทุ ธศาสตร์ หมายถึง โครงการทมี่ ีความสอดคล้องกับยุทธศาสตรข์ องแผนปฏิบัต ราชการประจำปี ก็สามารถนำมาจดั ทำแผนบริหารความเสยี่ งได้โดยไม่ต้องระบยุ ุทธ 3. ความสำคัญของโครงการ หมายถึง ความสำคัญของโครงการหรอื กิจกรรม 4. งบประมาณ (บาท) หมายถงึ งบประมาณของโครงการหรอื กจิ กรรม 5. ตวั ชีว้ ัด หมายถึง ตวั ชีว้ ัดของโครงการหรือกิจกรรม 6. ผูร้ ับผดิ ชอบ หมายถึง ผูร้ บั ผิดชอบโครงการทง้ั ระดบั ผูป้ ฏิบัตงิ านและผ้อู ำนวยกา

นศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ ประปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 SRN.1 การจงั หวดั สุรนิ ทร์ ผ้รู บั ผิดชอบ าร งบประมาณ (บาท) ตวั ช้วี ัด ญตอ่ การบรรลุวัตถุประสงค์หลักของสำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสุรินทร์หรือเป็น ตริ าชประจำปขี องหนว่ ยงาน หากกรณีทโ่ี ครงการนนั้ ๆ ไมถ่ ูกระบใุ นแผนปฏบิ ตั ิ ธศาสตร์ ารกลมุ่

SRN.2 แบบฟอร์มประเภทความเส่ยี งโครงการ/กิจกรรมทสี่ ำคัญของส ปัจจยั /ประเด็นความเสี่ยง 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1 1.2 1.3 2. โครงการ/กจิ กรรม 2.1 2.2 2.3 คำอธิบาย 1. ปจั จัย/ประเดน็ ความเส่ียง หมายถงึ ปจั จัยหรอื ประเดน็ ท่ีอาจสง่ ผลใหเ้ กิดความเส่ียงใน ความลา่ ช้าในการดำเนินโครงการอันเนือ่ งมาจากการเปล่ยี นแปลงแนวนโยบายของผูบ้ รหิ 2. ประเภทความเสี่ยง (ใส่ ✓ ชอ่ งที่เกีย่ วข้อง) ประกอบไปดว้ ย 4 ด้าน ไดแ้ ก่ 2.1 ความเสี่ยงดา้ นกลยทุ ธ์ (Strategic Risks : SR) หมายถงึ ความเส่ียงจากกา ภารกิจ, ยทุ ธศาสตร์ท่ีไม่ชัดเจนและความไมเ่ หมาะสมของยุทธศาสตร์ ซ่งึ อาจเกิดจากกา ยุทธศาสตรใ์ นปัจจุบันสอดคลอ้ งกับสถานการณเ์ ศรษฐกจิ การเมอื ง และสงั คมหรอื ไม่ แล หน่วยงานหรือไม่

SRN.2 สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสรุ นิ ทร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ประเภทความเสีย่ ง มติ ธิ รรมาภบิ าล 1.กล ุยทธ์ 2.การดำเ ินนการ 3.การเ ิงน 4.กฎหมาย/ระเ ีบยบ ประ ิสท ิธผล ประ ิสท ิธภาพ ตอบสนอง ัรบผิดชอบ โป ่รงใส ีมส่วน ่รวม กระจายอำนาจ ิน ิตธรรม เสมอภาค การ ุ่มงเ ้นน ัฉนทาม ิต นแต่ละขน้ั ตอน/วิธีการดำเนินงาน เชน่ ขอ้ จำกัดดา้ นเวลา ความไม่ชดั เจนของกฎหมาย หาร ความลา่ ช้าในการความล่าช้าในการตดิ ตามประเมนิ ผล ารใชย้ ุทธศาสตรห์ รือกลยทุ ธท์ ไี่ มเ่ หมาะสม, ยุทธศาสตรไ์ มส่ อดคลอ้ งกบั วิสัยทัศน์และ ารท่สี ภาวะแวดลอ้ มมีการเปลี่ยนแปลง เพือ่ ระบคุ วามเสี่ยงหนว่ ยงานต้องพจิ ารณาว่า ละประเดน็ ยทุ ธศาสตรข์ องแต่ละหน่วยงานย่อยสอดคลอ้ งกบั ยทุ ธศาสตร์หลักของ

2.2 ความเสี่ยงดา้ นการดำเนนิ งาน (Operational Risks : OR) หมายถงึ ความ โดยทไ่ี ม่ทำใหเ้ กดิ ประโยชน์เตม็ ท่ตี ามภารกิจของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สรุ ินทร์ เพ ทำงานได้ไม่ดี หน่วยงานมโี ครงสร้างและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เชื่อถอื ไดห้ รอื ไม่ แ 2.3 ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risks : FR) หมายถึง ความเสี่ยงตอ่ สถ รายจ่าย ทรพั ยส์ ิน และหนสี้ ิน เพื่อระบคุ วามเสยี่ ง หนว่ ยงานตอ้ งพิจารณาว่ อะไรจะมผี ล ขอ้ ผูกพันและปัจจยั ภายนอก) และอะไรคอื ปัจจัยทท่ี าใหเ้ กดิ ความเสยี่ งเหลา่ น้นั 2.4 ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับ กฎหมาย (Complian องค์กร เพือ่ ระบุความเสย่ี งหนว่ ยงานต้องพิจารณาว่า งาน กระบวนการ และบคุ ลากรดำ อย่างไรบา้ งและหากเกิดขนึ้ ระบบตรวจสอบภายในจะสามารถตรวจเจอหรอื ไม่ และมีกร 3. มติ ธิ รรมาภิบาล (ใส่ ✓ ชอ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง และใสไ่ ด้มากกว่า 1 ชอ่ ง) 1. ประสิทธผิ ล : - การบรรลสุ ำเร็จตามเป้าหมายของแผนปฎิบัตริ าชการตามท่ีไดร้ ับงบประมาณม - ผลสำเรจ็ ตามเป้าหมายของแผนปฎบิ ัติราชการสามารถเทียบเคยี งได้กบั หน่วย - มผี ลการปฎิบตั ิงานในระดับชั้นนำของประเทศ - มกี ารปฏิบตั ิราชการท่ีมที ิศทางยทุ ธศาสตรแ์ ละเปา้ ประสงค์ท่ีชัดเจน - มกี ระบวนการปฎบิ ตั งิ านและระบบงานทเ่ี ป็นมาตรฐาน - มกี ารตดิ ตาม ประเมนิ ผล และพัฒนาปรับปรุงอย่างตอ่ เน่ืองและเป็นระบบ 2. ประสทิ ธิภาพ : - มีวิธีการบริหารจดั การท่ีสง่ ผลใหอ้ งคก์ ารประหยดั ต้นทุน (ค่าใช้จ่าย) - มวี ิธกี ารบริหารจัดการที่สง่ ผลให้องคก์ ารประหยดั แรงงาน - มวี ิธีการบริหารจัดการที่สง่ ผลให้องค์การประหยดั ระยะเวลา - มีวิธกี ารพฒั นาขดี ความสามารถในการปฏิบัตริ าชการตามภารกจิ เพอ่ื ตอบสน 3. การตอบสนอง : - สามารถให้บริการไดภ้ ายในระยะเวลาที่กำหนด

มเสีย่ งจากการดำเนนิ งานทีไ่ ม่มปี ระสิทธภิ าพและประสิทธิผล และการใช้ทรพั ยากร พื่อระบุความเสย่ี ง หน่วยงานตอ้ งพิจารณาวา่ ปัจจยั ใดสามารถทำงานได้ดี และปจั จยั ใด และหน่วยงานมีทรัพยากรทเ่ี พยี งพอและเหมาะสมตอ่ การดำเนนิ งานหรอื ไม่ ถานะการเงินและเปา้ หมายของสำนกั งานศึกษาธิการจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ทั้งด้านรายได้ ลต่อการเงนิ ของสำนกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์ (ท้งั ทช่ี ัดเจนและไม่ชัดเจน รวมถงึ nce Risks : CR) หมายถงึ การไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบียบ ทัง้ ของภายในและภายนอก ำเนินงานตามกฎระเบยี บท่เี ก่ยี วขอ้ งหรอื ไม่สามารถเกิดการกระทำผดิ กฎระเบียบได้ รณตี ัวอย่างจากอดีตเกีย่ วกับการกระทาผิดหรอื ไมป่ ฏิบตั ิ มาดาเนนิ การ ยงานทม่ี ีภารกิจคล้ายคลึงกนั นองความต้องการของประชาชนและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียทกุ กลุ่ม

- สามารถสรา้ งความเชื่อม่นั และความไวว้ างใจตอ่ ผ้รู บั บริการ - สามารถตอบสนองความคาดหวงั หรือความต้องการของผู้รับบริการและผมู้ สี ว่ 4. ความรับผิดชอบ : - มีความรับผิดชอบในการปฏบิ ัตหิ นา้ ทแ่ี ละผลงาน ต่อเปา้ หมายท่กี ำหนดไวโ้ ดย - มกี ารแสดงถงึ ความสำนึกในการรับผดิ ชอบต่อปัญหาสาธารณะ 5. ความโปรง่ ใส : - มกี ระบวนการเปดิ เผยอย่างตรงไปตรงมา สามารถชีแ้ จงได้เม่ือมขี ้อสงสัย - ใหป้ ระชาคมในองค์กรสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลขา่ วสารอันไมต่ อ้ งหา้ มตามกฎหมา - ประชาคมในองค์กรสามารถรทู้ กุ ข้ันตอนในการดำเนินกิจกรรมหรอื กระบวนกา - ประชาคมในองค์กรสามารถตรวจสอบได้ 6. การมสี ่วนร่วม - ได้เขา้ รว่ มในการรบั รู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ รว่ มแสดงทศั นะ ร่วมเสนอปัญหา - ไดร้ ว่ มคดิ แนวทาง รว่ มการแก้ไขปัญหา รว่ มในกระบวนการตัดสินใจ - ไดร้ ่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนการพัฒนา 7. กระจายอำนาจ - มีการถา่ ยโอนอำนาจการตัดสินใจ ทรพั ยากร และภารกจิ ใหแ้ กห่ น่วยงานย่อย - มีการมอบอานาจและความรบั ผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจ และดำเนินการใหแ้ ก่บคุ - มกี ารปรับปรุงระบบการกระจายอำนาจ และเพิม่ ผลติ ภาพ เพ่อื ผลการดำเนนิ ง 8. นิตธิ รรม - สามารถใชอ้ ำนาจของกฎหมาย กฎระเบยี บ ข้อบังคบั ในการบริหารราชการด้ว 9. ความเสมอภาค - สามารถปฏิบัตแิ ละใหบ้ ริการได้อยา่ งเทา่ เทยี มกนั โดยไมแ่ บง่ แยกด้าน เพศ ถ่ิน บุคคล ฐานะทางเศรษฐกจิ และสังคม ความเชือ่ ทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรมและอ 10. การม่งุ เน้นฉันทามติ

วนได้สว่ นเสยี ได้ด้วย ความหลากหลาย และมคี วามแตกตา่ ง ยความรบั ผิดชอบน้ันอยูใ่ นระดบั ท่ีสนองต่อความคาดหวังของสาธารณะ ายไดอ้ ย่างเสรี ารต่าง ๆ า หรือประเด็นทีส่ ำคัญทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ยในสงั กัดเพ่อื ดำเนินการแทน โดยมีอิสระตามสมควร คลากร โดยมุ่งเน้นการสรา้ งความพึงพอใจในการให้บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย งานท่ีดขี องหน่วยงาน วยความเป็นธรรม ไมเ่ ลอื กปฏิบตั ิ และคำนงึ ถงึ สิทธเิ สรภี าพของผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย นกำเนิด เช้อื ชาติ ภาษา อายุ ความพกิ าร สภาพทางกายภาพ หรอื สุขภาพ สถานะของ อ่ืน ๆ

- มกี ระบวนการ หรือสามารถหาขอ้ ตกลงทัว่ ไปภายในกลมุ่ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทเ่ี ไดร้ ับประโยชนแ์ ละเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มท่ไี ด้รบั ผลกระทบโดยตรง ซึ่งตอ้ งไม่มีข ความเห็นพอ้ ง โดยเอกฉันท์)

เกีย่ วขอ้ ง ซงึ่ เป็นขอ้ ตกลงท่เี กดิ จากการกระบวนการเพื่อหาข้อคดิ เหน็ จากกลุ่มบุคคลท่ี ขอ้ คัดค้านที่ยุติไม่ได้ในประเด็นท่สี ำคัญ (โดยฉันทามตไิ ม่จำเป็นต้องหมายความว่าเปน็

โอกาส (L) SRN.3 แบบฟอร์มการประเมนิ ความเสี่ยงและการก ผลกระทบ (I) ของสำนักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสุรนิ ระ ัดบความเ ี่สยง ประเมินความเสีย่ ง กล (L) x (I)ปจั จัย/ประเด็นความเสีย่ ง 1. โครงการ/กิจกรรม 1.1 1.2 1.3 14. 2. โครงการ/กิจกรรม 2.1 2.2 2.3 2.4 คำอธบิ าย 1. ปจั จัย/ประเด็นความเส่ยี ง หมายถึง ปัจจัยหรอื ประเดน็ ท่อี าจส่งผลให้เกดิ ความเส่ยี งใน ความล่าช้าในการดำเนินโครงการอนั เนือ่ งมาจากการเปล่ยี นแปลงแนวนโยบายของผ้บู ริห 2. ประเมินความเส่ยี ง หมายถึง หมายถึง กระบวนการระบุความเส่ียง และจัดลำดบั ความ (Likelihood)หมายถึง ความถี่ หรอื โอกาส ท่จี ะเกดิ เหตกุ ารณค์ วามเส่ยี ง และผลกระทบ

SRN.3 กำหนดกลยุทธ์สำหรบั การบรหิ ารจดั การความเส่ยี ง นทร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ลยทุ ธท์ ใี่ ช้จดั การความเสยี่ ง ห ีลกเ ่ีลยง แนวทางการจัดการความเส่ียง ควบ ุคม ยอม ัรบ ่ถายโอน นแตล่ ะข้ันตอน/วิธกี ารดำเนินงาน เชน่ ข้อจำกัดด้านเวลา ความไม่ชัดเจนของกฎหมาย หาร ความลา่ ช้าในการติดตามประเมนิ ผล มเส่ียง โดยการประเมนิ โอกาสท่จี ะเกิดผลกระทบ ซึง่ โอกาสทีจ่ ะเกิด บ (Impact)หมายถงึ ขนาดความรนุ แรงของความเสยี หายทจี่ ะเกดิ ขึ้นหากเกิดเหตกุ ารณ์

ความเส่ียง เมื่อทาการประเมินแล้วนำมากำหนดเป็นระดับความเสีย่ งในแผนภมู ิความเสีย่ การจดั การกอ่ นหลังเป็นการจดั ลำดับความเสีย่ ง และสามารถตดั สนิ ใจวางแผนบรหิ ารคว โดยเกณฑ์ทจ่ี ะใช้ในการประเมินความเสย่ี ง ซงึ่ ได้แก่ ระดับโอกาสท่ีจะเกดิ ความเสยี่ ง (Li (Degree of Risk) โดยสามารถกำหนดเกณฑไ์ ดท้ ง้ั เชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ไดต้ ามต ตารางการกำหนดเปน็ ระดบั คะแนนข คะแนน ระดบั ผลกระทบ 1 นอ้ ยมาก ไม่มโี 2 นอ้ ย มโี อก 3 ปานกลาง มโี อก 4 สูง มโี อก 5 สงู มาก มีโอก ตารางการกำหนดเป็นระดับคะแนน คะแนน ระดับผลกระทบ 1 2 น้อยมาก มีผล 3 4 น้อย มผี ล 5 ปานกลาง มผี ล สูง มีผล สงู มาก มผี ล

ยง เพอ่ื ช่วยให้สามารถเห็นภาพวา่ เม่อื รวมทกุ ปจั จยั เสี่ยงแลว้ ปจั จยั เส่ียงใดควรได้รบั วามเสี่ยงได้อยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป ikelihood)ระดบั ความรนุ แรงของผลกระทบ (Impact)และระดบั ของความเส่ยี ง ตารางดงั ต่อไปน้ี ของโอกาสทจ่ี ะเกดิ ความเสียหาย (L) คำอธิบาย โอกาสท่ีจะเกดิ ข้ึน หรอื มเี พียงเล็กน้อย (น้อยกวา่ รอ้ ยละ 20) กาสเกดิ ขึ้นนอ้ ยคร้งั (รอ้ ยละ 21-40) กาสเกิดขน้ึ บ้าง (ร้อยละ 41-60) กาสเกดิ ข้นึ บ่อยครงั้ (ร้อยละ 61-80) กาสเกิดขึน้ ทกุ คร้ังหรือเกอื บทุกครงั้ (มากกว่าร้อยละ 80) นของความรุนแรงของผลกระทบ (I) คำอธิบาย ลกระทบในการปฏบิ ัตงิ านหรือวตั ถปุ ระสงคเ์ พยี งเล็กน้อย (นอ้ ยกว่าร้อยละ 20) ลกระทบในการปฏบิ ัติงานหรอื วัตถปุ ระสงคอ์ ยู่บ้าง (รอ้ ยละ 21-40) ลกระทบในการปฏบิ ตั งิ านหรอื วัตถุประสงคอ์ ยพู่ อสมควร (รอ้ ยละ 41-40) ลกระทบในการปฏิบัตงิ านหรือวตั ถปุ ระสงคค์ ่อนข้างรนุ แรง (ร้อยละ 61-80) ลกระทบในการปฏิบัติงานหรอื วตั ถปุ ระสงค์เปน็ อยา่ งย่ิง (มากกว่าร้อยละ 80)

3. ระดับความเสย่ี ง (L) x (I) (Degree of Risk) หมายถงึ สถานะของความเส่ียงทีไ่ ดจ้ ากการประเมนิ โอกาสและผลกระทบ ของแต่ละปัจจัยเสย่ี ง แบง่ ออกเป็น 4 ระดับ คือ ตำ่ (คา่ คะแนนระหว่าง 1 – 3) ปานกลาง (ค่าคะแนนระหวา่ ง 4 – 9) สูง (คะแนนระหวา่ ง 10 – 16) สูงมาก (คะแนนระหวา่ ง 20 – 25)



4. กลยทุ ธท์ ่ใี ชจ้ ดั การความเสีย่ ง (Risk Management) (ใส่ ✓ ชอ่ งทเี่ ก่ียวข้อง) หมายถึง กระบวนการท่ีใช้ในการบริหารจัดการให้โอกาสท่จี ะเกดิ เหตกุ ารณ์ควา ระดับที่องค์กรยอมรบั ได้ ซงึ่ แนวทางการจัดการความเสี่ยงมี 4 กลยุทธ์ ดังนี้ 4.1 การหลกี เลย่ี งความเส่ยี ง เป็นการจดั การกับความเส่ียงที่หน่วยงานปฏเิ สธแ ดำเนินงานโดยการหยุด ยกเลกิ หรือเปลยี่ นกจิ กรรมนน้ั ไป 4.2 การควบคมุ /ลดความเส่ยี ง เปน็ การปรบั ปรงุ ระบบการทำงานหรือเปลย่ี นแป จะเกดิ ขึ้น 4.3 การยอมรับความเส่ียง เปน็ การยอมรับความเส่ยี งทเ่ี กดิ ขน้ึ เนื่องจากต้นทนุ เพอ่ื รองรบั ผลท่จี ะเกดิ ขนึ้ 4.4 การโอนความเส่ยี ง เป็นการยกภาระในการเผชิญหนา้ กับเหตุการณ์ทเ่ี ป็นคว 5. แนวทางการจัดการความเสี่ยง หมายถึง หลกั การในการจดั การกับความเส่ยี ง ต้องเหม แผนปฏิบตั ิการที่แล้วเสร็จชัดเจน โดยมวี ิธกี ารจดั การกบั ความเสี่ยง ดังนี้ - มาตรการหรอื แผนปฏิบัตกิ าร กรณีที่ความเสี่ยงได้รับคะแนนสงู กว่า 15 ต้องก ดำเนนิ การให้แลว้ เสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด - กำหนดใหม้ ีผู้ดูแลรบั ผิดชอบ กรณีท่ีความเสี่ยงอยใู่ นระดับปานกลาง ใหม้ ีการ ผูป้ ฏบิ ัตงิ านคอยควบคุมดแู ลการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าท่ีให้เป็นไปตามแผนงานท่ีกำหนด - กำหนดใหม้ ีการควบคมุ ในกระบวนการปฏบิ ัติงาน กรณีท่คี วามเส่ียงอยใู่ นระด กระบวนการของงานโดยเครง่ ครัด

ามเส่ียงลดลง หรือผลกระทบของความเสียหายจากเหตุการณค์ วามเส่ยี งลดลงอยูใ่ น และหลีกเลย่ี งโอกาสทจี่ ะเกดิ ความเส่ียงใหค้ วามเส่ียงนั้น ไปอยู่นอกเงอ่ื นไขของการ ปลงขน้ั ตอนบางส่วนของกิจกรรมใหม่ เพ่ือลดความนา่ จะเป็นเหตกุ ารณท์ เ่ี ปน็ ความเสีย่ ง นการจัดการความเสยี่ งสูงกวา่ ประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ บั แตค่ วรมีมาตรการติดตามอย่างใกล้ชิด วามเส่ยี งหรอื ถา่ ยโอนความเสี่ยงใหผ้ อู้ นื่ ชว่ ยความรับผดิ ชอบไป มาะสมและคุ้มค่า มผี รู้ บั ผิดชอบในการดำเนินการและมกี ำหนดเวลาของมาตรการหรือ กำหนดมาตรการเร่งด่วน หรอื จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการโดยมอบหมายผู้รับผดิ ชอบ รกำหนดผดู้ แู ลรับผดิ ชอบ โดยอาจเปน็ ระดับผู้บังคับบัญชาช้ันต้นของเจา้ หนา้ ท่ี ด ดับตำ่ กำหนดให้มีการควบคมุ ในช้ันการปฏบิ ัตงิ าน โดยเนน้ ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัตงิ านตาม

SRN.4 แบบฟอรม์ แผนบริหารจัดการความเส่ียงโครงการของสำน ปจั จยั /ประเด็นความเสี่ยง ระดบั ความ กิจกรรมตามแนวทาง เส่ยี ง การจดั การความเสีย่ ง 1. โครงการ/กจิ กรรม 1.1 1.2 1.3 1.4 2. โครงการ/กิจกรรม 2.1 2.2 2.3 2.4 คำอธบิ าย1. ปัจจยั /ประเด็นความเสี่ยง หมายถงึ ปจั จัยหรือประเดน็ ท่อี าจส่งผลใหเ้ กิดความเสีย่ งใ ความลา่ ช้าในการดำเนินโครงการอนั เนอื่ งมาจากการเปล่ยี นแปลง 2. ระดับความเสีย่ ง หมายถึง สถานะของความเสี่ยงท่ีไดจ้ ากการประเมนิ โอกาสและผลก สงู (คะแนนระหว่าง 10-16) ปานกลาง (คะแนนระหว่าง 4-9) และตำ่ (คะแนนระหว่าง 3. กิจกรรมตามแนวทางการจัดการความเสีย่ ง หมายถงึ กจิ กรรมที่จดั ทำขึ้นเพื่อจดั การก 4. เป้าหมายของการจดั การความเสย่ี ง หมายถงึ เป้าหมายของกิจกรรมตามแนวทางการ 5. ชว่ งระยะเวลาการจัดการความเสี่ยง หมายถงึ ชว่ งระยะเวลาท่มี ีกจิ กรรมบริหารจัดกา 6. งบประมาณ หมายถึง งบประมาณของโครงการหรือกจิ กรรมที่มาบริหารจดั การความเ งบประมาณแยกมาด้วย 7. ผู้รับผดิ ชอบ หมายถึง ผรู้ บั ผิดชอบโครงการทง้ั ระดับผู้ปฏิบัตงิ านและผู้อำนวยการกลุ่ม

นักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สุรินทร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 SRN.4 เปา้ หมายของการจัดการ ช่วงระยะเวลาการจัดการ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ความเสย่ี ง ความเส่ียง (บาท) ในแต่ละข้ันตอน/วิธีการดำเนินงาน เช่น ข้อจำกดั ดา้ นเวลา ความไม่ชัดเจนของกฎหมาย กระทบของแตล่ ะปจั จัยเสีย่ ง แบง่ ออกเปน็ 4 ระดบั คือ สูงมาก (คะแนนระหว่าง 20-25) 1-3) โดยให้ระบุระดับความเสยี่ งทีไ่ ด้คำนวณในแบบ SRN.3 กับปจั จัยหรอื ประเดน็ ที่อาจสง่ ผลให้เกดิ ความเสีย่ งในแตล่ ะขน้ั ตอน รจัดการความเสย่ี ง ารความเสี่ยง เส่ียง ถา้ แต่ละประเดน็ ความเส่ยี งสามารถแจกแจงงบประมาณได้ กรณุ าใส่จำนวน ม





ภาพการประชุมการจดั ทำคำรบั รองการปฏิบัตริ าชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 คณะทำงาน ประเด็นตวั ชี้วดั ท่ี 1.4 ความสำเรจ็ ในการเตรยี มการรองรบั ผลกระทบเชิงลบตอ่ สงั คม วนั ที่ 27 มถิ นุ ายน 2565 ณ ห้องประชุมจรณั ยานนท์ สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์