Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

Published by yutdhna, 2020-02-18 21:45:27

Description: การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

Search

Read the Text Version

20/30

20/20

20/50-2

20/50+2

ขอควรจําในการวัดสายตา ถา ผูปว ยมแี วน ตาใหวัด VA ซ้ําหลงั ใสแ วน แลวใส pinhole ทับอกี ครัง้ ในกรณีไมม ีแวน ตา หลงั วดั VA ตาเปลา แลวใหใ ส pinhole ทบั อกี ครง้ั โดยบนั ทกึ ขอ มูลตาขวากอน แลวตามดว ยตาซา ย เชน กรณมี แี วน ตา VA 20/100 c glasses 20/40 c PH 20/20 20/200 c glasses 20/40 c PH 20/20 กรณไี มมแี วน ตา VA 20/100 c PH 20/20 20/200 c PH 20/20 ทกุ ครัง้ ทใี่ ส pinhole ตอ งใหผ ูปวยยนื ที่ 20 ฟตุ หรือ 6 เมตร เสมอ

การวินิจฉยั ภาวะสายตา 1. ความสามารถในการมองเหน็ 6/9 – 6/12 ตอ งเฝา ระวังโดยวัดสายตาปล ะ 1 คร้ัง โดยเฉพาะอยา งย่ิงใน กรณที มี่ ีอาการปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา สายตามวั ลง ฯลฯ ภายหลงั การใชสายตา 2. ความสามารถในการมองเหน็ นอ ยกวา หรือเทา กับ 6/12 ตอ งสงพบจกั ษแุ พทย 3. ความสามารถในการมองเหน็ ของตา 2 ขา ง ตา งกันเกนิ 2 แถว เชน ขวา 6/6 ซา ย 6/24 หรอื ขวา 6/6 ซา ย 6/18 ตอ งรับสงจักษุแพทยเ พ่อื วัดสายตาประกอบแวน

5.3 การทดสอบการไดย ิน  นกั เรยี นชนั้ ป. 1 ทุกคนไดร บั การทดสอบการไดย ินอยางงาย อยา งนอยปล ะ 1 ครงั้  วิธีการท่งี ายท่ีสุด คอื การทดสอบดวยเสยี งนาฬิกาหรอื เสียง กระซบิ แตวิธีน้ไี มเปน ท่ีรบั รองวา สามารถคดั กรองไดแนนอน และไมเ ปน ทแี่ พรห ลาย จงึ มักใชต รวจสอบเบือ้ งตน สาํ หรับ นกั เรียนท่มี ีอาการนาสงสัย กอนสงแพทยซงึ่ จะใช เคร่ืองตรวจหู Audiometer ตรวจวนิ จิ ฉยั ไดอ ยา งแนนอน  ความดังปกติที่นักเรยี นไดย นิ ควรมีความดงั อยใู นระหวาง 30-40 เดซิเบล

5.4 งานทนั ตสาธารณสขุ ในโรงเรียน การตรวจสุขภาพของปากและฟน โดยบคุ ลากร สาธารณสุข อยางนอยปล ะคร้งั หากพบวานกั เรียนมฟี น ผุหรือเหงอื กอักเสบตอ งรบี ดําเนินแกไ ข

5.5 การใหวคั ซีนปองกันโรค • เงือ่ นไขการใหวคั ซนี สาํ หรบั เด็ก ป.1 • ในรายที่ไมเ คยไดรับวคั ซีน DTP และ OPV มากอ นใน อดตี ใหฉีดวัคซีน dT และ OPV 2 คร้งั หางกนั 1-2 เดือนและติดตามใหคร้ังที่ 3 ในปการศึกษาหนา • ในรายทีเ่ คยไดร บั วคั ซนี DTP และ OPV มาแลว 1 ครง้ั ใหฉ ีด dT และ OPV 1 ครัง้ และติดตามใหค รง้ั ที่ 2 ในป การศึกษาหนา

การใหวัคซีนปองกันโรค • เงอ่ื นไขการใหวัคซนี สาํ หรับเด็ก ป.1 • BCG .oikpmujw,jg8pwfh • dT , OPV,IPV, MMR, JE ในรายท่เี คยไดร ับแตไมค รบ • กรณีฉดี วัคซนี DTP และ OPV มาแลว 2,3 หรือ 4 ครั้งใหฉ ีดวัคซนี dT และ OPV 1 ครั้ง • ในรายทีเ่ คยไดรบั วัคซนี DTP และ OPV มาครบ 5 คร้ังแลว ไมต องฉดี วคั ซีน dT และ OPV อีก • ป.5 ให HPV

การรกั ษาพยาบาลในโรงเรยี น การจัดหอ งปฐมพยาบาล  การรกั ษาเปน หนา ทขี่ องพยาบาลชุมชนหรือเจาหนาที่ สาธารณสขุ ซ่ึงตองดาํ เนนิ การถาพบวา นักเรยี นปว ยหรอื มีปญ หาดานสขุ ภาพแตถ า เกินความสามารถให ดําเนินการสงตอเพื่อใหไดรบั การรกั ษาหรอื แกไ ขโดยเรว็ ท่ีสดุ

การรักษาพยาบาลในโรงเรยี น การจดั หอ งปฐมพยาบาล • การจัดหองพยาบาล ลกั ษณะหองพยาบาลทดี่ ี 1. อยูช ั้นลางของอาคารเพอ่ื สะดวกในการเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย 2. ขนาดของหองควรมคี วามเหมาะสม แตควรมีความยาวไมนอย กวา 6 เมตร เพอ่ื ประโยชนใ นการวดั สายตา 3. ต้ังอยูหา งจากสิ่งรบกวนและเหตรุ าํ คาญ 4. หอ งตองสะอาด มแี สงสวา งเพียงพอ และอากาศถา ยเทสะดวก 5. ควรมีอา งลา งมอื หรอื มีทลี่ า งมืออยใู กล ๆ 6. มพี ยาบาลหรอื ครูเวรประจํา

อยชู ั้นลา งของอาคารเพ่อื สะดวกในการเคลื่อนยา ยผูปว ย

ขนาดของหองควรมีความเหมาะสม แตควรมคี วามยาว ไมนอยกวา 6 เมตร เพ่ือประโยชนใ นการวัดสายตา

ควรมจี ํานวนเตียงท่เี หมาะสม

การรักษาพยาบาลในโรงเรยี น การจัดหองปฐมพยาบาล • การจดั หองพยาบาล ลักษณะหอ งพยาบาลที่ดี • ถา มนี ักเรยี นเกิน 1,000 คน ควรมีเรือนพยาบาลแยก ตางหาก • จํานวนเตยี งทีเ่ หมาะสม คือ • มีนักเรยี น 1,500 คน ควรมเี ตียง 4 เตียง • มีนักเรยี น 500-1,000 คน ควรมเี ตยี ง 2 เตยี ง • มีนักเรียน ไมเกนิ 500 ควรมเี ตยี ง 1 เตยี ง

การจดั ตยู า  ชั้นบน เปน ยารับประทาน (ติดปา ยตัวหนังสอื สีนํา้ เงนิ )  ช้นั กลาง เปนเคร่อื งมอื เครอ่ื งใชต า ง ๆ เชน ลาํ ลี ผา กอ ช กรรไกร (ตดิ ปา ยตวั หนงั สือสีนาํ้ เงิน)  ชน้ั ลา ง เปน ยาใชภายนอก (ตดั ปา ยตัวหนงั สือสแี ดง)



การควบคมุ ปองกนั โรคตดิ ตอ ในโรงเรยี น • การตรวจรางกายหาผเู ปน โรค • การแยกนกั เรยี นที่ปว ย และนักเรียนท่สี มั ผัสโรค • การแจงความเมือ่ เกิดโรคตดิ ตอ ขึ้นในโรงเรียน • การยับย้งั การแพรโรค และการตดิ ตอ โรค • การใหความรูเรอ่ื งโรคติดตอทีพ่ บบอย

คําแนะนําสําหรับแยกนกั เรียนทเี่ ปนโรคตดิ ตอ โรค ระยะฟก ตัวของ ระยะติดตอ การหยดุ เรียน โรค 2 wks. หัด 10-15 วัน ตง้ั แตเ รม่ิ ปวย 1 wk. หรอื จนกระท่งั ผ่ืนขึ้นแลว จนกวาจะหาย 6 วนั สนทิ หัดเยอรมนั 14-21 วนั ตั้งแต 1 wk.กอนผ่ืน ขึ้นจนกระทงั่ 5 วัน ภายหลังผื่นขนึ้

คาํ แนะนาํ สําหรบั แยกนกั เรียนท่เี ปนโรคตดิ ตอ โรค ระยะฟก ตวั ของ ระยะตดิ ตอ การหยดุ เรียน อีสกุ อใี ส โรค คางทมู 13-17 วนั ตงั้ แต 1 วนั กอ นผ่นื 2 wks. ข้นึ จนกระทั่ง 6 วนั ภายหลงั ผ่ืนขึน้ 12-25 วัน 1-2 วนั กอนมีอาการ อยางนอย 2 จนตอ มนา้ํ ลายยุบเปน wks. หรอื จนกวา ปกตแิ ลว 3 วัน ตอมยบุ บวมเปน ปกติ

คาํ แนะนําสําหรบั แยกนักเรยี นท่ีเปนโรคตดิ ตอ โรค ระยะฟกตัวของ ระยะติดตอ การหยดุ เรียน ไขหวดั ใหญ โรค จนกวา จะหาย 1-3 วัน ตลอดระยะเวลาท่ปี วย สนทิ ตาแดง 1-2 วัน ตลอดระยะเวลาที่ปวย จนกวาจะหาย สนทิ

6 .การสอนสขุ ศกึ ษาในโรงเรียน นักเรยี นควรไดรบั การสงเสรมิ ความรคู วามเขา ใจในเรือ่ งของ สขุ ภาพอนามัยทเี่ หมาะสมกับวยั การใหค วามรูอาจทําใน ลักษณะการใหค วามรูโดยตรง คือ ในรูปของการเสริมหลักสูตร โดยสอดแทรกเนอ้ื หาในบทเรียนของวิชาตาง ๆ หรอื ใหในรปู ของการกระทําเปนตัวอยา ง เพือ่ ใหน กั เรียนสามารถนาํ ความรู ไปใชใ นการดแู ลสขุ ภาพของตนเอง และประยกุ ตใชให เหมาะสมกบั ชีวติ ประจาํ วนั

นักเรยี นควรไดร ับสุขศึกษาทม่ี ปี ระโยชนแ ละจําเปน ดงั น้ี 1. สขุ บญั ญัตแิ หงชาติ 10 ประการ 2. ทกั ษะในการดแู ลอนามัยสวนบุคคล เชน การลางมือ การสระผม การแปรงฟน การกาํ จดั เหา 3. ทกั ษะใหห ลกี เลี่ยงและปอ งกันปจ จยั เสีย่ ง จากสารเสพ ตดิ ทุกชนิด โรคเอดส อุบตั เิ หตุ อบายมขุ ตา ง ๆ ความรูดา นเพศศกึ ษา

นักเรยี นควรไดร ับสุขศึกษาทม่ี ปี ระโยชนและจําเปนดังน้ี 4. การจัดการกับความเครียด เชน การออกกําลังกาย การ ทํางานอดิเรก การฟงเพลง การฝก สมาธิ และการทํา กจิ กรรมที่ตนเองสนใจ 5. การดูแลตนเองใหป ลอดภยั ในชวี ิต และการถูกลวง ละเมิดทางเพศ 6. การปองกนั ตนเองจากโรคท่ีมกี ารระบาดตามฤดกู าล และโรคท่พี บบอยในทอ งถิน่ รวมถงึ โรคติดตอในทองถิ่น

วิธีสอนสุขศกึ ษา • หลักการใหสขุ ศกึ ษา อนบุ าล-ประถมตอนตน เนนการปฏิบตั ไิ ดถ ูกตอง ประถมปลาย 11-13 ป เนนการสรางเจตคตนิ ําไปสู การปฏบิ ตั ิ มัธยมอายุ 14 ปขน้ึ ไป เนนมคี วามรูที่ถกู ตอง เพื่อเกดิ เจตคติและนําไปปฏบิ ตั ิ

การสอนสุขศึกษาในโรงเรยี น โอกาสทจี่ ะสอน : 1. สอนรายบุคคล เวลาทเี่ หมาะสมคอื ขณะตรวจสุขภาพ 2. สอนเปน กลมุ กระทําไดเ ปนครง้ั คราว ขนึ้ อยูก บั ปญ หาที่เกดิ ขึน้ เปน ประจาํ หรือเกดิ กับนักเรียนจํานวนมาก เชนเม่ือมีการระบาด ของโรคบางอยาง หรอื ตอ งการสอนใหนกั เรียนรใู นส่ิงท่ี เหมือนกนั เชนสอนวธิ ีแปรงฟน ควรมีกิจกรรมอยา งนี้ ปล ะ อยา งนอ ย 9 เรื่อง 3. การจดั นทิ รรศการ กระทาํ เปนคร้งั คราว

7. โภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร (Nutrition /Food Safety)  โรงเรยี นตอ งมีการเฝาระวังปญหาโภชนาการ ประเมิน ภาวะการเจรญิ เตบิ โต โดยการชงั่ นํ้าหนักควรช่งั อยา ง นอ ย เทอมละคร้ัง ในเวลาเดียวกัน  ประเมินภาวะโลหติ จาง โดยการตรวจรางกายอยาง นอ ย ปล ะ 1คร้ัง หากพบวามคี วามผิดปกติตองแกไ ข เชน นกั เรียนตองไดรบั ยาเม็ดเสรมิ ธาตุเหลก็ 1 เม็ด (60 มลิ ลิกรัม) ตอ สัปดาห

7. โภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร (Nutrition /Food Safety)  ตรวจภาวะขาดสารไอโอดีนโดยวิธคี ลาํ คออยา งนอ ย ปละ 1 คร้งั ดาํ เนนิ งานสุขาภบิ าลอาหาร ในโรงเรยี นดานตางๆดังนี้ - สถานทีร่ ับประทานอาหารและบรเิ วณท่ัวไป - บริเวณทเ่ี ตรยี มปรุงอาหาร - ภาชนะและอุปกรณ - การรวบรวมขยะและส่งิ โสโครก - หอ งนาํ้ หองสว ม - ผูป รงุ ผเู สริ ฟ

8. การออกกําลงั กาย กีฬาและสันทนาการ (Physical Exercise, Recreation, Sport) โรงเรียนตอ งสงเสริมการออกกําลงั กายเพอื่ สุขภาพและสันทนาการ  จัดสถานที่ และอุปกรณส งเสริมการออกกาํ ลงั กายใน โรงเรยี น  มีชมรม/กลมุ จดั กจิ กรรมออกกําลังกาย กีฬา นนั ทนาการ

8. การออกกําลงั กาย กีฬาและสันทนาการ (Physical Exercise, Recreation, Sport) จัดใหมีการทดสอบสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นตามเกณฑ มาตรฐานของกรมพลศึกษา รวมท้งั ใหค ําปรึกษา และตดิ ตาม ความกาวหนาแกนกั เรยี นท่ีไมผ า นเกณฑท ดสอบสมรรถภาพทาง กาย สนบั สนนุ ใหบ ุคลากรในโรงเรียนทกุ คนมีการออกกาํ ลงั กาย เลน กีฬา และสันทนาการอยางสม่าํ เสมอ คือ ไมน อ ยกวา 3 คร้งั /สปั ดาห และคร้งั ละไมต ่ํากวา 30 นาที

9. การใหคาํ ปรกึ ษาและสนับสนนุ ทางสังคม (Counseling /Social Support)  จัดบรกิ ารปรึกษาแนะแนวเพอ่ื ชวยเหลอื นกั เรยี นใน ดานสขุ ภาพทาํ ใหน ักเรียนเกดิ ความเขาใจและมแี นวคดิ ที่ จะพัฒนาปองกันและแกไขปญหาสุขภาพดา ยความคดิ และการตัดสินใจของตนเอง อยา งถูกตอ งและมเี หตุผล ซึง่ จะนาํ ไปสูก ารเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมสขุ ภาพในทาง ทด่ี ขี น้ึ

9. การใหค ําปรกึ ษาและสนับสนนุ ทางสังคม (Counseling /Social Support)  ครปู ระจาํ ชนั้ ตอ งสามารถคัดกรองและระบุ นักเรยี น ท่ีมีปญหาได มกี ารเฝา ระวัง และชว ยเหลอื เบื้องตน แก นักเรียนที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ และ สารเสพติด รวมท้ังสง เสรมิ เพ่อื นนักเรียนและครอบครัวใหเ ปน แรง สนบั สนนุ ทางสังคม แกน ักเรียนดวย ในกรณีทเี่ กนิ ความสามารถของครู จะตองพจิ ารณาสง ตอใหก ับผูท ี่มี ความสามารถโดยตรง หลังจากน้นั ควรมีการติดตามผล การชว ยเหลอื นักเรียนเปน ระยะๆ

10. การสง เสริมสขุ ภาพบุคลากรของโรงเรยี น (Health Promotion for Staff)  โรงเรียนตอ งมีการกระตุน/สง เสรมิ ใหบ คุ ลากรใน โรงเรียน รวมกจิ กรรมดา นสง เสรมิ สขุ ภาพที่โรงเรยี นจัด ขึน้ การตรวจสขุ ภาพประจาํ ปข องบคุ ลากรในโรงเรยี น การเผยแพรขา วสารสขุ ภาพแกบ ุคลากร รวมท้ังมีการจดั โรงเรยี นใหเปนสถานทีป่ ลอดจากการสูบบหุ ร่ี และ เครื่องดม่ื ที่มแี อลกกอฮอล

แนวทาง ขนั้ ตอน และวิธีดําเนนิ การ ในการสรางเสรมิ สุขภาพในโรงเรียน 1. การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพนกั เรยี น บุคลากร และปจ จยั ทสี่ ง ผลตอภาวะ สุขภาพ - เกบ็ รวบรวมขอ มลู ภาวะสุขภาพของนกั เรยี น บคุ ลากรในโรงเรยี น ประเมนิ การจดั การดานส่งิ แวดลอมทถ่ี กู สุขลกั ษณะในโรงเรียน

แนวทาง ขน้ั ตอน และวธิ ีดําเนนิ การ ในการสรางเสริมสุขภาพในโรงเรียน 2. การวเิ คราะหขอ มูลการสรา งเสรมิ สขุ ภาพ วินจิ ฉยั ปญ หา และความ ตอ งการดานสุขภาพของนกั เรียน และบุคลากรในโรงเรียน - วเิ คราะห และจัดหมวดหมูข อ มูล แปลความขอ มลู และระบคุ วาม ตองการการสรา งเสริมสขุ ภาพ ปญ หา และความตอ งการดานสขุ ภาพ รวมถึงปจ จยั ที่สงผลตอ ภาวะสุขภาพของนักเรยี น และบคุ ลากรในโรงเรยี น

แนวทาง ขนั้ ตอน และวิธดี ําเนินการ ในการสรา งเสรมิ สุขภาพในโรงเรยี น 3. การวางแผนงาน และดําเนินการโครงการสรางเสริมสุขภาพ - การมีสวนรวมระหวา งโรงเรยี น บา น ชมุ ชน ตัวอยา งโครงการ/กิจกรรม • การจดั บริการดานอาหาร โภชนาการท่ีปลอดภัย • การจดั บริการสุขภาพในโรงเรยี น • การสรา งเสรมิ สุขภาพชองปาก • การควบคุม และปองกันโรคขาดโปรตนี ขาดพลังงาน และการปอ งกนั ภาวะโภชนาการเกนิ • การสรา งเสริมภมู คิ มุ กนั โรค • การปองกันและควบคุมโรคติดตอในโรงเรยี น

แนวทาง ขั้นตอน และวธิ ีดําเนินการ ในการสรางเสรมิ สุขภาพในโรงเรยี น 3. การวางแผนงาน และดาํ เนนิ การโครงการสรางเสรมิ สุขภาพ - การมสี ว นรวมระหวางโรงเรียน บาน ชมุ ชน ตวั อยา งโครงการ/กิจกรรม • การจัดความปลอดภัยและสวสั ดภิ าพในโรงเรียน • การสรางเสรมิ สขุ ภาพจติ ในโรงเรียน • การพัฒนาผูนาํ ทางทางสขุ ภาพ และพัฒนาทกั ษะชีวิต และแบบอยา งทีด่ ีดานสุขภาพ • การพัฒนาทักษะชวี ติ เพอื่ การสรางเสรมิ สุขภาพ • การสง เสรมิ การออกกาํ ลังกาย

แนวทาง ขั้นตอน และวธิ ดี าํ เนินการ ในการสรา งเสรมิ สขุ ภาพในโรงเรียน 4. การประเมนิ ผลการดาํ เนินงานตามเกณฑมาตรฐานโรงเรียนสง เสริม สขุ ภาพ - ประเมนิ จากเกณฑม าตรฐานโรงเรียนสงเสรมิ สขุ ภาพ 10 องคป ระกอบ

บทบาทของพยาบาลในการสงเสริมสขุ ภาพในโรงเรียน 1. ผูใ หบริการ (Caregiver)...คัดกรองสขุ ภาพ ตรวจรกั ษาโรค เบือ้ งตน ประเมินการไดรับวัคซีน คน หานักเรียนกลุมเสยี่ งตอ ปญ หาตา งๆ จัดอนามยั สง่ิ แวดลอมในโรงเรียนใหถ กู สุขลักษณะ 2. ผสู อน (Educator) เปน ที่ปรกึ ษาแกค รใู นการใหส ขุ ศึกษา สอนเอง 3. ผูประสานงาน (Coordinator) ติดตอประสานงานกับทกุ ฝายท่ี เก่ียวขอ งในการดําเนนิ งานสง เสรมิ สขุ ภาพในโรงเรยี น 4. ผูใ หคําปรึกษา (Counselor) ใหค าํ ปรกึ ษาแกครู นักเรียน ผปู กครอง

บทบาทของพยาบาลในการสง เสริมสขุ ภาพในโรงเรียน 5. ผพู ิทักษส ทิ ธิ์ (Advocator) ชกั ชวน ชแ้ี จงผบู รหิ าร ชุมชนใหเ ห็นความสาํ คญั ของบทบาทของโรงเรยี น ชมุ ชนตอการสรา งเสรมิ สุขภาพเด็ก 6. ผูส งตอ (Referal resource) สง ตอนักเรยี นท่มี ปี ญ หา สุขภาพแกค รู ผปู กครอง สถานพยาบาล ติดตามภาวะ สขุ ภาพนกั เรยี น 7. สมาชกิ ทมี สง เสรมิ สุขภาพในโรงเรยี น (Team member)

การใชกระบวนการพยาบาลดําเนินงานอนามยั โรงเรยี น 1. การประเมินภาวะสุขภาพของนกั เรียน 2. การวินิจฉยั ปญ หาสุขภาพนกั เรยี น 3. การจดั ทําแผนงาน/โครงการ 4. การดาํ เนนิ งานตามแผน 5. การประเมนิ ผลการแกไ ขปญหาสุขภาพนักเรยี น
















Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook