Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

Published by yutdhna, 2020-02-18 21:45:27

Description: การอนามัยโรงเรียน ปี 2 รุ่น 27

Search

Read the Text Version

งานอนามยั โรงเรียน อ.ปารวรี  ม่นั ฟก วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท

สาระการเรยี นรู 1. แนวคิดและหลักการใหบริการอนามัยโรงเรยี น 2. โรงเรยี นสง เสริมสุขภาพ 3. การดาํ เนินงานอนามัยโรงเรยี น 4. บทบาทของพยาบาลอนามัยชมุ ชนในการดําเนินงานอนามยั โรงเรยี น 5. การใชกระบวนการพยาบาลในการดําเนนิ งานอนามัยโรงเรียน

วัตถุประสงคก ารเรียนรู้ • อธบิ ายแนวคิดและหลักการใหบริการอนามัยโรงเรยี นได • บอกองคประกอบและการดําเนินงานโรงเรียนสงเสริมสุขภาพได • อธิบายบทบาทหนาท่ขี องพยาบาลในการบรกิ ารอนามัย โรงเรียนได • ใหก ารรักษาพยาบาล สรา งเสริมสุขภาพและปอ งกนั ปญหาสขุ ภาพแกเด็ก กลุมวัยเรียนในสถานการณต า งๆได • อธบิ ายการใชก ระบวนการพยาบาลในการดาํ เนินงานอนามัยโรงเรยี นได

ชวยกันคดิ และอภิปราย • ปญหาสุขภาพที่พบในวยั เรียน • ความสาํ คัญของงานอนามัยโรงเรียน

ปญ หาสขุ ภาพเดก็ วัยเรยี น

งานอนามัยโรงเรยี น

แนวคดิ การดําเนินงานอนามัยโรงเรียน สง เสริม ฟน ฟู โรงเรยี น ปองกัน โรงเรยี น สาธารณสุข สง เสริมสุขภาพ รักษา

จดุ มุง หมายของงานอนามยั โรงเรียน 1. สรางเสรมิ สุขภาพท้ังดานรา งกายและจิตใจใหแก นกั เรยี นและบคุ ลากรของโรงเรียน โดยมงุ เนน การสรา ง เสรมิ สุขภาพ สุขนสิ ยั และเจตคติท่ีถกู ตอ งทางดาน สขุ ภาพ 2. ลดปจจยั เสี่ยงและปจจยั สาเหตุของโรคและปญหา สขุ ภาพในเดก็ วัยเรียนเปนการปองกนั และควบคุมโรค 3. คนหาปญ หาสขุ ภาพและปจ จัยสาเหตุ และใหการ ชวยเหลือแกไ ขปญ หาสขุ ภาพนกั เรยี น

การดาํ เนินงานอนามัยโรงเรียน • ขอบเขตงานหลัก 4 ประการคอื 1. บริการอนามัยโรงเรียน (School Health Service) 2. อนามัยสงิ่ แวดลอ มในโรงเรียน (Healthful School Environment) 3. สุขศึกษาในโรงเรยี น (School Health Education) 4. ความสัมพันธร ะหวา งบา น โรงเรียน ชมุ ชน (School Home and Community Relationship)

บรกิ ารอนามัยโรงเรียน (School Health Service) ประกอบดวย – การตรวจรา งกาย (การตรวจสขุ ภาพพน้ื ฐาน 10 ทา) – การช่งั น้าํ หนัก-วัดสวนสงู – การวัดสายตาในเดก็ วัยเรยี น – การตรวจหูและทดสอบการไดยิน – การใหภ ูมคิ มุ กนั โรค – การบนั ทกึ สุขภาพ – การออกกําลงั กาย – การชว ยเหลือฟนฟคู วามพกิ ารในเดก็ นกั เรียน – การควบคมุ โรคตดิ เชอ้ื ในโรงเรยี น

อนามัยสิ่งแวดลอมในโรงเรยี น (Healthful School Environment) • เปนการดาํ เนนิ งานเพอื่ จัดส่งิ แวดลอมใหถ ูกสขุ ลักษณะ ปลอดภัยและเออ้ื ตอการมีสขุ ภาพดี ซึ่งประกอบดว ย – สถานทต่ี ้งั อาคารเรียน – สนาม – น้าํ ด่ืม – นํา้ ใช – หองสวมและท่ีปสสาวะ – การกาํ จัดนํา้ โสโครก – การกาํ จัดขยะ – หอ งครัวและโรงอาหาร – หองพยาบาล

การใหสุขศึกษาในโรงเรยี น (School Health Education) • การใหส ขุ ศกึ ษาจะตอ งเกย่ี วขอ งกบั ปญหาของนักเรยี น ปญหาสาธารณสขุ ตามฤดูกาล การสงเสริมสุขภาพ และขา วสารดา นสาธารณสขุ

การสรางความสัมพันธระหวา งบานโรงเรียนและชมุ ชน (School Home and Community Relationship) • มีวัตถุประสงคเพอ่ื สรางความสมั พนั ธอันดีระหวางครู ผูปกครอง และผนู าํ ชุมชน เปด โอกาสใหท กุ ฝา ยพบปะ และแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ กับครอบครัวและชุมชน จะตองมีสว นในการพฒั นาโรงเรยี น และพฒั นาความ เปน อยูของครอบครัวและทองถิ่น

โรงเรียนสงเสรมิ สุขภาพ เปน โรงเรียนทมี่ ขี ีด ความสามารถ แขง็ แกรงมั่นคง ทจี่ ะเปน สถานทีท่ ี่มีสุขภาพอนามยั ทดี่ ี เพ่ือการอาศัยศกึ ษา และทาํ งาน (WHO, 1998) โรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพ เปน โรงเรียนที่มีความ รว มมือรวมใจกนั พัฒนาพฤติกรรม และสง่ิ แวดลอม ใหเ ออ้ื ตอสุขภาพอยางสมํ่าเสมอ เพื่อการมีสุขภาพดี ของทุกคนในโรงเรยี น (สํานกั สงเสริมสุขภาพ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ , 2547)

รวมมอื กนั ผลักดนั ใหโ รงเรยี นใชศกั ยภาพท่ีมี อยูเพื่อพฒั นาสขุ ภาพของนกั เรียน บคุ ลากรใน โรงเรียน ตลอดจนครอบครัวและชมุ ชน ให สามารถ นาํ มาประยกุ ตใ ชใ นชีวิตประจําวัน ดแู ลเอาใจใสส ขุ ภาพของตนเองและผอู ื่น ตดั สินใจและควบคมุ สภาวะการณและ สิ่งแวดลอ มท่มี ีผลกระทบตอ สุขภาพ

องคป ระกอบของโรงเรียนสง เสรมิ สขุ ภาพ โภชนาการ การใหคําปรึกษา สง เสรมิ สุขภาพบคุ ลากร บริการอนามยั โรงเรยี น สขุ ศกึ ษา การออกกําลงั กาย อนามัยสิ่งแวดลอ ม การบริหาร โครงการรวม ร.ร./ จดั การ ชมุ ชน นโยบาย ของโรงเรียน

1. นโยบายของโรงเรียน (School Policies)  โรงเรยี นตอ งแตงตง้ั คณะกรรมการสง เสรมิ สุขภาพของโรงเรยี น : ครู นักเรียน ผูปกครอง เจา หนา ทส่ี าธารณสขุ และผูแทนองคก ร ในชมุ ชน  ทาํ หนาท่ีกาํ หนดนโยบายสงเสริมสขุ ภาพดา นตา งๆ

นโยบายตองครอบคลมุ ตอไปนี้ 1. การสง เสริมสง่ิ แวดลอมทเี่ อือ้ ตอการพฒั นาสุขภาพของ นักเรยี น 2. การเฝาระวังปญหาสขุ ภาพ 3. พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ตามสขุ บญั ญัติแหงชาติ 4. การคมุ ครองผบู รโิ ภค 5. การออกกาํ ลังกาย

นโยบายตอ งครอบคลมุ ตอ ไปน้ี 6. การสง เสริมสขุ ภาพจิต และการเฝา ระวงั พฤตกิ รรมเส่ียง 7. พัฒนาระดับการเรียนรูโดยมีผูเรียนเปน สาํ คัญ 8. การสง เสรมิ สุขภาพของบคุ ลากรในโรงเรียน 9. การมีสวนรว มของชุมชนในการพฒั นาสขุ ภาพนกั เรยี น บุคลากรในโรงเรียนและชมุ ชน

2. การบริหารจัดการในโรงเรยี น (School Management Practices)  โรงเรยี นตอ งมีการจัดทาํ แผน/โครงการสง เสริมสขุ ภาพอยา ง เปน ระบบ  ตอ งมีคณะกรรมการทปี่ รึกษาใหการสนบั สนุนการดําเนินงาน สงเสริมสุขภาพ และมีคณะกรรมการทีร่ บั ผดิ ชอบแตละแผนงานซึ่ง ประกอบดว ย ครู นักเรยี น ผูปกครอง และเจา หนา ที่สาธารณสุข มีผนู ํา นกั เรียนสงเสรมิ สขุ ภาพปฏบิ ัติงานตามบทบาทหนา ที่  นิเทศ/ติดตามผลการดําเนินงานอยา งตอ เนื่อง และนําผลการนเิ ทศ ไปพฒั นางาน รวมทงั้ มีการประเมนิ ทาํ แผน/โครงการสง เสรมิ สุขภาพ อยางเปน ระบบ

3. โครงการรวมระหวางโรงเรียนและชุมชน (School/community Projects)  เปนแนวคดิ ใหมคี วามเชอื่ มโยงระหวางโรงเรียนกบั ครอบครัวนกั เรียน และสมาชิกของชมุ ชน ใหมีสวนรวม ในการสรางเสริมสุขภาพ  เริม่ ตง้ั แตว ิเคราะหสภาพปญ หาและสาเหตขุ อง ปญ หา รวมวางแผนในการดาํ เนินงาน รวมดาํ เนินงาน รวมตรวจสอบ ทบทวน รว มแกไ ข พัฒนาและปรับปรุง

4. 4ก.ากรา(จHรจดั eด(ัสaHสิ่งle่ิงtแahแวlวtyดhดyลSลอS้cอcมhมhใใooนนooโโllรรEงงEเnเรnรvียviียrนiนorทonท่เีmnอเ่ี อือ้menตื้อte่อต)nสอุขtส)ภขุ าภพาพ  การจัดสง่ิ แวดลอ มใหถกู สุขลกั ษณะ และเอือ้ ตอการมี สขุ ภาพดี ท้งั ส่ิงแวดลอมทาง กาย และจิตใจ รวมทั้ง สิ่งแวดลอมทางสังคม เพือ่ เปน แบบอยางทางดานเจตคติและ คา นิยม ท่ีดแี กทกุ คนใน โรงเรยี น

4. 4ก.ากรา(จHรจัดeด(ัสaHส่ิงleิ่งtแahแวlวtyดhดyลSลอS้cอcมhมhใใooนนooโโllรรEงงEเnเรnรvียviียrนiนorทonท่ีเmnอเี่ อือ้menตื้อte่อต)nสอุขtส)ภุขาภพาพ  ตอ งจดั การควบคมุ ดแู ล ปรบั ปรุงใหอ ยูในสภาพท่ีสามารถปองกันโรคและ ชว ยลดอุบัตเิ หตุในโรงเรียน แนวทางดาํ เนินการดังนี้ 1) อาคารเรียน มัน่ คง แขง็ แรง พอเหมาะกับนักเรียน น้ําไมทว ม 2) หองเรียน ขนาดหอ ง 6x8 เมตร หรือ 7x9 เมตร สําหรบั นร.30/40 คน 3) โตะ เรียน เกา อ้ี ขนาดพอเหมาะกับจาํ นวนนกั เรียน 4) แสงสวางพอเหมาะกบั สายตา ระดบั ความเขม ของแสงใน หองเรยี นควรอยทู ่ี 30 ฟุตแรงเทยี น ถาหอ งเรยี นเฉพาะเชน หอ งคอมพิวเตอรอาจเขมถึง 50 ฟุตแรงเทียน การระบาย อากาศ ตอ งดี ไมแออัด

4. 4ก.ากรา(จHรจัดeด(ัสaHสงิ่le่ิงtแahแวlวtyดhดyลSลอS้cอcมhมhใใooนนooโโllรรEงงEเnเรnรvียviียrนiนorทonทีเ่mnอ่เี อือ้menต้ือte่อต)nสอุขtส)ภุขาภพาพ 5) ตอ งมีหองพยาบาลหรือมมุ พยาบาลทถ่ี าวร 6) นาํ้ ด่มื นํา้ ใช ตอ งสะอาด พอเพยี งตลอดป ภาชนะท่ีใสนาํ้ ดม่ื ตอ งรกั ษาใหส ะอาดเสมอ ถาเปน ชนิดมีกอ กน้ําสําหรบั ไขนา้ํ ได จะเหมาะสมมาก นกั เรียนควรมแี กวนา้ํ ดืม่ ประจําตวั แตถ าไม สามารถจัดไดควรจดั ใหดืม่ นา้ํ แบบนํ้าพแุ ทนปรมิ าณนํา้ ดม่ื ที่ ใชบ รโิ ภคตอวนั ตอ งมอี ยา งนอย 5 ลติ ร/คน/วนั 7) การกาํ จัดขยะมูลฝอย ควรมที รี่ องรบั ขยะมูลฝอยประจํา หองเรียน บรเิ วณโรงอาหาร รอบๆ สนามโรงเรียน ควรกําจดั ขยะมลู ฝอยทุกวัน

4. 4ก.ากรา(จHรจัดeด(ัสaHสงิ่leิ่งtแahแวlวtyดhดyลSลอS้cอcมhมhใใooนนooโโllรรEงงEเnเรnรvียviียrนiนorทonทีเ่mnอ่เี อือ้menต้ือte่อต)nสอุขtส)ภขุ าภพาพ 8) สวมและที่ปส สาวะ จดั ใหม ีสวมและท่ีปส สาวะชายท่ถี ูก สุขลกั ษณะเพยี งพอตอ งดูแลและควบคุมการใช การรักษาความ สะอาดใหถ กู สุขลกั ษณะเปน ประจําทกุ วนั สว ม ที่ปสสาวะชาย ประถมศกึ ษา 1 ท่ตี อ นร.ชาย 60 คน 1 ที่ตอ นร.ชาย 30 คน 1 ที่ตอ นร.หญิง 30 คน มธั ยมศึกษา 1 ท่ตี อ นร.ชาย 90 คน 1 ท่ีตอ นร.ชาย 30 คน 1 ที่ตอ นร.หญิง 50 คน อา งลา งมือ ชาย-หญิง 1 : 50 อางน้ําพุ 1:75

5.5.กกาารรบบรริกิกาารรออนนาามมัยัยโรโรงงเรเียรนยี น (Sc(hScohoololHHeealtthhSSerevrivceics)es)  การช่ังนาํ้ หนกั วัดสว นสงู  การเฝา ระวังภาวะสุขภาพ : ตรวจสุขภาพนกั เรยี น ตรวจระดบั สายตา ทดสอบการไดยนิ ตรวจสุขภาพฟน  การปองกนั โรคในโรงเรยี น  การปอ งกันและควบคุมโรคติดตอ  การจดั บริการรักษาพยาบาลเบื้องตน แนะนาํ ตกั เตือน หรอื แนะแนวสขุ ภาพ

5.1การตรวจสขุ ภาพนกั เรียน  การตรวจสุขภาพโดยแพทย - กอนเขาเรียนของนักเรยี นใหมท กุ คน - เมอื่ ขณะอยชู ้ัน ป.6 , ม.3 และ ม.6 - เม่ือนักเรียนเจ็บปว ยและประสบอบุ ัตเิ หตุ การตรวจสขุ ภาพโดยทนั ตแพทย ในการใหบ ริการตรวจ สุขภาพของปากและฟนปละครัง้

5.1การตรวจสขุ ภาพนักเรยี น การตรวจสขุ ภาพโดยพยาบาลและเจาหนาทีส่ าธารณสุข เปนบรกิ ารตรวจสขุ ภาพและใหก ารรกั ษาพยาบาล เล็กๆนอยๆ แกนักเรยี นเปน ประจาํ โดยใชว ิธกี ารตรวจ สุขภาพ 10 ทา

ทาที่ 1 5.1 การตรวจสขุ ภาพนกั เรยี น 1. ยนื่ มือไปขางหนาใหสดุ แขนทั้ง 2 ขาง ควํา่ มอื กางนิว้ ทุกน้ิว • สิง่ ที่ควรสังเกต - เลบ็ ยาวสกปรก - ผิวหนังบวม เปนแผล - มเี มด็ ตุมเล็กๆ มนี ้าํ ใสๆ ตามงามน้ิวมอื - ตมุ สากบริเวณดา นนอกของแขน

5.1 การตรวจสขุ ภาพนักเรยี น ทาที่ 2 2. ทําทา ตอ เนื่องจากทา ท่ี 1 คอื พลิก มือ หงายฝามือ • ส่งิ ทค่ี วรสงั เกต - เล็บยาวสกปรก - ผิวหนังบวม เปนแผล - มีเมด็ ตมุ เล็กๆ มนี า้ํ ใสๆ ตามงาม นว้ิ มอื - ตมุ สากบรเิ วณดา นนอกของแขน

ทาที่ 3 5.1 การตรวจสขุ ภาพนกั เรยี น 3. งอแขนพบั ขอ ศอก ใชนิว้ แตะ เปลอื กตาดานลางเบาๆ ดงึ เปลือก ตาดา นลางพรอ มกบั เหลอื กตาขึ้น และลง แลวจึงกรอกตาไป ดานขวาและซาย • ส่งิ ที่ควรสังเกต - ดวงตาแดง มขี ตี้ า คนั ตา - ขอบตาลางแดงมาก อักเสบ - เปน เมด็ หรือ อักเสบเปน หนองที่ เปลอื กตา - เปลอื กตาบวม เจ็บ

ทาที่ 4 5.1 การตรวจสขุ ภาพนกั เรียน 4. ใชม อื ทงั้ 2 ขาง ดึงคอเส้ือออกใหกวา ง หมนุ ตัวซายและขวาเลก็ นอ ยเพ่อื จะไดเห็น รอบๆ บริเวณคอ ทั้งดา นหนาและดา นหลงั • ส่ิงท่คี วรสงั เกต - เมด็ ผนื่ คันบริเวณผิวหนงั ใตคอ ทรวงอก - ผวิ หนังเปนวงๆ สีขาวๆ ลักษณะเรยี บ โดยเฉพาะบรเิ วณคอ - ผิวหนงั เปน วงกลมสีแดงเหน็ ขอบชัด - ผวิ หนังสกปรก มีข้ีไคล - บริเวณคอดา นหนา บวมโตผิดปกติ

ทา ที่ 5 5.1 การตรวจสุขภาพนักเรยี น 5. นกั เรียนหญิงใชมือขวาเปดผมไปทัด ไวด านหลังหูขวา หันหนา ไปทางซาย , นักเรยี นชาย หันหนา ไปดา นซาย เทาน้ัน • ส่งิ ท่ีควรสงั เกต • - มไี ขเหา บริเวณโคนเสน ผม - มีนาํ้ หรือหนองไหลออกมาจากหู ขางใดขา งหนง่ึ หรือท้งั 2 ขา ง - มขี ้ีหอู ดุ ตนั - มแี ผล - ตอ มน้ําเหลืองหลงั หโู ต

ทาที่ 6 5.1 การตรวจสขุ ภาพนกั เรียน 6. ในทา เดียวกนั นักเรียนหญิง ใชม อื ซา ยเปด ผมไปทัดไวด า นหลงั หู ซา ย หันหนาไปทางขวา , นกั เรยี นชายหันหนาไปดานขวา เทาน้ัน • สิง่ ท่คี วรสังเกต • - มีไขเ หา บรเิ วณโคนเสน ผม - มีนาํ้ หรือหนองไหลออกมาจากหู ขางใดขางหนึ่ง หรอื ท้ัง 2 ขาง - มีขี้หูอดุ ตนั - มแี ผล - ตอมน้ําเหลอื งหลังหูโต

ทาที่ 7 5.1 การตรวจสุขภาพนกั เรยี น 7. ใหกัดฟน และย้ิมกวา ง ใหเหน็ เหงอื กเหนือฟน บน และเหน็ ฟน ลา งใหเตม็ ท่ี • ส่งิ ท่คี วรสงั เกต • - รมิ ฝป ากซดี มาก - เปนแผลที่มุมปาก มมุ ปาก เปอย - เหงือกบวมเปนหนอง - ฟนผุ - ผิวหนังบรเิ วณใบหนา หนา ผาก แกม คางเปนวงขาวๆ เรียบ หรอื เปนวงแดงมขี อบชัด

ทา ที่ 8 5.1 การตรวจสขุ ภาพนักเรียน 8. ใหอ าปากกวา งแลบลิน้ ยาวพรอ ม ทัง้ รอ ง “อา” ใหศ ีรษะเอนไปขางหลังเล็กนอ ย • สงิ่ ทค่ี วรสงั เกต • - ลน้ิ แตก แดง เจ็บ หรือเปนฝา ขาวๆ - ฟน ผุ - แผลแดงอกั เสบบริเวณเยือ่ บุจมกู - มีนํ้ามกู ไหลบริเวณจมูก - ตอ มทอลซลิ โต

ทาท่ี 9 5.1 การตรวจสุขภาพนกั เรยี น 9. นักเรียนหญิง ใหแ ยกเทา ทงั้ 2 ขา งหาง กัน 1 ฟุต ใชม ือทัง้ 2 ขา งจบั กระโปรงดึง ขึ้นเหนือเขาทัง้ 2 ขาง , นักเรียนชาย เพยี งแยกเทา ทงั้ 2 ขางหา งกัน 1 ฟตุ • สง่ิ ทค่ี วรสงั เกต • - แผลบริเวณเขา หนาแขง และนอ ง - ตมุ พุพอง บรเิ วณหนาแขงและนอง - ความผดิ ปกติของฝา เทาความพิการ ของขา - ทรวดทรง รปู ราง

ทา ท่ี 10 5.1 การตรวจสุขภาพนกั เรียน 10. ในทาเดียวกัน ท้งั นักเรยี นหญิงและ ชาย กลับหลังหนั (ผูต รวจสังเกตหลัง แลว บอกใหเดินไปขา งหนา) แลว เดิน กลับ หันหนา เขาหาผูตรวจ • ส่ิงที่ควรสงั เกต • - แผลบริเวณเขา หนา แขง และนอ ง - ตมุ พุพอง บรเิ วณหนาแขงและนอง - ความผิดปกติของฝา เทา ความพิการ ของขา - ทรวดทรง รปู ราง

5.2 การวัดสายตา  โดยเจา หนา ทีส่ าธารณสุข นักเรยี นระดบั ประถมศึกษา (ป.1 ขึ้นไป) ควรไดร บั การ เฝา ระวังภาวะสุขภาพโดยการทดสอบสายตาปล ะ 1 คร้งั

Snellen chart

วธิ ีการตรวจ

วธิ กี ารตรวจสายตาดวย Snellen chart 1. ใหน ักเรยี นยืนหา งแผน ทดสอบทร่ี ะยะ 6 เมตร (20 ฟตุ ) ในหองทมี่ ีแสงสวางพอเพยี ง ใชฝา มอื หรือแผน ทบึ ปดตาทีละขาง 2. เร่ิมอา นแถวบนสุดลงมาเรือ่ ยๆจนถึงแถวทต่ี าปกตอิ า น ไดคือ 6/6 หรอื 20/20 3. บนั ทึกผล ใหบนั ทกึ แถวลา งสุดทอ่ี านไดตามตวั เลข เศษสวนดานขวาทก่ี าํ กบั ไว

วธิ กี ารตรวจสายตาดวย Snellen chart 4. กรณีอา นไดไมห มดท้ังแถวใหบันทึกเปนบวก (+) หรอื ลบ (-) โดยการบนั ทึกเปน + ใหเ ขยี นบอกจาํ นวน ตัวเลขของแถวถัดไปทีอ่ านถูกแตไมถึงคร่ึงของจํานวน ตวั เลขทั้งแถว เชน 6/18 +2 (20/50+2) สําหรบั การบนั ทกึ เปน ลบ ใหเ ขยี นลบ จาํ นวนตัวเลขทอี่ า น ไมไดห รอื อา นผิดในแถวนั้นแตจาํ นวนตัวเลขทผี่ ดิ ตอง นอ ยกวา คร่งึ หนง่ึ ของตวั เลขในแถวน้นั เชน 6/6 -2 (20/20 – 2)

วิธีการตรวจสายตาดว ย Snellen chart 5. ถานกั เรียนไมส ามารถอา นไดถ ึงแถว 20/20 หรือ 6/6 ให ทดสอบโดยการมองผานกระดาษเจาะรเู ข็ม (Pin hole) ขนาด 0.2-0.5 mm. ถานกั เรยี นสามารถอานตัวเลก็ ไดม ากขึน้ เมอื่ มองผา นกระดาษเจาะรูแสดงวามี refractive error ชนดิ ใด ชนิดหนึง่ 6. ถา นกั เรียนยืนที่ 6 เมตร หรือ 20 ฟุต แตมองไมเหน็ แถวบนสดุ คือ 6/60 หรอื 20/200 ใหเ ดนิ รน เขา มาหา chart เม่ือเร่มิ เห็น แถวบนสุดใหบ ันทกึ ดงั นี้ เชนเหน็ แถวบนสดุ ทห่ี า ง chart 10 ฟุต ลงบันทึกวา VA. Rt. 10/200 (VA. Rt. 5/60 )

การบนั ทึกผล • การบันทกึ ผลความสามารถในการมองเห็น (Visual Acuity = V.A.) เปนเศษสวน โดย • เศษ = ระยะทางทีน่ ักเรียนยืน (6,5,4,3,2,1) • สวน = ระยะตัวอักษรที่อานไดบนแผนวดั สายตา (6,9,12,18,24,36,60) • ความสามารถในการมองเห็น = ระยะทางท่ีนักเรียน (ผถู กู ตรวจ) ระยะตัวอกั ษรที่อานไดบนแผนวดั สายตา • คนปกตมิ ีความสามารถในการมองเห็นท่ี 6/6

20/200

20/100

20/70

20/50

20/40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook