Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.9.2.1 Adampak Thailand - Work Regulation 2022 rev.05.

5.9.2.1 Adampak Thailand - Work Regulation 2022 rev.05.

Published by jittima, 2022-06-09 08:47:09

Description: 5.9.2.1 Adampak Thailand - Work Regulation 2022 rev.05.

Search

Read the Text Version

ระเบยี บข้อบงั คับเก่ยี วกบั การทำงาน ของ บริษทั อดมั แพค (ประเทศไทย) จำกดั สถานทตี่ ง้ั : โรงงาน หรือสำนกั งานใหญ่ ประเภทกจิ การ : นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร เฟส 8 เลขที่ 700/686 หมู่ 1 ตำบลพานทอง อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี 20160 โทรศัพท์ (038) 079-850 โทรสาร (038) 079-851 ผลิต และจำหน่ายผลติ ภณั ฑ์ และสง่ิ พิมพ์

สารบัญ หมวดท่ี เรื่อง หน้า บทท่ัวไป 3 5 1 วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพกั 7 8 2 วนั หยุด และหลักเกณฑ์การหยุด 10 3 หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวันหยดุ 10 13 4 วันและสถานท่ีจา่ ยเงนิ เดือน ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา คา่ ทำงานในวันหยดุ 19 และค่าล่วงเวลาในวนั หยุด 20 5 วันลา และหลักเกณฑ์การลา 6 วินยั และโทษทางวนิ ัย 7 การรอ้ งทุกข์ 8 การเลกิ จ้าง คา่ ชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ หน้า 2

บททวั่ ไป 1. คณะผบู้ รหิ ารของบริษัท อดัมแพค (ประเทศไทย ) จำกัด มีเจตนารมณท์ ี่จะเสรมิ สร้างความมรี ะเบยี บวินัยความสงบ เรยี บรอ้ ยและความสมั พนั ธอ์ นั ดีในการทำงานรว่ มกันของพนกั งาน จึงได้จัดทำระเบยี บข้อบงั คับฉบบั นีข้ ้นึ เรยี กว่า \" ระเบียบขอ้ บังคบั เกี่ยวกบั การทำงานของ บริษทั อดัมแพค (ประเทศไทย ) จำกัด \" 2. ระเบียบขัอบงั คับฉบบั น้ี มผี ลบงั คับใชก้ บั พนกั งาน บรษิ ทั อดมั แพค (ประเทศไทย ) จำกัด ทกุ คน ทั้งน้ี ต้งั แตว่ นั ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2565 3. ข้อบงั คับ ทเ่ี กี่ยวกบั พนกั งานและการทำงาน ซึ่งไมไ่ ดก้ ำหนดไว้ในระเบียบขอ้ บงั คับฉบับนี้ ใหถ้ อื ตามพระราชบัญญตั ิ แรงงานสมั พนั ธ์ ,กฏหมายอน่ื ท่ีเกย่ี วข้องและใช้บงั คับอยู่ เป็นหลกั ในการปฏบิ ตั ิ 4. บรษิ ัทฯ สงวนสิทธิที่จะยกเลิกแกไ้ ขเพม่ิ เติมระเบยี บขอ้ บังคบั ฉบับนไี้ ด้ตามความเหมาะสม เพื่อสอดคลอ้ งกับบทบัญญตั ิ แรงงานสมั พนั ธ์ ตลอดจนกฏหมายอน่ื ท่ีเก่ยี วขอ้ งและ / หรอื กฏหมายทีเ่ ก่ยี วกบั การดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ การ ตีความตามระเบียบขอ้ บังคบั ฉบับนี้เปน็ อำนาจของบริษทั ฯ หรอื ตวั แทน หรือผ้ทู ี่บริษทั ฯ มอบหมายเท่าน้ัน และถอื เป็นเด็ดขาด 5. คำนยิ ามในระเบียบขอ้ บงั คับฉบับน้ี มคี วามหมายดงั ตอ่ ไปนี้ บรษิ ัท / นายจา้ ง หมายถึง บรษิ ทั อดัมแพค (ประเทศไทย ) จำกัด เว้นแต่ ขอ้ ความในขอ้ น้ันๆ จะกำหนดไว้เปน็ อยา่ งอน่ื ผบู้ งั คบั บัญชา หมายถงึ บคุ คลทบ่ี รษิ ทั ฯ แตง่ ตง้ั มอบหมายอำนาจหนา้ ทใี่ หเ้ ปน็ ผู้ควบคมุ ดูแล สงั่ การ ใหพ้ นกั งานปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีให้เปน็ ไปตามนโยบายประกาศ คำสงั่ กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับเก่ียวกบั การทำงานของบริษทั ฯ พนกั งาน หมายถึง พนักงานของบริษัท อดมั แพค (ประเทศไทย ) จำกัด แบ่งเปน็ ประเภทต่างๆ พนักงานรายเดอื น , พนกั งานรายวนั และ พนักงานสัญญาจา้ งพิเศษ แต่ ไม่รวมถงึ กรรมการบรษิ ัท พนกั งานรายเดือน หมายถึง พนกั งานท่ีบริษทั ฯ ตกลงว่าจา้ งโดยกำหนดอัตราคา่ จ้าง เป็นรายเดือน ซึ่ง รวมถึงการจ่ายคา่ จา้ งในวนั หยดุ และวันลา ทม่ี สี ทิ ธไิ ดร้ บั คา่ จ้างตาม กฏหมาย พนกั งานรายวัน หมายถึง พนักงานท่บี รษิ ัทฯ ตกลงวา่ จา้ ง โดยกำหนดอัตราค่าจา้ งเป็นรายวนั ซ่งึ รวมถึงการจา่ ยคา่ จ้างในวนั หยุดและวนั ลา ทม่ี สี ิทธิได้รบั ค่าจา้ งตามกฏ หมายยกเว้น วันหยดุ ประจำสัปดาห์ หน้า 3

พนักงานสญั ญาจา้ งพิเศษ หมายถึง พนักงานทมี่ สี ญั ญาจา้ งสำหรับการจ้างงานในโครงการเฉพาะทม่ี ิใชง่ าน ปกติของธรุ กจิ หรือการคา้ ของบรษิ ัทฯ ซ่ึงตอ้ งมรี ะยะเวลาเริ่มตน้ และสิ้นสดุ ปที ำงาน หมายถงึ ของงานทีแ่ นน่ อน หรอื ในงานอันมลี กั ษณะเป็นคราว ท่มี กี ำหนดการ สนิ้ สดุ หรือความสำเรจ็ ของงาน หรอื ในงานที่เปน็ ไปตามฤดกู าลและไดจ้ า้ ง ในชว่ งเวลาของฤดูกาลนั้น ซ่ึงงานนนั้ จะตอ้ งแลว้ เสรจ็ ภายในเวลาไมเ่ กิน สองปี โดยบริษทั ฯและพนกั งานไดท้ ำสัญญาเป็นหนังสอื ไวต้ ง้ั แตเ่ มือ่ เริม่ จ้าง ปีปฏิทนิ คอื ต้งั แต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม ของทุกปี เวน้ แต่ขอ้ ความ ในขอ้ นนั้ ๆ จะกำหนดไวเ้ ปน็ อยา่ งอื่น หน้า 4

หมวดท่ี 1 วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพัก 1. วันทำงาน เวลาทำงานปกติ เวลาทำงานล่วงเวลาและเวลาพัก ประเภทพนกั งาน กะการทำงาน วันทำงาน เวลาทำงานปกติ - จนั ทร์-ศกุ ร์ พนกั งานรายเดือน พนักงานรายวัน (ถา้ มี) ส่วนสำนักงาน - จนั ทร์-ศกุ ร์ ส่วนสำนกั งานทสี่ นบั สนนุ การ จันทร์-ศุกร์ 08.00-17.30 น. 08.00-17.00 น. กะเชา้ อาทติ ย์-พฤหสั ผลิต กะดกึ 08.00-17.30 น. 08.00-17.00 น. ส่วนสนบั สนนุ การผลติ 08.00-17.30 น. 08.00-17.00 น. 20.00-05.30 น. 20.00-05.00 น. 2. วนั ทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพกั สำหรบั พนักงานทท่ี ำงานเปน็ กะ โดยกะหนง่ึ จะหมุนเวียนเพอ่ื ทำงานกะละ 5วนั ทุกสปั ดาห์ ดังนี้ ประเภทพนักงาน เวลาพกั (รบั ประทานอาหาร) สว่ นสำนักงาน ,สว่ นสำนักงานทสี่ นับสนนุ การผลิต, 12.00-13.00 น. สว่ นสนบั สนนุ การผลิต เข้ากะเชา้ สว่ นสนบั สนุนการผลิต เขา้ กะกลางคืน 00.00-01.00 น. 2.1 เวลาพักไมถ่ อื เปน็ ช่ัวโมงทำงาน 3. บริษัทฯ สงวนไวซ้ ง่ึ สิทธใิ นการเปลยี่ นแปลงวนั ทำงาน เวลาทำงานปกติ เวลาพกั ตามขอ้ 1 และขอ้ 2 หากมีความจำเปน็ หรือมกี รณพี ิเศษอนั เก่ยี วกับลักษณะของงาน สภาพการทำงาน ซ่งึ อาจจำเป็นตอ้ งกำหนด วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และ/หรือเวลาพักเปน็ กรณพี เิ ศษ บรษิ ัทฯ หรอื ผู้บังคบั บญั ชาจะแจง้ ใหท้ ราบล่วงหน้าและทำการตกลงเป็นรายกรณไี ป โดยปฏบิ ัติตามกฎหมายแรงงานทกุ ฉบบั 4. การบันทกึ เวลาทำงาน ใหถ้ อื ปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 4.1 บริษัทฯจะถอื การสแกนหนา้ เป็นการลงเวลาทำงานท่ีใชก้ ับเคร่ืองบันทกึ เวลาของบริษัทฯเป็นหลกั ฐานในการทำงาน พนกั งานทมี่ หี น้าทต่ี ้องบันทึกเวลาเข้าหรอื เลิกทำงาน จะตอ้ งบันทึกเวลาเขา้ หรือเลกิ ทำงานดว้ ยตนเอง การให้ผอู้ ่ืน บันทึกเวลาทำงานแทน หรือการบันทกึ เวลาทำงานแทนผ้อู ืน่ เป็นการกระทำผิดต่อข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานขั้น ร้ายแรง เวน้ แต่พนกั งานทม่ี ีตำแหน่งงานระดับหัวหน้าแผนกขึน้ ไปหรอื พนักงานทบี่ รษิ ัทฯ มคี ำสงั่ เปน็ อย่างอ่ืนเปน็ รายๆไป ไมต่ อ้ งบนั ทกึ เวลา หน้า 5

4.2 พนักงานท่ีมาทำงานสาย จะมกี ารจา่ ยค่าจา้ งตามจำนวนเวลาที่มาทำงานจริง โดยคิดคำนวณเวลาทม่ี าทำงานเปน็ นาที ในการเข้ามาทำงานของวันทำงานน้ันๆ 4.3 พนกั งานทตี่ อ้ งออกไปปฏบิ ตั ิงานภายนอกบริษทั ฯ จะตอ้ งปฏบิ ัติตาม ข้นั ตอนการผา่ น เขา้ -ออก บริษทั ฯ สำหรบั พนักงานโดยกรอกแบบฟอรม์ ตามทีบ่ รษิ ัทฯ กำหนด ยกเวน้ พนักงานระดับตำแหน่งผู้จดั การแผนกขึ้นไป และ พนกั งานฝา่ ยขาย ให้ปฏิบตั ติ าม ขอ้ 4.1 5. ทะเบยี นประวัติพนักงาน บริษัทฯ จะจดั ทำทะเบียบประวตั ขิ องพนกั งานตามนัยของพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน ทง้ั น้พี นกั งานมี หน้าที่และความรบั ผิดชอบในการแจง้ ขอ้ มูลท่ถี ูกต้องสมบรู ณ์ ในกรณที ่มี กี ารเปลย่ี นแปลงในเรอื่ งสว่ นตวั ของพนกั งาน เช่น การย้ายท่อี ยู่ การเปลย่ี นแปลงสถานภาพการสมรสการเปลยี่ นช่ือ–นามสกุล การมีบตุ รตลอดจนการเปลย่ี นแปลง อนื่ ๆ พนักงานทุกคนจะต้องแจ้งเป็นลายลกั ษณอ์ ักษรตามแบบที่บริษทั ฯ กำหนดใหฝ้ า่ ยธุรการและบคุ คลทราบพร้อม เอกสารแนบภายใน 7 วันนบั ต้งั แตม่ ีการเปลย่ี นแปลงเพือ่ ให้การเก็บประวัติพนักงานของบรษิ ทั ฯสมบูรณ์ และถูกต้อง ตามบทบงั คับของกฏหมาย หนา้ 6

หมวดท่ี 2 วนั หยดุ และหลักเกณฑ์การหยดุ 1. วันหยุดประจำสปั ดาห์ 1.1 บริษัทฯ กำหนดวนั หยดุ ประจำสปั ดาห์ พนักงานสำนกั งาน ,สว่ นสำนกั งานท่ีสนับสนนุ การผลิต , สว่ น สนบั สนุนการผลติ เข้ากะเช้า หยุด 2 วัน วันเสาร์ – อาทติ ย์ พนักงานท่ที ำงานเขา้ กะกลางคืน หยุด 2 วัน วันศกุ ร์-เสาร์ หลงั จากทำงานมาแลว้ 5 วัน โดยหมนุ เวียน 1.2 บริษัทฯ สงวนสิทธทิ จี่ ะแกไ้ ขเปลี่ยนแปลงวันหยดุ จดั วันหยุดประจำสัปดาหข์ องแตล่ ะหน่วยงาน หรอื แต่ละ บุคคลไม่ตรงกันตามดลุ ยพนิ จิ และสภาพการทำงานของแตล่ ะหนว่ ยงานในบริษทั ฯ 2. วันหยดุ ตามประเพณี บรษิ ทั ฯ กำหนดใหม้ วี ันหยุดตามประเพณปี ีละไม่น้อยกว่า 13 วัน (โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติดว้ ย)พนกั งาน จะไดร้ ับค่าจา้ งตามปกติ และหากวนั หยุดตามประเพณวี ันใดตรงกบั วันหยดุ ประจำสปั ดาห์ใหเ้ ลอื่ นวนั หยดุ ตาม ประเพณีวันนั้นไปหยดุ ในวันทำงานถัดไป ซึง่ บรษิ ัทฯ จะประกาศกำหนดวันหยดุ ตามประเพณีใหท้ ราบล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 7 วัน กอ่ นปีทำงานต่อไป 3. วนั หยดุ พักผ่อนประจำปีพนกั งานมสี ิทธิลาหยดุ พกั ผอ่ นประจำปี โดยได้รับค่าจ้างตามปกติ ตามสดั ส่วนของอายงุ านดงั น้ี ลำดับที่ อายงุ าน จำนวนวัน ลาพักผ่อนประจำปี 1 ทำงานครบ 1 ปี 6 วนั 2 ทำงานครบ 3 ปี 7 วนั 3 ทำงานครบ 5 ปี 8 วนั 4 ทำงานครบ 7 ปี 9 วนั 5 ทำงานครบ 9-10 ปี 10 วัน 6 ตั้งแต่ 10 ปขี ึ้นไป 12 วัน 4. หลักเกณฑ์การหยุดพกั ผ่อนประจำปี 4.1 บรษิ ทั ฯสงวนสิทธทิ ่จี ะจัดวนั หยดุ พักผอ่ นประจำปีของแต่ละหนว่ ยงาน หรอื แตล่ ะบคุ คลตามดลุ ยพนิ ิจและสภาพการ ทำงานของแต่ละหน่วยงานในบรษิ ทั ฯ หรือ พนักงานผู้ท่ีประสงค์ขอหยุดพักผ่อนประจำปี ต้องยื่นใบลาตามแบบท่ี บรษิ ทั ฯ กำหนดต่อผบู้ ังคับบัญชาตามลำดบั ชัน้ ล่วงหน้าอย่างนอ้ ย 3 วัน เมือ่ ได้ รับการอนุมตั แิ ล้วจึงจะหยดุ งานได้ ท้ังน้ถี ือเป็นดลุ ยพินจิ ของผูบ้ งั คบั บัญชาในการพิจารณาการขอหยุดน้นั ทงั้ น้กี ารลาหยดุ พกั ผอ่ นของพนักงานจะต้องไม่ กระทบกระเทอื นตอ่ กิจการของบรษิ ทั ฯ หนา้ 7

4.2 สทิ ธกิ ารหยุดพักผอ่ นประจำปี จะนำวันหยดุ ทเ่ี หลือสะสมเพอ่ื ใช้ในปีต่อไปมไิ ด้ 4.3 พนกั งานท่ีถกู บริษทั ฯเลกิ จา้ งโดยไมไ่ ด้กระทำผดิ ข้อใดขอ้ หน่งึ หรอื หลายขอ้ รวมกัน ตามความในหมวดท่ี 8 ข้อ 4 มี สิทธไิ ด้รบั ค่าจา้ งตามสดั สว่ นของวนั หยดุ พกั ผ่อนประจำปที ี่พนกั งานพงึ มสี ทิ ธิ 4.4 พนกั งานทหี่ ยดุ พักผ่อนประจำปีเกนิ สทิ ธิท่ีตนเองมีอยู่ จะไมไ่ ดร้ ับเงนิ คา่ จา้ งสำหรับวนั หยุดพกั ผ่อนที่ลาเกินสทิ ธิ น้นั ๆ เว้นแตบ่ รษิ ทั ฯ กำหนดให้หยุดเปน็ กรณพี เิ ศษ 4.5 การลาพักผอ่ นประจำปสี ามารถลาไดต้ ั้งแต่คร่งึ วนั ขนึ้ ไป หมวดที่ 3 หลกั เกณฑ์การทำงานล่วงเวลา และการทำงานในวนั หยุด ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานจำเป็นตอ้ งทำติดตอ่ กันไป ถา้ หยดุ จะเสียหายแกง่ าน หรืองานฉกุ เฉนิ ผบู้ งั คับบัญชามสี ิทธิส่ังใหพ้ นักงานทำงานลว่ งเวลาทำงานในวนั หยดุ ได้เท่าที่จำเปน็ 1. หลกั เกณฑ์การทำงานล่วงเวลา ทำงานในวนั หยดุ 1.1 ให้พนักงานเขียนแบบคำขอทำงานล่วงเวลา ทำงานในวนั หยดุ ตามแบบทบ่ี รษิ ัทฯกำหนดเสนอตอ่ ผู้บังคับบญั ชา ตามลำดับช้ัน เพอ่ื ขออนมุ ตั ติ ่อผูบ้ งั คับบญั ชาระดับฝา่ ยขึ้นไป เมอื่ ไดร้ ับการอนุมตั แิ ล้วจึงทำงานได้ 1.2 สำหรบั พนักงานทที่ ำงานกะดกึ เมื่อไดร้ บั ความเห็นชอบจากผบู้ งั คบั บัญชาระดบั ตง้ั แต่หัวหนา้ กะขน้ึ ไปในแบบคำขอ และใหด้ ำเนินการเสนอตอ่ ผบู้ งั คับบัญชาตามลำดบั ช้ันเพือ่ ขออนุมัติต่อผบู้ ังคบั บญั ชาระดบั ฝา่ ยขึ้นไปต่อไป 1.3 กรณีทเ่ี ปน็ งานอันมีลกั ษณะต้องทำตอ่ เนื่อง ถา้ หยุดจะเสียงาน หรอื เป็นงานฉุกเฉินกรณที บี่ รษิ ัทเหน็ สมควรเพ่อื ประโยชน์แก่การผลติ การจำหนา่ ย หรอื การบรกิ ารโดยความยินยอมของพนกั งาน 2. การจ่ายค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวนั หยุด 2.1 พนกั งานท่ีไดร้ ับคำส่งั หรอื ได้รับอนมุ ตั ิจากผ้บู งั คบั บญั ชาในระดบั ฝา่ ยข้ึนไป ใหท้ ำงานนอกเวลาทำงานปกติ หรอื ทำงานในวนั หยุด ซง่ึ พนกั งานเองยินยอมท่ีจะทำงานดังกลา่ ว จะมสี ิทธไิ ดร้ บั ค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยุดและคา่ ลว่ งเวลาในวันหยุด พนกั งานซึง่ มีอำนาจหน้าทหี่ รอื ซ่งึ นายจ้างให้พนักงานทำงานอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ทำการแทน บริษทั ฯ สำหรบั กรณกี ารจา้ ง การใหบ้ ำเหนจ็ การลดค่าจา้ ง หรือการเลกิ จา้ ง และพนกั งานซงึ่ มีลักษณะงานทไี่ ม่ อาจกำหนดเวลาทำงานท่ี แน่นอนได้ จะไม่มสี ิทธไิ ดร้ ับค่าล่วงเวลาและคา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ หน้า 8

3. อัตราการจ่ายคา่ ลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยดุ 3.1 พนกั งานจะไดร้ ับค่าทำงานในวนั หยุดประจำสัปดาหแ์ ละ/หรอื วนั หยดุ ประจำกะในอัตรา ดังต่อไปนี้ อตั ราการจ่ายคา่ จ้างตอ่ ชั่วโมง การทำงานในวันหยดุ พนกั งานรายเดือน พนกั งานรายวัน 1. วนั หยุดประจำสปั ดาห์ 1 เทา่ 2 เทา่ 2. วนั หยดุ ประจำกะ 1 เทา่ 2 เท่า 3. วนั หยุดตามประเพณีซง่ึ บริษัทฯ ประกาศให้หยดุ 1 เทา่ 2 เทา่ 3.2 พนักงานจะไดค้ ่าทำงานล่วงเวลาเมอื่ ได้ทำงานล่วงเวลาตามท่ไี ดร้ บั คำส่งั ให้ทำงานเกนิ เวลาทำงานปกตใิ นวนั หยุดใน อัตรา ดังตอ่ ไปน้ี อตั ราการจ่ายค่าจ้างต่อช่ัวโมง การทำงานล่วงเวลา พนักงานรายเดอื น พนกั งานรายวัน 1. วนั ทางานปกติ 1.5 เทา่ 1.5 เท่า 2. วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ 3 เท่า 3 เท่า 3. วนั หยดุ ประจากะ 3 เทา่ 3 เท่า 4. วนั หยดุ ตามประเพณีซง่ึ บรษิ ัทฯ ประกาศใหห้ ยดุ 3 เท่า 3 เทา่ 3.3 ในการคำนวนอตั ราคา่ จา้ งต่อชั่วโมง เพ่อื ใชใ้ นการคำนวณคา่ ลว่ งเวลาค่าทำงานในวันหยดุ และคา่ ลว่ งเวลาในวันหยดุ ให้ใช้หลักเกณฑด์ งั นี้ อตั ราคา่ จา้ งต่อช่วั โมง เทา่ กบั อตั ราค่าจา้ งตอ่ เดือน (สาหรบั พนกั งานรายเดอื น ) จานวนวนั ในเดือนหน่งึ (30 วนั ) x ช่วั โมงทางานปกตวิ นั หนึ่ง อตั ราคา่ จา้ งต่อช่วั โมง เท่ากบั อตั ราค่าจา้ งต่อวนั (สาหรบั พนกั งานรายวนั ) ช่วั โมงทางานปกติวนั หนึง่ 4. ขอ้ กำหนดชว่ั โมงของการทำงานลว่ งเวลา ทำงานในวันหยดุ การอนมุ ัติให้พนกั งานทำงานลว่ งเวลา ทำงานในวนั หยดุ ทำงานลว่ งเวลาในวันหยดุ เม่ือรวมกันแล้วในสัปดาห์หน่ึงต้องไมเ่ กิน 36 ชวั่ โมง หรือให้เป็นไปตามกฏกระทรวงแรงงาน และสวสั ดกิ ารสังคม 5. ข้อจำกดั สทิ ธทิ ี่จะได้รับคา่ ลว่ งเวลาและค่าทำงานในวนั หยดุ 5.1 พนักงานในตำแหน่งงานผู้จัดการแผนกข้ึนไป หรือตามทไ่ี ดก้ ำหนดในสญั ญาจา้ ง ไม่มสี ิทธไิ ด้รับค่าล่วงเวลาและคา่ ทำงานในวันหยุด หนา้ 9

6. กรณีทบี่ ริษทั ฯมคี วามจำเปน็ โดยเหตใุ ดเหตุหนงึ่ ท่ีสำคญั อนั มผี ลกระทบตอ่ การประกอบกิจการของบรษิ ทั ฯ จนทำให้ บริษัทฯไมส่ ามารถประกอบกิจการไดต้ ามปกติซ่ึงมใิ ช่เหตสุ ุดวสิ ยั ต้องหยดุ กิจการท้ังหมดหรือบางส่วนเปน็ การช่ัวคราว บรษิ ทั ฯ จะจ่ายเงนิ ใหแ้ กพ่ นักงานไมน่ อ้ ยกวา่ 75% ของคา่ จา้ งในวันทำงานทพ่ี นกั งานไดร้ ับก่อนบริษัทฯ หยดุ กิจการ ตลอดระยะเวลาท่ีบริษัทฯ ไม่ไดใ้ หพ้ นักงานทำงาน หมวดที่ 4 วนั และสถานทีจ่ า่ ยเงนิ เดอื น คา่ จ้าง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทำงานในวันหยดุ และค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ 1. บรษิ ัทฯจะจ่ายเงินเดอื น คา่ จา้ ง ค่าลว่ งเวลา ค่าทำงานในวนั หยดุ และคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยดุ ใหแ้ กพ่ นักงานโดยหกั ภาษี ณ. ท่จี า่ ย สำหรบั เงนิ ได้บุคคลธรรมดาและเงินอนื่ ๆ ตามวิธกี ารและอัตราทก่ี ฏหมายกำหนดโดยจะจ่ายให้ดือนละ 1 คร้ัง คอื ในวันที่ 28 ของทกุ เดอื น 2. ถา้ วนั ทจี่ ่ายเงินดังกลา่ วตามข้อ 1. ในแตล่ ะครั้งตรงกบั หรือ วนั หยดุ ของบรษิ ัทฯหรอื วันหยดุ ของทางธนาคารบริษัทฯจะ เลอื่ นกำหนดการจ่ายเงินให้เร็วขึน้ เปน็ ก่อนวนั ดังกลา่ ว 3. บริษทั ฯ จะจ่ายเงินเดอื น ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา คา่ ทำงานในวันหยดุ และค่าล่วงเวลาในวันหยดุ ใหก้ ับพนักงาน ณ. สถานทที่ ำงานของบริษัทฯ ในวนั และเวลาทำงานปกติ หรอื จ่ายผา่ นทางธนาคารโดยโอนเงินเข้าบัญชเี งินฝากของ พนักงานแตล่ ะคนหรอื จา่ ยโดยวิธอี ่ืนตามความเหมาะสม 4. ในการรับเงินไม่วา่ ประเภทใดจากบรษิ ัทฯ พนกั งานจะตอ้ งเปน็ ผมู้ ารบั ด้วยตนเอง หากพนักงานมอบอำนาจใหบ้ คุ คลอืน่ เปน็ ผู้รับเงนิ แทน บรษิ ทั ฯอาจปฏเิ สธการจา่ ยเงินคา่ จ้างดังกลา่ วตามแต่บริษทั ฯ จะเหน็ สมควร หมวดท่ี 5 วนั ลา และหลกั เกณฑ์การลา 1. การลาปว่ ย 1.1 พนกั งานมสี ิทธลิ าป่วยได้เท่าทปี่ ่วยจริง โดยไดร้ ับค่าจ้างในวนั ท่ีลาแต่ไมเ่ กนิ 30 วันทำงานตอ่ หน่งึ ปี 1.2 ระหวา่ งท่ีป่วยน้นั พนกั งานจะตอ้ งแจ้งใหบ้ รษิ ทั ทราบภายในเวลาไมเ่ กนิ 4 ชว่ั โมงหลงั จากเวลาเรม่ิ งาน และย่ืน ใบลาในโอกาสแรกทกี่ ลับเข้าทำงาน มฉิ ะนน้ั จะถือวา่ ขาดงาน 1.3 การลาปว่ ยตั้งแต่ 3 วนั ทำงานขึ้นไปตดิ ต่อกนั พนักงานจะต้องนำใบรบั รองแพทย์แผนปัจจุบนั ช้นั หนึง่ หรือ สถานพยาบาลของทางราชการมาแสดงพร้อมใบลา เสนอต่อบริษัทฯเพือ่ พจิ ารณาอนมุ ัติตามระเบียบในวันที่ เร่มิ กลับเขา้ ทำงาน 1.4 พนักงานท่ีลาป่วยบอ่ ยๆ หรือลาจนเต็มหรือเกินสทิ ธิ บรษิ ัทถอื ว่าเปน็ พนกั งานท่ีไรป้ ระสทิ ธภิ าพและบริษัทจะ คงไว้ซง่ึ สิทธิท่ีจะสง่ ตัวพนักงานผนู้ น้ั ใหแ้ พทยท์ ำการตรวจวิเคราะหโ์ ดยละเอียดเพอ่ื วนิ ิจฉัยหาสาเหตกุ ารปว่ ย ตามที่อา้ งและหากพบว่าไมไ่ ดป้ ว่ ยจริง แต่ใชส้ ทิ ธกิ ารลาป่วยบรษิ ัทจะพิจารณาลงโทษตามแตก่ รณีจนถึงเลกิ จ้าง หนา้ 10

1.5 พนกั งานท่หี ยุดงานโดยไม่มสี าเหตอุ ันควร และหรือโดยท่ีแพทยไ์ ม่ออกความเห็นรับรองวา่ ป่วยจรงิ หรอื ควร พักรกั ษาตวั บริษทั จะถอื ว่าขาดงาน 1.6 คำว่า \" ปีละ\" ตามระเบยี บนี้ใหห้ มายถงึ ปปี ฏิทิน คอื นบั จากวันท่ี 1 มกราคม ถงึ 31 ธันวาคมของปเี ดียวกัน 1.7 การลาปว่ ยหรือจำนวนวันลาป่วย จะนำมาเป็นเงอ่ื นไขในการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานเพ่อื ปรับคา่ จา้ ง / เงินเดือนประจำปี 2. การลาเน่ืองจากประสบอนั ตราย หรือเจบ็ ป่วยเน่ืองจากการทำงาน พนักงานที่ไม่สามารถมาทำงานได้ เนือ่ งจากประสบอนั ตราย หรอื เจ็บปว่ ยเน่อื งจากการทำงาน มีสิทธหิ ยดุ พกั รกั ษาตัวไดต้ ามใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันช้ันที่หนึง่ หรือใบรบั รองจากสถานพยาบาลของทางราชการระบไุ ว้โดย บริษทั ฯ จะไมน่ บั วนั หยดุ พักรกั ษาตัวในกรณีดังกล่าวเปน็ วันลาปว่ ย พนักงานจะต้องสง่ ใบลาตามแบบท่ีบริษทั ฯ กำหนดด้วยตนเอง ในวันแรกเมอ่ื กลบั เขา้ มาทำงาน 3. การลาคลอด พนกั งานหญงิ มีครรภม์ สี ิทธิลาเพอ่ื การคลอดครรภห์ น่ึงไมเ่ กิน 98 วัน วันลาเพ่อื คลอดบตุ ร โดยใหห้ มายความ รวมถึงวันลา เพ่อื ตรวจครรภก์ อ่ นคลอดบุตรดว้ ย วนั ลา โดยนบั รวมวันหยุดทม่ี ีในระหว่างวนั ลาซึ่งจะไดร้ ับคา่ จ้าง ตามปกตติ ลอดระยะเวลาท่ีลาแต่ไม่เกนิ 45 วนั โดยจะต้องส่งใบลาตามแบบท่บี ริษัทฯ กำหนดพร้อมนำใบรับรอง แพทยแ์ ผนปจั จบุ นั ช้ันหนึ่ง หรอื ใบรบั รองจากสถานพยาบาลของทางราชการ และสูตบิ ตั รมาแสดงในวนั แรกเมอื่ กลับเข้าทำงาน พนักงานหญงิ มีสทิ ธขิ อใหบ้ รษิ ทั ฯเปลยี่ นงานในหนา้ ท่ีเดมิ เป็นการชั่วคราวก่อนหรอื หลงั คลอดได้โดย ตอ้ งนำใบรบั รองแพทย์ แผนปัจจบุ ันชน้ั หนงึ่ มาแสดงวา่ ไมอ่ าจทำงานในหน้าทเี่ ดมิ ได้ ซ่งึ บรษิ ทั ฯจะพจิ ารณาเปลยี่ น งานใหต้ ามความเหมาะสมและเหน็ สมควร พนักงานหญงิ ท่มี คี รรภ์มหี นา้ ท่ี และความรบั ผดิ ชอบ ท่จี ะต้องแจง้ ใหบ้ ริษทั ฯ หรือผบู้ ังคบั บญั ชาทราบทนั ทีท่ี ทราบว่าตนเองมีครรภพ์ ร้อมใบรบั รองแพทย์แผนปจั จบุ ันชั้นหนง่ึ มาแสดงเปน็ หลกั ฐานดว้ ย 4. การลาเพือ่ ทำหมัน พนกั งานมสี ิทธิลาเพ่อื ทำหมันได้ และสิทธลิ าเนอ่ื งจากการทำหมันตามระยะเวลาท่ีแพทย์แผนปัจจบุ นั ชนั้ หนึ่ง กำหนดและออกใบรับรองใหบ้ ริษทั ฯ จะจา่ ยค่าจ้างใหแ้ ก่พนักงานทใี่ ช้สทิ ธิลาเพ่ือตามแบบทบี่ รษิ ัทฯกำหนดและ ได้รบั การอนุมตั จิ ากผู้บังคบั บญั ชากอ่ น อยา่ งน้อย 2 วนั จึงจะหยดุ งานเพื่อทำหมันได้ ส่วนการลาอนั มผี ล เน่ืองมาจากการทำหมนั ใหส้ ง่ ใบลาตามแบบท่ีบริษทั ฯ กำหนดพรอ้ มใบรับรองแพทยแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั้ หน่งึ ในวนั แรก เมอ่ื กลบั เขา้ มาทำงาน 5. การลากิจ ในปหี น่ึง พนกั งานมีสิทธลิ ากจิ เพ่ือทำธุระจำเปน็ สว่ นตวั โดยไดร้ บั ค่าจ้างตามปกตเิ ดือนละไม่เกนิ 1 วนั ทำงานและใหส้ ะสมวันลากิจเพ่อื ลารวมกันไดป้ ลี ะไมเ่ กิน 7 วันทำงาน การลากจิ จะตอ้ งยนื่ ใบลาตามแบบทบ่ี ริษัทฯ กำหนดด้วยตนเองต่อ ผบู้ ังคับบญั ชาลว่ งหนา้ เมอ่ื ไดร้ บั การอนมุ ตั แิ ล้วจงึ จะหยดุ งานได้ หน้า 11

6. การลากิจพเิ ศษ พนกั งานมีสิทธิลากิจพิเศษ นอกเหนอื จากการลากจิ ตามข้อ 5 โดยได้รับค่าจา้ งตามปกติดว้ ยเหตจุ ำเปน็ ในกรณี ต่างๆดังน้ี 6.1 เพื่อประกอบพธิ ีทางศาสนาเกยี่ วกบั งานศพในกรณีที่ บดิ า มารดา คสู่ มรส หรือบตุ รโดยชอบดว้ ยกฏหมายของ พนักงาน หรอื บดิ า มารดาของคสู่ มรสโดยชอบด้วยกฏหมายของพนักงาน ได้ถึงแก่กรรม มสี ิทธลิ าไดโ้ ดยได้รบั คา่ จา้ งไม่เกนิ 3 วนั ทำงาน พนักงานจะตอ้ งนำหลกั ฐาน คอื สำเนาใบมรณะบัตรมาแสดงตอ่ ผ้บู ังคบั บัญชาและ ฝ่ายบุคคลเม่ือกลบั มาจากการลาแลว้ ภายในระยะเวลาไม่เกนิ 15 วนั กรณีทีพ่ ้นกำหนดระยะเวลาการยน่ื เอกสารแลว้ พนักงานผ้ลู ายงั ไมม่ หี ลกั ฐานมาแสดง ให้ชแี้ จงให้ผูบ้ งั คับบัญชาเป็นลายลักษณอ็ กั ษร โดย ผู้บงั คบั บญั ชาและฝา่ ยบคุ คลจะร่วมพจิ ารณา หากปรากฏในภายหลงั ว่า การลาดงั กลา่ วเปน็ การลาเทจ็ จะถือ วา่ พนักงานผ้นู ้ันขาดงาน ซ่งึ บรษิ ทั ฯจะไม่จ่ายค่าจา้ งในวนั ทีข่ าดงานใหแ้ ละ จะต้องถูกลงโทษทางวินัยตามควร แก่กรณี 6.2 การลาอุปสมบท/ ลาเพอื่ บวชชี / ลาเพ่ือประกอบพธิ ีฮจั จ์ หรือ พิธสี ำคัญของศาสนาอืน่ ๆ โดยไดร้ บั คา่ จ้าง ตามปกติ ไม่เกนิ 15 วนั โดยนบั รวมวันหยุดที่มีในระหว่างการลา และมีหลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ 6.2.1 พนักงาน ท่มี ีอายกุ ารทำงานตดิ ต่อกนั ครบ 1 ปขี ึ้นไป 6.2.2 ใชส้ ทิ ธกิ ารลาได้คร้ังเดยี วตลอดอายุงาน 6.2.3 การกำหนดวันลาจะตอ้ งไมเ่ ป็นผลเสยี ตอ่ การดำเนนิ งานของบรษิ ทั 6.2.4 การลาอปุ สมบท/ ลาเพอ่ื บวชชี / ลาเพือ่ ประกอบพิธฮี ัจจ์ หรือ พิธสี ำคญั ของศาสนาอ่นื ๆ นัน้ จะตอ้ ง ยน่ื ใบลาตามแบบทบ่ี ริษทั ฯ กำหนดด้วยตนเองไม่น้อยกวา่ 15 วันกอ่ นวนั ลา เมื่อได้รับอนมุ ัตจิ าก ผูบ้ งั คบั บญั ชาแลว้ จึงจะหยุดงานได้ และให้นำหลกั ฐานการอปุ สมบทมามอบให้ ฝ่ายบคุ คลภายใน 7 วัน นบั แต่วนั แรกทมี่ าทำงาน 6.3 การลาสมรส พนกั งานมีสทิ ธลิ าสมรสไดไ้ ม่เกนิ 3 วนั ทำงานติดตอ่ กัน โดยไดร้ บั ค่าจา้ งตามปกติโดยผขู้ อ ลาจะต้องทำงานมาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ปี ไม่เคยลาเพ่อื การสมรส และเปน็ การสมรสทจ่ี ดทะเบยี นสมรสนนั้ ได้ กระทำในระหวา่ งวนั ทข่ี อลา หรือกระทำขึ้นกอ่ นหรอื หลงั ไม่เกนิ กวา่ 7 วนั ก่อนวนั ท่ขี อลาการลาสมรส จะต้องยื่นใบลาตามแบบที่บริษัทฯ กำหนดดว้ ยตนเอง ไม่นอ้ ยกว่า 7 วันก่อนวันลา เมอ่ื ได้รับการอนุมัตจิ าก ผูบ้ ังคบั บัญชาแล้วจึงหยดุ งานได้ และใหน้ ำสำเนาใบทะเบยี นสมรส มาใหฝ้ ่ายบคุ คล ภายใน 7 วัน นับ จากวนั สน้ิ สดุ การลา 7. การลาเพอื่ รับการฝึกราชการทหาร พนกั งานมสี ทิ ธลิ าเพือ่ ไปฝึกราชการทหารในการเรยี กพลเพ่อื ตรวจสอบ เพอื่ ฝึกวิชาทหารหรอื เพ่อื ทดลอง ความพรง่ั พร้อมตามกฏหมายวา่ ดว้ ยการรับราชการทหารโดยพนกั งานจะได้รบั ค่าจ้าง ตามปกตติ ลอดระยะเวลาท่ี ลาแต่ปลี ะไม่เกนิ 60 วนั (โดยนับรวมวันหยดุ ทม่ี รี ะหว่างวันลา ) ซึง่ พนักงานจะต้องแนบหมายเรยี กพลดงั กล่าว (ฉบบั จริง) พร้อมใบลาต่อผูบ้ งั คับ บัญชาลว่ งหนา้ ก่อนวันลา หนา้ 12

8. การลาเพอ่ื การฝึกอบรม ในกรณี พนกั งานลาเพื่อการฝึกอบรมหรอื เพื่อพัฒนาความรคู้ วามสามารถท้ังน้ใี หเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และวธิ ี ท่กี ำหนดในกฏกระทรวงแรงงานและสวสั ดกิ ารสงั คม พนกั งานต้องยืน่ ใบลาล่วงหนา้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 7 วนั โดยไมไ่ ด้รบั คา่ จ้างผ้บู ังคับบัญชามสี ิทธไิ ม่อนมุ ตั ิการลาได้ หากพิจารณาแลว้ เห็นว่าอาจกอ่ ให้เกิดความเสยี หาย หรอื กระทบ กระเทอื นต่อการดำเนินงานเองบรษิ ทั 9. การขาดงานหรอื ละทงิ้ หน้าท่ี ในการลาหยดุ งานทุกประเภทพนกั งานจะตอ้ งยนื่ ใบลาตามแบบหรอื วิธกี ารปฏิบัตทิ บี่ ริษทั ฯ กำหนดไว้การหยดุ งานโดยมไิ ด้รบั อนุญาตหรอื มไิ ดร้ บั อนมุ ัติจากผู้บังคับบญั ชา ถอื ว่าเปน็ การขาดงานและ / หรือละทงิ้ หน้าท่โี ดยไมม่ ี เหตุผลอนั สมควร ซงึ่ บรษิ ัทฯ จะไมจ่ ่ายคา่ จา้ งใหส้ ำหรบั วนั ดังกลา่ ว และจะต้องไดร้ ับโทษทางวนิ ัยตามระเบยี บ ขอ้ บงั คับเกี่ยวกับการทำงานของบรษิ ัทฯ อกี ด้วย ทงั้ นพี้ นกั งานท่ขี าดงาน ตามวรรคต้น อาจจะถกู พจิ ารณาเลิกจ้าง โดยไมไ่ ดร้ ับคา่ ชดเชย หากขาดงานซ้ำซอ้ น 10. การลาทไี่ มม่ สี ทิ ธไิ ดร้ ับค่าจา้ ง 10.1 ลาเกินสิทธิทีก่ ำหนดไวข้ องการลาแตล่ ะประเภท 10.2 การลาทไี่ มเ่ ป็นไปตามขอ้ ท่ีกำหนดไว้ของการลาแตล่ ะประเภทการลางานโดยไม่ได้รบั คา่ จ้าง และการขาดงาน บริษัทฯจะนำมาเปน็ เงอื่ นไขในการประเมินผล/การปฏิบตั งิ านเพอื่ ปรบั คา่ จา้ งเงนิ เดือนประจำปี และ / หรือ การจ่ายเงนิ โบนสั ฯลฯ หมวดท่ี 6 วนิ ยั และโทษทางวนิ ยั 1. เจตนารมณ์ 1.1 บริษัทฯ ไดก้ ำหนดวินยั และการลงโทษทางวนิ ยั ไวเ้ พ่อื ให้พนกั งานไดท้ ราบถึงขอ้ ควรปฏิบตั ิ และขอ้ หา้ ม ตา่ งๆ อนั จะชว่ ยให้เกดิ ความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยในการทำงานรว่ มกันของพนกั งาน ผู้ถูกกล่าวหาว่า กระทำผดิ มสี ิทธชิ ีแ้ จงแสดงเหตผุ ล และหลักฐานเพ่ือแกข้ ้อกลา่ วหาโดยบรษิ ัทฯ จะพจิ ารณาใหค้ วามเปน็ ธรรมอยา่ งท่ีสดุ 1.2 บริษทั ฯ ถือวา่ การลงโทษพนักงานมิใชเ่ ปน็ การกลัน่ แกลง้ หรอื ตอ้ งการให้พนักงานเดอื ดรอ้ น แตเ่ พอื่ ป้องกันมิให้มกี ารกระทำผิดอกี หรอื เพ่อื ปอ้ งกนั มใิ หม้ ีการกระทำผดิ ทรี่ ้ายแรงยง่ิ ข้นึ 1.3 การกระทำบางอยา่ งอาจทำให้เกดิ ผลร้ายแรงแตกต่างกัน ในสภาวะการทำงาน และสง่ิ แวดลอ้ มทแี่ ตกต่าง กันได้ ดังนั้น การลงโทษทางวนิ ัยอาจกำหนดความรุนแรงแตกตา่ งกนั ตามความเหมาะสมของสภาวะการ ทำงานในหนว่ ยงานนนั้ ๆ หน้า 13

2. ระเบยี บปฏบิ ัติท่ัวไป 2.1 แตง่ กายด้วยเคร่ืองแบบพนักงาน ตามท่ีบริษทั ฯ กำหนด รวมถึงการทส่ี วมเคร่อื งแบบพนักงานของ บริษัท จะต้องรักษาภาพลักษณข์ องบรษิ ทั ฯ ไมใ่ ห้มคี วามเสือ่ มเสียต่อบรษิ ทั ท้งั ทางตรงหรอื ทางออ้ ม 2.2 พนักงานจะตอ้ งบันทึกเวลาทำงานดว้ ยตนเองทกุ ครง้ั ทัง้ เวลาเขา้ และออกจากการทำงานตามท่ีบรษิ ทั ฯ กำหนด หากคร้ังใดลืม หรือไมไ่ ด้บนั ทึกเวลาทำงาน เนอื่ งจากสาเหตอุ นื่ ๆ เช่น อบรมนอกสถานที่ จะต้องแจง้ ตอ่ หวั หน้างานและแผนกทรัพยากรมนษุ ย์ทราบทันที พร้อมเขียนแบบขอบนั ทกึ เวลาและ ตอ้ งไดร้ ับ การพจิ ารณาอนมุ ตั จิ ากผจู้ ัดการแผนก 2.3 ใส่รองเท้าทีบ่ ริษัทฯ แจกใหเ้ มื่ออยใู่ นบรเิ วณโรงงาน และไมใ่ สร่ องเท้าท่บี รษิ ทั ฯ แจกใหอ้ อกนอก บริเวณอาคารโรงงาน 2.4 พนกั งานท่ปี ฏิบตั งิ านในพ้ืนที่ควบคมุ เฉพาะจะตอ้ งสวมชุดปฏบิ ตั ิงานท่บี รษิ ัทจดั เตรยี มให้ และปฏิบตั ิ ตามกฎระเบยี บของพ้ืนท่นี ้นั ๆ เช่น Clean-room 2.5 ห้ามเก็บสิ่งของทเ่ี ป็นอปุ กรณก์ ารทำงานไว้ใน Locker 2.6 ห้ามสบู บุหรภี่ ายในตวั อาคารโรงงาน สบู บหุ รีไ่ ด้เฉพาะสถานที่ทจี่ ดั ไว้ให้เท่านั้น 2.7 หา้ มมใิ ห้พนักงานเขา้ มาทำงานในอาการมนึ เมา เนือ่ งจากดมื่ สรุ ายาเสพตดิ หรือของมึนเมาทกุ ชนิด 2.8 ห้ามนำสิ่งของเขา้ มาขายในบรเิ วณบรษิ ทั ฯไมว่ า่ จะเปน็ ในรูปการสัง่ ซื้อเพื่อมาจำหน่ายรวมทงั้ เลน่ แชร์ หรือหวยตลอดจนการกเู้ งนิ ในหมู่พนักงาน 2.9 พนกั งานทน่ี ำทรัพยส์ นิ ของบรษิ ัทฯออกนอกบรษิ ัทฯ จะต้องได้รบั อนุญาตจากผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั ผ้จู ดั การแผนกขน้ึ ไปและผู้จดั การแผนกทรพั ยากรมนุษย์ต้องเซน็ รบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบริษัทฯ เท่าน้นั ) ก่อนทจี่ ะนำทรพั ยส์ ินบรษิ ทั ฯ ออกนอกบริษัทฯ 2.10 หา้ มพนักงานทำการเคล่อื นยา้ ยสบั เปลย่ี นทรัพยส์ นิ ของบรษิ ัทฯ จากสถานทห่ี นง่ึ ไปยงั อีกสถานทีห่ น่ึง โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าตจากผู้จัดการแผนกขน้ึ ไป 2.11 สำหรบั พนักงานท่ีมีความประสงคจ์ ะขอใช้รถบรษิ ัทฯ ออกนอกบริษัทฯ จะต้องไดร้ บั อนญุ าตจาก ผูบ้ งั คับบญั ชาระดบั ผู้จดั การแผนกข้ึนไป และผคู้ วบคุมการใช้รถบรษิ ทั ฯ เซน็ รบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบริษัทฯ เท่านัน้ ) กอ่ นท่จี ะนำรถบริษัทฯ ออกนอกบริษัทฯ 2.12 พนกั งานที่ เข้า – ออก นอกบริษัทฯ ในเวลาพกั กลางวนั จะตอ้ งลงบันทกึ การเขา้ – ออกไว้ทีป่ อ้ มยาม 2.13 ไม่อนญุ าตใหพ้ นักงานนำอาหาร/เคร่อื งดมื่ มารับประทานในบริเวณดังต่อไปนี้ คอื พน้ื ทกี่ ารผลติ , ส่วน สนับสนุนการผลติ , บรเิ วณด้านข้างบริษัทฯ, ห้องประชุมเล็ก (ช้ัน1) และบรเิ วณหนา้ Lobby โดยให้ พนักงานรับประทานอาหารในสถานท่ี ทีบ่ ริษัทฯ จดั ให้ ( โรงอาหาร) 2.14 ไมอ่ นญุ าตใหพ้ นักงานนอนบริเวณหนา้ Lobby ทุกเวลา 2.15 พนักงานตอ้ งใหค้ วามร่วมมอื ช่วยเหลอื ป้องกัน และแจง้ ให้บริษัทฯ ทราบทันทเี มอื่ พบเหน็ เหตรุ ้าย เกดิ ข้ึนภายในบริษัท เช่น อุบัตเิ หตุ โจรกรรม อคั คภี ยั ฯลฯ 2.16 เป็นความรับผดิ ชอบของพนกั งานที่จะต้องอ่าน และทราบประกาศซึง่ ทางบริษทั ฯ ปดิ ไว้ ณ ท่ีปดิ ประกาศของบรษิ ทั ฯ หรือจากระบบสือ่ สารอนื่ ใดทบ่ี รษิ ทั ฯ จดั ขึน้ 2.17 พนักงานจะต้องช่วยกนั รกั ษาความสะอาดท้งั ในทท่ี ำงานของตน และบรเิ วณส่วนรวม หน้า 14

2.18 การขึ้นรถรับสง่ ของบริษัทฯ พนกั งานมีหนา้ ท่ตี ้องแจง้ และขึน้ รถรบั -สง่ ตามเสน้ ทางท่ีบรษิ ทั ฯ กำหนด และบรษิ ทั ฯ สามารถเปลี่ยนเสน้ ทางได้ตามความเหมาะสม 2.19 หากพนักงานทต่ี อ้ งเปลย่ี นแปลงเสน้ ทางรถรบั -ส่งบรษิ ทั ฯ ต้องแจง้ ให้แผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ทราบทกุ กรณี 2.20 การขบั ขี่ยานพาหนะเขา้ มาภายในบริษัทฯ จะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของการจอดรถตามทก่ี ำหนดไว้ 2.21 การเบิกจา่ ยชุดพนกั งาน และรองเทา้ ทกุ วนั ศกุ ร์ เวลา 17.00 น. 2.22 การขอใบลา ขอได้ทุกวนั ภายในเวลาทำการ 3. ระเบยี บในการทำงาน 3.1 พนกั งานจะต้องเตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ มทจ่ี ะเรม่ิ ทำงานไดต้ ามเวลาทบี่ รษิ ัทฯ กำหนดไว้ การมาสายเปน็ ประจำ หรอื กลบั กอ่ นโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต หรอื ขาดงานนอกจากจะไมไ่ ดร้ ับคา่ จา้ ง ยังถือวา่ เปน็ การ ละเมดิ ระเบยี บข้อบังคับในการทำงานของบรษิ ัทฯ ฉบับนี้ 3.2 พนักงานมีหนา้ ทต่ี อ้ งปฏบิ ัติตามระบบการจัดการคณุ ภาพ และระบบการจดั การสิ่งแวดลอ้ ม อย่าง เครง่ ครัด 3.3 พนักงานท่ปี ฏิบัตงิ านผดิ ขนั้ ตอนของการปฏบิ ัตงิ าน หรือจากความประมาท เลินเล่อตลอดจนขาดความ รอบคอบในการทำงาน แลว้ มีผลความเสยี หายตอ่ ทรพั ย์สนิ บริษทั ฯ โดยเสยี หายตอ่ เคร่ืองจักร และ อปุ กรณ์ บรษิ ทั ฯ มบี ทลงโทษเป็นใหเ้ ป็นไปตามกฎระเบยี บขอ้ บังคบั ในการทำงานว่าด้วยเร่ืองการ ลงโทษทางวินยั 3.4 พนกั งานต้องปฏบิ ตั ิงานตามคำแนะนำของหัวหนา้ งาน หรอื ผบู้ ังคบั บญั ชา หรอื ระเบยี บทก่ี ำหนดไว้ เมื่อ สงสัยใหถ้ ามอยา่ เกบ็ ความสงสยั ไว้ 3.5 พนักงานต้องทำความสะอาดอปุ กรณ์ก่อน และหลงั การทำงานทุกครัง้ 3.6 หากพบทรัพย์สนิ ของบรษิ ทั ฯ ไดร้ ับความเสียหายหรือสญู หาย ใหร้ บี แจ้งผบู้ งั คับบญั ชา หรอื พนักงานที่ เก่ียวข้องทราบโดยทนั ที 3.7 ในระหวา่ งเวลาทำงาน พนักงานจะออกนอกบรษิ ทั ฯ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาตไมไ่ ด้ หากมีธรุ ะจำเปน็ จะตอ้ ง ได้รบั อนญุ าตจากผู้บงั คับบัญชาระดบั ผจู้ ัดการแผนกขน้ึ ไป และผจู้ ดั การแผนกทรพั ยากรมนษุ ย์ต้องเซ็น รบั ทราบ (ตามแบบฟอรม์ ของบรษิ ทั ฯ เท่านั้น) กอ่ นทจ่ี ะออกนอกบริษทั ฯ 3.8 ไม่อนุญาตใหพ้ นักงานรบั โทรศพั ทม์ ือถือส่วนตวั ในเวลางาน หรอื เลน่ มอื ถือ เนอื่ งจากอาจกอ่ ใหเ้ กิด อุบัติเหตุในการทำงานได้ 4. วนิ ัย พนักงานซึ่งกระทำหรอื ละเวน้ การกระทำในส่งิ ใด หรือหลายส่งิ ดงั กลา่ วมาขา้ งต้น หรือดงั กลา่ วตอ่ ไปนี้ ถือว่าเป็นการทำผดิ วินัยและจะถกู ลงโทษตามลักษณะแห่งความผิดควรแก่กรณี จนถงึ ข้ันเลิกจา้ ง โดยไมม่ ีการ เตือนลว่ งหนา้ หน้า 15

4.1 ข้อพึงปฏิบัติ พนักงานทกุ คนพึงประพฤติปฏิบัติ ดงั ต่อไปน้ี 4.1.1 ปฏิบตั งิ านให้บรษิ ัทฯด้วยความซือ่ สตั ย์ ขยนั หม่นั เพยี ร จรงิ ใจ และทำงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย อย่างเตม็ ความสามารถ 4.1.2 เชอ่ื ฟังและปฏิบตั ติ ามคำแนะนำหรอื คำสง่ั โดยชอบธรรมของผบู้ ังคับบัญชาและให้ความเคารพตอ่ ผบู้ ังคับบญั ชา 4.1.3 รกั ษาและปฏิบตั ติ ามระเบียบขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ฯ โดยเครง่ ครัดและใหค้ วามร่วมมอื อยา่ งเตม็ ทก่ี ับ บรษิ ทั ฯ และพนกั งานดว้ ยกัน 4.1.4 ปฏบิ ัตงิ านตรงตามกำหนดเวลาทำงาน 4.1.5 ปฏบิ ตั ิตามกฏแหง่ ความปลอดภยั ในการทำงาน 4.1.6 ดแู ลรกั ษาทรัพย์สินของบรษิ ัทฯทง้ั มวลทอี่ ยูใ่ นความดแู ลรับผิดชอบของตนให้เรยี บรอ้ ยและชว่ ยกนั รกั ษาความสะอาดในบรเิ วณสถานทีข่ องบรษิ ทั ฯ 4.1.7 ละเว้นจากการดหู มิ่น หมิ่นประมาท ทา้ ทาย ทะเลาะวิวาทหรือทำใหแ้ ตกความสามคั คีในระหวา่ ง พนกั งาน 4.2 การกระทำอันเป็นความผดิ ตอ่ กฏหมายบา้ นเมอื ง 4.2.1 ประกอบอาชาญากรรมอันทำให้มีบาดเจ็บหรอื เสยี ชีวติ หรอื ทรัพยส์ นิ เสยี หาย สญู หาย หรอื ไดร้ บั โทษตามคำพิพากษาใหจ้ ำคุก 4.2.2 ทำรา้ ย หรือพยายามทำรา้ ยรา่ งกายบคุ คลใดๆ หรือยยุ งสง่ เสรมิ ให้มกี ารกระทำดังกล่าว เวน้ แต่ ในกรณที ่ีปอ้ งกนั ตนเอง หรอื ป้องกนั ทรัพย์สินของบริษัทฯ 4.2.3 ยักยอก ลักขโมย ทำลาย จงใจทำใหท้ รพั ย์สนิ ของบริษทั ฯ หรอื ผู้อ่นื เสียหายรวมท้งั การ ช่วยเหลอื ให้ความรว่ มมอื สนับสนนุ หรือปกปิดการกระทำผิดน้ัน 4.2.4 พกพาอาวุธหรอื วตั ถรุ ะเบดิ เข้ามาในบริเวณบรษิ ัทฯ 4.2.5 บังคบั ขู่เขญ็ คุกคาม ผ้อู ่นื 4.2.6 ใช้กิริยา วาจา หรือเขียนขอ้ ความหยาบคาย ก้าวรา้ ว ดหู ม่ิน หมิน่ ประมาท เหยียดหยาม ลว่ งเกนิ ผ้อู ื่นในบรเิ วณบรษิ ทั ฯ 4.2.7 เสพหรอื มยี าเสพตดิ หรอื สารเสพตดิ ทผี่ ดิ กฏหมายไว้ในครอบครอง 4.3 การกลา่ ว หรอื การใช้หลักฐานอนั เปน็ เทจ็ 4.3.1 แก้ไข ปลอมแปลงเอกสาร หรอื หลกั ฐาน เพือ่ ให้ไดม้ าซ่งึ ประโยชนข์ องตนเองหรอื ผู้อ่นื 4.3.2 จงใจใหก้ ารเทจ็ แจง้ ข้อมูลเท็จตอ่ บริษทั ฯ หรือผูบ้ งั คบั บญั ชาหรอื เจตนาปกปิดข้อมลู ท่ีเปน็ ความ จรงิ ต่อบริษัทฯ หรอื ผู้บังคับบญั ชา 4.4 การประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ันไมเ่ หมาะสม 4.4.1 เรียก รับ ยอมรับ หรอื ยอมจะรับเงนิ ทรพั ย์สนิ หรือประโยชน์อ่ืนใดจากผูอ้ ่ืนโดยทจุ ริต เพื่อ ตนเอง หรอื ผู้อ่นื หน้า 16

4.4.2 ขาย เสนอขายสิง่ ใดๆ ภายในบรษิ ทั ฯ หรือเป็นตวั การหรอื ตวั แทน ใหแ้ ก่ บริษัทอน่ื หา้ งรา้ น กจิ การใดๆ หรอื ใช้เวลาทำงานของบรษิ ทั ฯ เพ่อื ไปกระทำการหาผลประโยชน์ส่วนตวั จากทีอ่ น่ื ทัง้ น้ี นอกจากจะได้รับอนมุ ตั ิ หรอื ได้รบั มอบหมายจากบริษทั ฯ เป็นลายลักษณอักษร 4.4.3 พนักงานทกุ คนจะต้องไม่เปน็ ผสู้ ร้างหนสี้ นิ จนอาจเป็นเหตุใหบ้ งั เกดิ ความเสือ่ มเสยี ตอ่ ตนเองและหมู่ คณะตลอดจนบริษทั ฯได้ 4.4.4 ละเลย ปฏเิ สธ หรอื ไมป่ ฏบิ ตั ิ ตามคำส่ังอนั ชอบ หรอื หนา้ ทกี่ ารงานท่บี รษิ ทั ฯ หรือ ผ้บู ังคับบญั ชามอบหมาย เว้นแต่งานน้ันอาจเปน็ อันตรายอย่างร้ายแรง 4.4.5 ปฏเิ สธทจี่ ะตอบคำถามหรอื ใหข้ ้อมลู อัน ไมเ่ ปน็ ความจรงิ ใน ระหวา่ งการสอบสวนหาขอ้ เท็จจรงิ 4.4.6 ไม่ปฏบิ ัติตาม หรือละเมิดระเบยี บขอ้ บงั คบั เกี่ยวกับการทำงานของบริษทั ฯ 4.4.7 ไมป่ ฏิบตั ิ หรอื ละเมดิ ระเบยี บที่เกย่ี วกบั ความปลอดภยั ในการทำงานหรือเก่ยี วกบั ทรัพยส์ ินของบรษิ ทั ฯ 4.4.8 เล่นการพนันหรือรว่ ม หรืออยู่ในบรเิ วณนั้น หรือท่ีมกี ารเล่นการพนัน ในบรเิ วณบริษทั ฯ 4.4.9 เป็นเจา้ มอื ท้าวแชร์ หรอื เล่นแชร์ในบรษิ ัทฯ ชักนำเป็นสอื่ กลางให้กับวงแชรน์ อกบรษิ ัทฯ 4.4.10 นำสุรา ของมนึ เมาเข้ามาในบรษิ ัทฯ โดยมิได้รับอนญุ าตจากบริษัทฯ 4.4.11 ดื่มสรุ า ของมึนเมาในระหวา่ งเวลาทำงาน หรอื ก่อนเข้าทำงาน 4.4.12 สูบบหุ ร่ใี นบรเิ วณเขตหา้ มสบู บุหร่ี 4.4.13 นอน หรือหลบั ในระหว่างเวลาทำงาน เว้นแต่พนักงานท่ีมีอาการเจ็บปว่ ย 4.4.14 หยุดงานโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต 4.4.15 มาทำงานสายและ / หรอื เลกิ งานกอ่ นเวลาโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต 4.4.16 ละทง้ิ หน้าท่ี ละเลย หรอื หลีกเล่ยี งการทำงานหรอื ขาดงาน โดยไมม่ ีเหตผุ ลอนั สมควร 4.4.17 เจตนาปฏิบตั ิงานใหล้ า่ ชา้ 4.4.18 ทำลายตอ่ เตมิ ขดี เขียนหรือแกไ้ ขข้อความในเอกสารประกาศหรือแผ่นปา้ ยของบรษิ ทั ฯหรอื ของ ผบู้ ังคบั บัญชา หรือปดิ ประกาศ หรือเผยแพรข่ อ้ ความผ่านระบบสอ่ื สารอน่ื ใดโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตจาก บริษัทฯ 4.4.19 แพร่ข่าวอกศุ ลใสร่ า้ ยผูอ้ ่ืน พดู เขยี น หรอื ใช้สอื่ อื่นใด ให้ร้ายบริษทั ฯ หรือผลติ ภณั ฑข์ อง บริษัทฯ หรือก่อใหเ้ กดิ การแตกความสามัคคใี นระหว่างพนักงานด้วยกนั 4.4.20 กระทำการใดๆ อนั อาจทำใหเ้ ส่อื มเสยี ชอ่ื เสยี งของบริษทั ฯ 4.4.21 ละเลย หรอื ปกปิดไมแ่ จ้งใหบ้ รษิ ทั ฯ ทราบเมอ่ื มกี ารประทุษรา้ ยรา่ งกายเกดิ ข้ึนในบรเิ วณบรษิ ัทฯ ไม่ วา่ จะเกดิ แกต่ นเองหรอื ผู้อืน่ 4.4.22 จงใจ หรือประมาท 4.4.23 เปดิ เผยความลับ เทคนคิ ความรู้ หรือข่าวสารทางธรุ กิจอนั เป็นความลบั ของบรษิ ัทฯหรอื ส่งิ ท่ี บริษัทฯปกปิด เว้นแตจ่ ะไดอ้ นญุ าตจากบริษทั ฯแล้ว 4.4.24 ละเลย ปกปิด ไม่ดำเนนิ การแจ้งให้บรษิ ัทฯ หรอื ผ้บู งั คบั บญั ชาทราบเมอื่ ร้เู หน็ หรอื ทราบวา่ มี การกระทำความผดิ ตอ่ ระเบียบข้อบงั คับเก่ยี วกบั การทำงานของพนกั งาน ด้วยกนั 4.4.25 ละเลย ปกปิด ไมด่ ำเนนิ การแจง้ ใหบ้ รษิ ทั ฯ ทราบถงึ ความสูญเสยี หรอื ความเสยี หายของทรพั ย์สิน ของบรษิ ทั ฯ หนา้ 17

4.4.26 จัดการประชุม หรือร่วมประชมุ ในบรเิ วณบรษิ ัทฯ ซง่ึ ไม่เก่ียวเนอ่ื งกับกจิ การของบริษัทฯเว้นแตไ่ ดร้ บั อนุญาตจากบรษิ ทั ฯ 4.4.27 ครอบครอง หรอื ใช้เครอื่ งมือเคร่ืองใช้ หรอื ทรัพยส์ ินอืน่ ๆ ของบริษทั ฯโดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต 4.4.28 ใช้เวลาหรือทรพั ยส์ ินของบริษัทฯทำงานเพ่อื ประโยชนต์ นหรือผอู้ ่นื โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต 4.4.29 สนับสนนุ หรอื ส่งเสริมใหพ้ นักงาน กระทำผิดหรือฝ่าฝนื หรือละเวน้ การปฏิบตั ิตามประกาศคำสั่ง บันทึกสง่ั กฎ ระเบยี บขอ้ บงั คับเก่ยี วกบั การทำงานบรษิ ัทฯ 4.4.30 เปิดเผยหรอื กระทำการใดๆ ใหผ้ อู้ ืน่ ลว่ งรู้เงินเดือนคา่ จา้ งโบนสั ของตนเองหรือของผอู้ ื่นเว้นแต่ไดร้ ับ อนุญาตจากทางบริษัทฯ ขอ้ กำหนดข้างตน้ เป็นกฏเกณฑท์ ่วั ไป แตอ่ าจมกี ฏเกณฑ์ หรอื วินยั อ่ืนๆ ซ่ึงกำหนดเฉพาะพนกั งานแตล่ ะตำแหนง่ เพิ่มเติมนอกเหนอื จากนี้ ซึ่งพนกั งานอาจถูกลงโทษเม่ือ ละเลย หรอื ฝา่ ฝืนได้ 5. โทษทางวินยั 5.1 เปน็ ความรับผิดชอบโดยตรงของผู้บงั คับบัญชาตามสายงานท่ีจะต้องดูแล ใหผ้ ใู้ ตบ้ ังคับบัญชาปฏบิ ตั ิตามระเบยี บ ขอ้ บังคับเกยี่ วกบั การทำงานฉบบั น้ี ในกรณที ่ีจำเปน็ และสมควรผบู้ ังคบั บัญชาจะตอ้ งลงโทษผ้กู ระทำผดิ หรือผไู้ ม่ ปฏิบัตติ าม ตามควรแก่กรณี เพ่อื รกั ษาไวซ้ งึ่ ระเบียบ วินยั ของบรษิ ัทฯ และเพอ่ื ใหก้ ารปฏบิ ตั เิ ปน็ ไปในแนว เดยี วกันและเสมอภาค ใหผ้ บู้ ังคับบญั ชาหารอื กบั ฝ่ายบคุ คลก่อนด้วย 5.2 โทษทางวินยั ท่เี กิดจากความผิด ในกรณคี วามผิดตามกฎหมายบา้ นเมอื ง ตามข้อ 4.2 ถือเป็นโทษร้ายแรง ซง่ึ บรษิ ัทฯ มีสิทธิทีจ่ ะบอกเลิกจา้ งการทำงาน โดยไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชยใดๆ ท้ังยังอาจจะดำเนินคดตี ามกฎหมายกับ พนกั งานผูน้ ั้นดว้ ย 5.3 การลงโทษพนักงาน อาจกระทำไดด้ งั น้ี 5.3.1 ตักเตือนดว้ ยวาจา โดยมกี ารบนั ทกึ ไว้ 5.3.2 ตักเตอื นเป็นหนงั สอื 5.3.3 พกั งานโดยไมจ่ า่ ยค่าจา้ ง 5.3.4 เลิกจ้าง ในการพจิ ารณาลงโทษทางวินยั ไม่จำเปน็ ตอ้ งลงโทษตามลำดบั ขั้นตอน ข้ึนอย่กู บั ความเหมาะสมและ ความรา้ ยแรงแห่งการกระทำผดิ ในแตล่ ะกรณี ซึ่งอยใู่ นดลุ ยพินจิ ของบริษทั ฯ หน้า 18

หมวดท่ี 7 การรอ้ งทกุ ข์ เพื่อใหพ้ นกั งานท่ไี ม่ไดร้ ับความเปน็ ธรรม อันเน่ืองจากการปฏิบัตหิ นา้ ทหี่ รอื ความไมพ่ อใจเก่ยี วกบั สภาพการ ทำงานในกรณใี ดๆ ก็ตามมสี ทิ ธิรอ้ งทุกขไ์ ดด้ ้วยตนเอง โดยทำเปน็ ลายลักษณ์อกั ษร ทางบรษิ ัทฯจะดำเนินการตามขนั้ ตอน ต่างๆ ในการรอ้ งทกุ ขอ์ ยา่ งรวดเรว็ อนั จะมผี ลทำใหก้ ารบรหิ ารแรงงานสมั พนั ธ์ ประสบความสำเรจ็ เป็นอยา่ งดี 1. วัตถปุ ระสงค์ บรษิ ัทฯ กำหนดหลกั เกณฑก์ ารร้องทุกข์ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1.1 เพือ่ เสรมิ สรา้ งความสัมพันธอ์ นั ดรี ะหว่างบริษัทฯ กับพนกั งาน 1.2 เพอ่ื ใหม้ กี ารวนิ จิ ฉยั การลงโทษอยา่ งเท่ียงธรรมและถูกตอ้ ง 2. ขอบเขตการร้องทุกข์ พนักงานจะดำเนนิ การร้องทกุ ขใ์ นเรอ่ื งต่างๆ ภายในขอบเขตดังต่อไปนี้ 2.1 เกยี่ วกบั สทิ ธิและหนา้ ทข่ี องพนกั งาน 2.2 เกี่ยวกบั การปฏบิ ตั ิตามกฏระเบยี บ ข้อบงั คบั คำส่ัง หรอื ประกาศของบริษทั ฯ 2.3 เกีย่ วกับการปฏบิ ัติตามกฏหมาย ทีเ่ กี่ยวข้องกับการบรหิ ารแรงงาน 2.4 เกยี่ วกบั การปฏบิ ตั ทิ ่ไี ม่ได้รบั ความเปน็ ธรรม 2.5 เกีย่ วกบั การตคี วาม และการปฏิบตั ติ ามสัญญาข้อตกลง 3. ระเบียบปฏบิ ตั ิวา่ ดว้ ยการร้องทุกข์ ในกรณที พี่ นกั งานมีปญั หาใดๆ ในเร่ืองต่างๆพนักงานมีสทิ ธริ อ้ งทกุ ข์ดว้ ยตนเอง ตามขนั้ ตอนการรอ้ งทกุ ข์ ดังตอ่ ไปนี้ 3.1 ใหพ้ นกั งานทำการร้องทกุ ข์ ต้องนำปญั หาเขา้ ปรกึ ษาหารือกับผู้บังคบั บัญชา โดยตรงของตนโดยทำเป็นหนังสอื บรรยายขอ้ ความในการร้องทกุ ขพ์ ร้อมเซน็ ชื่อแบง่ เป็น 2 กรณี ดังนี้ ถ้าเร่อื งรอ้ งทุกขเ์ กิดขึ้น 3.1.1 ระหวา่ งพนกั งานกบั พนักงานใหย้ ืน่ เร่ืองร้องทกุ ขต์ อ่ ผ้บู ังคบั บญั ชาโดยตรง 3.1.2 ระหว่างพนักงานกับหวั หน้างานโดยตรงให้ยน่ื เรอ่ื งร้องทุกขก์ ับผบู้ ังคับบญั ชา บัญชาในระดบั ท่ีเหนือ ขน้ึ ไป 3.2 ผบู้ งั คับบัญชาจะตอ้ งพจิ ารณาข้อร้องทกุ ข์ ซึง่ คำตอบดงั กล่าวจะเป็นกรณใี ดกรณีหนงึ่ ก็ได้ ดังน้ี 3.2.1 รบั ขอ้ รอ้ งทุกข์พรอ้ มชี้แจงรายละเอียด ในการแกไ้ ขขอ้ ขัดข้องต่างๆ 3.2.2 รบั รอ้ งทุกข์ พร้อมกบั ช้ี แจงเหตุผลในการท่ีไมร่ ับนัน้ 3.2.3 ขอเวลาเพือ่ หาขอ้ เท็จจริง หรอื รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ หรือเสนอ เร่อื งตอ่ ผบู้ ังคับบัญชาระดบั สูงขนึ้ ไป กรณพี นักงานยังไม่พอใจในคำชี้แจงนัน้ ให้พนักงานมีสิทธยิ ืน่ อทุ ธรณเ์ ปน็ ลายลักษณอ์ ักษรตอ่ ผูบ้ งั คบั บญั ชา ระดบั สูงขึ้นไป เพอื่ ร่วมพิจารณาข้อรอ้ งทุกข์ กับผู้บังคับบญั ชาของพนกั งาน หน้า 19

3.3 หากพนักงานยงั ไมพ่ อใจในคำช้ีแจงนนั้ ทางฝ่ายบคุ คลจะนำข้อร้องทุกข์นนั้ เสนอใหแ้ ก่ผูบ้ งั คับบญั ชาระดบั สูงสดุ ของฝ่าย ซง่ึ ผลของการพจิ ารณาวินจิ ฉยั ของผู้บงั คบั บัญชาระดบั สงู สดุ ของฝา่ ยใหเ้ ป็นอนั ส้นิ สุด 3.4 พนกั งานผรู้ ้องทุกข์ จะต้องรอ้ งทกุ ขใ์ นเรอื่ งของตนเท่าน้ัน ห้ามมิใหร้ ้องทุกข์ แทนผอู้ น่ื หรือเร่ืองของผูอ้ ่ืนๆ 3.5 บรษิ ทั ฯ ไม่รบั พจิ ารณาคำร้องทุกข์ท่มี ีลกั ษณะเปน็ บัตรสนเท่ห์ หรือไมม่ ลี ายมอื ชอ่ื ของพนกั งานผรู้ อ้ งทุกข์ ไม่ วา่ กรณีใดๆ ท้ังสนิ้ เพราะว่าทางบริษัทฯไม่ สามารถตรวจสอบข้อเท็จจรงิ 4. ความคุ้มครองผรู้ ้องทกุ ข์และผ้ทู ่เี กยี่ วข้อง บรษิ ัทฯ จะไมเ่ อาผิดแกผ่ ทู้ ่ีร้องทกุ ข์โดยสจุ ริต และไมไ่ ด้กลน่ั แกลง้ ตอ่ ผใู้ ด และพนกั งานอ่นื ๆทใี่ หก้ ารเป็นพยาน ในเรอ่ื งท่รี ้องทุกขน์ ั้น หมวดที่ 8 การเลิกจา้ ง คา่ ชดเชย และคา่ ชดเชยพเิ ศษ 1. การพ้นสภาพจากการเปน็ พนักงาน การพ้นสภาพจากการเปน็ พนักงานของบรษิ ทั ฯ จะเปน็ ไปตามลักษณะตา่ งๆ ดังต่อไปน้ี 1.1 ตาย 1.2 ลาออก พนกั งานผ้ปู ระสงคจ์ ะลาออก ขอความร่วมมือยื่นใบลาออกตามแบบบรษิ ทั ฯ กำหนดลว่ งหนา้ ไม่ น้อยกวา่ 30 วนั ก่อนวนั ท่ีขอพ้นสภาพจากการเป็นพนกั งาน 1.3 บริษทั ฯเลกิ จา้ ง โดยในการเลิกจ้างน้นั ทางบริษัท จะทำการแจ้งพนักงาน โดยการบอกกลา่ วล่วงหน้าเป็น หนังสอื และบอกกล่าวลว่ งหน้าไมน่ อ้ ยกวา่ หน่ึงงวดการจ่ายค่าจ้าง โดยไม่ใช่ในกรณใี ด ตามขอ้ ยกเวน้ ท่ี บริษัทฯ ไมต่ ้องบอกกลา่ วล่วงหนา้ ตามความในข้อ 4 ของหมวดน้ี หรอื ตามมาตรา 119 พระราชบญั ญัติ ค้มุ ครองแรงงาน 1.4 ครบกำหนดตามระยะเวลาสญั ญาจา้ ง 1.5 การเกษยี ณอายุ หรือ ขอเกษยี ณอายกุ อ่ นครบกำหนด 1.5.1 การเกษยี ณอายุ ใหย้ ึดตามทก่ี ฎหมายกำหนด 1.5.2 การขอเกษยี ณอายุกอ่ นครบกำหนด ท้ังนขี้ ึน้ อย่กู บั การพจิ ารณาของทางบริษัทฯ เปน็ บางราย หรือ กรณไี ป (อา้ งอิงตามประกาศบรษิ ทั ) 2. ค่าชดเชย ทางบรษิ ทั ฯ จะจา่ ยเงนิ ค่าชดเชยใหก้ ับพนักงานทเี่ กษยี ณอายุ หรือขอเกษยี นอายุกอ่ นครบกำหนด หรอื ถูกใน กรณีที่บรษิ ัทฯ เลกิ จา้ ง โดยไม่ใช่ในกรณีใด ตามขอ้ ยกเวน้ ท่ีบรษิ ทั ฯ ไมต่ ้องจ่ายค่าชดเชย ตามความในขอ้ 4 ของหมวดนี้ หรอื ตามมาตรา 119 พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน โดยบรษิ ทั ฯจะจา่ ยใหด้ ังต่อไปน้ี 2.1 พนกั งานซึ่งทำงานติดตอ่ กันครบหน่งึ รอ้ ยยสี่ ิบวนั แตไ่ มค่ รบหนงึ่ ปี จา่ ยใหไ้ ม่น้อยว่าคา่ จ้างอตั ราสดุ ท้าย สามสิบวนั หรอื ไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งของการทำงานสามสิบวนั สุดทา้ ยสำหรับพนักงานซง่ึ ได้รบั ค่าจ้างตาม ผลงานโดยคำนวณเปน็ หน่วย 2.2 พนักงานซง่ึ ทำงานตดิ ตอ่ กนั ครบหน่ึงปีแตไ่ ม่ครบสามปี จา่ ยใหไ้ ม่นอ้ ยกว่าคา่ จา้ งอัตราสดุ ทา้ ยเกา้ สบิ วนั หน้า 20

หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจา้ งของการทำงานเก้าสบิ วนั สดุ ท้ายสำหรับพนกั งาน ซ่ึงไดร้ บั ค่าจา้ งตามผลงานโดย คำนวณเปน็ หน่วย 2.3 พนักงานซงึ่ ทำงานติดต่อกนั ครบสามปี แตไ่ มค่ รบหกปีจ่ายใหไ้ มน่ ้อยกว่าค่าจ้างอัตราสดุ ทา้ ย หนง่ึ ร้อย แปดสิบวัน หรือไมน่ อ้ ยกวา่ ค่าจ้างของการทำงานหนึ่งร้อยแปดสิบวันสดุ ทา้ ย สำหรบั พนักงานซงึ่ ได้รบั คา่ จ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหนว่ ย 2.4 พนักงานซึง่ ทำงานตดิ ต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสบิ ปี จ่ายให้ไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างอตั ราสุดท้ายสองรอ้ ยส่ี สบิ วนั หรือไม่น้อยกว่าคา่ จ้างของการทำงานสองรอ้ ยส่ีสิบวันสุดท้ายสำหรบั พนักงานซง่ึ ได้รบั ค่าจา้ งตาม ผลงานโดยคำนวณเป็นหนว่ ย 2.5 พนกั งานซง่ึ ทำงานติดตอ่ กนั ครบสิบปีขึ้นไป จ่ายใหไ้ มน่ ้อยกว่าคา่ จา้ งอัตราสดุ ท้ายสามร้อยวนั หรอื ไม่ น้อยกว่าคา่ จ้างของการทำงานสามรอ้ ยวนั สดุ ทา้ ย สำหรับพนักงานซ่งึ ไดร้ ับคา่ จา้ งตามผลงาน โดยคำนวณ เป็นหน่วย 2.6 ลูกจา้ งซงึ่ ทำงานตดิ ตอ่ กันครบยสี่ บิ ปีข้นึ ไป ให้จา่ ยไม่น้อยกวา่ คา่ จา้ งอัตราสดุ ทา้ ย สีร่ ้อยวัน หรือไม่ นอ้ ยกวา่ ค่าจ้างของการทำงานสีร่ ้อยวันสดุ ทา้ ย สำหรบั ลูกจา้ งซงึ่ ไดร้ บั ค่าจา้ งตามผลงาน โดยคำนวณ เป็นหนว่ ย การเปลย่ี นแปลงอตั ราการจ่ายเงินค่าชดเชยข้างต้นนี้ ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ และข้อกำหนด ในกฏกระทรวงแรงงานและสวัสดกิ ารสงั คม หรอื กฏหมายอืน่ ท่ีเกยี่ วข้อง 3. คา่ ชดเชยพิเศษ 3.1 กรณบี รษิ ัทฯยา้ ยสถานประกอบกจิ การไปตง้ั ณ สถานท่ีอนื่ อนั มผี ลกระทบสำคญั ต่อการดำรงชวี ิตตามปกติ ของพนกั งานหรอื ครอบครัว บรษิ ทั ฯจะแจง้ ให้พนักงานทราบลว่ งหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 30 วนั ก่อนวันยา้ ยสถาน ประกอบกจิ การ ในการนี้ ถ้าพนักงาน ไมป่ ระสงคจ์ ะไปทำงานดว้ ย มีสทิ ธิบอกเลิกสญั ญาจ้างไดโ้ ดยมสี ทิ ธิ ไดร้ บั ค่าชดเชยพิเศษ ไมน่ อ้ ยกว่า อัตราค่าชดเชยท่ีพนักงานพงึ มสี ิทธิได้รับตามข้อ 2 ถ้าบริษทั ฯ ไม่แจง้ ให้ทราบลว่ งหน้า บริษทั ฯ จะจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าเท่ากับ คา่ จา้ งอตั ราสดุ ท้าย 30 วัน หรือเท่ากับคา่ จ้างของการทำงาน 30 วันสุดท้ายสำหรบั พนกั งาน ซึง่ ได้รับ คา่ จ้างตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หนว่ ย 3.2 กรณบี ริษทั ฯ จะเลกิ จ้างพนกั งาน เพราะเหตุปรับปรุงหนว่ ยงานกระบวนการผลติ การจำหนา่ ย หรือการ บรกิ าร อนั เนือ่ งมาจากการนำเคร่อื งจักรมาใช้ หรือเปล่ยี นแปลงเครื่องจกั รหรอื เทคโนโลยี่ ซง่ึ เป็นเหตใุ ห้ ต้องลดจำนวนพนกั งานลง บริษัทฯ จะแจ้งวันทีจ่ ะเลกิ จ้าง เหตผุ ล และรายชื่อพนกั งานทจ่ี ะเลิกจา้ งใหพ้ นกั งาน (และพนกั งาน ตรววจ แรงงาน) ทราบลว่ งหน้าไมน่ ้อยกว่า60 วัน ก่อนวนั ทจ่ี ะเลกิ จา้ ง และจา่ ยคา่ ชดเชยเมอ่ื เลิกจา้ งให้ พนักงาน ตามข้อท่ี 2 หน้า 21

ถ้าไมแ่ จ้งหรอื แจ้งลว่ งหน้าน้อยกว่า 60 วนั บริษทั ฯจะจ่ายค่าชดเชยพเิ ศษแทนการบอกกลา่ ว ลว่ งหน้าให้ดว้ ย เท่ากบั คา่ จ้างอตั ราสดุ ทา้ ย 60 วัน หรอื เทา่ กบั คา่ จา้ งของการทำงาน 60 วันสดุ ท้าย สำหรับพนักงานซึ่งได้รบั ค่าจ้าง ตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หนว่ ย เฉพาะพนกั งานทท่ี ำงานตดิ ตอ่ กันเกนิ 6 ปขี ้นึ ไป บรษิ ัทฯจะจ่ายค่าชดเชยพิเศษใหอ้ ีกต่างหาก สำหรบั การ ทำงานทเี่ กนิ 6 ปี เท่ากับค่าจ้างอัตราสดุ ท้ายปลี ะ 15 วนั ตามจำนวนปีที่เกนิ รวมแลว้ ไม่เกนิ คา่ จ้างอัตราสดุ ทา้ ย 360 วันหรือเทา่ กบั คา่ จ้างของการทำงาน15 วนั สุดทา้ ยปีละ15วนั ตามจำนวนปที เี่ กนิ รวมแล้วไมเ่ กนิ ค่าจา้ งของการ ทำงาน 360 วนั สุดท้าย สำหรับพนักงานซึ่งไดร้ บั ค่าจ้างตามผลงาน โดยคำนวณเปน็ หนว่ ย เศษของปีถา้ มากกวา่ 180 วัน นบั เปน็ 1 ปี 4. ขอ้ ยกเวน้ ในการไมจ่ า่ ยเงนิ ชดเชย บรษิ ทั ฯ จะไม่จ่ายเงนิ คา่ ชดเชย ใหก้ ับพนกั งานที่มกี ำหนดระยะเวลาการจา้ งไว้แนน่ อน และสญั ญาจา้ งพิเศษ ซึง่ บริษทั ฯ ไดเ้ ลกิ จา้ งตามกำหนดระยะเวลานั้น หรือกรณที ่ีพนกั งานถกู เลกิ จา้ งโดยมสี าเหตุ มาจากกรณใี ดหรือหลาย กรณีรวมกนั ดังกล่าว และไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหนา้ ตอ่ ไปนี้ (ตามมาตรา 119 พระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน) 4.1 ทุจริตตอ่ หนา้ ทีห่ รือกระทำความผดิ อาญาโดยเจตนาแก่บริษัทฯ หรอื นายจา้ ง 4.2 จงใจทำใหบ้ ริษทั ฯ หรือนายจ้างไดร้ บั ความเสยี หาย 4.3 ประมาทเลินเล่อเปน็ เหตุให้บริษัทฯ หรือนายจ้างได้รบั ความเสยี หายอย่างร้ายแรง 4.4 ฝ่าฝืนระเบยี บขอ้ บงั คับเก่ยี วกบั ทำงานหรอื ระเบียบหรอื คำสง่ั ของบรษิ ัทฯหรือผบู้ งั คับบญั ชาหรอื นายจา้ ง อันชอบดว้ ยกฏหมายและเปน็ ธรรมและบริษทั ฯ หรอื ผ้บู ังคับบัญชาหรือนายจา้ งได้ตักเตือนเปน็ หนังสอื แลว้ โดยหนงั สอื เตือนมผี ลบงั คบั ไม่เกนิ 1ปี นับแต่วนั ท่พี นกั งานกระทำความผดิ เว้นแต่กรณที ีร่ า้ ยแรง บริษทั ฯ ไม่จำเป็นต้องตักเตอื น 4.5 ละทิง้ หน้าทีเ่ ปน็ เวลาสามวันทำงานติดต่อกนั ไม่ว่า จะมีวนั หยดุ คนั่ หรือไม่กต็ ามโดยไมม่ เี หตุอันสมควร 4.6 ได้รับโทษจำคกุ ตามคำพิพากษาถงึ ที่สุดให้จำคกุ เวน้ แต่เป็นโทษสำหรับความผดิ ทไี่ ดก้ ระทำโดยประมาท หรอื ความผดิ ลหุโทษ ประกาศ ณ วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2565 ( นายชยั รตั น์ ทีฆเสนยี ์) ผู้จดั การท่วั ไป บรษิ ทั อดัมแพค (ประเทศไทย) จำกดั หนา้ 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook