Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 0-3783584491_20210703_141018_0000

0-3783584491_20210703_141018_0000

Description: 0-3783584491_20210703_141018_0000

Search

Read the Text Version

ค ว า ม รู้ ทั ว ไ ป เ กี ย ว กั บ ห้ อ ง ส มุ ด

ความหมาย คาํ ว่า “ห้องสมุด” บัญญัติมาจากคาํ ว่า Library มาจากภาษาละตินว่า Liberia หมายถึง ทีเก็บหนังสือ โดยมีรากศัพท์เดิมว่า “Liber” ซึงหมายความว่า หนังสือ ห้องสมุด หมายถึง สถานทีรวบรวมทรัพยากรสารสนเทศเอาไว้ในรูปแบบต่าง ๆ ทังทีเปน วัสดุตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เพือให้ผู้ใช้สืบค้นและเข้าถึงสารสนเทศได้ มากขึนอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า โดยมีการคัดเลือก จัดหาให้สอดคล้องกับความ ต้องการ ความสนใจขอผู้ใช้ มีการจัดทีเปนระบบโดยมีบรรณารักษ์วิชาชีพ ซึงมีความรู้ทาง บรรณารักษศาสตร์ เปนผู้บริหารและดําเนินการจัดให้อย่างมีระบบ

วัตถปุ ระสงค์ 1 เพือการศกึ ษา (Education) ห้องสมุดเปนแหลง่ 4 เพอื ความจรรโลงใจ (INSPIRATION) บริการการศกึ ษาด้วยตนเอง บริการได้ทุกเพศ วสั ดอุ ปุ กรณห์ นงั สอื ในหอ้ งสมดุ ชว่ ยให้ ทกุ วยั ไม่แบ่งชนั วรรณะ หรอื พืนความรู้ เปน ผใู้ ชบ้ รกิ าร เกดิ ความสขุ ใจ เกดิ ความ ตลาดวิชา ซาบซงึ และประทบั ใจวรรณกรรมสาขา ตา่ ง ๆ ทผี รู้ เู้ ขยี นขนึ และนําขอ้ คดิ 2 เพือความรู้ (Information) หอ้ งสมุดเปนแหล่ง คาํ คม คตสิ อนใจตา่ ง ๆ ในวรรณกรรม ทีใหค้ วามรู้ และข้อเท็จจรงิ ของขา่ ว ทังใน นนั ๆ มาปฏบิ ตั ใิ นทางทดี ี ประเทศและต่างประเทศทที ันต่อเหตกุ ารณ์ 5 เพือการพักผอ่ นหย่อนใจ (Recreation) มี เพอื การค้นคว้าวจิ ัย (Research) ห้องสมุดเปน การจดั บรรยากาศภายในห้องสมดุ ให้ สวยงาม เพือเปนแหล่งพกั ใจใหค้ ลาย 3 แหลง่ ช่วยใหผ้ ูอ้ า่ นทสี นใจในวิชาการแขนงใดแขนง กงั วล มีหนงั สือประเภทบันเทิงคดี สารคดี หนึง สามารถค้นหาขอ้ มูลทางวิชาการใหม่ ๆ ทเี ปน ทอ่ งเทียว เปนตน้ เครืองมอื สาํ คญั ในการพฒั นาสังคมใหก้ ้าวหนา้ ต่อ ไป

ความสําคัญของหอ้ งสมดุ ประโยชน์ 1 4หอ้ งสมดุ เปนแหลง่ รวบรวมขอ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ หอ้ งสมุดชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความคดิ รเิ รมิ และวชิ าการตา่ ง ๆ ทนี กั ศกึ ษาสามารถคน้ ควา้ สรา้ งสรรค์ เกิดนิสยั รักการอ่าน และการศึกษา หาความรเู้ พมิ เตมิ ไดต้ ลอดเวลา คน้ ควา้ ด้วยตนเอง เกดิ ความรอู้ ันเปนรากฐาน ในการคน้ ควา้ วจิ ัยสร้างสรรค์สิงใหม่ ๆ 2 หอ้ งสมดุ เปนแหลง่ ทนี กั ศกึ ษาสามารถเลอื ก 5 หอ้ งสมดุ ชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ ความคดิ หาความรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ไดอ้ ยา่ งหลากหลาย รเิ รมิ สรา้ งสรรค์ เกดิ นิสยั รกั การอา่ น และ ตามความสนใจและความตอ้ งการของตนเอง การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง เกดิ ความรู้ อนั เปนรากฐานในการคน้ ควา้ วจิ ยั 3 หอ้ งสมดุ ชว่ ยใหน้ กั ศกึ ษาเปนผทู้ ที นั สมยั ทนั ตอ่ สรา้ งสรรคส์ งิ ใหม่ ๆ เหตกุ ารณ์ เนืองจากขอ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ และ วชิ าการตา่ ง ๆ เกดิ ขนึ ใหมต่ ลอดเวลา

ระเบียบมารยาทในการใช้หอ้ งสมดุ 1.ตอ้ งแต่งกายสุภาพ 2.ต้องฝากกระเปา สิงของ หรอื สัมภาระไว้ที ทจี ัดเตรยี มไว้ (ยกเวน้ ของมีคา่ ) 3.ไมพ่ ูดคยุ เสยี งดงั 4.ไมส่ ูบบุหรี 5.ปดเสยี งเครืองมอื สือสารทุกชนิด กอ่ นเขา้ ศนู ย์บรรณสารและสอื การศึกษา 6.ไม่ใชส้ มดุ หนังสือ หรอื สงิ ของวางจองทนี ัง 7.ไม่นําอาหาร ขนมและเครืองดมื เข้ามารับประทานในศูนยบ์ รรณสารและสอื การศกึ ษา 8.ไม่นําสตั ว์เลยี งทกุ ชนิดเขา้ ศูนย์บรรณสารและสือการศกึ ษา 9.ไม่เลน่ การพนนั และเกมสใ์ นศูนยบ์ รรณสารและสือการศึกษา 10.ไมฉ่ ีก กรดี หรือขดี เขียนหนังสอื เอกสาร และสิงพมิ พ์ทกุ ชนิดของศนู ยบ์ รรณสารและสอื การศกึ ษา

ประเภทของหอ้ งสมุด 1 หอสมุดแห่งชาติ นบั เปนห้องสมุดทีใหญ่ทสี ุดในประเทศ 4 ห้องสมุดโรงเรยี นเปนห้องสมดุ ทีตงั อยูใ่ นโรงเรียนมัธยม และ ดําเนิน การโดยรัฐบาลหนา้ ทีหลกั คอื รวบรวมหนังสอื สงิ พมิ พ์ โรงเรียนประถมศกึ ษา มีหนา้ ทีส่งเสรมิ การเรยี นการสอนตาม และสือความรู้ ทกุ กอยา่ งทีผลติ ขึนในประเทศ และทุกอยา่ งที หลกั สตู รโดย การรวบรวมหนังสือและสือความรู้อนื ๆ ตาม เกียวกับประเทศ ไม่วา่ จะจัดพิมพ์ ในประเทศใด ภาษาใด รายวชิ า แนะนําสังสอนการใช้ หอ้ งสมดุ แก่นกั เรยี น 2 ห้องสมุดประชาชน เปนห้องสมดุ ทีใหบ้ รกิ ารทรพั ยากร หอ้ งสมดุ เฉพาะ คือห้องสมุดซึงรวบรวมหนังสอื ในสาขาวชิ า สารสนเทศแก่ประชาชนในทอ้ งถินโดยไมจ่ าํ กดั วยั ระดบั ความ รู้ เชือชาติและศาสนา เพือใหส้ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของ 5 บาง สาขาโดยเฉพาะ มักเปนส่วนหนึงของหน่วยราชการ ชุมชนแต่ละแห่ง เปนการสง่ เสริมการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง องคก์ าร บรษิ ัทเอกชน หรือธนาคาร ทําหนา้ ทีจดั หาหนังสือ ตลอดชีวติ ของประชาชนในชุมชน และใหบ้ ริการความรู้ ข้อมูล และข่าวสาร เฉพาะเรืองที เกยี วข้องกับการดาํ เนินงานของหน่วยงานนัน ๆ 3 ห้องสมุดมหาวิทยาลัย เปนห้องสมุดของสถาบันอดุ มศกึ ษา ใหบ้ ริการ ทางวชิ าการแกน่ ิสติ นักศึกษา และอาจารย์ เพือใชป้ ระกอบการเรยี น การสอนและการค้นคว้าวจิ ยั ทรพั ยากรสารสนเทศทกุ ประเภทที รวบรวมไว้ในห้องสมุดมหาวิทยาลยั มีความทนั สมยั และสอดคล้องกบั หลักสตู รการสอน การวจิ ยั และกิจกรรมต่างๆ ของแตล่ ะสถาบนั

แหล่งเรียนรอู้ ืนๆ แหล่งข้อมูลขา่ วสาร สารสนเทศ และประสบการณ์ ทีสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนใฝเรยี น ใฝรแู้ สวงหาความรู้และเรยี นรูด้ ้วยตนเองตามอัธยาศยั อย่างกวา้ ง ขวางและตอ่ เนือง เพอื เสริมสรา้ งใหผ้ ู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ และเปนบุคคลแห่งการเรยี นรู้ ประเภทของแหลง่ เรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ จาํ แนกตามลักษณะทตี งั ได้ ดงั นี 1. แหลง่ เรียนรู้ในโรงเรียน 2. แหล่งเรียนรูใ้ นทอ้ งถนิ

ทรพั ยากรสารสนเทศในหอ้ งสมุด วัสดุสารสนเทศในหอ้ งสมุด สามารถแบ่ง 3 ประเภท คือ สอื สิงพมิ พ์ (Printed Materials) สือโสตทศั น์ (Audiovisual Materials) และสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Materials) 1. สือสงิ พมิ พ์ (Printed Materials) แบ่งยอ่ ย ๆได้ดังต่อไปนี 1.1 หนงั สอื (Books) 2.2) เรืองสัน (Short Story) 2.3) หนังสือสาํ หรับเดก็ และเยาวชน (Juvenile Books) 1.4 จลุ สาร(Pamphlets) 1.5 กฤตภาค (Clipping)

ทรพั ยากรสารสนเทศในห้องสมุด 2 สอื โสตทศั นว์ สั ดุ (Audiovisual Material) เปนวสั ดทุ ีถา่ ยทอดสารสนเทศดว้ ยวิธีการพเิ ศษไปจาก การสือสิงพิมพ์ ส่วนใหญ่ตอ้ งใช้เครือมอื หรอื อุปกรณเ์ ปนพิเศษ ตามวัสดุแต่ละชนิด ตอ้ งใช้วิธีการสลับ ชับช้อนในการถา่ ยทอดสารสนเทศ เชน่ 2.1 รูปภาพ (Picture) 2.2 วสั ดกุ ราฟิก (Graphic Material) 2.3 วัสดุแผนท่ี (Cartographic Material) 2.4 สไลด (Slide) 2.5 ฟิลมสตรปิ (Filmstrips) 2.6 ภาพยนตร (Motion Picture) 2.7 วสั ดุบันทกึ เสียงและภาพ (Sound and Picture Recordings) 2.8 หนุ จาํ ลอง (Models) 2.9 ของตวั อยา ง (Specimens) 2.10 วสั ดยุ อ สวน (Microforms)

ทรัพยากรสารสนเทศในหอ้ งสมดุ 3. สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic Materials) เปนวัสดสุ ารสนเทศทีจดั เก็บสารสนเทศในรปู อกั ษร ภาพ และเสียงไว้ โดยการแปลงสารสนเทศให้เปนสญั ญาณอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึงจะต้องมีเครืองมอื สาํ หรับ จัดเก็บและแสดงผลออกมา โดยการแปลงสัญญาณอเิ ล็กทรอนิกสใ์ ห้เปนสญั ญาณภาพและเสียงอกี ครงั หนึง 3.1 เทปแม่เหลก็ (Magnetic Tape) 3.2 จานแม่เหล็ก/แผน่ ดิสเกต็ (diskettes) 3.3 แผน่ จานแสง (optical disc) 3.4 ฐานข้อมลู สําเร็จรูป ซดี -ี รอม (compact Disc-Read Only Memory Database) 3.5 ฐานข้อมูลบตั รรายการออนไลน์ (OPAC : Online Public Access Catalog Database 3.6 ฐานข้อมูลออนไลน์ (Online Database) 3.7 อนิ เทอร์เนต็ (Internet)

*การจัดหมวดหมู่ L.C. * *การจัดหม่หู นังสอื ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมรกิ ัน (Library of Congress Classification) หมวดใหญ่ (Classes) หรอื การแบ่งครงั ที 1 แบง่ สรรพวิชาออกเปน 20 *หมวด โดยใช้ตัวอักษรโรมัน A – Z เปนสัญลกั ษณแ์ ทนเนือหาของหนงั สือ * A ความรู้ทัวไป N ศิลปกรรม B รวมเรืองปรัชญา ประวัติ และระบบ P ภาษาและวรรณคดี C ประวตั ศิ าสตรท์ ัวไป Q วทิ ยาศาสตร์ D ประวัติศาสตร์ยกเว้นประเทศสหรฐั อเมรกิ า R แพทย์ศาสตร์ E-F ประวัตศิ าสตร์สหรัฐอเมริกา G ภมู ิศาสตร์ มานษุ ยวิทยา S เกษตรศาสตร์ พืช และสตั ว์ และอุตสาหกรรม H สังคมศาสตร์ทวั ไป J รัฐศาสตร์ เกยี วข้อง * K กฎหมายทัวไป (Law (General) L การศกึ ษา T เทคโนโลยี M ดนตรี U การทหาร กองทพั N ศลิ ปกรรม V การทหารเรอื Z บรรณานกุ รมและบรรณารักษศาสตร์

การจัดหมวดหมู่ D.C. การจัดหมวดหมู่หนงั สือระบบทศนิยมของดิวอี (Dewey Decimal Classification) sinv ระบบ D.C. หรอื D.D.C. หมวดใหญ่ (Classes) หรือการแบ่งครังที 1 คือ การแบง่ ความรู้ตา่ ง ๆ ออกเปน 10 หมวดใหญ่ โดยใชต้ วั เลขหลกั รอ้ ยเปนสญั ลักษณ์ ดังตอ่ ไปนี หมวด 000 เบ็ดเตลด็ ความร้ทู วั ไป บรรณารักษศาสตร์ หมวด 100 ปรชั ญา จติ วิทยา หมวด 200 ศาสนา หมวด 300 สังคมศาสตร์ หมวด 400 ภาษาศาสตร์ หมวด 500 วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หมวด 600 เทคโนโลยี หรือวิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ หมวด 700 ศิลปกรรม และนนั ทนาการ หมวด 800 วรรณคดี หมวด 900 ภูมิศาสตร์และประวัตศิ าสตร์

เลขเรียกหนงั สือ เลขเรยี กหนงั สือ (Call Number) คอื สญั ลกั ษณท์ ีกําหนดขนึ เพือใช้ในการคน้ หาหนังสือ บน ชัน เลขเรียกหนงั สือจะประกอบด้วย เลขหม่หู นังสือ (Classification Number) และตัว อกั ษร ตวั แรกของชือผแู้ ต่งชาวไทย ถา้ เปนหนังสอื ภาษาตา่ งประเทศใชอ้ ักษรตวั แรกของ นามสกุล ผู้แตง่ โดยอกั ษรตวั แรกใชต้ ัวพมิ พใ์ หญ่ ผสมกบั เลขกาํ กับอักษรผูแ้ ตง่ และอกั ษร ตวั แรกของชือเรอื งหรอื ชอื เรืองแบบฉบบั ทเี ปนรายการหลัก เลขเรยี กหนงั สือประกอบด้วยสว่ นสาํ คัญ ๆ 3 ส่วนคอื 1. เลขหม่หู นังสอื (Classification Number) 2. เลขผู้แตง่ (Author Number, Book Number) 3. อักษรชอื เรือง (Workmark)

การจัดเกบ็ หนงั สอื ขนึ ชนั 1 จัดแยกประเภทของหนงั สอื เช่น หนังสอื ทัวไปหมวด A – Z ชนั 3 , ชนั 4 , ชัน 5 (ภาษาไทย / ภาษาองั กฤษ) หนังสืออ้างองิ ชนั 3 , ชัน 4 , ชนั 5 (ภาษาไทย / ภาษาอังกฤษ) งานวิจยั (ภาษาไทย / ภาษาอังกฤษ) วทิ ยานิพนธ์ (ภาษาไทย / ภาษาอังกฤษ) ภาคนิพนธ์ (ภาษาไทย / ภาษาองั กฤษ) นวนิยาย เรืองสนั หนงั สือมมุ ตา่ งๆ เชน่ มุมพุทธทาสภกิ ขุ มุมคณุ ธรรม มุม สสส.

2. จัดเรยี งตามลาํ ดบั ตวั อกั ษรของเลขเรยี กหนงั สือ การจดั เรยี งจะทําการเรยี งจากเลขนอ้ ยไปหาเลขมาก เรียงจากซ้ายไปขวา และเรยี งจากชนั บนลงชนั ล่าง โดยดูจากเลขเรยี กหนงั สือทีสันหนงั สือ น.ส ปนดั ดา นาคสุกเอยี ม เลนที 30 ม.6/10


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook