บทที่ ๑ ความรพู้ ืน้ ฐานเกย่ี วกบั งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา วตั ถปุ ระสงค์การเรียนประจําบท เมือ่ ไดศ้ ึกษาเนื้อหาในบทนแี้ ล้ว ผู้ศกึ ษาสามารถ ๑. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ทวศี กั ดิ์ ทองทิพย์ อธบิ ายความรู้พ้ืนฐานเกย่ี วกับงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนาได้ ๒. บอกความรู้พื้นฐานเกยี่ วกับวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาได้ ๓. วเิ คราะหว์ รรณกรรมทางพระพุทธศาสนาได้ ๔. บอก งานวิจัยทางพระพุทธศาสนาท่ีน่าสนใจได้ ขอบข่ายเน้ือหา ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกับงานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา • งานวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนาที่สําคญั • งานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาทสี่ าํ คัญ • ความรู้พน้ื ฐานเกย่ี วกับวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา • การวิเคราะห์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
๑.๑ ความนํา มนุษย์เป็นสัตว์ท่ีมีความแตกต่างจากสัตวอ์ ่นื ๆ ตรงทร่ี จู้ ักใช้เหตผุ ล ดงั น้นั เมอ่ื เรานิยาม คําวา่ มนุษย์เราจงึ ให้คาํ นยิ ามวา่ “มนษุ ยค์ ือสตั ว์ทรี่ จู้ ักใชเ้ หตผุ ล” ซง่ึ หมายความว่าความมีเหตผุ ลน้ีทําใหม้ นุษย์ มีความแตกตา่ งไปจากสัตวป์ ระเภทอื่น ๆ ความมี เหตผุ ลดังกล่าวจึงเกดิ ววิ ัฒนาการมาพรอ้ ม ๆ กบั การ แสวงหาความร้คู วามจรงิ ของมนษุ ย์ เราอาจจะจดั ลาํ ดับการแสวงหาความรู้ ความจรงิ ของมนุษย์ได้ว่า ยคุ ดกึ ดําบรรพ์ มนุษยเ์ ราแสวงหาความรูโ้ ดยอาศยั ประสบการณ์ เช่น การจับไฟ แล้วรวู้ ่าไฟร้อน จาก ประสบการณน์ ี้ก็ทาํ ให้เกิดความรใู้ หมข่ น้ึ แลว้ มนุษย์ก็ไมก่ ล้าจบั ไฟอกี ประสบการณต์ า่ ง ๆ กอ่ ให้ เกิดองคค์ วามรู้ใหม่แกม่ นษุ ย์ มากมาย และความรู้ ท่ีได้รบั จากประสบการณด์ ังกลา่ วซึ่งมีแหลง่ ทีม่ า แตกต่างกัน เมื่อสง่ั สมประสบการณ์ได้มากข้นึ ก็เริ่มสรุป ไดว้ า่ แหล่งท่มี าของความรู้แตล่ ะอยา่ งจะหา ไดอ้ ย่างไรและมีอยู่อยา่ งไร เมื่อต้องการความรู้ความจริงอยา่ งน้ัน ๆ อีก มนุษยก์ ็ สามารถไปแสวงหา ความรคู้ วามจรงิ จากแหลง่ ความร้ดู งั กลา่ วนั้นไดอ้ ีก ในขนั้ นีม้ นุษย์ได้พฒั นาการมาเป็นข้ันของการ แสวงหา ความรู้ความจรงิ จากแหลง่ ความรู้ คือรู้ว่าความรู้ความจรงิ แต่ละประเภทนน้ั จะแสวงหาได้จาก แหล่งใดบ้าง แหลง่ ความร้นู ีม้ อี ยู่ ทง้ั ในธรรมชาติและมอี ยู่ในตวั มนุษยเ์ องดว้ ย คือในธรรมชาติมีแหล่ง ใหม้ นุษย์ได้เรยี นร้มู ากมาย และมนษุ ย์นั้นถา้ หากได้สงั่ สม ประสบการณ์ดา้ นใดด้านหนึ่งเอาไว้ไดม้ าก ๆ จนกลายเป็นความเชีย่ วชาญในด้านน้นั ๆ ก็กลายเปน็ แหล่งความรู้ไปโดยปรยิ าย เชน่ หากอยากรู้ ในเร่ืองของยา ก็ไปหาเภสัชกร อยากรูเ้ รื่องพระพทุ ธศาสนาก็ไปหาพระสงฆ์หรอื ผู้มปี ระสบการณ์ ทรงคณุ ความรทู้ างด้านพระพุทธศาสนา เปน็ ต้น การแสวงหาความร้คู วามจริงในยุคดกึ ดําบรรพน์ ้ี ยงั เป็นความรทู้ ่ยี งั ไม่ไดจ้ ัดระบบท่ีแนน่ อน ซ่ึงความรู้ท่ีไดม้ าจึงอาจจะกอ่ ให้เกดิ ความผดิ พลาดได้งา่ ย ต่อมาใน ยุคกรกี โบราณ กล่มุ ของอริสโตเตลิ (Aristotle) ไดค้ น้ พบวิธีการแสวงหาความร้ใู หม่อีกแบบหนึ่ง คือแทนท่ีจะอาศัยความร้จู ากประสบการณ์ หรือจากแหลง่ ความรู้เหมือนกับท่ีใช้ในยคุ ดึกดาํ บรรพ์ได้ กห็ ันมาอาศยั การใชเ้ หตผุ ล ของตนเองเป็นหลัก ในการแสวงหาความความจริงแทน ซ่ึงกรณนี ้ี ลว้ นสายยศ และอังคณา สายยศ ได้กล่าวว่า การแสวงหา ความรู้แบบนี้ก็คอื การแยกป๎ญหาออกเปน็ วงกว้างและวงแคบแล้วลงสรุป วิธกี ารนี้เรียกว่าวธิ กี ารนริ นัย (Deductive) การนิรนัย จึงเป็นการเร่มิ จากเหตหุ รือข้อเทจ็ จรงิ ใหญ่ (Major premise) กอ่ นแล้วมเี หตุ หรือข้อเทจ็ จริงยอ่ ย (Minor premise) ทัง้ สอง เหตุหรือข้อเทจ็ จริงนจี้ ะตอ้ งเปน็ จริงดว้ ย จงึ จะลงสรุป (Conclusion) ได้ขอ้ เทจ็ ทเ่ี ป็นจริงและมีความสมเหตสุ มผล อริสโตเตลิ เรยี กการหาเหตุผลอย่างนี้ว่า ความรูพ้ ื้นฐานเก่ียวกบั งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา Syllogism” เชน่ เราเห็นสีขาวทุกชนิดสะท้อนแสง เราเห็นหิมะมสี ขี าว เรากล็ งสรปุ วา่ หิมะสะทอ้ นแสง วธิ ีการแสวงหาความรู้ ความจริงแบบน้ีมจี ุดแขง็ ตรงทแ่ี ทบจะไม่มีโอกาสผิดพลาดได้เลยถ้าทําให้ถูกตอ้ ง ตามกฎเกณฑ์ แตม่ ีจดุ อ่อนอย่ทู ีว่ า่ ก่อให้เกิด ความรใู้ หม่ได้น้อย เพราะขอ้ สรปุ ท่ีได้ ที่เราถอื ว่า เปน็ องค์ความร้ใู หมน่ น้ั มันได้ปรากฏอยู่ในข้อเสนอทง้ั สองนน้ั แล้ว ต่อมา ฟราน ซสิ เบคอน (Francis Bacon) ได้มองเห็นจดุ อ่อนของวธิ กี ารแบบนิรนยั จึงได้นาํ เสนอวิธีการแสวงหาความรู้ความจริงแบบ ใหม่ ซึ่งเปน็ วิธยี ้อนกลับของวธิ ีแบบนิรนัย เรียกวธิ นี วี้ า่ วิธีการอุปนัย (Inductive) คือ เป็นการแสวงหา ความรคู้ วามจรงิ ที่ดาํ เนนิ การ จากเหตผุ ลส่วนยอ่ ยเพ่ือไปสรุปส่วนใหญ่ เช่น เม่ือเรานํานํา้ ธรรมชาตทิ ั่วไป มาตม้ ในความสูงระดบั น้าํ ทะเลทุกคร้ังทอ่ี ุณหภมู ิ 4 ๑๐๐ องศา C แล้วนาํ้ เดือด เรากส็ รปุ วา่ จดุ เดอื ดของ น้าํ ธรรมชาตทิ ่วั ไป เม่ือความสูงระดับนา้ํ ทะเลอย่ทู ่ีอุณหภมู ิ ๑๐๐ องศา C เปน็ ต้น วธิ กี ารแสวงหาความ รู้ความจรงิ แบบน้ี จะมจี ดุ แข็งถ้าหากเราสามารถเกบ็ รวบรวมข้อมูลไดท้ ุกหน่วยและข้อมลู ที่เก็บมา ไดน้ นั้ เปน็ ตวั แทนที่ดี เรียกว่าอปุ นยั สมบูรณ์ (Perfect inductive) แต่มีจุดอ่อนอยทู่ ี่อาจก่อให้เกิด ความผดิ พลาดไดใ้ นกรณที ี่ เปน็ การอุปนยั ไมส่ มบรู ณ์ (Imperfect inductive) คอื เกบ็ ขอ้ มูลมาเพียง บางสว่ น เชน่ การส่มุ เอามาเปน็ ตวั อย่างเพยี งบางสว่ น ไมไ่ ด้เก็บมาทกุ หน่วย ต่อมาใน พทุ ธศตวรรษ ท่ี ๒๔ ชารล์ ส์ ดารว์ นิ (Charles Darwin) และนกั วิทยาศาสตรค์ นอืน่ ๆ ไดค้ ิด วธิ ีการแสวงหาความรู้ ความจริงอีกแบบหนึง่ วิธีนีก้ ็มีพื้นฐานมาจากวธิ ีการแบบนิรนยั และอปุ นยั นนั้ เอง เรียกวา่ วิธกี ารทาง
วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) ซง่ึ เป็นวธิ กี ารแสวงหาความรู้เปน็ ท่ยี อมรบั ในป๎จจบุ ัน มวี ธิ ีการ ท่เี ปน็ แบบแผนแน่นอน ทาํ ใหไ้ ดค้ วามรู้และข้อสรุปที่น่าเช่อื ถอื ซง่ึ ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ ไดก้ ลา่ วว่า เป็นวธิ สี บื แสวงหาความรู้สมยั ใหม่ และยัง เปน็ ทนี่ ิยมใช้กันอยู่อย่างมากในป๎จจุบนั แตถ่ ้า เราทราบแนวโนม้ ของการคน้ คดิ ความจรงิ ว่าเป็นอนิจจัง วิธีการทางวทิ ยาศาสตรก์ ็ มใิ ชว่ า่ จะยนื ยงอยู่ ตลอดไป สักวันหน่งึ คนรนุ่ หลงั กจ็ ะพูดว่าวธิ ีการนีเ้ ปน็ วธิ ีการคิดแบบโบราณอีก วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ ดงั กลา่ ว มีอยู่ ๕ ข้นั ตอน คือ ข้นั กาํ หนดปญ๎ หา (Identifying the problem) ขน้ั ต้งั สมมติฐาน (Setting Hypothesis) ขนั้ เก็บ รวบรวมข้อมูล (Collecting Data) ขนั้ วิเคราะห์ข้อมลู (Analyzing Data) และ ข้ันสรุปผล (Drawing Conclusion) การวจิ ัยใน ปจ๎ จุบันเป็นกระบวนการค้นคว้าหาขอ้ เทจ็ จรงิ ท่มี ีระบบ ระเบียบและมีจุดมุ่งหมายที่แนน่ อน โดยใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ น่นั เอง ในการแสวงหาทิศทางและแนวความคดิ ใหม่ ๆ เพ่ือแก้ป๎ญหาของโลก คนหรือป๎ญญาชน พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) ได้ กลา่ ววา่ ในประเทศท่พี ฒั นาแล้วจาํ นวนหน่ึง กไ็ ด้หนั มาสนใจพระ พุทธศาสนา ฉะนัน้ จุดทเ่ี ราจะทาํ วิจัยทางพระพทุ ธศาสนา จงึ มี ๒ ดา้ น คอื ด้านที่ ๑ คือการศึกษาพระพุทธศาสนาเพ่ือความเขา้ ใจสังคมไทย และเพื่อประโยชนข์ องสังคม ไทยในดา้ นนี้ แง่ท่ี ๑ คอื ศึกษา พระพุทธศาสนาในฐานะทีเ่ ป็นรากฐาน และเปน็ องค์ประกอบของสงั คม และวัฒนธรรมไทย คือ ศึกษาในแง่ทว่ี า่ พระพทุ ธศาสนาได้มีอทิ ธพิ ลอะไรต่อสงั คมไทย และมบี ทบาท อย่างไรในสงั คมไทย เม่ือเข้ามาในสังคมไทยแลว้ มคี วามเป็นไป อย่างไร ท้งั ในทางเจริญและทางเสอื่ ม แง่ท่ี ๒ ศกึ ษาในแง่ท่ีว่า พระพุทธศาสนาเองเม่ือเข้ามาสสู่ งั คมไทยแลว้ องค์ประกอบอืน่ ๆ ในสังคมไทย ได้แปรเปลีย่ นพระพทุ ธศาสนาไปอย่างไร ไม่ใชว่ า่ พระพุทธศาสนามาทําต่อสังคมไทยเทา่ นนั้ สงั คมไทย ก็ไดท้ าํ กับ พระพุทธศาสนาดว้ ย เพราะฉะน้นั พระพุทธศาสนาท่ปี รากฏในสงั คมไทยจงึ ไม่จาํ เปน็ ต้องเปน็ พระพทุ ธศาสนาอย่างเดิมท้ังหมด แต่เปน็ พระพุทธศาสนาแบบคนไทยตคี วาม หรอื พระพุทธศาสนาใน แง่ที่คนไทยชอบนํามาใช้ และพระพุทธศาสนาในแงท่ ี่ กลมกลนื ประสมประสานกับองคป์ ระกอบอ่นื ในสงั คมไทย เชน่ ลทั ธิผสี าง เทวดา ศาสนาพราหมณ์ เปน็ ตน้ ดา้ นท่ี ๒ คือการศึกษาพระพุทธศาสนา ในแง่ทีเ่ ป็นจดุ สนใจของวชิ าการทางโลก หรือของปญ๎ ญา ชนในยคุ ป๎จจุบนั ในแง่ทีจ่ ะก้าว ไปช่วยแก้ปญ๎ หาของโลกท้ังหมด หรือเพื่อรว่ มสงั สรรค์อารยธรรมโลก เป็นการศึกษาพระพุทธศาสนาในด้านท่เี ป็นสากล ในดา้ นนี้ คือการศึกษาหลักธรรมหลกั ปรชั ญา หรือ ตัวแทข้ องพระพุทธศาสนาจากบรบิ ทของสงั คม และประวัติศาสตร์เท่าทจ่ี ะทําได้ อันนี้ เปน็ การเขา้ ไป หาคําสอนเดมิ ส่ตู ัวเนือ้ หา ความคิด หลกั ธรรม รวมทงั้ ข้อปฏบิ ตั ิทแี่ ท้จริง การศึกษาในแงน่ ีเ้ ป็นการ ศึกษาท่ี อาจจะนาํ มาโยงกับวิชาการสมัยใหม่ นํามาใชก้ ับวิทยาการสมัยใหม่ได้ เชน่ อาจจะเอามาใช้ใน ดา้ นรัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ และ จติ วทิ ยา เปน็ ต้น ในสาขาวิชาต่าง ๆ นี้ เราสามารถนําเอาหลักธรรม ไปโยงเขา้ ได้ และอันน้ีกเ็ ปน็ การสร้างเสริมสบื ต่อความคดิ ใน วชิ าการเหล่านัน้ ซงึ่ ความเห็นดังกลา่ ว ก็เปน็ ประเดน็ สําคัญที่จะนาํ มากําหนดเป็นแนวทางในการวิจัยทางด้านพระพุทธศาสนาได้ อีกทางหน่งึ การวิจยั ทางดา้ นพระพุทธศาสนาเป็นการแสวงหาความรู้ความจริงท่มี ีระเบยี บอีกแบบหน่งึ การทางวิทยาศาสตรอ์ าจจะมีขอ้ จาํ กดั ในกรณกี ารแสวงหาความรคู้ วามจริงท่ีเกีย่ วข้องกับนามธรรม เช่น จิต เจตสิก และ นพิ พาน เปน็ ต้น วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ยังไมส่ ามารถทําใหเ้ ข้าถึงความรคู้ วามจรงิ ในเรื่องเหลา่ น้ีได้ ฉะนน้ั การจะนําวิธกี ารใด มาใชใ้ นการวิจัยทางดา้ นพระพทุ ธศาสนาจะตอ้ งคาํ นงึ ถงึ ความเปน็ ศาสตร์เฉพาะสาขาให้มาก เพราะการวิจัยทางดา้ นพระพทุ ธ ศาสนานนั้ เราสามารถศกึ ษาได้ หลายระดับ ขึ้นอยู่กบั ว่าเราต้องการนําเอาความร้คู วามจริงท่ไี ด้รับจากการวจิ ยั นนั้ ไปใชแ้ ก้ปญ๎ หา แบบใดและระดบั ใด ๑.๒ ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกบั งานวิจัยทางพระพุทธศาสนา
งานวิจยั หมายถงึ กระบวนการคน้ ควา้ หาข้อเท็จจริงท่ีมีระบบระเบยี บและมจี ดุ มุ่งหมายที่แนน่ อน โดยใช้วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ความหมายนใี้ ช้กบั การวิจยั ทั่วไป เมอื่ เรานาํ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในการวิจัยจะต้องยอมรับข้อตกลงเบอ้ื งตน้ เก่ียวกับ วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตรใ์ ห้ได้กอ่ น ข้อตกลง เบ้ืองต้นดังกล่าวน้สี รปุ ไดเ้ ป็น ๒ ประการ คือ (๑) ข้อตกลงเกยี่ วกับรูปแบบของ ธรรมชาติ (Assumption of the uniformity nature) ได้แก่ สัจพจนเ์ กีย่ วกับชนิดของธรรมชาติ สัจพจนข์ องความคงเสน้ คงวา สจั พจนข์ องความมีเหตผุ ล (๒) ข้อตกลงเก่ียวกบั กระบวนการทางจติ วทิ ยา (Assumption concerning the psychological process) การรับรู้ ความจาํ และเหตุผล เปน็ ตน้ ข้อจํากดั ของวธิ กี ารทาง วิทยาศาสตรด์ ังท่ีได้กล่าวมาส่วนใหญม่ ุ่งศึกษาความ จรงิ ด้านวัตถุ (สะสาร) แตก่ ารแสวงหาความรูค้ วาม จริงทางพระพุทธศาสนามุง่ ศึกษาความจริงทัง้ ๒ ดา้ น คือท้งั ในด้านวตั ถุ (สสาร) และดา้ นที่มิใช่วตั ถุ (อสสาร) สว่ นทเ่ี ป็นการแสวงหาความรู้ความจรงิ ในดา้ นท่มี ิใชว่ ัตถนุ ี้เอง จึงนา่ จะต้องใช้วิธีการทาง พระพุทธ ศาสนาโดยเฉพาะ ดังนนั้ เพื่อให้เหน็ เปน็ ภาพรวมในเรือ่ งของความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับงานวิจัย ทางพระพุทธศาสนาใน หวั ขอ้ น้จี ะไดน้ าํ เสนอ 5 ประเดน็ หลัก คอื ๑) ความหมายของงานวจิ ยั ทางพระพุทธศาสนา ๒) จุดมุ่งหมายของงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนา ๓) ลักษณะของงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา ๔) ประเภทของงานวิจยั ทางพระพทุ ธศาสนา ๕) ขอบเขตของงานวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา ๖) ประโยชน์ของงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา แต่ละประเดน็ จะได้นาํ เสนอตามลําดับดังน้ี ๑.๒.๑ ความหมายของงานวิจยั ทางพระพทุ ธศาสนา คําวา่ “งาน” หมายถึง หน้าที่หรอื กจิ ทตี่ ้องทํา คําว่า “วจิ ยั ” หมายถงึ การค้น การรวบรวม ก ารตรวจตรา การสอบสอน หรอื การเลือกเฟูน เมื่อกล่าวถึงงานวิจัยจงึ น่าจะมีความหมายวา่ “เป็นหนา้ ที่ หรอื กิจทตี่ อ้ งทาํ เก่ียวกับการคน้ ควา้ การรวบรวม การ ตรวจตรา การสอบสวน หรอื การเลือกเฟนู เพ่ือให้ได้มาซง่ึ ความรู้ ความจริงในเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง” ดงั นัน้ งานวิจัยทาง พระพุทธศาสนาจึงเปน็ “กิจ หรอื หนา้ ที่ท่ีต้องทาํ เกี่ยวกับการคน้ คว้า การรวบรวม การตรวจตรา การสอบสวน หรือการเลอื ก เฟนู เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงความรู้ความจรงิ ทางดา้ นพระพุทธศาสนา” พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต) ได้กลา่ วถึง ความหมายของการ วิจยั ไวใ้ นเอกสารทางวชิ าการ เร่ืองมหาวิทยาลยั กบั งานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนาว่า “การวิจยั เปน็ การแสวงหาความรู้อย่างมรี ะบบและเป็นการบกุ เบิกเขา้ ไปในแดนแห่งความรู้ ทาํ ให้เกิด ความลึกซงึ้ แตกฉานใน เร่ืองน้นั ๆ เพื่อหาความร้จู รงิ และทําให้เกิดความเชยี่ วชาญในวิชาการเปน็ พเิ ศษ ซ่งึ ความรู้ความจรงิ ทางพระพทุ ธศาสนา ดังกลา่ วน้ี แบ่งเป็นความรู้ในระดบั โลกยิ ะและโลกตุ ตระ ความรู้ ในระดับโลกยิ ะน้ใี นทัศนะทางพระพุทธศาสนาสามารถเข้าถงึ ได้ ด้วย สุตมยป๎ญญา และ จนิ ตามยป๎ญญา ส่วนความรคู้ วามจริงในระดับโลกุตตระ จะเข้าถึงได้โดย ภาวนามยปญ๎ ญา ซ่ึงวธิ กี าร ทางวิทยาศาสตร์ ท่ีใช้กนั อยู่ในป๎จจบุ ันไม่สามารถจะเขา้ ถึงความรู้ความจรงิ ในระดับโลกุตตระนีไ้ ด้ พระราชปรยิ ัติ (สฤษดิ์ สิรธิ โร) กลา่ ววา่ เมอ่ื กาํ หนดความตามท่ีพระพุทธเจา้ ทรงแสดงแก่ภกิ ษุทง้ั หลาย และตามที่อรรถกถา อธิบายก็พอจะถือเอาความได้ว่า
การวจิ ยั แบบที่พระพทุ ธศาสนากาํ หนดไว้ คือ การศกึ ษาหลกั พระธรรม วินัยทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงแสดง และทรงบัญญัติไว้แก่พระ สาวกท้งั หลาย และพระสาวกเหล่านั้นได้ทรงจาํ พระธรรมวินัยน้ันนาํ มาส่งั สอนสืบต่อมาจนถึงปจ๎ จุบัน เมอ่ื มีผศู้ กึ ษาค้นคว้าแล้ว นํามาเสนอในรูปแบบที่ เปน็ คัมภีร์ เชน่ คมั ภรี ์วิสุทธมิ รรค คมั ภีรม์ ังคลัตถทปี นี้ ถือว่าเป็นงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา สําหรับหลักคาํ สอนในทางพระพุทธศาสนา มีคําวา่ “วจิ ยั ” ปรากฏอยูใ่ นโพชฌังคสูตร มีพุทธพจน์ ตรสั ไว้ว่า ยาวกวํฺจ ภิกขฺ เว ภกิ ขุ ธมมวิจยสมั โพชฌงค์ ภาเวสสนั ติ ฯเปฯ วฑุ ฒเิ ยว ภิกขฺ เว ภิกขุน ปาฏกิ งขฺ า โน ปรหิ าน, แปลความวา่ “ภกิ ษพุ ึงหวงั ได้แต่ ความเจรญิ อย่างเดยี ว ไม่มคี วามเสื่อมเลย ตราบเทา่ ท่ีภิกษยุ ังเจริญธัมมวิจยสมั โพชฌงค์” (ธรรมทีเ่ ป็นองค์แห่งการตรัสรคู้ ือความเป็นธรรม) และใน สังขิตตพลสตู ร มพี ุทธพจนว์ ่า อิมานิ โข ภกิ ฺขเว สตฺต พลาน้ีติ สทธฺ าพล วีริยพล์ สตพิ ล สมาธพิ ล เอเตหิ พลวา ภกิ ขฺ ุ โยนิโส วิจิเน ธมมฺ ปชฺโชต เสว นพิ พฺ าน หิริ โอตตปปยิ ์ พลั ปํฺญา เว สตตฺ ม์ พล สุข์ ชีวติ ปณฺฑโิ ต ปํญฺ ายตฏ์ วปิ สสฺ ติ วโิ มกโข โหติ เจตโส แปลความว่า “ภิกษทุ ้งั หลาย พละ ๗ ประการนีแ้ ล ภิกษุผู้เป็นบณั ฑิตมีพละ ๗ ประการน้ี คอื สัทธาพละ วิรยิ ะพละ หิรพิ ละ โอตัปปพละ สติพละ สมาธิพละ และปญ๎ ญาพละ ยอ่ มอย่อู ย่างเปน็ สขุ เลอื กเป็นธรรมโดยแยบคาย” เห็นแจ้งอรรถด้วยปญ๎ ญา ความหลุดพน้ แห่งใจยอ่ มมีได้ เหมอื นความ ดับไปแห่งประทีป ฉะนั้น ศัพทว์ ่า “วิจเิ น” พระราชปริยตั ิ (สฤษดิ์ สริ ิธโร) มีคําอธบิ ายไวด้ ังนี้ “วิจิเน คอื วิจิเนยย ลง เอย แล้วลบ ยยุ จึงปรากฏรูปเป็น วจิ เิ น คํานมี้ รี ากศัพทเ์ ดยี วกบั คาํ ว่า วจิ ัย คือ วิ บทหน้า จ วจิ ัย นนั้ เอา อิ ที่ จิ เป็น อย ธรรมท่พี งึ เลือกเฟนู ก็คือขอ้ ธรรมที่ ตอ้ งการหรือเร่ืองราวนน้ั ๆ” จะเหน็ ไดว้ ่ากจิ หรือหนา้ ที่ในการคน้ ควา้ หาข้อเท็จจริงเกี่ยวกบั ความรู้ความจริงที่มีอย่ใู นหลกั คํา สอน ทางพระพุทธศาสนาน้ันเองท่เี ป็นงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนา ขอ้ สงั เกตประการหน่ึง
คาํ วา่ “การ” หมายถงึ กิจ งาน ธุระ หน้าที่ คํานถ้ี า้ อยู่ทา้ ยสมาส แปลว่า ผ้ทู าํ เชน่ พานชิ ยการ เป็นตน้ ดงั นนั้ ไม่ว่าเราจะใชค้ ํา วา่ “การวจิ ยั ” หรือ “งานวจิ ยั ” ทงั้ ๒ คําน้ี มไิ ดม้ คี วามหมายแตกตา่ งกัน สรุปได้วา่ ความหมายของงานวจิ ยั ทาง พระพทุ ธศาสนา คือ งานท่ตี อ้ งทําเกย่ี วกบั การคน้ ควา้ การรวบรวม การตรวจตรา การสอบสวน หรอื การเลอื กเฟูน เพื่อใหไ้ ดม้ า ซงึ่ ความรูค้ วามจริงทางด้าน พระพทุ ธศาสนา ๑.๒.๒ จดุ มุง่ หมายของงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยโดยทั่วไปมักจะมีการกําหนดจดุ มุ่งหมายของงานวิจัยเอาไว้กวา้ ง ๆ โดยสรปุ แลว้ ที่สาํ คญั มอี ยู่ ๔ ประการ คือ ๑) เพือ่ การบรรยาย (Description) เป็นการบรรยายปรากฏการณ์ทเ่ี กดิ ขึ้นในขณะน้ัน ๆ วา่ มลี กั ษณะอย่างไร มีองค์ประกอบ อะไรบ้าง มีการเปล่ียนแปลงหรอื ไม่อย่างไร เปน็ การใหร้ ายละเอียด เพื่อใหเ้ กิดความชดั เจน ในทางพระพุทธศาสนามีจุดมุ่งมาย เพื่อบรรยายถงึ ปรากฏการณ์ทีเ่ กดิ ขนึ้ กับ พระพทุ ธศาสนาในขณะนัน้ เชน่ การวิจยั เรื่อง “การศึกษาสภาพป๎ญหาและแนว ทางแก้ไขป๎ญหาการ ขาดแคลนพระสงฆใ์ นเขตชายแดนไทย-กมั พชู า จงั หวดั สรุ นิ ทรแ์ ละบุรรี มั ย์” การวิจยั เรื่องนี้มีจุด มุ่งหมายเพื่อบรรยายให้เหน็ ถึงปรากฏการณ์ของการขาดแคลนพระสงฆใ์ นช่วงนั้นว่ามีลักษณะอย่างไร เชน่ บรรยายใหเ้ หน็ สภาพ ของวดั ในชุมชนตามแนวเขตชายแดนไทย-กมั พชู า ที่พระสงฆ์จําพรรษาอยู่ มีจํานวนน้อย ประเภทของพระสงฆ์ ทมี่ ีอยู่สว่ นใหญ่ จะเป็นพระหลวงตา บวชเม่ือแก่ ขาดความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั คําสอนในทางพระพทุ ธศาสนา ไมส่ ามารถเทศน์ หรือ สอนคนใน ชมุ ชนใหเ้ ขา้ ใจใน หลกั คําสอนในทางพระพุทธศาสนา สว่ นคนหนุ่มในชุมชนทเ่ี ข้ามาบวชกจ็ ะอยไู่ ด้ไมน่ าน คอื ประมาณ ๓ - ๗ วัน เหล่าน้ีเปน็ การบรรยายเพ่ือใหเ้ ห็นถงึ รายละเอยี ดทชี่ ัดเจนของปรากฏการณ์ที่เกดิ ขึน้ ใน ขณะน้ัน ๆ วา่ มีลกั ษณะอย่างไร ๒) เพื่อการอธิบาย (Explanation) เป็นการอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปรากฏการณ์ท่ีเปน็ ผลเชอื่ มโยงไปหาสาเหตุที่ทาํ ให้ เกิดผลน้ัน ว่ามคี วามเช่ือมโยงเป็นเหตุเปน็ ผลต่อกนั ในลักษณะ อย่างไรบ้าง เชน่ จากตัวอยา่ งที่กล่าวมาแล้ว สาเหตุท่ีทําใหเ้ กิด ปรากฏการณ์การขาดแคลนพระสงฆ์ ดงั กล่าวเนอ่ื งมาจากคนแก่ในชมุ ชนเขา้ มาบวชเพ่อื หาความสงบทางด้านจิตใจหรือเขา้ มาบวชเพอื่ อยู่ รักษาวัดในชุมชนไมใ่ หเ้ กดิ เป็นวดั ร้าง ดังนั้นในแตล่ ะวัดจึงต้องมีแตพ่ ระหลวงตาอยู่จาํ พรรษาและ มีอยูจ่ ํานวนนอ้ ย สําหรับพระ หลวงตาเหลา่ นเ้ี ป็นผ้เู ขา้ มาบวชตอนแก่จึงไม่มโี อกาสศึกษานักธรรมหรือ บาลี จึงทําให้ขาดองค์ความรู้ทีจ่ ะเทศน์หรอื สอนคนใน ชมุ ชน สว่ นคนหนุม่ ทเ่ี ขา้ มาบวชสว่ นใหญ่อยไู่ ด้ ประมาณ ๓-๗ วนั เป็นสาเหตเุ นือ่ งจากว่า คนหนุม่ เหล่าน้เี ป็นผูไ้ ปทํางานอย่กู บั บรษิ ทั ในจงั หวัดอื่น ๆ เม่อื ลาบริษัทมาบวชกจ็ ะลาไดป้ ระมาณ ๓-๗ วัน จึงตอ้ งลาสกิ ขาเพอ่ื กลบั ไปทํางานท่ีบริษทั ตามเดมิ เหล่านี้เปน็ การอธิบายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งปรากฏการณ์ท่ีเป็นผลเชอื่ มโยงไปหาสาเหตุท่ีทาํ ใหเ้ กดิ ผลนน้ั วา่ มีความเช่ือมโยงเป็นเหตเุ ป็นผลตอ่ กันในลักษณะอยา่ งไรบ้าง ๓) เพ่อื การทาํ นาย (Prediction) จากการศึกษาถงึ ความสัมพนั ธท์ ําใหเ้ ราสามารถทาํ นายหรือ คาดเดาเหตุการณล์ ว่ งหน้าไดว้ า่ เมือ่ มีเหตุการณห์ น่ึงเกดิ ข้นึ จะมเี หตุการณ์ใดตดิ ตามมา คือ เปน็ การ ทาํ นายสงิ่ ทีจ่ ะเกดิ ขึ้นในอนาคตอย่างมีเหตุผล และมีข้อมลู สนับสนุนนา่ เชือ่ ถือ เชน่ จากตัวอยา่ งที่กลา่ ว มาแล้ว ถ้าหากคนแกใ่ นชุมชนยงั มมี าก ไม่การเรยี นการสอนนักธรรมหรือบาลใี นวดั ตามชุมชนแนวเขต ชายแดนไทย-กัมพูชา คนหนุ่มในวยั แรงงานยงั ตอ้ งไปทํางานอยูก่ บั บริษทั ในจงั หวัดอนื่ ๆ สภาพป๎ญหา การ ขาดแคลนพระสงฆใ์ นเขตชายแดนไทย-กัมพูชา จังหวดั สุรินทร์และบรุ รี มั ย์ ก็ยังจะต้องเกิดข้ึนและ ยงั คงมีอยตู่ ่อไป เหลา่ นีเ้ ปน็
การทํานายหรือคาดเดาเหตกุ ารณ์ล่วงหนา้ วา่ เมอื่ มเี หตุการณห์ น่งึ เกิดขึน้ จะมีเหตุการณ์ใดติดตามมา คือ เป็นการทาํ นายส่งิ ทจี่ ะ เกดิ ขนึ้ ในอนาคตอยา่ งมีเหตุผล และมีข้อมูล สนับสนนุ น่าเช่ือถือ ๔) เพอ่ื การควบคุม (Control) เมอ่ื สามารถทาํ นายเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ลว่ งหนา้ ได้ จึงทําให้ สามารถควบคมุ เหตุการณท์ ไี่ มพ่ ึง ประสงค์ ไมม่ ปี ระโยชนไ์ มใ่ หส้ ่ิงดงั กลา่ วนีเ้ กดิ ขึ้นได้ในทางตรงกันขา้ ม ถ้าส่งิ ท่ีจะเกดิ ขนึ้ น้นั เปน็ สง่ิ ทีพ่ ึงประสงค์และมีประโยชน์ เราก็สามารถสนับสนนุ ส่งเสริมใหส้ ิง่ นัน้ เกดิ ข้ึนได้ เช่น จากตวั อย่างทกี่ ล่าวมาแลว้ ถา้ หากต้องการไมใ่ หเ้ กดิ ปญ๎ หาสภาพของวดั ในชมุ ชนตามแนว เขตชายแดนไทย-กัมพูชา ท่ีพระสงฆจ์ าํ พรรษาอยู่มีจํานวนน้อย ประเภทของพระสงฆ์ท่ีมอี ย่สู ว่ นใหญ่ จะเป็น พระหลวงตา เป็นผบู้ วชเมอื่ แก่ ขาดความรู้ความเข้าใจในหลกั คําสอนในทางพระพุทธศาสนา ไมส่ ามารถเทศน์ หรือ สอนคนใน ชุมชนให้เขา้ ใจในหลกั คาํ สอนในทางพระพุทธศาสนา ส่วนคนหนมุ่ ในชมุ ชนที่เขา้ มาบวชกจ็ ะอยไู่ ด้ไม่นาน คือประมาณ ๓-๗ วนั กส็ ามารถหาแนวทางแก้ไข โดยควบคุม เหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ และเสริมสรา้ งปจ๎ จัยที่พึงประสงคใ์ หเ้ กิดขน้ึ เช่น สร้างงานให้ เกดิ ข้ึนในชมุ ชน เพือ่ ไม่ให้คนหน่มุ ออกไปหางานทํากบั บรษิ ัทในจังหวดั อ่นื ๆ สนับสนนุ ให้คนในชมุ ชนบวชเปน็ สามเณร และ อุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุตงั้ แต่อายยุ งั น้อย สง่ ให้ทา่ นไดร้ บั การศกึ ษาในทางโลกและทางธรรมในระดบั ท่สี งู ขึ้น เม่ือพระภิกษุและสามเณรเหล่าน้ีจบการศึกษาก็จะกลับมาอยจู่ าํ พรรษากับวัดในชุมชนก็จะทําให้ สภาพป๎ญหาการขาด แคลนพระสงฆใ์ นเขตชายแดนไทย – กมั พชู า ดังที่กลา่ วมาไดร้ บั การแก้ไขใหด้ ขี ึน้ เหล่านเี้ ป็นการควบคมุ เหตกุ ารณท์ ไ่ี ม่พงึ ประสงค์ และไม่มีประโยชน์ ไมใ่ ห้สง่ิ ดงั กล่าวนี้เกดิ ขึ้น ในทาง ตรงกนั ข้าม ถา้ สิ่งทีจ่ ะเกิดขึ้นนนั้ เป็นส่งิ ทีพ่ ึงประสงค์และมี ประโยชน์ เราก็สามารถสนบั สนุนส่งเสรมิ ให้ สงิ่ นน้ั เกดิ ขนึ้ ได้ เป็นต้น สาํ หรบั จุดม่งุ หมายของการวิจยั ทางพระพุทธศาสนา สว่ นหน่งึ อาจจะกาํ หนดจดุ มงุ่ หมาย เหมอื นกนั กบั การวิจัยทัว่ ๆ ไป แต่ จดุ มุ่งหมายเฉพาะทางในสว่ นทีเ่ ป็นการวิจยั ทางด้านพระพุทธศาสนา ก็จะต้องถกู กําหนดเอาไวด้ ้วยเช่นกัน พระเทพเวที (ประยทุ ธ์ ปยุตโต) ไดส้ รปุ จดุ มงุ่ หมายของการวิจยั ทางพระพุทธศาสนาไว้ ๓ ประการ ดังตอ่ ไปน้ี ๑) เพ่ือให้ร้จู ักตวั เราเองที่เป็น ไทย ๒) เพื่อเอาไปใช้ ในวชิ าการสมัยใหม่ ในสาขาต่าง ๆ เท่าทเ่ี ราเก่ยี วข้อง ๓) เพ่อื ความเปน็ ผู้นําและเปน็ ผใู้ ห้ ท่ีว่าจะมีอะไร ใหแ้ ก่อารยธรรมโลกหรือไปช่วยแกป้ ๎ญหาของโลก สรุปจดุ มุ่งหมายของงานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา สว่ นหนง่ึ อาจจะกาํ หนดจุดมุ่งหมายเหมือนกัน กบั การวิจัยท่วั ๆ ไป คอื เพื่อ บรรยาย เพ่อื อธิบาย เพ่ือทํานาย และเพื่อควบคุม สําหรบั จุดมงุ่ หมาย เฉพาะของการวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา คือ เพ่ือให้รู้จัก ตวั เราเอง เพื่อเอาไปใช้ในวชิ าการสมัยใหมใ่ น สาขาต่างๆ เท่าทเ่ี ราเก่ียวข้อง เพ่อื ความเปน็ ผนู้ าํ และเปน็ ผูใ้ หแ้ ก่อารยธรรมโลก หรือไปช่วยแกป้ ญ๎ หา ของโลกได้ด้วย ๑.๒.๓ ลกั ษณะของงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนา บญุ ชม ศรีสะอาด ไดใ้ ห้ความเหน็ เก่ียวกับลกั ษณะของการวิจัย ไว้วา่ การวจิ ัยแตล่ ะประเภท ย่อมมีลักษณะเฉพาะตัวท่ีแตกตา่ ง กัน แตอ่ ย่างไรก็ตามจะมีลักษณะทร่ี ว่ มกนั โดยท่วั ไป ๑๐ ประการ ดังน้ี นั้นมาก่อน ๑) เป็นกจิ กรรมทใ่ี ชป้ ๎ญญา การวิจยั ต้องใช้ความรู้ ความคดิ และความสามารถ ๒) เป็นการแสวงหาความรู้ ผวู้ ิจยั จะทําวจิ ัยใน เรอื่ งทีย่ งั ไมช่ ัดเจน หรือยังไม่ปรากฏความรู้ ๓) เป็นการสรา้ งสรรค์ผลการวิจัยทาํ ใหเ้ กดิ ความรใู้ หม่มสี ง่ิ ประดิษฐ์ใหมเ่ กิดข้ึน
๔) มีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนชัดเจน ผวู้ ิจยั จะมจี ดุ มุง่ หมายในการวจิ ัยของตนท่ีกาํ หนดไวแ้ น่นอนและชัดเจน ๕) มีระบบแบบแผน การวจิ ยั จะดําเนนิ การอยา่ งเป็นขั้นตอนตามกระบวนการ แบบแผน ของการวิจยั ประเภทน้นั ๆ ๖) ใชเ้ ครอื่ งมือหรือเทคนิคทีม่ ีความเทีย่ งตรงเช่ือถือได้ ๗) มกี ารจัดกระทํากับข้อมลู ที่รวบรวมมา เช่นจดั กลุ่ม คํานวณค่าสถิติ วเิ คราะห์ แปล ความหมาย และสรุปผล ๘) ดาํ เนนิ การอย่างรอบคอบ รัดกมุ เพื่อไมใ่ ห้เกิดความผิดพลาดหรือบกพร่อง ซ่งึ จะอาศัย การวางแผนทด่ี ี การค้นควา้ กว้างขวาง และการปูองกนั ความผดิ พาด ๙) ไม่มีอคติใด ๆ มุง่ ให้ได้ข้อความจรงิ หรอื สจั จะ ๑๐) ยึดหลกั เหตุผล การตดั สนิ ใจดาํ เนินการใดๆ กระทาํ บนพ้ืนฐานของหลกั เหตผุ ล สามารถ ตอบได้อยา่ งชดั เจนถูกหลกั การ และหลักเหตุผลวา่ ทําไมจึงเลือกกลุ่มตวั อย่างเชน่ นั้นทาํ ไมจงึ ใช้ เครอ่ื งมือ หรือเทคนิคเช่นนั้น เป็นต้น หากเปน็ การวจิ ัยทางการ วดั ทกุ ชนดิ จะมลี ักษณะ ๑๐ ประการ ดงั กลา่ วมานี้ สาํ หรบั งานวจิ ยั ทางพระพุทธศาสนามลี ักษณะของการแสวงหาความรคู้ วามจริงใน ๒ ดา้ น ดังตอ่ ไป คือ ด้านที่ ๑ เป็นการแสวงหาความรคู้ วามจรงิ เกยี่ วกับวตั ถุ (สสาร) การวจิ ยั ในดา้ นนจี้ ะมีลักษณะท่ี ร่วมกันกับการวิจยั โดยทวั่ ไป ดังท่ีกล่าวมาแล้ว คือ เปน็ กจิ กรรมทีใ่ ช้ป๎ญญา เป็นการแสวงหาความรู้ เปน็ การสรา้ งสรรค์ มีจุดมุง่ หมายท่ีแนน่ อนชดั เจน มี ระบบแบบแผน ใชเ้ คร่ืองมือหรือเทคนิคทมี่ ีความ เทีย่ งตรงเชือ่ ถอื ได้ มีการจดั กระทํากับข้อมูลท่รี วบรวมมา ดาํ เนินการอยา่ ง รอบคอบ รดั กมุ ไม่มีอคติ ใด ๆ มุ่งให้ได้ขอ้ ความจริงหรือสจั จะ ยดึ หลกั เหตุผล ลกั ษณะดงั กล่าวนีเ้ ปน็ เรือ่ งทท่ี างวิทยาศาสตร์ นํามาใชเ้ ปน็ ปกติอยู่แลว้ คือเป็นวิธีการทพี่ ัฒนามาจากการแสวงหาความรู้ความจริง แบบนิรนยั (Deductive) และแบบอุปนยั (Inductive) นน้ั เอง ซง่ึ การนิรนัยน้ีเทียบกนั ได้กับ จนิ ตามยปญ๎ ญา ใน ทางพระพทุ ธศาสนา และการอุปนัยนี้เทยี บได้กับ สุตมย ปญ๎ ญา ในทางพระพทุ ธศาสนา เพราะลักษณะ การวจิ ยั ทเี่ ป็นการแสวงหาความรูค้ วามจริงเกีย่ วกบั วตั ถุ โดยการใช้วิธกี ารทาง วทิ ยาศาสตรน์ ้ใี นทาง พระพทุ ธศาสนาถอื วา่ เป็นลกั ษณะของการใชป้ ญ๎ ญาเพียง ๒ ระดบั นี้ กส็ ามารถเข้าถึงความรคู้ วามจรงิ ทางดา้ นวัตถุได้ ดา้ นที่ ๒ เปน็ การแสวงหาความรคู้ วามจรงิ เกย่ี วกบั สง่ิ ท่ีมิใช่วัตถุ (อสสาร) เป็นความรคู้ วามจริง ระดับทส่ี ูงกว่า จนิ ตามยปญ๎ ญา และ สุตมยป๎ญญา ความรคู้ วามจรงิ ประเภทน้ีจะรู้ไดโ้ ดย “ภาวนา มยป๎ญญา” ลักษณะการวิจัยแบบนี้ เปน็ ลักษณะเฉพาะที่มีอยู่ ในทางพระพทุ ธศาสนาเทา่ นัน้ ซ่ึงวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้กันอยู่ในป๎จจบุ นั นม้ี ีขอ้ จํากดั นาํ มาใชก้ ับลักษณะของการวจิ ยั แบบนไ้ี มไ่ ดเ้ ลย เครือ่ งมอื ท่ีทาํ ให้เข้าถึงความรู้ความจรงิ ประเภทน้ี ที่ใชก้ ันอยู่ในทางพระพทุ ธศาสนาก็คือ การปฏิบัติ วปิ ๎สสนากัมมฏั ฐาน หรือจะ ใชส้ มถกัมมัฏฐาน เปน็ ฐานแล้วเจรญิ วปิ ส๎ สนากัมมัฏฐานต่อกันไปกไ็ ด้ ซง่ึ วิธีการดงั กล่าวมีหลกั ปฏบิ ัตชิ ดั เจนอย่แู ล้วในหลกั คําสอนทางพระพุทธศาสนาจึงไมน่ าํ มากลา่ วไว้ ในท่ีน้ี
ดังน้ัน ลกั ษณะของการวิจยั แตล่ ะประเภทย่อมมีลกั ษณะเฉพาะตวั ที่แตกต่างกัน การวจิ ยั ทั่วไป เป็นกจิ กรรมท่ใี ชป้ ๎ญญา เป็นการ แสวงหาความรอู้ ยา่ งสร้างสรรค์ มีจดุ มงุ่ หมายที่แนน่ อน มีระบบ แบบแผน เคร่ืองมือหรอื เทคนคิ ทน่ี ํามาใชม้ ีความเท่ยี งตรง เชอื่ ถือได้ มีการจัดกระทํากับขอ้ มูลท่ี รวบรวมมา มีการดําเนินการอยา่ งรอบคอบ รดั กมุ ไมม่ ีอคติใด ๆ มุ่งใหไ้ ด้ขอ้ ความจริง ยดึ หลกั เหตุผล ส่วนลกั ษณะของการวิจยั ทางด้านพระพุทธศาสนา มีบางอยา่ งทเ่ี ปน็ ลักษณะรว่ มกบั การวจิ ัยทวั่ ไป แตม่ บี างอยา่ งที่มี ลักษณะเฉพาะของตนเอง เชน่ การแสวงหาความร้คู วามจริงระดับสูงท่ีเรียกวา่ ภาวนามยป๎ญญา ตอ้ งใชเ้ ครือ่ งมือหรือเทคนคิ วธิ ีการของวปิ ส๎ สนากมั มัฏฐาน หรือจะใชส้ มถกัมมฏั ฐาน เปน็ ฐานแล้วเจริญวปิ ส๎ สนากัมมฏั ฐานตอ่ กันไป ก็ได้ ๑.๒.๔ ประเภทของงานวจิ ยั ทางพระพทุ ธศาสนา ประเภทของงานวิจยั ทว่ั ไป เราสามารถแบง่ ได้หลายลกั ษณะขึน้ อย่กู ับวา่ จะอาศยั หลักเกณฑ์ใด มาใช้ในการแบง่ เชน่ ๑) แบ่งตามลักษณะของประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากผลงานวจิ ยั อาจจะแบ่งได้เปน็ ๓ ประเภท คือ ๑.๑) การวิจยั บรสิ ุทธห์ิ รอื การ วิจยั พน้ื ฐาน (Pure Research or Basic Research) เปน็ การ วิจยั ท่ีมงุ่ แสวงหาความรู้เพื่อนําไปสร้างเป็นกฎหรอื ทฤษฎี อาจจะไม่ได้ม่งุ ท่ีจะนําเอาผลของการวจิ ัย ไปใชใ้ นทนั ทที นั ใด เช่น การศกึ ษาโครงสร้างของอะตอม การพัฒนาทฤษฎี การเสรมิ แรง เปน็ ตน้ ตัวอย่าง ของงานวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา เช่น การวจิ ัยเรือ่ ง “ศึกษาวิเคราะห์ทฤษฎีอรรถ ปรวิ รรตศาสตร์ ในคัมภรี ์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท” โดย วรี ชาติ นิม่ อนงค์, การวิจยั เร่อื ง “การศึกษา รปู แบบการจัด ระเบียบสงั คมตามแนวพุทธศาสตร”์ โดย ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ และคณะ เป็นตน้ ๑.๒) การวจิ ัยประยกุ ต์ (Applied Research) เปน็ การวจิ ยั ที่เน้นการนําผลการวิจยั ไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ ตวั อยา่ งของงานวิจยั ทางพระพุทธศาสนา เช่น การวิจยั เรื่อง “การนําหลกั คาํ สอนของ พระพุทธศาสนาไปใช้ในกระบวนการขัดเกลาทางสังคมโดย ครอบครัวในชุมชนเข้มแข็งเพ่ือปอู งกนั และ ลดปญ๎ หายาเสพติดของเด็กและเยาวชน” โดย พระมหาบุญชว่ ย สิรินธฺ โร และคณะ, การวิจยั เรอื่ ง “การนําหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนามาประยุกตใ์ ชแ้ บบบรู ณาการเพื่อเสรมิ สรา้ งสุขภาพจิตและ คุณภาพชวี ิต ของผู้สงู อายุในชมุ ชน” โดย ไฉไลฤดี ยวุ นะศริ ิ เป็นต้น ๑.๓) การวิจัยปฏบิ ัตกิ าร (Action Research) เปน็ การวจิ ยั ท่เี นน้ การนาํ ผลการวิจยั ไปใช้ ประโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ านในทันที เป็นการแกป้ ๎ญหาเฉพาะหน้า เหมาะสาํ หรบั ผ้ปู ฏิบัตกิ ารท่ตี ้องการ นําผลการวจิ ัยไปใช้แก้ป๎ญหาในการปฏบิ ตั ิงานขณะน้นั ตวั อยา่ งของงานวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา เช่น การวิจัยเรอ่ื ง “การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนวชิ าภาษาบาลี หลกั สูตร พระปรยิ ตั ิธรรมแผนก บาลสี นามหลวง” โดย เวทย์ บรรณกรกลุ และคณะ, การวจิ ยั เร่ือง “การศึกษาประสทิ ธิภาพเอกสาร คํา สอนรายวิชา ๐๐๐ ๒๑๐ ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น สําหรบั นสิ ติ ชัน้ ปที ่ี ๒ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขต สุรนิ ทร์” โดย ทวศี ักด์ิ ทองทิพย์ เป็นตน้ ๒) แบง่ ตามระเบยี บวธิ ีวิจยั อาจจะแบ่งได้ ๓ ประเภท คือ ๒.๑) การวจิ ัยเชิงประวัตศิ าสตร์ (Historical Research) เปน็ การวิจยั เพือ่ หาข้อเท็จ จริงทเ่ี กิดข้ึนผ่านมาแลว้ ในอดตี โดยเกบ็ ขอ้ มูลจากหลักฐานทีย่ งั เหลืออยู่ เชน่ อาจจะเป็นบุคคลทเี่ คย อยูใ่ นเหตกุ ารณ์ เอกสาร รปู ภาพ โบราณวตั ถทุ ข่ี ุดค้นพบ ส่งิ พมิ พ์ บันทึกต่าง ๆ เป็นตน้ ตวั อยา่ ง ของงานวจิ ยั ทางพระพุทธศาสนา เชน่ การวจิ ยั เรือ่ ง “การวิเคราะหค์ ัมภีร์พระพุทธศาสนา ปญ๎ ญา ใน ธมั มจกั กัปปวัตตนสตู ร ชอ่ื เรยี กและพัฒนาการ” โดย บรรจบ บรรณรุจิ, การวิจยั เรื่อง “ศึกษาวิเคราะห์ ปรัชญาธรรมและคติ ธรรมจากวรรณกรรมอสี านในหนังสือใบลาน” โดย พระครูกติ ตคิ โุ ณภาสและคณะ ๒.๒) การวิจัยเชิงบรรยาย (Description Research) เป็นการวิจัยทมี่ ุ่งบรรยายถึง ลักษณะหรือสภาพการณ์ท่เี กิดขึน้ ในขณะนน้ั โดยผวู้ จิ ัยมีส่วนรว่ มในเหตกุ ารณน์ ั้น ๆ
โดยตรง และให้ ปรากฏการณ์น้นั เกิดขน้ึ ไปตามธรรมชาติ เช่น การวจิ ยั เชิงสํารวจ (Survey Research) การศึกษา รายกรณี (Case Studies) การศึกษาติดตามผล (Follow-up Studies) การศกึ ษาเชิงสหสมั พันธ์ (Corirational Research) เป็นต้น ตวั อยา่ งของงานวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา เช่น การวิจัยเร่อื ง “การศึกษาแนวทางพฒั นาโรงเรยี นพระปริยตั ิธรรม แผนกสามัญ ศกึ ษา ในเขตการปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑๑” โดยทวีศักดิ์ ทองทิพย์ และคณะ, การวจิ ยั เร่ือง “พฤตกิ รรมการรักษาศีล ๕ ของ เด็ก เยาวชนบ้านโคกสี อําเภอเมือง จงั หวัดขอนแก่น” โดยบญุ หนา จิมานัง่ เป็นต้น ๒.๓) การวจิ ยั เชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการวจิ ยั ทีศ่ กึ ษาความสัมพันธ์ ระหว่างตวั แปรภายใต้การจดั กระทาํ การทดลองท่ีผ้วู ิจัยกาํ หนดข้ึน เป็นการศกึ ษาความสัมพนั ธเ์ ชิงเหตุ และผล ตวั อยา่ งของงานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา เช่น การ วจิ ยั เรือ่ ง “การพฒั นาคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน นักเรียนธรรมศึกษาตรี ธรรมศึกษาโท และธรรมศึกษาเอก”, โดย พระมหาศรที นต์ สมาจาโร และคณะ การวิจัยเรอ่ื ง “การพฒั นาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาพระพทุ ธศาสนาสําหรบั นักเรยี นชัน้ ประถมศึกษา ชั้นปีท่ี ๑ – ๖ ตามหลกั สตู รการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. ๒๕๕๔” โดย พีรวัฒน์ ชัยสขุ และคณะเป็นตน้ ๓) แบง่ ตามประเภทของข้อมูลอาจจะ แบ่งได้ ๒ ประเภท คือ ๑๕ ๓.๑) การวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) เปน็ การวจิ ยั ทีม่ งุ่ ศึกษาข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ มงุ่ ทดสอบสมมตฐิ าน เพอ่ื ศึกษา ความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปรเป็นหลัก ตัวอย่างของงาน วจิ ัยทางพระพุทธศาสนา เชน่ การวจิ ยั เรอื่ ง “ทัศนะคติของ พทุ ธศาสนกิ ชนท่ีมีต่อการปฏิบตั วิ ปิ ๎สสนา กมั มฏั ฐาน”, โดย พระมหาบุญเลิศ ธมมทสั สี และคณะ การวิจยั เรื่อง “การติดตาม และประเมนิ ผล ผู้สาํ เร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รมชั ฌิมอาภธิ รรมกิ ะเอก ของอภิธรรมโชตกิ ะวิทยาลยั มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ” โดย พระครูวิมลธรรมรังสี เปน็ ตน้ לט ๓.๒) การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจยั ท่ีมุ่งศึกษาปรากฏการณ์ ของสงั คมในสภาพแวดล้อมท่ีเกิดขึ้น จริงในธรรมชาติ โดยผูว้ ิจยั จะมบี ทบาทสําคญั ในการดาํ เนนิ การ วจิ ยั ด้วยตนเอง เป็นตน้ ตัวอย่างของงานวจิ ยั ทาง พระพทุ ธศาสนา เชน่ การวจิ ัยเรอ่ื ง “พระสงฆ์กบั การ อนุรักษ์ปาุ : กรณีศึกษาวดั หนองปุาพงและสาขา” โดย สพุ มิ ล ศรศักดา และคณะ เป็นต้น นอกจากน้ี การแบง่ ประเภทของการวิจยั ยงั มอี ยู่อกี หลายลักษณะ เช่น แบ่งตามสาขาวชิ า แบง่ ตามลักษณะ ความ สมั พันธข์ องตัวแปร ซ่งึ งานวิจัยเรื่องหนึ่ง ๆ อาจจะจัดอยใู่ นประเภทของงานวิจัยไดม้ ากกว่า ๑ ประเภทก็ได้ พระศรคี มั ภีรญาณ (สมจินต์ สมมาปํโฺ ญ) ได้จัดประเภทงานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนาไว้เป็น ๙ กลุ่ม ดังนี้ คือ ๑) ทฤษฎหี รือหลักการในทางพระพทุ ธศาสนา ๒) ประวัติศาสตร์พระพทุ ธศาสนา ๓) วิเคราะห์คมั ภรี ์ทางพระพุทธศาสนา ๔) ประวตั ิบคุ คลท่ีเกย่ี วข้องกับพระพุทธศาสนา ๕) สถาปต๎ ยกรรม ประตมิ ากรรมทางพระพุทธศาสนา 6) ภาษา และวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
๗) พระพทุ ธศาสนาหรือปรชั ญากับศาสตรส์ มัยใหม่ 8) ทรรศนะ ท่าทีของบุคคลต่อหลักธรรม หรอื ลัทธิ หรอื ต่อสถาบนั ต่อเหตุการณ์ หรอื ต่อ บุคคล (วิจัยเชงิ ปรมิ าณ) 9) สัมฤทธผิ ล ประสทิ ธภิ าพของการทํากิจกรรมอยา่ งใดอย่างหนึง่ (วิจัยเชิงปรมิ าณ) ประเภทของงานวจิ ยั ทางพระพทุ ธศาสนา เราสามารถนําเกณฑ์ของงานวิจยั ทวั่ ไปทก่ี ล่าวไว้ ขา้ งต้นมาใชใ้ นการแบ่งประเภทได้ เชน่ เดยี วกันขน้ึ อยู่กบั ลักษณะการวจิ ยั เช่น ถ้าต้องการคน้ ควา้ หาขอ้ เทจ็ จริงทีเ่ ป็นตวั กฎ ทฤษฎี ลกั ษณะของการวจิ ยั กเ็ ป็นการ วจิ ัยพื้นฐาน ถ้าตอ้ งการคน้ คว้าหาข้อเท็จ จริงทางประวตั ิศาสตร์ ก็เปน็ การวจิ ยั เชงิ ประวตั ิศาสตร์ หรือถา้ หากต้องการค้นควา้ หา ขอ้ เท็จจริงใน การนําหลกั ธรรมไปประยกุ ตใ์ ชเ้ ก่ียวกับเรือ่ งใดเร่ืองหน่ึง กเ็ ป็นการวิจัยประยุกต์ เป็นต้น สรุปประเภทของงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาเราสามารถนําเกณฑ์ของการวจิ ัยทว่ั ไปมาใชใ้ นการ แบ่งประเภทได้เชน่ เดยี วกันข้ึนอยกู่ ับลักษณะการวจิ ยั วา่ เป็นการวิจยั ในลักษณะใด ๑.๒.๕ ขอบเขตของงานวิจัยทางพระพุทธศาสนา การวิจัยโดยท่ัวไป เรามกั จะกําหนดขอบเขตของการวิจัยเอาไว้ จึงจะทาํ ให้เรากาํ หนดสิ่งที่เรา ศึกษาไดช้ ัดเจนว่ามีขอบเขตเทา่ ใด การแปลผลจงึ จะชดั เจนมีความคลาดเคล่ือนน้อย เชน่ ขอบเขต ดา้ นกล่มุ เปูาหมาย ขอบเขตด้านตัวแปร ขอบเขตด้านเนอ้ื หา และขอบเขตด้านระยะเวลาท่ีใชใ้ นการวิจัย ตวั อย่างเช่น ขอบเขตด้านกลุ่มเปาู หมาย เชน่ การศึกษาครงั้ น้ีศึกษาเฉพาะนสิ ิตที่ กาํ ลังศกึ ษาอยูใ่ น ช้ันปีท่ี ๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรนิ ทร์ ภาคการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ เทา่ น้นั ขอบเขตดา้ นตัวแปร เชน่ ตวั แปรอสิ ระ ได้แก่ การสอนโดยใชก้ ระบวนการกลุ่ม ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ขอบเขตดา้ นเน้อื หา เชน่ ศึกษาเฉพาะเนื้อหาทีป่ รากฏอยู่ใน รายวิชาตรรกศาสตร์ เร่ืองความเปน็ ปฏิปก๎ ษ์ของญัตติ ขอบเขตดา้ นระยะเวลา ใชเ้ วลาในภาคการศึกษา ท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๔ การวิจัยทางพระพทุ ธศาสนา เมอื่ เราจะทาํ การวจิ ยั เราควรจะกําหนดขอบเขตของการวิจัยไว้ให้ ชัดเจนเชน่ เดยี วกนั กบั การวจิ ยั ทั่วไปก็ได้ เช่น ด้านกล่มุ เปาู หมาย ดา้ นตวั แปรที่ศึกษา ดา้ นเน้ือหา และ ด้านระยะเวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา การกาํ หนดขอบเขตในการวิจัยจะเป็นตวั บ่งช้ถี งึ ปรมิ าณงานท่เี รากาํ ลัง ดาํ เนนิ การวจิ ัยอยู่ว่ามี มากน้อยเพยี งใด และปริมาณงานดังกลา่ วสามารถทาํ ให้สาํ เรจ็ ในขอบเขตของ ช่วงระยะเวลาทก่ี าํ หนดไว้ได้ สรุป ขอบเขตของงานวิจัยทางพระพทุ ธศาสนามีดังน้ี คือ ขอบเขตด้านกลุ่มเปาู หมาย ขอบเขต ดา้ นตัวแปร ขอบเขตด้านเนอ้ื หา และขอบเขตด้านระยะเวลา ขอบเขตของการวิจยั แตล่ ะเร่อื งจะเปน็ ตัวบ่งชี้ปริมาณ งานที่เรากําลังดําเนนิ การอยู่ว่ามีมากนอ้ ย เพียงใดได้อีกทางหน่งึ ดว้ ย ๑.๒.๖ ประโยชนข์ องงานวจิ ัยทางพระพุทธศาสนา กระบวนการวจิ ัยเป็นวธิ ีการแสวงหาความรู้และความจริงวธิ ีหนง่ึ ท่มี ีความนา่ เชื่อถือ ผลของ การวจิ ัยสามารถนาํ มาใช้ประโยชน์ ต่อมนษุ ย์ไดม้ ากมาย เช่น การวจิ ยั ทําให้เกดิ องค์ความรใู้ หม่ ผลของ การวจิ ยั สามารถนําไปใช้ในการแก้ไขป๎ญหาได้ และการวจิ ัย ยงั สามารถพัฒนาสิง่ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ใหเ้ กิด ขน้ึ ได้เสมอ เชน่ ทางด้านสงั คมศาสตร์ ด้านการแพทย์ดา้ นธรุ กิจการค้า ด้าน วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลของการวจิ ัยนาํ มาชว่ ยปรบั ปรุงการทาํ งานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ชว่ ยให้พิสจู น์ ตรวจสอบ ทฤษฎี กฎเกณฑต์ า่ ง ๆ ช่วยใหเ้ ขา้ ใจ ปรากฏการณห์ รือสถานการณ์ ช่วยในการพยากรณ์ สถานการณต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง และผลท่ี ไดส้ ามารถนําไปประกอบการตดั สนิ ใจในการดาํ เนินงานตา่ ง ๆ ของหน่วยงาน
ได้ด้วย ๑.๓ ๆ ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๆ การศึกษาความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาน้เี ปน็ การวางพ้ืนฐานความรู้ ในเรอ่ื งของวรรณกรรมทาง พระพทุ ธศาสนาให้เหน็ เปน็ ภาพโดยรวมกอ่ นเพ่ือให้เป็นพื้นฐานของความรู้ สาํ หรับใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์วรรณกรรมทาง พระพทุ ธศาสนาในบทต่อตอ่ ๆไป ในหวั ขอ้ นี้ จะศกึ ษา ๔ ประเดน็ ได้แก่ ๑) ความหมายของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) จุดมงุ่ หมายของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๓) ลกั ษณะของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ๔) ประเภทของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา แต่ละประเด็นมีรายละเอยี ด ดังน้ี ๑.๓.๑ ความหมายของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา คําวา่ งานวรรณกรรม มีความหมายค่อนข้างกว้างและครอบคลมุ ไปถึงงานเขยี นทกุ ชนิด พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายของ วรรณกรรมไว้ว่า “งานหนังสอื งานประพันธ์ บทประพันธท์ กุ ชนิดทงั้ ท่เี ป็นร้อยแก้วและรอ้ ย กรอง เชน่ วรรณกรรมสมัยรัตนโกสนิ ทร์ วรรณกรรมของเสถยี รโกเศศ วรรณกรรมฝรง่ั เศส วรรณกรรมประเภทส่ือสารมวลชน งานนพิ นธ์ท่ี ทาํ ขึ้นทกุ ชนิด เช่น หนังสอื จุลสาร สง่ิ เขียน สง่ิ พมิ พ์ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรยั สุนทรพจน์ และ หมายความ รวมถงึ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย” ซึง่ ในเรอ่ื งนี้มนี กั วชิ าการไดใ้ หค้ วามหมายไว้ดงั ที่ พงศ์ศกั ด์ิ สงั ขภ์ ิญโญ กลา่ ววา่ คาํ ว่า “วรรณกรรม” มคี วามหมายตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ “Literature Works” หรือ “General Literature” และการใช้คําว่า วรรณกรรม มปี รากฏครั้งแรกในพระราชบญั ญตั ิ คมุ้ ครองศิลปะและวรรณกรรม พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยให้คาํ นยิ าม “วรรณกรรมและ ศิลปกรรม” รวมกัน ไว้ว่า “วรรณกรรมและศิลปกรรม หมายความวา่ การทําขึ้นทุกชนิดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร์ แผนกศิลปะ จะแสดงออกโดยวธิ ีหรือรูปรา่ งอยา่ งใดกต็ าม เชน่ สมดุ สมุดเล็ก และหนงั สืออืน่ ๆ เช่น ปาฐกถา เทศนา หรือ วรรณกรรมอ่ืน ๆ อนั มลี กั ษณะเชน่ เดียวกนั หรอื นาฏยกรรม หรอื นาฏกยี ดนตรกี รรม หรอื แบบฟูอนราํ และการเล่นแสดงให้คน ดูโดยวิธใี ช้ ซึ่งการแสดงน้ันได้กาํ หนดไว้เป็นหนังสือ หรืออย่างอ่นื ” คาํ วา่ วรรณกรรมก็ได้นิยมใช้กนั แพรห่ ลายมาตามลาํ ดับ และ ในสมยั รัฐบาลจอมพล ป.พบิ ูลยส์ งคราม ได้มวี รรณกรรมและมีการสง่ เสริมศลิ ปะการแต่งวรรณกรรมเพ่ือรักษาวฒั นธรรมไทย อย่างเป็นทางการ พระศรีวสิ ุทธิคุณ (สฤษด์ิ ประธาต)ุ ได้ให้ทรรศนะวา่ คาํ วา่ วรรณกรรม เป็นคํา ท่ีมีความหมายคอ่ นข้างกว้าง โดยจะหมายถึง งานเขียนหรอื ขอ้ เขียนทุกประเภทไมจ่ าํ เพาะวา่ งานนน้ั จะ มีอรรถรสดา้ นเนือ้ หาเหมือนกบั วรรณคดีหรือไมก่ ็ตาม จากข้อมูลทสี่ บื คน้ มาได้น้ีแสดงใหเ้ หน็ ว่า งานเขยี นทุกชนิดถือวา่ เป็นวรรณกรรมไดท้ ง้ั สนิ้ แต่ถ้างานเขียนประเภทใดจดั เปน็ ประเภทงานเขยี น ข้นั ดีหรือดีเย่ยี ม เราอาจจะเรยี กงานเขียนประเภทน้ันวา่ “วรรณคดี”
ความหมายของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาน้ี จงึ นา่ จะเป็นงานเขยี นหนงั สอื ทุกชนดิ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั พระพุทธศาสนา งาน เขียนเหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ คมั ภีร์พระไตรปิฎก คัมภีร์อรรถกถา ฎกี า รวมไปถงึ งานเขยี นและงานวิจัยทีน่ กั วชิ าการได้ศกึ ษาคน้ ควา้ รวบรวมเอาไวต้ ง้ั แต่อดตี จนถึงป๎จจบุ นั ด้วย ถ้าเราจัดแบ่งลักษณะของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ตามพฒั นาการของคัมภรี ์ทางพระพุทธ ศาสนาแบบเถรวาทท่ีใช้ กันอยู่ตั้งแต่อดตี จนถึงป๎จจุบัน อาจจะแบ่งได้ ดงั น้ี คอื ๑) วรรณกรรมท่ีอยู่ในข้นั บาลี ไดแ้ ก่ พระไตรปิฎก ท้ังท่ีเปน็ ภาษาบาลีและที่แปลเปน็ ภาษา อื่นๆ เรียบร้อยแลว้ งานเขียน ประเภทน้ีตอ้ งรกั ษาหลักคาํ สอนทเ่ี ปน็ พุทธพจน์แบบดั้งเดิมเอาไว้ไมใ่ ห้ ผดิ พลาด หรือคลาดเคล่ือนออกไปจากหลกั การ ดง้ั เดมิ ของพระพทุ ธศาสนาและยังใช้เปน็ หลักฐาน ในการอ้างอิงสําหรับงานเขยี นรปู แบบอ่นื ทเ่ี ขียนเกีย่ วกบั แนวคิดทาง พระพทุ ธศาสนาให้มีความน่า เช่อื ถือได้อกี ทางหนง่ึ ด้วย ๒) วรรณกรรมทจ่ี ดั อยใู่ นขนั้ อรรถกถา ได้แก่ คัมภรี ท์ ีใ่ ช้อธิบายขยายความท่ีปรากฏในข้นั บาลีนั้นใหม้ ีความชดั เจนขึน้ อีกระดับ หนึ่ง ๓) วรรณกรรมทีจ่ ัดอยใู่ นข้นั ฎีกา ได้แก่ คัมภรี ป์ ระเภทอธิบายขยายความคัมภีร์อรรถกถา เช่น ฎกี าพาหุง เป็นตน้ ๔) วรรณกรรมทจ่ี ดั อยูใ่ นข้นั โยชนา ไดแ้ ก่ คัมภีรป์ ระเภทที่บอกสมั พนั ธ์ศัพท์บาลวี า่ ศัพท์ไหน เขา้ กับศัพท์ไหนในตน้ ฉบับนั้น ๆ เชน่ คมั ภีร์โยชนาฎกี าสังคหะ เปน็ ต้น ๕) วรรณกรรมทเี่ ป็นงานเขียนในลักษณะอ่นื ๆ ทไี่ ม่จัดเขา้ ในลกั ษณะ ที่ ๑-๔ นน้ั เชน่ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาทเ่ี ป็น งานเขยี นเชงิ วิชาการในรปู แบบตา่ ง ๆ งานวจิ ัยทางด้านพระพุทธ ศาสนา และ รวมถงึ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทบ่ี รรจุข้อมลู ท่ีเปน็ หลกั คาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนาด้วย เปน็ ตน้ สรปุ ไดว้ า่ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา หมายถึง งานเขียนหนงั สือทุกชนดิ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง กับพระพุทธศาสนา งานเขียน เหล่าน้ีได้แก่ คัมภรี ์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎกี า โยชนา รวมไปถงึ งาน เขียนทางด้านพระพุทธศาสนาในรูปแบบอ่ืนๆ รวมถงึ งานวิจยั ที่นกั วิชาการได้ศึกษาค้นควา้ รวบรวม เอาไวต้ ั้งแต่อดีตจนถึงป๎จจบุ ัน และโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ีบ่ รรจขุ ้อมูลท่ีเปน็ หลกั คําสอนทางพระ พุทธศาสนาดว้ ย ๑.๓.๒ จดุ ม่งุ หมายของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา วรรณกรรมท่ัวไปมีจุดม่งุ หมายของวรรณกรรมชนิดนัน้ ๆ อยู่แลว้ สาํ หรับผทู้ ่สี นใจสามารถศึกษา คน้ คว้าจากเอกสารทางวชิ าการเฉพาะด้านได้ ซ่ึงจะไมน่ ํามากลา่ วไวใ้ นท่ีนี้ จะกลา่ วเฉพาะ จุดมุ่งหมาย ของวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเท่านน้ั วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาส่วนมากมจี ุดมุ่งหมาย เพื่อที่จะสอน มนุษยใ์ หร้ เู้ กีย่ วกบั การละเว้นการทาํ ความช่วั สอนให้ทําความดี และการทาํ จติ ใหส้ ะอาด ซึง่ เรื่องนีเ้ ป็นจุดม่งุ หมายท่มี ีมาแต่เดมิ ในหลกั การทางพระพุทธศาสนาแลว้ เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ุดมุ่งหมาย ดงั กล่าวผเู้ ขียนวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาจงึ ใช้เทคนิคการ เขยี นหลายรูปแบบ บางเร่ืองเขยี นเป็น “ประเภทความเรียง” ที่เรยี กว่า ร้อยแก้ว บางเร่ืองเขยี นเปน็ “ประเภทคาํ ประพนั ธ์” ที่ เรยี กว่าร้อยกรอง เป็นตน้ ในเร่อื งนี้มีนักวิชาการทางพระพุทธศาสนา เชน่ พระราชปริยัติ (สฤษด์ิ สิริธโร) กลา่ วถึง จุดมงุ่ หมายใน การแต่งวรรณคดีเกีย่ วกับพระพทุ ธศาสนาไว้วา่ วรรณคดีเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาโดยมาก จะมงุ่ สอนใจของบุคคลใหร้ ู้ดีรชู้ ่วั กลอ่ มเกลาจิตใจให้ประณีตงดงามข้นึ เวน้ จากสิ่งท่ีช่ัวให้ประพฤตใิ น ส่ิงท่ีดงี าม จึงไดเ้ รยี กกนั ว่า วรรณกรรมคาํ เทศน์ เช่น ไตรภมู ิ พระรว่ ง มหาชาติคําหลวง พระมาลัย คาํ หลวง เปน็ ต้น สว่ นวรรณกรรมท่ีมีเน้ือหาในด้านใหค้ ําแนะนาํ ในการดําเนินชีวิตจดั เปน็ วรรณกรรม คาํ สอน เช่น สุภาษิตพระร่วง เพลงยาวถวายโอวาท สภุ าษิตสอนหญิง กฤษณาสอนนอ้ ง โลกนติ ิ คําโคลง เป็นตน้
ความแตกตา่ งของวรรณกรรมสองประเภทน้ี ทเี่ หน็ ไดช้ ดั คือ วรรณกรรมคําเทศน์จะมเี น้ือหา เกย่ี วกบั ศาสนธรรม คือ หลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา ส่วนวรรณกรรมคําสอนจะมเี น้ือหาเก่ียวกบั คําแนะนําสัง่ สอนที่บุคคลทั่วไปปฏบิ ัตแิ ละใชส้ ง่ั สอนเยาวชนใน กลุ่มของตน เพ่ือเป็นแนวทางประพฤติ ปฏิบัตใิ นชวี ิตประจําวนั วรรณกรรมเก่ียวกับพระพุทธศาสนาหรือวรรณกรรม คาํ เทศน์ มี จุดมุ่งหมาย ในการแตง่ ดังนี้ ๑) มงุ่ แสดงหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา คือ เพ่ือแสดงหลักคาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนา ผา่ นวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาใน รปู แบบต่าง ๆ แทนการเทศน์ หรือ การสอนจากตวั บุคคลโดยตรง ดงั นนั้ วรรณกรรมจึงเป็นสอ่ื ทบี่ ันทึกหลกั ธรรมในทาง พระพุทธศาสนาจากผ้นู าํ เสนอไปยังผู้ศึกษา ได้ง่ายและสะดวก เม่ือใดท่ีผู้ศกึ ษาต้องการศึกษาสามารถทําการศึกษาได้ทนั ที เช่น วรรณกรรมทาง พระพทุ ธศาสนา เรื่อง พระมงคลวิเสสกถา ของสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส แก่นพุทธ ศาสน์ ของพทุ ธทาสภกิ ขุ กรรมทีปนี ของพระพรหมโมลี (วิลาส ญาณวโร) พทุ ธธรรม ของ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต) พทุ ธวทิ ยา ของ พร รตั นสวุ รรณ เปน็ ต้น ๒) มุ่งเนน้ คุณคา่ หลกั พุทธธรรมและความสงู สง่ ของพระพุทธศาสนาคือใหต้ ระหนกั ถงึ คุณค่า ของพทุ ธธรรมและความสูงส่งของพระพทุ ธศาสนา เพื่อโนม้ นา้ วจติ ใจใหเ้ กดิ ศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธ ศาสนามากย่ิงขึน้ ดงั วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาบางเรอื่ งมกี ารแทรกปาฏิหาริย์ใหป้ รากฏหลายตอน เช่น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรือ่ ง พระมาลยั คําหลวงทรงพระนิพนธ์โดยเจ้าฟาู ธรรมธเิ บศร์ ปฐมสมโพธิกถา พระราช นิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ิตชิโนรส เป็นต้น ๓) มุ่งแสดงให้เห็นความดีงามของการบาํ เพ็ญบารมี คือ พระพุทธเจา้ เปน็ ตวั อยา่ งของมนุษย์ ผู้บําเพญ็ บารมี เปน็ ผฝู้ กึ ฝนพัฒนา ตนด้วยการทําคุณความดีอย่างย่ิงยวดมาเป็นเวลายาวนาน ความดี งามของการบําเพญ็ บารมีน้ีเองได้ เป็นป๎จจยั หน่ึงที่สง่ ผลให้ พระองค์ได้ตรัสรเู้ ป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซ่ึงเป็นองคศ์ าสดาของพระพุทธศาสนาท่ชี าวพทุ ธนบั ถืออยู่ในปจ๎ จุบนั ตามทศั นะของพระพทุ ธศาสนา น้ันถอื วา่ บคุ คลทุกคนมสี ทิ ธิและความสามารถทีจ่ ะบรรลธุ รรมไดห้ ากได้รับการฝึกฝนตนเองใหถ้ ูกต้อง ผู้ท่ีบาํ เพญ็ บารมีครบ บรบิ รู ณ์สามารถทีจ่ ะบรรลพุ ระโพธญิ าณได้ตรัสรเู้ ป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า องค์ต่อไปในอนาคต ดังนน้ั วรรณกรรมทาง พระพทุ ธศาสนาบางเรอ่ื งจึงมุ่งแสดงให้เห็นความดีงามของ การบําเพ็ญบารมีเพ่ือใหผ้ ศู้ กึ ษาเกดิ ความภมู ใิ จและเสื่อมใสในองค์ พระศาสดาสมั มาสัมพุทธเจา้ มาก ยิ่งขนึ้ เช่น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรือ่ ง พระมหาชนก พระราชนิพนธข์ อง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว ภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช รัชกาลที่ ๙ ของไทย เป็นตน้ ๔) ม่งุ ใหศ้ ึกษาหลกั คําสอนโดยผ่านวรรณกรรม คอื มงุ่ ใหผ้ ู้ศกึ ษาวรรณกรรม ทางพระพุทธ ศาสนาไดศ้ ึกษาหลักคาํ สอนท่ีมีอยู่ใน วรรณกรรม ซ่งึ ทําให้สามารถสอ่ื หลกั คําสอนโดยผ่านวรรณกรรม ทางพระพทุ ธศาสนาให้ผู้ศึกษาเขา้ ใจไดห้ ลากหลายรูปแบบ เชน่ รปู แบบการเทศน์ รูปแบบการสอน เป็นต้น รูปแบบการสอนโดยผา่ นวรรณกรรมดงั กล่าวอาจจะนําเสนอผ่านในเน้ือหาของ วรรณกรรม โดยตรง หรอื ผา่ นทางตวั ละครที่มีอยูใ่ นวรรณกรรมของเร่ืองน้นั ๆ กไ็ ด้ เช่น วรรณกรรมทางพระพุทธ ศาสนา เร่อื ง มังคลตั ถทีปนี ของพระสิรมิ งั คลาจารย์ เปน็ ตน้ ๕) มงุ่ ให้เขา้ ใจโลกตามความเปน็ จรงิ คือ สรรพสงิ่ ล้วนไมเ่ ที่ยงแท้ ไม่สามารถคงอยู่ใน สภาพเดมิ ได้ตลอดไป สรรพสง่ิ หาแก่นสาร ท่ีแทจ้ รงิ ไมไ่ ด้ จะต้องแตกดับไปในทสี่ ุด ใหม้ องเห็นว่า การดํารงตนอยูใ่ นทาํ นองคลองธรรม จะมีผลคือทําใหต้ นเองไดร้ ับ
ความสุข สงบเย็นในชีวติ ไม่ต้อง ไปเกิดในนรก ไมต่ ้องเดือดรอ้ นทุรนทรุ ายต่อไป เช่น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เรอื่ ง เต ภูมกิ ถา ของพญาลิไท เปน็ ตน้ ๖) มุ่งแสดงประวัตศิ าสตร์ของพระพุทธศาสนา คือ มุ่งที่จะแสดงความเจริญรุ่งเรืองของ พระพทุ ธศาสนาและประวัติของพุทธ ศาสนสถาน เช่น วรรณกรรม ปุณโณวาทคาํ ฉนั ท์ ของพระมหานาค วดั ทา่ ทราย สงั คตี ยิ วงศ์ ของสมเดจ็ พระวันรตั (แก้ว) วดั พระเชตุพน พทุ ธประวัติ ของสมเดจ็ พระมหา สมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส พุทธประวตั จิ ากพระโอษฐ์ ของพทุ ธทาสภิกขุ บทบาทของ พระบรมครู ของ ป่นิ มุทกุ ันต์ เปน็ ตน้ กลา่ วโดยสรปุ จุดมุ่งหมายของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา สว่ นมากมีจดุ มุ่งหมายเพื่อท่ี จะสอนมนษุ ยใ์ หร้ เู้ กย่ี วกบั เรือ่ ง ของบาปบญุ คุณโทษ ประโยชนม์ ใิ ชป่ ระโยชน์ มงุ่ สอนใหม้ นุษย์รู้จักการ ละเวน้ ความช่ัว สอนใหท้ าํ ความดี และการทําจิตให้ สะอาด ซ่ึงจุดมงุ่ หมายเหลา่ นไ้ี ดม้ ีอยแู่ ล้วในหลกั คําสอนทางพระพทุ ธศาสนา ๑.๓.๓ ลักษณะของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ลักษณะของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนานน้ั ผ้เู ขียนวรรณกรรมในเรื่องนัน้ ๆ จะนําเอา เร่อื งราวตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏอยู่ใน หลักคาํ สอนทางพระพทุ ธศาสนามาแต่งขึน้ ใหม่ (ยกเว้นพระไตรปฎิ ก) เปน็ ลักษณะการประพันธ์แบบต่าง ๆ เรอ่ื งทีแ่ ตง่ ขึ้นนนั้ มี ตน้ เค้าของเรื่องเดิมอยูใ่ นคมั ภีร์ทางพระพุทธ ศาสนา บางครง้ั ผแู้ ตง่ อาจจะเพิ่มเตมิ เร่ืองราวทเี่ ก่ียวขอ้ งกับวฒั นธรรม ประเพณี ความเชื่อ ของสังคม ทผ่ี แู้ ตง่ เพมิ่ เข้าใหม้ คี วามสัมพันธ์กลมกลืน โดยมีจุดม่งุ หมายเพอื่ ท่จี ะอธิบายหลกั การทางพระพุทธศาสนา ใหค้ นในสังคมยคุ น้นั ๆ เข้าใจง่ายขน้ึ เร่อื งราว เหลา่ นีจ้ ะมีความสมั พนั ธก์ บั พระพทุ ธศาสนาไมด่ ้านใด กด็ า้ นหนงึ่ ตามความ เหมาะสม โดยเฉพาะในประเทศทมี่ ีพระพุทธศาสนาเปน็ รากฐานทางวัฒนธรรม อย่างเช่น ประเทศไทย เป็นต้น วรรณกรรมไทย ในยุคตน้ ๆ สว่ นใหญ่จะถูกสอดแทรกหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาไว้ดว้ ยเสมอ ซ่ึงพระราชปรยิ ตั ิ (สฤษด์ิ สิริธโร) ได้แบง่ วรรณกรรมเก่ยี วกับพระพทุ ธ ศาสนาออกเปน็ ๒ ลักษณะ คือ ๑) วรรณกรรมท่ีนําเน้ือหามาจากพระไตรปิฎก หรือจากคัมภีร์อน่ื ๆ โดยตรง มาแต่งหรือ แปลใหม่ โดยแทรกสนธรรมหรอื คํา สอนทางพระพทุ ธศาสนาลงไป เชน่ ไตรภมู พิ ระรว่ ง นาํ เน้ือหา มาจากคมั ภีร์พระพุทธศาสนาจํานวน ๓๐ คมั ภีรม์ หาชาติคาํ หลวง และกาพย์มหาชาติ นาํ เน้ือหามาจาก คัมภีร์อรรถกถาชาดก พระมาลยั คาํ หลวง นาํ เนอื้ หามาจากคัมภีรม์ าลยั สตู ร และฎีกามาลัย ปณุ โณวาท คาํ ฉันท์ นําเน้ือหามาจากปุณโณวาทสตู ร หรือนาํ มาจากตาํ นานรอยพระพทุ ธบาท และสามัคคีเภท คําฉนั ท์ นาํ เนื้อหามาจากคมั ภรี ์มหาปรนิ ิพพานสูตร และอรรถกถาสมุ งั คลวิลาสินี เป็นต้น ๒) วรรณกรรมท่ีนําแนวคิดทางพระพทุ ธศาสนามาแต่งเพ่ือแสดงความเลอื่ มใสศรัทธา หรือบนั ทกึ เหตกุ ารณ์บางอยา่ งแล้วแทรก ความรสู้ ึกนึกคดิ และจนิ ตนาการของกวี ในพระพุทธศาสนา ลงไป เช่น โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ แต่งข้ึนเพราะความเล่อื มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา เพือ่ จะ บันทกึ เหตุการณท์ ี่สามารถชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ได้สาํ เร็จและเพ่ือเฉลมิ พระเกียรตบิ ญุ ญาภินหิ าร สมเดจ็ พระเจ้าทา้ ยสระให้ปรากฏ ๓๓
๑.๓.๔ ประเภทของงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา การแบง่ ประเภทของวรรณกรรมทว่ั ไป สามารถแบง่ ไดห้ ลายประเภทขน้ึ อย่กู บั ว่าจะอาศัย หลกั เกณฑใ์ ดมาใชใ้ นการแบ่ง เช่น ๑) แบง่ ตามลกั ษณะการประพันธ์ ๒) แบง่ ตามลักษณะเน้ือเรือ่ ง ๓) แบ่งตามลกั ษณะการถา่ ยทอด ๔) แบง่ ตามต้นกําเนดิ ของวรรณกรรม ๕) แบ่งตามรปู แบบวัสดุและสื่อที่เสนอ ๖) แบง่ ตามแหลง่ กาํ เนดิ ของวรรณกรรม แต่ในการแบ่งประเภทของงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนานัน้ สามารถนาํ เอาเกณฑ์เหล่าน้ี มาใชใ้ นการแบ่งได้เช่นเดยี วกนั ดงั นี้ ๑) แบง่ ตามลกั ษณะการประพันธ์ มี ๒ ประเภท คือ ๑.๑) วรรณกรรมร้อยแก้ว คือ วรรณกรรมทเ่ี ขียนเปน็ ความเรยี งทว่ั ไปใช้ถ้อยคําสละสลวย เหมาะเจาะด้วยเสียงและความหมาย ไมก่ าํ หนดบังคับคําหรอื ฉันทลักษณ์ วรรณกรรมรอ้ ยแกว้ นีย้ ังแบง่ ยอ่ ยออกไดอ้ ีก ๒ ประเภท ได้แก่ (๑) บนั เทิงคดี (Fiction) คอื วรรณกรรมทแี่ ต่งขน้ึ โดยมุง่ ความบันเทงิ แกผ่ ูอ้ า่ นเป็นประการสําคัญ สว่ นเร่ืองการให้ข้อคิด ความเชื่อ หรอื คตสิ อนใจแกผ่ ้อู า่ น นน้ั เปน็ วัตถุประสงค์รอง วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาท่จี ดั อยใู่ นประเภทบันเทิงคดี เชน่ นวนิยาย (Novel) เร่อื งส้ัน (Short Story) และบทละคร (Drama) เชน่ ลีลาวดี ของธรรมโฆษ และ กามนิตวาสิฏฐี แปลโดย เสฐียรโกเศศ และนาคะประทีป เปน็ ตน้ (๒) สารคดี (Non-Fiction) คือ วรรณกรรมทีส่ ว่ น ใหญเ่ ขียนเรียบเรยี งข้ึนจากความจริง มุ่งที่จะใหค้ วามรู้ ความคดิ ที่เป็น คุณประโยชนเ์ ป็นหลักสําคัญ อาจจะเขยี นในเชงิ อธิบายเชิงวิจารณ์ หรือ เชิงพรรณนาส่ังสอน โดยอธิบายเร่อื งใดเร่ืองหนง่ึ อย่างมี ระบบ เพอ่ื มงุ่ ทจ่ี ะถ่ายทอดความรู้ ตอบสนองความอยากรู้อยากเห็นใหแ้ ก่ผอู้ ่าน และก่อให้เกิดคุณคา่ ทางป๎ญญา แก่ผอู้ า่ นเป็นสําคัญ วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาทจี่ ดั อย่ใู นประเภทสารคดี มีดังน้ี คอื ประเภท ความเรียง (Essay) เชน่ จาริกบญุ จาริกธรรม ของ พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตโฺ ต) เป็นต้น ประเภท บทความ (Article) เช่น พระพุทธศาสนากับการฟนื้ ตัวจากวิกฤตการณโ์ ลก ซ่งึ ได้ รวมบทความประชมุ วชิ าการทางพระพุทธศาสนานานาชาติ คร้งั ที่ ๗ เนอ่ื งในวันวิสาขบูชา วนั สําคัญสากลของโลก เป็นต้น ประเภทสารคดที ่องเท่ียว (Travelogue) เชน่ สารคดีตามรอยพระพุทธเจ้า ของพาโนรามา เป็นตน้ และ ประเภทจดหมายเหตุ (Archive) เชน่ กาลานกุ รม พระพุทธศาสนาในอารยธรรมโลก ของพระ พรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต) เป็นต้น ๑.๒) วรรณกรรมรอ้ ยกรอง คือ วรรณกรรมที่เขยี นเรยี บเรียงถอ้ ยคําให้เป็นระเบยี บตาม บัญญัติแหง่ ฉันทลักษณ์ตา่ ง ๆ มกี าร บังคับคณะ บงั คับคาํ และแบบแผนการสง่ สัมผัสต่าง ๆ งานเขยี น ประเภทน้บี างครง้ั เรียกวา่ กวนี พิ นธ์ หรอื คาํ ประพันธ์ เชน่ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน ร่าย ลิลติ เปน็ ต้น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาประเภทร้อยกรองน้ียงั สามารถแบง่ ย่อยออกได้อกี ๓ ประเภท ไดแ้ ก่ (๑) วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาประเภทบรรยาย (Narrative) คือ วรรณกรรมร้อยกรองที่มี โครงเรือ่ ง ตวั ละคร และเหตุการณ์ต่าง ๆ ผูกเปน็ เรอ่ื งราวต่อเนื่องกนั ไป เช่น กาพยม์ หาชาตขิ องพระเจ้า ทรงธรรม เป็นต้น (๒) วรรณกรรม ทางพระพุทธศาสนาประเภทพรรณนา หรอื รําพึงราํ พนั (Descriptive or Lyrical) บทรอ้ ยกรองประเทน้ผี แู้ ต่งมุ่งแสดงอารมณ์ สว่ นตัวอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ไม่มีโครงเร่อื ง เชน่ โคลงนริ าศหริภญุ ชยั เป็นต้น (๓) วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาประเภทบทละคร (Dramatic) เปน็ บทร้อยกรองสําหรับการอา่ นและใช้เปน็ บทสาํ หรับการแสดงดว้ ย เช่น บทพากยโ์ ขน บทละครร้อง
บทละครรําา เปน็ ต้น ๆ ๒) แบ่งตามลกั ษณะเนื้อเร่อื ง มี ๒ ประเภท คอื ๒.๑) วรรณกรรมบริสุทธ์ิ (Pure Literature) หมายถงึ วรรณกรรมที่แตง่ ขึ้นจากอารมณ์ สะเทอื นใจตา่ ง ๆ ไม่มีจุดมงุ่ หมายท่ีจะ ให้วรรณกรรมนน้ั ทรงคุณค่าในทางใดเป็นพิเศษ แตว่ รรณกรรม นัน้ อาจจะลํา้ คา่ ในสายตาของนักอ่านรนุ่ หลงั ๆ กเ็ ปน็ ได้ แต่มิได้ เป็นเจตจํานงที่แทจ้ รงิ ของผู้แต่ง ผแู้ ต่ง เพียงแต่จะแตง่ ขนึ้ ตามความปรารถนาในอารมณ์ของตนเองเป็นสําคญั ๒.๒) วรรณกรรมประยกุ ต์ (Applied Literature) หมายถงึ วรรณกรรมท่ีแต่งขน้ึ โดยมี เจตจํานงท่สี นองสง่ิ ใดส่ิงหน่งึ อาจเกิด ความ บันดาลใจที่จะสืบทอดเร่อื งราวความชน่ื ชมในวีรกรรมของ ผู้ใดผู้หนึง่ นน่ั หมายถึงวา่ มีเจตนาจะเขยี นเรื่องราวข้นึ เพ่ือประโยชนอ์ ยา่ งหน่ึง หรือมจี ดุ มุ่งหมายในการ เขียนชดั เจน มใิ ช่เพ่ือสนองอารมณอ์ ย่างเดยี ว เชน่ วรรณกรรมประวตั ิศาสตร์ วรรณกรรมการละครและ อาจหมายรวมถึงพงศาวดารต่าง ๆ ดว้ ย เป็นต้น ๓) แบ่งตามลักษณะการถา่ ยทอด มี ๒ ประเภท คอื ๓.๑) วรรณกรรมมุขปาฐะ หมายถึง วรรณกรรมทถ่ี า่ ยทอดโดยการบอกเลา่ และการ ขบั รอ้ ง แบบปากต่อปาก วรรณกรรมมขุ ปาฐะมปี รากฏมานาน และมีอยูใ่ นทุกภูมภิ าคของประเทศไทย ทีเ่ ปน็ เชน่ นเี้ นอ่ื งจากวา่ วรรณกรรมประเภทน้เี ป็นภาษาของมนุษย์ เมือ่ มนุษยม์ ภี าษากย็ ่อมมีโอกาส ถา่ ยทอดจนิ ตนาการและอารมณ์โดยการใชภ้ าษามากขน้ึ ประกอบกับภาษาพดู สามารถทําความ เข้าใจ ได้ง่ายและเรว็ กวา่ ภาษาเขียน ดงั นน้ั วรรณกรรมมุขปาฐะจึงมมี าก และมมี านานกว่าวรรณกรรม ประเภทอน่ื เชน่ กลอน เทศน์แหลข่ องพระสงฆ์ กลอนลาํ ของนักแสดงหมอลํา คําผญาของคนไทยใน ภาคอีสาน บทสวดในคาถาอาคมตา่ ง ๆ เป็นตน้ ๆ ๓.๒) วรรณกรรมลายลกั ษณ์ หมายถงึ วรรณกรรมท่ถี ่ายทอดโดยการเขยี น การจาร หรือ การจารึก ไม่วา่ จะเป็นการกระทาํ ลง บนวสั ดใุ ด ๆ เชน่ กระดาษ เยื่อไม้ ใบไม้ แผ่นดนิ เผา หรอื ศิลา วรรณกรรมลายลักษณน์ ้ีไดพ้ ัฒนาสืบตอ่ มาจากวรรณกรรมมขุ ปาฐะ คอื เกิดข้นึ ในยุคที่มนุษย์เรม่ิ รจู้ กั ใช้ สัญลักษณ์หรือตัวอักษร บันทึกความในใจของตนเองเพอ่ื ถา่ ยทอดให้ผู้อ่นื ได้รับรู้ และ เนอ่ื งจากตวั อักษร เป็นเคร่ืองมอื บันทึกทสี่ ่ือสารกันได้กวา้ งไกล และย่งั ยืน มนุษยจ์ งึ สรา้ งวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ประเภทนีเ้ ป็นจํานวนมากในทุกภาคของประเทศไทย ๔) แบง่ ตามตน้ กาํ เนดิ ของวรรณกรรม มี ๒ ประเภท คอื ๔.๑) วรรณกรรมปฐมภูมิ (Primary Source) เปน็ วรรณกรรมที่เกดิ จากความคดิ ความริเร่มิ การค้นพบจากประสบการณ์ของ ผเู้ ขียนเองแล้วนาํ ไปเผยแพร่แก่สาธารณชน เชน่ เอกสาร จดหมายเหตุ วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย และเอกสารสว่ นบคุ คล เป็นตน้ ๔.๒) วรรณกรรมทตุ ิยภูมิ (Secondary Source) เป็นวรรณกรรมท่ีเกดิ จากการรวบรวม วเิ คราะห์เลือกสรร ประมวล และเรยี บ เรียงข้อมลู มาจากวรรณกรรมปฐมภูมิ เชน่ หนังสอื ตําราต่าง ๆ หนงั สือพจนานุกรม และหนงั สือสารานกุ รม เป็นต้น
๕) แบง่ ตามรปู แบบวัสดแุ ละสื่อท่ีเสนอ มี ๒ ประเภท คือ ๕.๑) วรรณกรรมในรูปของวัสดุสง่ิ พมิ พ์ (Printed Materials) หมายถงึ วรรณกรรมที่ ถ่ายทอดงานเขยี นทเ่ี ป็นตัวอักษรและใช้ กระดาษเป็นหลกั ซึ่งในป๎จจุบันวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา ในรูปของวสั ดุส่งิ พิมพ์มอี ย่หู ลายรปู แบบ เชน่ หนงั สอื พจนานกุ รม รายงานการวิจัย วารสาร เป็นต้น ๕.๒) วรรณกรรมในรปู ของวสั ดไุ ม่ตีพมิ พ์ (Non-Printed Materials) หมายถึง วรรณกรรม ทถี่ ่ายทอดงานลงในวัสดุไม่ตีพิมพ์ หรือโสตทัศนวสั ดุ เชน่ บทเพลงที่บนั ทึกลงในแผ่นเสยี ง แถบบนั ทึกเสียง หรือ วสั ดุท่ีใชก้ ับเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ชนดิ ต่าง ๆ เปน็ ต้น ๑.๔ การวเิ คราะห์งานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา การศกึ ษาในหวั ข้อนเ้ี ป็นการวางพ้นื ฐานความรู้ในเรอื่ งของการวเิ คราะหง์ านวรรณกรรมให้เขา้ ใจ เปน็ ภาพโดยรวมก่อนเพอ่ื ให้ เปน็ พืน้ ฐานของความรู้สําหรับใชใ้ นวเิ คราะหว์ รรณกรรมทางพระพทุ ธ ศาสนาในบทต่อ ๆ ไป หัวขอ้ นจ้ี ะได้ศกึ ษาใน ๔ ประเด็น ต่อไปน้ี คือ ๑) ความหมายของการวิเคราะห์ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๒) วตั ถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์งาน วรรณกรรมทางพระพทุ ธ ศาสนา ๓) ประโยชน์ของการวิเคราะห์งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา และ ๔) แนวทางการ วเิ คราะห์ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา แตล่ ะประเด็นมรี ายละเอียดดงั น้ี ๑.๔.๑ ความหมายของการวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์ หมายถึง การแยกออกเปน็ ส่วน ๆ เพื่อศึกษาให้ถอ่ งแท้ ดังนนั้ การวเิ คราะหง์ าน วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา จงึ หมายถึง การแยกออกเป็นสว่ น ๆ เพื่อศึกษาให้ถ่องแท้ของงานเขยี น ท่ีเก่ยี วกับพระพุทธศาสนา จนทาํ ให้สามารถมองเหน็ รายละเอียดของส่ิงทเ่ี ราแยกออกมาศึกษาได้อยา่ ง ชัดเจนมากยิง่ ขน้ึ ซึ่งจะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อผูว้ ิเคราะห์ในการประเมิน คณุ คา่ การแสดงความคิดเห็น การอธบิ ายข้อเทจ็ จรงิ ใหบ้ คุ คลอื่นทราบได้ โดยทวั่ ไปการวเิ คราะห์วรรณกรรมสง่ิ ทผี่ ้วู ิเคราะห์ตอ้ งการ นาํ เสนอใหผ้ ูอ้ ืน่ ไดร้ ับ ทราบมักจะเปน็ เร่ืองทเ่ี กยี่ วกับความเป็นมา ลักษณะคาํ ประพนั ธ์ เรอ่ื งย่อ เนื้อเร่อื ง แนวคดิ จุดมุง่ หมาย เจตนาของผู้เขียนทฝ่ี าก ไวใ้ นเรอ่ื ง และคุณค่าของวรรณกรรม เป็นต้น ๑.๔.๒ วัตถปุ ระสงคข์ องการวเิ คราะห์ วัตถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา กเ็ พ่ือให้พิจารณาเห็นถงึ องค์ประกอบต่าง ๆ ทีป่ รากฏอยูใ่ น วรรณกรรมเรอื่ งน้ัน ๆ เชน่ เพือ่ ให้ทราบความเป็นมา ลักษณะ คาํ ประพันธ์ เรอื่ งย่อ เนื้อเรอื่ ง แนวคดิ จุดมุ่งหมาย เจตนาของ ผู้เขียนทฝี่ ากไวใ้ นเรื่อง และ คุณคา่ ของวรรณกรรม ในเรื่องทนี่ าํ มาวเิ คราะห์น้นั ๆ ๑.๔.๓ ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์ ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการวิเคราะหง์ านวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนา คือทาํ ให้ทราบถึง องคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่ีปรากฏอยู่ใน วรรณกรรมเรือ่ งน้ัน ๆ เช่น ทําใหท้ ราบความเป็นมา ลกั ษณะ คาํ ประพนั ธ์ เร่ืองย่อ เนอ้ื เร่ือง แนวคิด จุดมงุ่ หมาย เจตนาของผเู้ ขียนที่ฝากไว้ในเรื่อง และ คุณค่า ของวรรณกรรม ในเรอื่ งที่ นาํ มาวิเคราะห์น้นั ๆ อนั จะก่อใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การประเมินคุณคา่ การแสดงความคิดเหน็ การวจิ ารณ์ และอธิบายข้อเท็จจริง ของวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาเรือ่ งน้ัน ใหบ้ ุคคลอ่ืนไดร้ ับทราบต่อ ๆ กันไป ๑.๔.๔ แนวทางการวิเคราะห์
แนวทางการวเิ คราะหง์ านวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาน้ีเปน็ การวางกรอบเพ่ือให้เหน็ ประเด็น ทีจ่ ะนาํ มาใช้ในการวเิ คราะหว์ ่ามีอะไรบ้าง เมื่อกําหนดประเด็นจะทําการวเิ คราะห์ได้ชดั เจนแลว้ ก็นํา เอาประเด็นท่ตี ั้งไวม้ าวางเปน็ กรอบเพ่ือทาํ การวเิ คราะหใ์ ห้เห็นรายละเอยี ดของเนอ้ื หาท่ีมีอยู่ในแต่ละ ประเด็นตามลาํ ดับ สําหรับ แนวทางในการวเิ คราะหว์ รรณกรรมทางพระพุทธศาสนามีดังน้ี ๑) ความเปน็ มา ความเป็นมาของวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ควรวเิ คราะห์ให้เหน็ รายละเอียดในประเด็นต่อไปนี้ ๑.๑) ประวตั ิหนงั สือ การวิเคราะหป์ ระวัตหิ นงั สือควรแยกให้เหน็ ประเด็นเหลา่ น้ี คือ (๑) กาํ เนดิ ของวรรณกรรม เชน่ แต่งทไ่ี หน แตง่ เมื่อใด ณ ท่ีแหง่ ใด โดยใคร ตน้ ฉบับเดมิ แต่งดว้ ยภาษา อะไรและเขยี นด้วยตวั อักษรอะไร ป๎จจุบนั ต้นฉบับเดมิ ยังคงเหลอื อยู่ หรือไม่ ถา้ ยังคงเหลืออยู่เป็นฉบับ ทีม่ ีเนอ้ื หาครบสมบูรณ์เหมือนฉบับเดิมหรอื ไม่ ถ้าไม่ครบสมบูรณเ์ หมือนฉบับเดิมสว่ นใดของ เนอ้ื หาท่ี เหลอื อยูแ่ ละสว่ นใดท่ีขาดหายไป ถ้ายงั คงเหลืออยปู่ จ๎ จุบนั ถูกเกบ็ รักษาไว้ทใี่ ด เนอ้ื หาทนี่ าํ มาใช้ศึกษา ในป๎จจบุ นั น้ี ไดม้ าจากแหล่งใด เปน็ ต้น (๒) พัฒนาการของวรรณกรรม เชน่ การแปลและการพมิ พ์ คือ ป๎จจบุ ันวรรณกรรมทาง พระพุทธศาสนาน้ีไดแ้ ปลเปน็ ภาษา เปน็ ภาษาอะไรบ้าง และป๎จจบุ ันไดต้ ีพมิ พ์ เป็นกีภ่ าษา แตล่ ะภาษาได้ถูกนํามาตีพมิ พ์ เผยแพร่กี่ครัง้ เคยได้รับรางวัลยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตจิ ากองค์การ หรือหนว่ ยงานใดบา้ งหรือไม่ เป็นตน้ หากสามารถบอกใหเ้ หน็ กาํ เกดิ และพัฒนาการของวรรณกรรม ดงั รายละเอียดท่ีกล่าวมาไดท้ ้ังหมดก็ควรบอกไว้ดว้ ย หรือหากสามารถเพ่ิมให้เห็น รายละเอียดได้มากกว่า ที่กลา่ วมานกี้ ็สามารถเพ่ิมเขา้ มาได้อีก ๑.๒) ประวัติผู้แตง่ การวเิ คราะหป์ ระวตั ผิ ูแ้ ต่งควรแยกให้เห็นประเด็นเหล่าน้ี คือ ชาตภิ ูมิ เชน่ ถอื กาํ เนิดเมื่อใด ณ ทีแ่ ห่งใด บิดา มารดามีชือ่ วา่ อย่างไร บิดามารดาประกอบอาชพี อะไร มีพนี่ ้อง หญิงและชายรวมกันกี่คน ผู้แตง่ วรรณกรรมเรื่องนัน้ เป็นคนที่ เท่าไร เป็นต้น ประวตั กิ ารศึกษา เชน่ ผ้แู ตง่ วรรณกรรมเรื่องนไี้ ดร้ ับการศกึ ษาทางโลก ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา อดุ มศึกษาจากที่ใด หรือไดร้ บั การศึกษาในทางโลกรปู แบบอื่น ๆ อยา่ งไรบ้าง ได้รับการศึกษาทางธรรม แผนกธรรม แผนก บาลีหรือไดร้ บั การศึกษาในทางธรรมรปู แบบอนื่ ๆ อย่างไรบ้าง เปน็ ต้น ประวัติการประกอบอาชีพ เช่น ประกอบอาชพี เกษตรกรรม คา้ ขาย รับราชการ หรอื ประกอบอาชีพรปู แบบอ่นื ๆ อยา่ งไรบ้าง เปน็ ต้น ประวัติผลงาน เช่น มผี ลงานด้าน วรรณกรรมและผลงานสร้างสรรค์ด้านอนื่ ๆ อะไรบ้าง มีผลงานท่โี ดดเด่นเป็นกรณพี ิเศษ อะไรบา้ ง เป็นตน้ ประวตั ิการสนิ้ ชีวติ เช่น ส้นิ ชวี ติ เมอื่ ใด ณ ที่แหง่ ใด ส้นิ ชีวิตด้วยสาเหตใุ ด เปน็ ต้น ๒) ลักษณะคาํ ประพันธ์ ลกั ษณะคําประพันธ์ ของวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาสามารถ นาํ มาจดั แบง่ ได้เปน็ ๒ ลกั ษณะคือ ๒.๑) ลกั ษณะคาํ ประพนั ธร์ อ้ ยแก้ว มีอยู่ ๒ ประเภท คือ บันเทงิ คดี (Fiction) และ สารคดี (Non-Fiction) การวิเคราะห์ลักษณะ คาํ ประพนั ธ์รอ้ ยแก้วประเภทบนั เทงิ คดี (Fiction) ควรแยก ให้เห็นประเด็นเหล่านี้ คือ (๑) รปู แบบของวรรณกรรม เช่น เปน็ รปู แบบเรอ่ื งส้นั หรือ รูปแบบนวนิยาย (๒) เนอ้ื หาของวรรณกรรม คือ สาระสาํ คัญที่ทําใหเ้ กิดเป็นเร่ืองราวอันประกอบด้วย โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก เป็นตน้ (๓) กลวธิ ีการแตง่ วรรณกรรม ใหว้ ิเคราะห์วา่ ผู้เขยี นใช้การดาํ เนินเรือ่ งแบบใด เช่น เลา่ ไป ตามลาํ ดับเวลา หรือเล่าเร่ืองย้อนกลับ เปน็ ตน้ (๔) สํานวนภาษาที่ใช้ในการแต่งวรรณกรรม เช่น การใชโ้ วหารในการเขยี น เปน็ บรรยาย โวหาร พรรณนาโวหาร อปุ มาโวหาร สาธกโวหาร หรอื เทศนาโวหาร เปน็ ต้น การวเิ คราะห์ลักษณะคําประพันธ์รอ้ ย แกว้ ประเภทสารคดี (Non-Fiction) ควรแยกให้เหน็ ประเด็นเหล่าน้ี คอื (๑) รูปแบบของวรรณกรรม เช่น เปน็ รปู แบบความเรยี ง บทความ จดหมายเหตุ บนั ทึกเหตกุ ารณ์ บนั ทกึ ความทรงจํา คาํ บรรยาย เป็นตน้ (๒) เน้อื หาของวรรณกรรม เช่น โครงเร่อื ง คือ หัวข้อยอ่ ยทสี่ ร้างขนึ้ จากแนวคิดสําคัญ และ เน้อื เร่ือง คือ สว่ นท่ีผ้เู ขียนกลา่ วถึงเรอ่ื งอะไร บ้าง ซ่งึ เปน็ หัวขอ้ ย่อย ๆ ท่ีมีอยู่ใน โครงเร่อื งนัน้ เอง สว่ นที่เป็นเน้ือเรอ่ื งน้ีแบง่ ออกเปน็ ส่วนนํา สว่ นที่ เป็นตวั เร่ือง และสว่ นท้ายเร่อื ง (๓) กลวิธกี ารแต่งวรรณกรรม
คือ ผวู้ ิเคราะห์ต้องพจิ ารณาวิธีเขยี นของ ผูแ้ ต่งวรรณกรรมเร่ืองน้นั วา่ ใช้วิธเี ขยี นแบบเรียบงา่ ยหรอื ซบั ซ้อน การจดั เน้ือหาเป็นไป ตามลาํ ดับ ขนั้ ตอนหรือไม่ เนื้อความวกไปวนมาหรือไม่ การแบง่ เนอื้ หาเปน็ หวั ข้อหลกั หัวข้อรอง และหวั ข้อยอ่ ย มีความสมั พนั ธ์ กนั และสอดคล้องกันไปตลอดท้ังเร่ืองหรือไม่ (๔) สํานวนภาษาที่ใชใ้ นการแตง่ วรรณกรรม คอื ให้พิจารณาจากสาํ นวนภาษาท่ีใชใ้ นการแตง่ ว่าผเู้ ขียนใช้ภาษาได้เหมาะสมกบั เนือ้ เรื่องหรือไม่ สาํ นวน ภาษาที่ใช้เป็นทางการ หรอื ไมเ่ ป็นทางการ สาํ นวนภาษามีความชัดเจนแจม่ แจ้งหรือไม่ มกี ารใชค้ ําศัพท์ วชิ าการได้ถูกต้องและเหมาะสมอย่างไรบา้ ง หรอื ไม่ เปน็ ตน้ ๒.๒) ลกั ษณะคาํ ประพนั ธร์ อ้ ยกรอง มี ๓ ประเภท คือ ประเภทบรรยาย (Narrative) ประเภทพรรณนา หรอื รําพงึ รําพัน (Descriptive or Lyrical) และประเภทบทละคร (Dramatic) การวเิ คราะห์ลกั ษณะคําประพันธร์ ้อยกรองทงั้ ๓ ประเภท ควร แยกใหเ้ หน็ ประเดน็ เหลา่ นี้ (๑) รปู แบบ คําประพันธ์ คือ ลักษณะของงานประพนั ธท์ ผี่ ู้ประพันธ์เลือกใช้ในการนําเสนอ เน้อื หา ไปสผู่ อู้ า่ น เช่น กาพย์ กลอน โคลง รา่ ย ฉนั ท์ เป็นตน้ (๒) เนอื้ หา คอื สาระสําคญั อนั เป็นส่วนประกอบของเรือ่ ง เชน่ โครงเรื่อง ตัวละคร และฉาก เปน็ ตน้ (๓) กลวธิ กี ารแตง่ คือ วรรณกรรมนัน้ ๆ มีคุณคา่ น่าสนใจ เช่น ความไพเราะของบทรอ้ ยกรอง และ กลวธิ ีการแตง่ เปน็ ตน้ (๔) การใชภ้ าษา คือ ศลิ ปะในการใช้ถ้อยคํา สาํ นวนโวหารมาประกอบในการแต่งวรรณกรรมทําใหผ้ อู้ า่ น เกิดจนิ ตนาการและมีอารมณ์ร่วมหรือคลอ้ ย ตามไปดว้ ย เช่น การอุปมา คอื ส่ิงหรือข้อความที่ยกมาเปรยี บเทียบ เป็นต้น นอกจากน้ผี ้แู ต่งวรรณกรรม ยังมีลีลาในการถ่ายทอดอารมณค์ วามรู้สกึ ตา่ ง ๆ เชน่ อารมณร์ กั อารมณโ์ ศก อารมณ์ยินดี มายงั ผ้อู ่าน เพ่ือสรา้ งอารมณ์รว่ มไปกับคําประพนั ธน์ ั้น ๆ ลลี าท่ีกวใี ช้เพือ่ ให้ผอู้ ่านเกิดอารมณ์นั้น ๆ มีอยู่ ๔ แบบ คือ เสาวรจนหรอื ชม โฉม เป็นลลี าการใชถ้ อ้ ยคําชมความงามของตัวละคร ชมความงามของส่งิ ต่าง ๆ หรอื สถานท่ี นารีปราโมทย์หรือบทโอ้โลม เป็น ลีลาการใช้ถอ้ ยคําแสดงความรักใครเ่ กยี้ วพาราสกี ัน หรือพูดให้เพลดิ เพลิน พิโรธวาทั้งหรอื บรภิ าษ เป็นลีลาการใช้ถ้อยคาํ เพ่ือ แสดงความโกรธ ขุ่นเคือง เยาะเยย้ ตดั พ้อต่อว่า เหน็บแนมซึ่งกนั และกนั ของตวั ละคร สัลลาบังคพิสยั หรอื บทคร่ําครวญ เปน็ ลีลา การใชถ้ อ้ ยคําเพ่อื แสดงความโศกเศร้า หวนไห้ อาลยั อาวรณ์ พรา่ํ เพ้อ การวิเคราะหว์ รรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาสามารถใช้องค์ประกอบต่าง ๆ ของวรรณกรรม ท่ไี ดใ้ ห้ไวน้ มี้ าตั้งเปน็ กรอบวเิ คราะห์ ผู้วิเคราะหค์ วรตั้งประเดน็ ให้มีกรอบของการวเิ คราะห์ใหช้ ดั เจน แลว้ ใช้เหตผุ ล และหา ตัวอย่างมาสนับสนุน เพ่ือให้ได้คาํ ตอบท่ีมีความสมเหตุสมผล ซึ่งจะชว่ ยให้ผ้อู า่ น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาสามารถเข้าใจ เรื่องราว ไดแ้ ง่คิด คติธรรม เกิดความเพลดิ เพลนิ เหน็ คุณคา่ ของวรรณกรรมเรอ่ื งนั้น ๆ ได้อยา่ งแท้จริง ๓) เรอื่ งยอ่ เร่ืองย่อคือ ส่วนที่เป็นเรื่องราวตา่ ง ๆ ทผ่ี เู้ ขียนวรรณกรรมเร่ืองนั้น ๆ ถา่ ยทอด ออกมา เพือ่ ให้ผู้อา่ นได้ทราบว่าเรือ่ ง น้ีเกยี่ วกับอะไร เรื่องนี้เกดิ ขึ้นท่ีไหน เกิดขน้ึ เม่ือใดเกดิ ขนึ้ อย่างไร มีสาระสําคัญอย่างไร มเี หตกุ ารณห์ รือความเก่ียวข้องระหว่าง ตวั ละครอย่างไร เรือ่ งเร่มิ ต้นอยา่ งไร ดําเนินไปอยา่ งไร และจบอยา่ งไร ผู้วเิ คราะหต์ ้องแยกแยะให้เหน็ รายละเอียดของ องคป์ ระกอบเหลา่ น้ี ให้ชัดเจน ดงั ตัวอยา่ งเร่ืองย่อวรรณกรรม เร่ือง มงคลสูตร ต่อไปนี้ ๓.๑) เร่อื งนเี้ กี่ยวกับอะไรให้บอกเกยี่ วกบั วรรณกรรมเรอ่ื งนั้น อาจเป็นชอื่ เรือ่ งตามเนื้อหา เชน่ มงคลสูตร, ชือ่ เร่ืองตามตวั ละคร เช่น พระเวสสนั ดรชาดก, ชื่อเรือ่ งตามระยะของเวลา และเหตุการณ์ สถานที่ เชน่ กาลานุกรม เป็นต้น ๓.๒) เกิดขึน้ ทไ่ี หน ให้บอกสถานที่เกิดของวรรณกรรมเร่ืองน้ัน เชน่ มงคลสตู ร เกดิ ขน้ึ ที วดั เชตวนั ในกรงุ สาวัตถี แคว้นโกศล ๓.๓) เกิดขนึ้ เมื่อใด ให้บอกเก่ียวกบั เวลาเกดิ ของวรรณกรรมนน้ั เช่น มงคลสูตร เกดิ ข้นึ สมัยพุทธกาล หลังจากออกพรรษาท่ี ๑๓ แล้ว เกิดขนึ้ ในเวลาเท่ยี งคืน ขณะท่ีพระพระพทุ ธเจา้ ประทับ อยู่ ณ วดั เชตวัน ในกรงุ สาวัตถี
๓.๔) เกิดขึ้นอย่างไร ใหบ้ อกเก่ยี วกับเหตกุ ารณท์ ีท่ ําให้เกิดวรรณกรรมนั้น เชน่ มงคลสูตร เกิดขึ้นเพราะมนุษยแ์ ละเทวดา ท้งั หลายเกดิ ความสงสัยวา่ อะไรคือสง่ิ เป็นมงคลที่แท้จรงิ เมื่อทง้ั เทวดา และมนุษย์ทงั้ หลายต่างก็หาคําตอบเกย่ี วกบั ส่ิงที่เปน็ มงคล ไมไ่ ดจ้ ึงพากันไปเฝูาพระพุทธเจา้ ทว่ี ัดเชตวนั ในกรงุ สาวัตถี แล้วกราบทลู ถามเรื่องเกย่ี วกับส่งิ ที่เป็นมงคลพระพทุ ธเจ้าจึงได้ตรสั เรอื่ งมงคล ๓๘ ประการ ๓.๕) มีสาระสําคญั อยา่ งไร ให้บอกเกย่ี วกบั สาระสําคัญเกย่ี วกับวรรณกรรมนั้น เชน่ มงคลสูตร มี สาระสําคัญในเรื่องเก่ียวกับมงคลในทางพระพทุ ธศาสนา คําวา่ มงคล หมายถงึ สง่ิ ท่ีทําให้ มโี ชคดี หรอื ธรรมะทน่ี ํามาซึ่งความสุข ความเจริญมี ๓๘ ประการ เริม่ ต้นจากมงคลที่ ๑ คือ ไม่คบ คนพาล และจบลงดว้ ยมงคลท่ี ๓๘ คอื จติ หลุดพน้ จากกิเลส ๓.๖) มเี หตุการณห์ รือความเก่ียวข้องระหวา่ งตัวละครอยา่ งไร ให้บอกเกย่ี วกับเหตุการณ์ หรอื ความเกย่ี วข้องระหวา่ งตัวละครใน วรรณกรรมนน้ั เช่น มงคลสตู ร ตอนนี้เป็นเหตกุ ารณท์ ี่พระพุทธเจา้ แสดงธรรมเรือ่ งเกยี่ วกับมงคล ๓๘ ประการ แก่มนุษย์และ เทวดาทง้ั หลายซง่ึ เปน็ ผู้ที่มคี วามสงสัยวา่ อะไร คือส่งิ เปน็ มงคลทแี่ ทจ้ ริง ๓.๗) เร่ืองเริม่ ต้นอย่างไร ดาํ เนนิ ไปอย่างไร ใหบ้ อกเกี่ยวกับการเร่ิมตน้ และการดําเนนิ ไป ของเรื่องในวรรณกรรมนน้ั เชน่ ประวตั ิ ของมงคลสตู รเรมิ่ จากการสงสยั ว่าอะไรคือส่งิ เปน็ มงคลที่แท้จริง เริ่มแรกถกเถยี งกนั ในมนษุ ย์กลุม่ เลก็ ๆ จากมนุษย์กลุ่มเลก็ ขยายเปน็ กลมุ่ ใหญโ่ ตขึ้นตามลําดับและได้ ขยายความสงสัยไปจนถงึ กล่มุ ของเทวดาดว้ ยบนสวรรค์ดว้ ย ในที่สดุ มนษุ ย์และ เทวดาทัง้ หลายต่างก็หา คําตอบเกีย่ วกับสง่ิ ที่เปน็ มงคลไม่ไดจ้ งึ พากันไปเฝูาพระพุทธเจ้า เหตกุ ารณ์ได้ดําเนนิ มาจนกระท่ัง พระพทุ ธเจ้าต้องเข้ามาแก้ป๎ญหาความขัดแย้งในคร้ังน้ี โดยการแสดงธรรมเรอื่ งมงคลสูตรให้มนุษยแ์ ละเทวดาทั้งหลายฟ๎ง ๓.๔) จบอย่างไร ใหบ้ อกการจบของวรรณกรรมเรอื่ งนั้น เชน่ ตอนจบของมงคลสูตรมวี ่า เมอ่ื พระพุทธเจ้าได้แสดงธรรมเรอื่ ง มงคลสูตรจบลงได้ทําให้มนุษย์และเทวดาท้ังหลายหายจากความ สงสัยเร่อื งเก่ยี วกับมงคลต้งั แต่บัดนน้ั เป็นต้นมา เรื่องยอ่ ดังกลา่ วเวลานําไปวเิ คราะหจ์ รงิ ควรนาํ ประเดน็ ท่ีได้นาํ เสนอไว้นีไ้ ปเขยี นใหเ้ ปน็ ความเรียงจะไดเ้ ห็นเนื้อความติดตอ่ กนั ไปเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั ซึ่งจะทาํ ให้ผอู้ ่านทําความเข้าใจในเรอ่ื ง ยอ่ ของวรรณกรรมแต่ละเร่ืองได้งา่ ยขน้ึ สาํ หรบั เรื่องย่อของวรรณกรรมบางเร่ืองอาจไม่มีประเด็นครบ ตามทกี่ ลา่ วไว้ หรอื บาง เรื่องอาจมปี ระเด็นมากกว่าที่กลา่ วไวน้ ีก้ ไ็ ด้ เรื่องน้ขี ึน้ อยู่กับวรรณกรรมในเรื่อง นั้น ๆ เปน็ สาํ คญั ๔) เน้อื เรอื่ ง เนื้อเร่ืองคือส่วนทเี่ ปน็ สาระสาํ คัญทีท่ าํ ให้เกดิ เปน็ เรอ่ื งราวซึ่งมีส่วนประกอบ ทีส่ าํ คญั ได้แก่ โครงเรอ่ื ง ตวั ละคร บท สนทนา และ ฉาก ที่ผ้เู ขยี นจะต้องประสมประสานส่งิ เหล่าน้ี เข้าดว้ ยกนั ให้เปน็ เรื่องราวได้อยา่ งแนบเนียน ๔.๑) โครงเรอ่ื ง คือ การลําดับเหตุการณ์ทีผ่ ู้แตง่ วางไว้ เหตุการณ์ คือ เร่ืองราวทเี่ กิดขนึ้ ใน ชว่ งเวลาตา่ ง ๆ ทผ่ี ูแ้ ต่งวรรณกรรมใน เร่ืองนนั้ ๆ เปน็ ผกู้ ําหนดเอาไว้ เน้ือเรอ่ื งของวรรณกรรมมักจะเป็น เรือ่ ง การผจญภยั ในรปู แบบต่าง ๆ ตวั ละครเอกของเร่ืองต้อง เป็นผผู้ จญกับป๎ญหาและเปน็ ผหู้ าวิธีการ แกป้ ๎ญหาต่าง ๆ และมักจบลงด้วยความสุขและความสําเรจ็ ๔.๒) ตัวละคร คือ ผู้มบี ทบาทในเนื้อเรื่อง ผ้แู ต่งมักจะให้ตัวละครแสดงออกมาให้เหน็ ด้าน อารมณ์ ดา้ นศีลธรรมจรยิ ธรรม โดยใช้ ตวั ละครแสดงบทบาทตา่ งๆ เชน่ ด้วยคําพดู หรอื ทีเ่ รยี กวา่ บทสนทนาหรอื ด้วยการกระทําทเี่ รยี กว่า บทบาท ผูว้ เิ คราะหค์ วร แยกแยะใหเ้ หน็ ดว้ ยว่า พฤติกรรม การแสดงออกของตัวละครแตล่ ะตัวมีพฤติกรรมอย่างไร มพี ฤติกรรมดหี รือเลวอยา่ งไรบ้าง การแสดง บทบาทของตวั ละครน้นั ๆ มคี วามสมจริงมากน้อยเพยี งใด เปน็ ตน้
๔.๓) บทสนทนา คอื คําพดู ที่ตวั ละครในเร่อื งใชใ้ นการส่ือสารกับบคุ คลอืน่ ๆ บทสนทนา ที่ดีตอ้ งง่ายและมคี วามเหมาะสมกับ บคุ ลกิ และลักษณะนิสยั ของตัวละคร การสรา้ งความสมจริงและชวี ติ จติ ใจใหแ้ กต่ วั ละคร ขนึ้ อยู่กับวธิ เี ขยี นบทสนทนาใหแ้ ก่ตวั ละคร บทสนทนาทีส่ ้นั ๆ ย่อมเขา้ ใจง่ายและ น่าอ่านมากกว่าบทสนทนายาว ๆ ดงั นนั้ จึงไมค่ วรเขยี นบทสนทนาทย่ี าว ๆ ถา้ หาก ไมม่ ีความจาํ เป็น ๔.๔) ฉาก คอื สถานที่เกิดเหตุการณ์ในเรื่องอาจเปน็ ประเทศ เมือง หมู่บ้าน ท่งุ นา สภาพ บา้ นเมอื ง วถิ ชี วี ิตของคนในถิ่นน้ัน และ ธรรมชาตติ า่ ง ๆ โดยทวั่ ไปผแู้ ต่งมกั จะนาํ เอาเหตุการณ์ตา่ ง ๆ เพ่ือมาสรา้ งเป็นเหตุการณใ์ นเรอ่ื ง ผ้วู เิ คราะห์ควรแยกแยะให้เหน็ ด้วยวา่ ผ้แู ต่งเขยี นฉากได้ถูกต้องให้เหน็ ภาพสมจริงมากนอ้ ยเพยี งใด สอดคล้องกับเน้ือเรื่องหรอื ไม่ การพรรณนาฉากมคี วามประณีต วจิ ติ ร และ งดงามเพยี งใด เป็นต้น ๕) แนวคดิ จดุ ม่งุ หมาย เจตนาของผู้เขยี นทฝี่ ากไวใ้ นเรอ่ื งสําหรบั แนวคิด จุดมุ่งหมาย เจตนา ของผเู้ ขียนท่ีฝากไว้ในเร่ืองเปน็ สง่ิ จาํ เปน็ ทีผ่ ้ศู กึ ษาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในเร่อื งนน้ั ต้องวิเคราะหอ์ อกมาให้เหน็ อยา่ งชัดแจ้งในแตล่ ะประเดน็ ซึ่งตรงนผ้ี เู้ ขยี นขออนุญาตไม่นําเสนอใน รายละเอยี ดฝากไวใ้ หผ้ ทู้ าํ การวเิ คราะหเ์ อาประเด็นทใ่ี ห้ไว้น้ีไปต้ังแลว้ ทดลองวิเคราะหด์ ู ๖) คุณค่าของวรรณกรรม โดยปกติการวิเคราะห์คุณคา่ ของวรรณกรรมแบ่งออกเป็น ๔ ประเด็นหลัก ๆ เม่ือจะวเิ คราะห์ต้องแยก ประเด็นหลักออกเป็นหัวข้อย่อย ๆ และ หัวขอ้ ย่อยที่แยก ออกไปจากประเด็นหลักต้องมเี น้อื หาทส่ี อดรบั เป็นเนื้อความเดยี วกัน กับประเดน็ หลักอย่างลงตัว สาํ หรบั ประเดน็ หลกั ท่ีใช้ในการวเิ คราะหค์ ุณคา่ ของวรรณกรรมมีดังน้ี 5.๑) คุณคา่ ดา้ นวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ทท่ี าํ ใหผ้ อู้ ่านเกิดอารมณ์ ความรสู้ ึกและจินตนาการตามรส ตาม ความหมายของถอ้ ยคําและตามภาษาทผ่ี ้แู ต่งเลือกใช้เพื่อใหม้ ี ความหมายกระทบใจผู้อ่าน คาํ ว่า “วรรณศิลป์” หมายถงึ ลกั ษณะดเี ดน่ ทางด้านวธิ แี ตง่ การเลอื กใช้ ถ้อยคาํ สาํ นวน ลีลา ประโยค และความเรยี งต่าง ๆ ทีป่ ระณตี งดงาม หรือมรี สชาติ เหมาะสมกับ เนอื้ เรื่องของวรรณกรรมชนดิ นน้ั ๆ เป็นอย่างดี ๖.๒) คุณคา่ ดา้ นเนื้อหาสาระ และกลวธิ ีนาํ เสนอ คือ การค้นหาสาระและกลวิธีนาํ เสนอ ของผู้เขียนวา่ มเี นอ้ื หาสาระมุ่ง สร้างสรรค์ ให้ประโยชน์กบั ผู้อ่าน อยา่ งไรบ้าง เช่น ดา้ นเน้ือหาสาระ เป็นการให้ความรู้ ความคดิ เหน็ แบบอยา่ ง คําสอน ข้อ เตอื นใจ ชี้ชอ่ งทางให้มองเหน็ ความจริง ความดี วิธีแกป้ ญ๎ หา แนะนาํ ส่ิงที่ควรปฏิบตั แิ ละส่ิงทค่ี วรละเว้น หรอื ไม่ เป็นต้น กลวธิ ี นาํ เสนอ ในการนาํ เสนอ เนอ้ื หาสาระดงั กลา่ วผเู้ ขียนไดน้ ําเสนอโดยการชี้แนะโดยตรงหรือโดยอ้อม สําหรบั งานเขียนที่ดีนัน้ ไม่ จาํ เปน็ ตอ้ งสอนศลี ธรรมหรอื คณุ ธรรมโดยตรง ผูเ้ ขยี นอาจจะใช้กลวิธตี ่าง ๆ เพื่อให้ผูอ้ ่านฉุกคิดได้ ด้วยตนเอง ดังนน้ั กอ่ นการ วเิ คราะห์วรรณกรรมเร่ืองใด ๆ ผวู้ เิ คราะหจ์ ะต้องอา่ นและทําความเข้าใจ จับความหมายและสรุปแนวคิดท้ังหลายของผู้เขยี นให้ ได้เสียก่อนแลว้ จงึ แยกวิเคราะห์ให้เหน็ รายละเอยี ด ในแตล่ ะประเด็นต่อไป หลกั สาํ คญั ของวรรณกรรมทม่ี ีคณุ คา่ ดา้ นเน้ือหาสาระ และกลวิธีนําเสนอ มีอยู่ วา่ งานประพนั ธท์ ด่ี ีควรมีเน้ือหาสาระมุ่งสรา้ งสรรค์ ให้ประโยชน์กับผอู้ า่ น มิใช่มุ่งเพื่อการทําลาย ๖.๓) คณุ คา่ ด้านสงั คม คือ วรรณกรรมไดส้ ะท้อนให้เห็นสภาพของสงั คมในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ทง้ั ด้านดีหรอื ดา้ นเสียของสงั คม การ พจิ ารณาคุณคา่ ด้านสงั คมจากวรรณกรรม ผู้วิเคราะหจ์ ะต้องอา่ น
และทาํ ความเข้าใจ จบั ความหมายและสรปุ แนวคดิ ทง้ั หลายของผู้เขียนให้ได้เสยี กอ่ นว่าผู้เขียน ต้องการ เสนอสาระอะไรให้กับ ผู้อ่านวรรณกรรมนน้ั สะทอ้ นใหเ้ ห็นสภาพของสงั คมในแง่มุมใด เป็นดา้ นดีหรือ ดา้ นเสยี ของสังคม ผวู้ เิ คราะหไ์ ดแ้ นวคดิ อะไรบา้ ง จากการอา่ นวรรณกรรมนน้ั จากน้นั จงึ แยกวเิ คราะห์ ใหเ้ ห็นรายละเอยี ดในแต่ละประเดน็ ต่อไป ๖.๔) คณุ ค่าด้านการประยุกต์ใช้ คือ การนาํ สาระที่ได้จากเรื่องที่อา่ น มาปรับใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการดําเนนิ ชวี ติ ประจําวนั เชน่ การจดจําถ้อยคําสาํ นวนไปใช้ เพื่อความสนุกสนาน ความไพเราะ การจดจาํ เน้ือหาสาระไปใช้เพอื่ เป็นข้อคิด คติเตือนใจ ได้ ความคดิ เห็นที่มปี ระโยชนต์ อ่ ชีวติ ตนเอง บุคคลรอบข้าง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ โดยรวม เป็นตน้ การจะนํา คณุ ค่า ของวรรณกรรมมาปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการดาํ เนินชีวิตประจาํ วันไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดนั้นข้ึนอยู่กับ ความสามารถและประสบการณข์ องแต่ละบุคคลเปน็ สาํ คญั ๑.๕ งานวิจยั และงานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาทสี่ าํ คัญ เม่อื กล่าวถึงงานวจิ ัยและงานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา สามารถแบง่ เป็นประเภทใหญ่ ๒ ลกั ษณะคือ ที ๑.๕.๑ งานวิจยั ทางพระพทุ ธศาสนาท่สี าํ คัญ มดี ังนี้ ชื่องานวิจัยทางพระพทุ ธศาสนา ทศั นคติของพทุ ธศาสนิกชนที่มีตอ่ การปฏิบัติ ด วิปส๎ สนากมั มัฏฐาน ปที ีท่ าํ วจิ ัย ชื่อผูท้ าํ วิจยั พระมหาบญุ เลศิ ธมมฺ ทสฺสี และคณะ พ.ศ. ๒๕๔๗ ๒ ส่ือสารมวลชนกบั ความมน่ั คงแห่งพระพทุ ธศาสนา จํานงค์ อภิวฒั นสิทธิ์ พ.ศ.๒๕๔๘ การวิเคราะห์คมั ภรี ์พระพุทธศาสนาเถรวาท : ๓ สชุ ญา ศริ ิธัญภร และคณะ
พ.ศ.๒๕๔๘ ความตายกบั มรณัสสติ การนําหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ ไฉไลฤดี ยวุ นะศริ ิ และคณะ ๔ ใช้แบบบูรณาการเพ่ือเสริมสร้างสขุ ภาพจิตและ พ.ศ.๒๕๔๙ คุณภาพชวี ิตของผูส้ งู อายุในชุมชน ๕ การฆา่ ตวั ตายในทัศนะของพระพทุ ธศาสนา ทวศี ักดิ์ ทองทิพย์ และคณะ บทท่ี ๒ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมยั สุโขทยั และล้านนา พระครพู ิศาลสรกิจ, ดร. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พูนชยั ปน๎ ธยิ ะ วตั ถุประสงค์การเรยี นประจาํ บท เมอื่ ได้ศึกษาเน้ือหาในบทนีแ้ ล้วผู้ศกึ ษาสามารถ ๑. อธิบายวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมยั สุโขทยั ได้ ๒. บอกวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาท่สี าํ คัญในสมยั สุโขทัยได้ ๓. วิเคราะหว์ รรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทยั ได้ ๔. อธิบายวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมยั ลา้ นนาได้ ๕. บอกและวเิ คราะห์วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาในสมัยล้านนาได้ ขอบข่ายเน้ือหา • วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมยั สุโขทัย ·
วรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาที่สาํ คญั ในสมัยสุโขทัย วิเคราะห์วรรณกรรมเร่ืองเตภูมิกถา • วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา • วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาทสี่ ําคัญในสมัยล้านนา • วเิ คราะห์ วรรณกรรมเรือ่ งมงั คลตั ถทีปนี ๒.๑ ความน่า เราทราบเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของอาณาจกั รสุโขทยั ไดจ้ ากหลักศลิ าจารึก สมัยสุโขทัย โดยเฉพาะศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ รามคําแหงมหาราช มากกว่าหลักฐานทางดา้ นอน่ื ๆ กลา่ วคือ กรุงสโุ ขทยั เปน็ เมืองหลวงของอาณาจักรสโุ ขทัย ประมาณ ตน้ พุทธศตวรรษท่ี ๑๘ และรุ่งเรืองมากในสมัย พอ่ ขนุ รามคาํ แหง ซึง่ ข้ึนครองราชย์ต่อจากพ่อขุนบานเมืองพระเชษฐา ประมาณ ปี พ.ศ. ๑๘๒๒ เหตุการณท์ ส่ี าํ คญั คือการประดษิ ฐ์อักษรไทย พ.ศ. ๑๘๒๖ เหตกุ ารณอ์ ื่น ๆ ได้แก่ พ.ศ. ๑๘๒๗ สรา้ งเจดยี ์ กลาง เมืองศรสี ชั นาลัย ท่ใี ชเ้ วลาสรา้ งถึง 5 ปี และการสร้างพระแทน่ มนงั คศลิ าบาตร ในเมืองสุโขทยั สภาพทางการเมอื งการปกครอง สมยั สุโขทัยมีลักษณะทางการปกครอง ๒ แบบ คือ ๑) แบบพ่อปกครองลูก (ปติ รุ าชาธปิ ไตย) ใช้ในสมัยสุโขทัยตอนต้น ตั้งแต่สมยั พ่อขนุ ศรี อินทราทติ ย์เปน็ ต้นมา กลา่ วคอื การ ปกครองแบบนี้ ผู้ปกครองมคี วามใกล้ชิดกบั ประชาชน นอกจาก กษัตริย์จะเปน็ ผูป้ กครองและเปน็ เสมือนพ่อแล้วยังเป็นตลุ าการ ทีเ่ ที่ยงธรรมอีกด้วย จากการศึกษา ทาํ ให้ทราบว่า ในสมัยพ่อขุนรามคําแหง พระองคไ์ ด้ทรงนํากระดง่ิ ไปแขวนไว้ทห่ี นา้ ประตูพระราชวัง เม่ือราษฎรได้รบั ความ เดอื ดร้อนก็สามารถไปส่นั กระดง่ิ ร้องทุกข์ต่อพ่อขนุ ได้ และเมอ่ื พ่อขนุ ทราบเรื่อง กจ็ ะออกมาไต่สวนคดีความดว้ ยพระองคเ์ อง ดัง ข้อความปรากฏในศลิ าจารึกว่า “ในปากประตูมีกระด่ิง อันหนึง่ ไว้น้นั ไพร่ฟูาหน้าใส...” ดว้ ยเหตนุ ้ี ประชาชนจึงเรยี กกษัตรยิ ว์ ่า “พ่อขุน” เชน่ พอ่ ขุนศรี อินทราทติ ย์ พ่อขุนบาลเมือง พ่อขุนรามคําแหง ๒) การปกครองแบบธรรมราชา ใชใ้ นสมยั สโุ ขทัยตอนปลาย หลังจากสิน้ สมัยของ พอ่ ขุนรามคําแหงแล้ว กษัตริย์พระองคต์ อ่ มา คือ พญาเลอไทยและพญางว่ั นําถม ช่วงนอี้ าณาจกั รสุโขทยั เริ่มระํส่าระสาย เมืองตา่ ง ๆ แยกตวั เป็นอิสระ บา้ นเมืองเกิดความไม่ สงบเรียบร้อย มีการแย่งชงิ ราชสมบตั ิ ด้วยเหตุน้ที าํ ให้การปกครองแบบพอ่ ปกครองลกู เสื่อมลง เมื่อพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิ ไทย) ไดค้ รองราชย์พระองคท์ รงเห็นว่า การแกป้ ญ๎ หาทางการเมืองดว้ ยการใช้อาํ นาจทางทหารเพียงอย่างเดยี ว คงจะทําได้ยาก เพราะ กาํ ลังทหารของสุโขทัยขณะน้ันไม่เข้มแข็งพอ พระองคจ์ งึ ดําเนินนโยบายเสียใหม่ ดว้ ยการนาํ เอาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาใช้ในการปกครอง การปกครองแบบน้ีเรียกว่า การปกครองแบบธรรมราชา คอื กษตั รยิ ์ผ้ปู กครองจะอยู่ในฐานะธรรมราชา หรอื พระราชาผู้ทรงธรรม ทรงปกครองบา้ นเมอื ง ดว้ ยหลักทศพธิ ราชธรรม ในขณะเดียวกนั รปู แบบการปกครองมลี ักษณะการกระจายอํานาจบริหารจากเมืองหลวงสู่ หวั เมืองต่าง ๆ ซ่งึ หัวเมืองในสมยั สโุ ขทัยแบ่งเปน็ ๔ ชนั้ คอื เป็นผดู้ แู ล
(๑) เมืองหลวง (ราชธานี) มกี รุงสุโขทยั เป็นราชธานี พระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ผู้รบั ผิดชอบ (๒) เมืองลูกหลวง (หวั เมอื งชน้ั ใน) มเี มอื ง หนา้ ด่าน ๔ เมอื ง พระราชโอรสหรือเจ้านายชัน้ สูง (๓) เมอื งพระยามหานคร ซงึ่ อยหู่ า่ งจากเมอื งหลวงออกไป เจา้ นายชน้ั สงู เปน็ ผ้ดู แู ล (๔) เมอื งประเทศราช (เมืองขึ้น) ให้เจา้ เมอื งปกครองกนั เอง แตย่ ามมีสงครามต้องส่งกองทัพ มาช่วย ยามสงบต้องสง่ เคร่ืองราช บรรณาการ ด สภาพทางเศรษฐกิจ จากหลกั ฐานในศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ ทาํ ใหเ้ ราทราบว่า เศรษฐกิจในสมยั สุโขทัยเจรญิ รุ่งเรอื ง ประชาชนมี ความอยู่ดีกินดี บ้านเมืองมีความอดุ มสมบูรณ์ อาชพี หลักของประชาชน มี ๓ อยา่ งคือ (๑) เกษตรกรรม เปน็ อาชพี หลักของประชาชน เชน่ มีการเพาะปลูกและเล้ียงสตั ว์ (๒) หัตถกรรม ส่วนใหญ่จะเป็นการผลติ เครอื่ งสังคโลก แหล่งผลติ ทส่ี าํ คญั คือ กรงุ สุโขทัย และเมืองศรีสัชนาลัย (๓) การค้าขาย มีการค้าขายแบบเสรี ทกุ คนมีอิสระในการค้า รฐั ไม่เก็บภาษี สินค้าออกที่ สาํ คญั คือ เครื่องสงั คโลก พริกไทย นา้ํ ตาล งาช้าง นอแรด หนังสัตว์ สินค้าเข้าทีส่ าํ คัญคอื ผ้าไหม ผา้ ทอ ผา้ ฝูาย) อัญมณี เป็นตน้ สภาพทางสงั คม การใช้ชีวติ ของผ้คู นในสมัยสโุ ขทยั มคี วามอิสรเสรี มเี สรภี าพอย่างมากเนอื่ งจาก ผู้ปกครองรฐั ใหอ้ สิ ระแก่ไพร่ฟูา และปกครองผ้ใู ต้ปกครองแบบพ่อกบั ลูก ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึก วา่ “ ดว้ ยเสยี งพาทย์ เสยี งพิณ เสียงเลอื่ น เสยี งขบั ใครจกั มักเล่น เลน่ ใครจกั มักหวั หัว ใครจกั มักเลื่อน เล่อื น...”คอื (๑) ชนชั้นผ้ปู กครอง ได้แก่ พระมหากษัตรยิ ์ พระราชวงศ์ และขนุ นาง (๒) ชนชน้ั ใตป้ กครอง ซ่ึงเปน็ ชนสว่ นใหญ่ของสงั คม ไดแ้ ก่ ประชาชน (คาํ ทใ่ี ช้เรยี กชนช้นั น้ี ไดแ้ ก่ ลูกบ้าน ลูกเมือง ไพร่ฟาู ข้า ไทย) (๓) กลมุ่ นักบวช ได้แก่ พระสงฆ์ พราหมณ์ ดาบสตา่ ง ๆ สภาพทางพระพุทธศาสนา อาณาจักรสโุ ขทัยตั้งแต่ยุคแรกเปน็ ต้นมา มีการผสมผสานความเชอื่ หลายอย่าง เช่น คติการนับถอื ผี หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนา และศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู เป็นต้น คติการนับถือผี มหี ลักฐานระบอุ ย่างชดั เจน ดังปรากฏหลักฐาน ในศลิ าจารึกหลักท่ี ๑ ดา้ นที่ ๓ วา่ “เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนีม้ ีกุฏวิ ิหาร ครอู ยู่ มีพระพระพุงผี เทพยาดาในเขาอนั น้ัน เป็น ใหญ่กวา่ ทกุ ผีในเมืองน้ี ขนุ ผู้ใดถือเมอื งสโุ ขทัยนแี้ ลว้ ไหว้ดีพลีถกู เมืองนีเ้ ท่ียว เมืองนี้ดี ไหว้บด่ ี พลีปถูก ผีในเขาอันนัน้ คมุ้ เกรง เมืองนีห้ าย... ส่วนพระพุทธศาสนา ผลจากการศึกษาค้นคว้าสรุปไดว้ ่า พระพทุ ธศาสนาเถรวาทได้เผยแผ่ เข้ามาสู่ดินแดนประเทศไทยตง้ั แต่ พทุ ธศตวรรษที่ ๓ เป็นต้นมา ได้แผ่ขยายประดษิ ฐานม่ันคงและ เจรญิ รงุ่ เรอื งสบื มาจนปรากฏในวรรณคดีไทยสมัยสุโขทัย จาก กรณศี ึกษาศิลาจารกึ พ่อขนุ รามคําแหง และสภุ าษิตพระร่วงแสดงใหเ้ หน็ ชดั วา่ พระพทุ ธศาสนาในสมัยสุโขทัยเจรญิ รุ่งเรืองมาก พระสงฆ์มี ความร้แู ตกฉานในพระไตรปฎิ ก และมีข้อวตั รปฏบิ ัตเิ ป็นทีน่ า่ ศรทั ธาเล่ือมใส พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ ในสมยั กรงุ สโุ ขทัย ท้ังทีป่ รากฏพระนามและปรากฏบทบาทในศิลาจารึกลว้ นมเี รอ่ื งราวระบุความ
เครง่ ครดั ศรัทธาของพระมหากษัตริย์และทรงอยู่ในฐานะเป็นผทู้ รงอุปถัมภก์ จิ การในพระพุทธศาสนา อยา่ งหนกั แนน่ ทรงปกครองบา้ นเมืองโดยธรรม และทรงเป็นแบบอยา่ งทดี่ ใี หแ้ กป่ ระชาชน ทัง้ ยังไดร้ ะบุ ความเปน็ ปึกแผ่นของ กิจการคณะสงฆใ์ นสมยั สุโขทัยไวว้ า่ กจิ การคณะสงฆ์ วัดวาอารามและถาวรวัตถุ ในพระพุทธศาสนามีความเจริญร่งุ เรืองมาก ก็ เพราะไดร้ บั การอปุ ถัมภอ์ ย่างจริงจงั จากพระมหากษตั รยิ ์ แตล่ ะพระองค์ ส่วนชาวสโุ ขทยั กเ็ ป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี มีความเล่ือมใส ศรัทธาและปฏิบัติตามคาํ สอนของ พระพุทธศาสนา เช่น มีการทําบุญให้ ทาน รกั ษาศีล ฟ๎งธรรม เปน็ นิจ ในชว่ งเทศกาลเขา้ พรรษา จะสมาทานรักษาศีลกันทุกคนและยงั สามารถประยุกตห์ ลกั คําสอน ทางพระพุทธศาสนาใหส้ อดคล้อง เข้ากับวิถชี ีวิตประจาํ วันได้อยา่ งดียิง่ ดังข้อความตอนหนึง่ ปรากฏในศิลาจารึก หลักที่ ๑ วา่ “คนในเมืองสุโขทยั นี้มักทานมักทรงศลี มักโอยทาน พ่อขุนรามคําแหงเจ้าเมืองสุโขทัยน้ี ทง้ั ชาว แม่ชาวเจ้าชว่ ยถั่วทว่ ยนาง ลกู เจ้าลูกขนุ ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้งผชู้ ายผหู้ ญงิ ฝูงทว่ ยมศี รัทธา ในพระพทุ ธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทกุ คน เมื่อออกพรรษากราน กฐนิ เดอื นหน่งึ แล้ว เมื่อกราน กฐนิ มีพนมเบย้ี มพี นมหมาก มพี นมดอกไม้ มหี มอนนั่ง หมอนโนน บริพารกฐินโอยทานแต่ปีแล้ ญบิ ลา้ น....” ๒.๒ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมยั สโุ ขทยั ความเจริญทางวรรณกรรมนับเปน็ วัฒนธรรมท่ีสําคัญยง่ิ ของชาติ เพราะวรรณกรรมเปรยี บเสมือน กระจกวิเศษท่สี ะท้อนใหเ้ ห็นภาพความเจริญรุง่ เรืองของบา้ นเมืองและความเป็นอยู่ของประชาชน ในสมัยนน้ั จึงไมต่ ้องสงสยั วา่ ทําไมวรรณกรรมสมัยสโุ ขทยั เปน็ ตน้ กําเนดิ ของประเพณี วฒั นธรรม และภาษาทต่ี กทอดมาจนถึงปจ๎ จุบันให้คนไทยภาคภูมิใจใน บรรพบรุ ุษของตนท่ไี ด้สร้างสรรค์ส่ิงที่เป็น เกยี รติภมู ขิ องคนไทยใหด้ ํารงจนถงึ ทุกวนั น้ี วรรณกรรมทเ่ี กิดขนึ้ ในสมยั นี้ลว้ นแต่เปน็ วรรณกรรมที่ เกี่ยวกบั พระพุทธศาสนา ที่ สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพความเจริญรุ่งเรอื งของพระพทุ ธศาสนาในสมยั สุโขทัย ได้เปน็ อย่างดี เนือ่ งจากวรรณกรรมในสมยั สุโขทัยมอี ยู่ หลายเร่อื ง เช่น ศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาํ แหง มหาราช และศลิ าจารกึ หลกั อน่ื ๆ สว่ นท่ีเป็นใบลาน สมุดข่อยไม่ปรากฏ มีแตฉ่ บบั คัดลอกกนั ต่อๆ มา เท่านั้นและบางเรื่องนักวชิ าการยังมีความเห็นขัดแยง้ กันวา่ บางเร่ืองน่าจะเป็นผลงานของกวใี นสมยั หลัง ๆ หรือไม่ก็เป็นฉบบั ดัดแปลงแกไ้ ขจนแทบจะไม่เหลือเค้าของเดิม โดยเฉพาะเรื่องตํารบั ท้าว ศรจี ุฬาลักษณห์ รือนางนพมาศ กับเรอื่ งสภุ าษติ พระร่วง เปน็ ต้น ๒.๒.๑ งานวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาทีส่ ําคัญในสมัยสโุ ขทยั วรรณกรรมในสมยั สุโขทัยทม่ี ีการคน้ พบและทีน่ ักปราชญ์ราช บณั ฑติ ไทยยอมรับกันในปจ๎ จุบัน นับวา่ เป็นเร่ืองสําคัญมีอยู่ ๕ เรอื่ ง คือ (๑) ศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ (จารึกของพ่อขุนรามคาํ แหง) (๒) ศลิ าจารกึ วัดปุาม่วง (๓) สภุ าษติ พระรว่ ง
(๔) เตภมู กิ ถา หรอื ไตรภูมิพระร่วง และ (๕) นางนพมาศ หรอื ตํารบั ท้าวศรจี ุฬาลกั ษณ์ (๑) ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (จารกึ ของพอ่ ขนุ รามคําแหง) ศลิ าจารึกหรือบนั ทกึ บนแทง่ ศิลา ที่บันทกึ ประวตั ิศาสตร์ในยคุ สมยั กรุงสุโขทัย ถือเปน็ วรรณคดี เรือ่ งแรกของไทย หลกั ศิลาน้ี ค้นพบในสมัยรัชกาลท่ี ๓ โดยเจ้าฟูามงกุฎฯ ขณะทรงผนวชอยู่ (ตอ่ มาคือ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว) เม่ือ พ.ศ. ๒๓๗๖ ณ เนนิ ปราสาทเมอื งเก่าสุโขทยั อาํ เภอเมือง จังหวดั สโุ ขทยั มลี ักษณะเปน็ แท่นหินรูปสี่เหล่ียม ยอดกลมมน สูง ๑.๑๑ ม. หนา ๓๕ ซม. เป็นหินชนวน สเี ขียวมจี ารกึ ท้งั สีด่ า้ น ป๎จจบุ ันศิลาจารึกจดั แสดงไว้ท่หี ้องประวัตศิ าสตรช์ าติไทยในพระท่ีนั่งศวิ โมกข พิมาน พิพธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรงุ เทพมหานคร ผู้แต่ง สนั นษิ ฐานว่าผูแ้ ต่งอาจมมี ากกวา่ ๑ คน เพราะเนอ้ื เร่ืองในหลักศิลาจารกึ แบ่งได้เป็น ๓ ตอน ตอนท่ี ๑ ใชส้ รรพนามแทน ตัวว่า กู เขา้ ใจว่าพ่อขนุ รามคําแหงคงจะทรงแต่งเอง ตอนที่ ๒ และ ๓ เข้าใจว่าจะต้องเป็นผู้อ่นื แตง่ เพิม่ เติมภายหลัง จุดมุ่งหมาย เพ่ือบนั ทึกเร่ืองราวตา่ งๆ ในสมัยกรงุ สุโขทัยไวเ้ ป็นหลักฐาน มิไดม้ ุ่งใหเ้ ปน็ วรรณคดี เพื่อความบนั เทิงใจ ลักษณะการแต่ง แตง่ เป็นร้อยแก้ว มีลักษณะเป็นภาษาไทยแท้เป็นประโยคสั้น ๆ กะทัดรดั บางตอนมีเสยี งสัมผัสคล้องจองกันบา้ งระหวา่ งวรรค เนอื้ หาสาระ แบ่งออกเป็น ๓ ตอน คือ ตอนที่ ๑ กล่าวถึง พระราชประวตั ิของพ่อขุนรามคําแหง ตอนที่ ๒ กลา่ วถึงเหตุการณ์ ตา่ งๆ และธรรมเนยี มนิยมของคนสุโขทยั การดาํ เนินชวี ติ การนับถอื พุทธศาสนา การนบั ถอื ผี และการประดิษฐต์ วั อักษรไทย ตอนที่ ๓ เป็นคําสรรเสรญิ และยอพระเกยี รติ พ่อขุนรามคาํ แหงและกล่าวถงึ อาณาเขตของเมืองสโุ ขทยั คุณคา่ ให้ความรูเ้ กีย่ วกบั พระราชประวัติพอ่ ขุนรามคาํ แหง ตลอดจนความรูด้ า้ นประวัติศาสตร์ โบราณคดี สภาพสังคม วัฒนธรรมประเพณีของชาวสุโขทยั ความเจริญรุง่ เรืองของกรุงสุโขทยั และการ ปกครองในสมัยสโุ ขทัย ตลอดถึงการกําเนิดของ วรรณคดแี ละอักษรไทย (๒) ศลิ าจารกึ วัดปาุ ม่วง (หลักที่ ๔) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ขณะยังทรงผนวชอยูไ่ ดเ้ สด็จไปพบ และโปรดเกล้าฯ ใหน้ าํ ลงมากรุงเทพมหานคร พร้อม กับจารึกหลักที่ 4 ๑ (ศิลาจารึกพ่อขุนรามคําแหง) เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๗๖ สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงเป็นผู้แปลเปน็ ภาษาไทยและตพี มิ พ์ เผยแพร่เปน็ องคแ์ รก ตอ่ มา ศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ ได้สอบคําแปลกับตัวจริงดู พบวา่ ยงั ผิดพลาด จงึ แปลใหม่โดยถือความสําคัญของศัพทท์ ใี่ ชใ้ นการจารกึ น้ันดว้ ย ปที ่จี ารกึ ไม่ทราบแน่ชัด แต่เข้าใจว่า ได้ถกู จารึกราว พ.ศ. ๑๙๐๕ อันเปน็ ปีที่พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ เสด็จผนวช ไม่ปรากฏหลกั ฐาน ชัดเจนว่าผใู้ ดแตง่ แต่จะต้องเป็นผู้ทม่ี ีความรภู้ าษา เขมรเปน็ อย่างดี เพราะจารึกดว้ ยอกั ษรขอม เนอื้ หา น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม ได้แบง่ เนื้อหาออกเป็น 6 ตอน แนวคดิ จดุ มุ่งหมาย เพ่อื เป็นการบันทกึ เหตุการณเ์ กย่ี วกบั ศรัทธาในพระพุทธศาสนาของ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ซงึ่ ได้พรรณนา ถงึ การท่ีได้ทรงอาราธนาพระมหาสามสี งั ฆราชจากลังกามาพาํ นัก ท่ีกรุงสุโขทัย เม่ือมหาศักราช ๑๒๘๓ (พ.ศ. ๑๘๘๘) และการท่ี ทรงออกผนวช
(๓) สุภาษติ พระร่วง สุภาษติ พระร่วง เป็นวรรณกรรมลายลักษณ์จารึกลงในแผ่นศิลารูปสเ่ี หลีย่ มจัตุรสั ตดิ ไวก้ ับผนัง ด้านในศาลาหนา้ พระมหาเจดีย์ หลังเหนือ วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม กรงุ เทพมหานคร และจดไวใ้ น สมุดไทยอีกหลายเลม่ กรมศิลปากรจัดพิมพ์เป็นคร้งั แรก เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ มชี ่อื เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า บัญญตั ิพระร่วง ลกั ษณะการแต่ง เป็นคาํ ประพันธ์ประเภทรา่ ยสุภาพ ดาํ เนนิ ตามฉันทลกั ษณ์อยา่ ง เคร่งครัดทัง้ ในเรื่องคาํ ในวรรคมจี าํ นวนคาํ ๕-๖ โดยประมาณ สัมผัสเป็นไปอย่างสมํ่าเสมอ ประกอบ ดว้ ย สภุ าษิตท้ังหมด ๑๕๘ บท มลี ักษณะเด่นคือการใช้ถ้อยคํางา่ ย ๆ คลอ้ งจอง กะทัดรดั ไม่มีศัพท์สูง งา่ ยต่อการเข้าใจและจดจํา สาํ นวนโวหารคล้ายกันกับในหลักศิลาจารกึ ของพอ่ ขนุ รามคาํ แหง สว่ นผูแ้ ตง่ และสมัยที่แต่งยงั เป็นทถี่ กเถยี งกนั อยู่ อย่างไรกต็ าม แมว้ ่าจะยงั ไม่ไดข้ ้อยุตทิ ี่แนน่ อน โดยเหตุทตี่ อนขึ้นตน้ และลงทา้ ย ของเร่ืองระบไุ ว้ชัดเจนว่าพระรว่ งเจ้าเป็นทรงบัญญตั ิคําสอนนี้ ประกอบ กับภาษาทปี่ รากฏบางแห่งมีลักษณะโบราณแบบสโุ ขทยั จึงเปน็ เหตุผลสนบั สนนุ ให้นกั การศึกษาทาง วรรณคดีไทย จัด วรรณกรรมเรอ่ื งสภุ าษิตพระร่วงอยใู่ นสมยั สโุ ขทยั จดุ มุง่ หมายในการแต่ง เพื่อสั่งสอน ประชาชนทัว่ ไป ในดา้ นการประพฤติ ปฏิบัติตน โดยเน้ือหาสาระ เปน็ สภุ าษิตทีเ่ นน้ การสอนหลกั จรยิ ธรรม เพื่อเป็นแนวปฏบิ ัติท่ถี กู ต้องใหแ้ ก่ฆราวาสผู้ปกครองเรือน ในดา้ นต่าง ๆ เชน่ การประกอบอาชีพ ความรับผดิ ชอบ และการพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นในบรบิ ทตา่ ง ๆ ของการดําเนินชีวติ ใน สังคม ตลอดจน การปฏิบัติตนต่อบคุ คลอื่นๆ และการปฏบิ ัติตนตอ่ พระมหากษัตริย์ (๔) เตภูมิกถา หรือไตรภูมพิ ระร่วง วรรณกรรมเรอ่ื ง เตภูมิกถา พญาลิไท ทรงพระราชนพิ นธ์ขึ้นในสมยั สโุ ขทยั เมอื่ คร้งั ทรงผนวชอยู่ โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อโปรด พระมารดา เนอื้ หาแบ่งออกเป็น ๓ เรอ่ื ง คือ นรก มนษุ ยแ์ ละสวรรค์ ตอ่ มา เมื่อไดข้ นึ้ ครองราชย์เป็นพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ จึง ได้แตง่ เพ่ิมขนึ้ อีก ต่อมาจงึ ได้ช่ือวา่ ไตรภูมพิ ระร่วง เพ่ือเป็นเกียรติแก่พระองค์ แต่เมื่อครงั้ เสยี กรงุ ศรีอยธุ ยา ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ต้นฉบบั ได้สญู หายไป เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟูาจฬุ าโลก โปรดฯใหร้ วบรวมสรรพตาํ ราในรัชกาลของพระองค์ จึงได้ รับสง่ั ใหพ้ ระสงฆ์ราชาคณะช่วยกนั แตง่ ขึน้ แทนฉบับที่สญู หาย แต่สาํ นวนไม่เป็นที่พอพระทัย จึงโปรดฯให้พระยาธรรมปรีชา (แก้ว) แต่งขนึ้ ใหม่อีกฉบับหนึ่ง ช่อื วา่ “ไตรภมู ิโลกวนิ จิ ฉัย” ตอ่ มา หอพระสมุดวชิรญาณได้ตน้ ฉบับไตรภมู ิพระรว่ งมาจากวดั แห่ง หนึง่ ในจงั หวัดเพชรบุรี ซึ่งจารลงในใบลาน ดว้ ยอกั ษรขอม ๑๐ ผกู (๕) ตํารบั ท้าวศรีจุฬาลกั ษณ์ ตาํ รับท้าวศรีจฬุ าลักษณ์ มชี ื่อเรียกว่า นางนพมาศบา้ ง เรวดีนพมาศบา้ ง ผแู้ ตง่ คือ ทา้ วศรี จุฬาลักษณ์ หรือ นางนพมาศ สมยั ที่ แตง่ ยังไม่ชดั เจน แต่เดิมมคี วามเห็นวา่ เปน็ วรรณคดีในสมยั สุโขทยั แต่ปจ๎ จบุ ันนกั วรรณคดีมคี วามเห็นตรงกันวา่ ตํารบั ท้าวศรจี ุฬา ลกั ษณเ์ ปน็ วรรณคดที ีแ่ ต่งเตมิ หรอื แต่งใหม่ ในสมยั กรงุ รัตนโกสนิ ทรโ์ ดยใชเ้ ค้าเร่ืองเดมิ ท้ังน้ีเพราะมเี รอ่ื งราวที่เกดิ ขนึ้ ในสมยั กรุง รัตนโกสินทร์ เชน่ การกลา่ วถึงชนชาติอเมริกัน การกลา่ วถึงปืนใหญซ่ ง่ึ ไม่มีในสมัยน้ัน ถ้อยคําสํานวนเปน็ ถอ้ ยคําใหม่ มีคาํ กลอน ซงึ่ เกิดขึน้ หลังสมัยกรุงสุโขทยั อยูด่ ว้ ย เนอ้ื หา แบง่ ออกได้เป็น ๕ ตอน คือ (๑) กลา่ วถงึ ชาติ และภาษาต่างๆ (๒) ยอพระเกยี รติ พระร่วง เล่าชวี ิตของชาวสุโขทยั และสถานท่บี างแห่ง (๓) ประวตั ิของ นางนพมาศเอง (๔) คุณธรรมและการปฏบิ ัติหนา้ ทีข่ องนาง สนม (๕) พระราชพธิ ตี ่าง ๆ ส่วนจุดมุ่งหมาย ในการแตง่ เพื่อแสดงถึงขนบธรรมเนียมประเพณตี า่ งๆ และจริยธรรมของผรู้ บั ราชการฝุายใน และลักษณะการแตง่ แต่งเป็นร้อยแก้ว มีกลอนดอกสรอ้ ยแทรกอยู่ ๕ บท
๒.๒.๒ การวิเคราะห์วรรณกรรมเรอ่ื งเตภมู ิกถา (๑) ความเป็นมา หนงั สอื ไตรภูมิพระรว่ งเปน็ หนังสอื สําคัญสมยั กรุงสุโขทัยที่ตกทอดมาถึงป๎จจบุ นั เป็นวรรณคดี ทางศาสนาทม่ี ีอิทธพิ ลต่อคนไทย มาก เดิมช่ือ เตภมู ิกถา เป็นหนงั สอื เกา่ ที่พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญา ลไิ ท) ทรงพระราชนิพนธ์ขนึ้ ในสมยั สโุ ขทยั แตเ่ มื่อครง้ั เสยี กรุงศรอี ยธุ ยา ในปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ตน้ ฉบบั ไดส้ ูญหายไป ดงั นั้น เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟูาจฬุ าโลก โปรดฯให้ รวบรวมสรรพตําราใน รชั กาลของพระองค์ จึงได้รับส่ังใหพ้ ระสงฆ์ราชาคณะชว่ ยกันแตง่ ขึ้นแทนฉบบั ทสี่ ญู หาย แต่สาํ นวน ไม่เปน็ ท่ีพอพระทัย จงึ โปรด ฯใหพ้ ระยาธรรมปรีชา (แก้ว) แต่งขึน้ ใหม่อีกฉบับหน่ึง ช่อื ว่า “ไตรภูมิ โลกวนิ ิจฉัย” ตอ่ มา หอพระสมุดวชิรญาณไดต้ น้ ฉบับไตร ภูมพิ ระร่วงมาจากวดั แห่งหนงึ่ ในจงั หวดั เพชรบุรี ซ่งึ จารลงในใบลานด้วยอกั ษรขอม ๑๐ ผกู แจ้งไว้ในบานแพนกวา่ พระมหาชว่ ย วดั ปากน้ํา (วัดกลาง จังหวัดสมทุ รปราการ ในป๎จจบุ ัน) เป็นผจู้ ารไว้เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๓ ในแผน่ ดินสมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี ภาษา และถ้อยคาํ สาํ นวนท่ใี ชเ้ กา่ มาก สนั นิษฐานว่าเป็นหนงั สอื เก่าที่คดั ลอกออกมาจากตน้ ฉบบั เดิม ในสมยั สุโขทัย และคณะกรรมการหอสมดุ วชริ ญาณเหน็ ว่าควรทจี่ ะจดั พมิ พ์ข้ึนไว้ให้แพร่หลาย จงึ ได้ ถอดความออกเป็น อักษรไทย ตามตัวอักษรโดยมิไดแ้ ก้ไขถอ้ ยคําไปจากต้นฉบบั เดิมแต่อยา่ งใดทงั้ ส้ิน โดยได้จดั พิมพค์ รั้งแรกเพ่ือเป็นหนงั สอื แจกในงานพระศพ พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองคเ์ จ้าประสานศรใี ส, พระองคเ์ จ้าประไพศรี สะอาด เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ และสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดํารง ราชานุภาพทรงเปลี่ยนช่อื เรอื่ ง “เตภูมิกถา” เปน็ “ไตรภมู ิพระรว่ ง” เพื่อเฉลิมพระเกยี รติพระร่วงเจา้ แหง่ กรุงสุโขทัยใหค้ ู่กับหนังสือสุภาษิตพระร่วง ซ่ึงเชอ่ื ว่าเป็นหนังสือทแ่ี ตง่ ใน สมยั สโุ ขทยั เชน่ เดยี วกัน ปที แ่ี ตง่ ไตรภมู พิ ระร่วงน้นั ตามที่ปรากฏในบานแพนกและตอนทา้ ยของไตรภมู ิพระร่วง ความวา่ “แลเจา้ พญาลิไทยได้เสวยราช สมบัตใิ นเมืองศรสี ชั นาลยั อยู่ได้ 5 เขา้ จงึ ไดส้ ร้างไตรภูมิกถาน้ี เม่อื ไดก้ นิ เมืองศรีสัชนาลัยอยู่ได้ 5 เขา้ จึงใส่ ข้อความตามท่ีปรากฏข้างต้นนี้ หมายความวา่ นบั แตพ่ ญาลิไทได้รับการสถาปนาเป็น พระมหาอุปราชครองเมืองศรสี ัชนาลัยมา เป็นเวลา 5 ปี จงึ ไดแ้ ตง่ ไตรภูมกิ ถา เพราะนับต้งั แต่นนั้ ต่อมา อีก 5 ปี จะเป็นปรี ะกา มหาศักราช ๑๒๖๗ ตรงกับ พ.ศ. ๑๘๘๘ ด้วยเหตนุ ี้ จงึ สันนิษฐานไดว้ า่ พญาลิไท แต่งไตรภูมกิ ถาในปีระกา มหาศักราช ๑๒๖๗ ตรงกบั พ.ศ. ๑๘๘๘ (๒) ท่มี าของเร่ือง ไตรภมู พิ ระร่วง เป็นหนังสือที่มีลักษณะของการค้นควา้ คอื เปน็ การรวบรวมเนื้อหาจาก คัมภีรต์ า่ งๆ ในพระพุทธศาสนา มากกว่า ๓๐ คัมภีร์ นบั ต้งั แต่คมั ภรี พ์ ระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกาและ ปกรณว์ ิเสสตา่ ง ๆ ซึ่งเป็นคัมภรี ์สาํ คัญทางพระพุทธศาสนา มาเรียบเรยี งใหม่เป็นวรรณกรรม แสดง ให้เหน็ ถงึ พระปรีชาสามารถและอัจฉรยิ ภาพของผูน้ พิ นธ์ว่าเป็นผู้ทีม่ ีพระปรีชาสามารถ มี ความเช่ยี วชาญ ในคัมภรี ์พระพุทธศาสนาอย่างยิง่ คัมภรี ์ทง้ั หมดมบี อกไวใ้ นบานแพนกเดมิ มจี ํานวน ๓๒ คัมภรี ์ แต่ปรากฏในตอนทา้ ยของบาน แพนกมี ๓๓ คัมภีร์ ดงั ต่อไปน้ี ๑. พระอรรถกถาจตุลาคม ๓. พระอภิธรรมสงั คหะ
๕. พระปปญ๎ จสูทนี ๗. พระมโนรถปรู ณี ๔. พระอรรถกถาฎกี าพระวนิ ยั ๑๑. พระมหาวัคค์ ๑๓. พระมธรุ ัตถวลิ าสินี ๑๕. พระชนิ าลงั การ ๑๗. พระพุทธวงศ์ ๑๙. พระมิลนิ ทป๎ญหา ๒๑. พระมหานิพพาน ๒๓. พระจรยิ าปฎิ ก ๒๕. พระมหากัลป์ ๒๗. พระสมนั ตปาสาทิกา ๒๙. พระลกั ขณาทธิ รรม ๓๑. พระสารีรกิ พนิ จิ ฉัย ๒. อรรถกถาฎีกา พระอภิธรรมาวตาร ๔. พระสมุ งั คลวสิ าสนิ ี ๖. พระสารัตถปกาสนิ ี ๘. พระลนี ัตถปกาสนิ ี ๑๐. พระธรรมบท ๑๒. พระธรรมมหากต ๑๔. พระธรรมชาดก ๑๖. พระสารัตถทีปนี ๑๘. พระสารสงั คหะ ๒๐. พระปาเลยย (พระธมั มปาลิเชยย) ๒๒. พระอนาคตวงศ์ ๒๔. พระโลกป๎ญญตั ิ ๒๖. พระอรุณวดี ๒๘. พระวสิ ทุ ธมิ รรค ๓๐. พระอนุฎกี าหิงสธรรม ๓๒. พระโลกุปปต๎ ติ ในอวสานพจนข์ องไตรภมู ิกถาน้ี พระองคท์ รงกล่าวถงึ คัมภรี ์ตา่ ง ๆ เหล่านี้ อีกคร้ังหนึ่ง แต่มบี างคัมภรี ท์ ีช่ ือ่ ไมต่ รงกับท่ีทรงกล่าว ไว้ในบานแพนก เชน่ พระธรรมมหารถกา พระธรรมหทยะ พระอนุปตกิ า จากการศึกษาทม่ี าของไตรภูมิพระรว่ ง จะเห็นได้วา่ ทม่ี าส่วนใหญ่เปน็ หลักฐานชัน้ ปฐมภูมิ ทีม่ าจากคมั ภีรพ์ ระไตรปฎิ กและพระ อรรถกถา ฎกี า และปกรณ์พิเศษซึง่ เปน็ คัมภีรส์ าํ คญั ทางพระ พทุ ธศาสนา ดังนน้ั ไตรภมู ิพระร่วงนี้มิได้แต่งข้ึนโดยปราศจาก
หลกั ฐานหรือทีอ่ ้างอิง จงึ ทําใหม้ ัน่ ใจ และเปน็ ทีย่ อมรับว่าเป็นหนงั สอื วรรณกรรมท่มี ขี อบเขตเนือ้ หากว้างขวางนา่ สนใจ นา่ ศึกษา เป็นอย่างย่ิง และสมควรไดร้ ับความยกยอ่ งว่าเปน็ งานวิจัยหรือวิทยานิพนธเ์ ล่มแรกของไทยเพราะมีลักษณะเป็นการ เขยี นค้นคว้าจากตําราและข้ออ้างองิ ต่าง ๆ ทั้งยังไดร้ วบรวมคัมภีรท์ างพระพทุ ธศาสนามากมาย ถงึ ๓๐ กว่าคมั ภรี ์ รวมทงั้ ยังมี รายละเอียดเก่ยี วกับช่ือผู้แตง่ ความมุ่งหมายในการแต่ง และทีม่ าของเร่ือง อย่างชัดเจนอีกด้วย (๓) ลกั ษณะคําประพนั ธ์ เปน็ วรรณคดเี ล่มแรก ท่ีได้มีการรวบรวมเนื้อหาสาระจากคัมภรี ต์ า่ ง ๆ ในพทุ ธศาสนา, พระไตรปฎิ ก, อรรถกถา และ อ่ืน ๆ มากกว่า ๓๐ คมั ภีร์ เป็นการแตง่ แบบร้อยแก้ว เป็นศาสนาโวหารและพรรณนาโวหาร ภาษาที่ใชเ้ ป็นลักษณะ ของภาษาไทยโบราณ ใชถ้ ้อยคําท่ีมี สัมผสั และความคล้องจองได้อยา่ งไพเราะ และสละสลวย มีการเปรยี บเทยี บเชิงอุปมาอุปไมย และการใช้ภาษาจินตภาพ ที่ทําใหเ้ ห็นภาพได้อย่างชัดเจน อีกทั้งยังทาํ ใหผ้ อู้ ่านเกดิ ความรู้สกึ คล้อยตามเป็นอยา่ งดี วธิ ีการจัดเรยี บเรยี ง เรมิ่ ต้นดว้ ยคาถานมสั การเป็นภาษาบาลี บานแพนกบอกช่อื ผแู้ ต่ง วันเดือนปีที่แตง่ ชอ่ื คัมภีรต์ ่าง ๆ บอก จุดม่งุ หมายในการแต่ง (๔) ประวัตผิ ู้นิพนธ์ พระมหาธรรมราชาลไิ ทที่ ๑ หรอื พญาลิไท เป็นโอรสของพ่อขุนเลอไท และเปน็ นดั ดา ของพ่อขนุ รามคาํ แหงมหาราช พระราช ประวตั ิในช่วงปฐมวัยไม่ปรากฏ ณ ทีใ่ ด แตเ่ ม่ือทรงเจรญิ วยั แลว้ ศิลาจารึกสุโขทัยหลายหลักกล่าวถงึ เรื่องราวของพระองค์ แมจ้ ะ ไมส่ มบรู ณ์แตก่ ็พอทราบเรื่องราวได้ว่า พระมหากษัตรยิ ์พระองค์นี้ได้ทรงศึกษาศลิ ปศาสตรแ์ ขนงต่าง ๆ ทผ่ี ูป้ กครองในสมัยนนั้ ต้องเรยี น ต้องศึกษาไดอ้ ย่างแตกฉานและชํานิชาํ นาญยงิ่ และทรงปกครองเมืองศรีสัชนาลัยในฐานะองคอ์ ปุ ราช หรอื รชั ทายาท เมืองสุโขทัย เม่ือปี พ.ศ. ๑๘๘๒ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลิไท) เป็นกษตั ริย์องค์ที่ ๕ แห่งราชวงศส์ โุ ขทยั ขน้ึ ครองราชย์ ต่อจากพระยาตัวนาํ ถม จาก หลักฐานในศิลาจารกึ วัดมหาธาตุ พ.ศ. ๑๙๓๕ หลกั ท่ี 4 ข. ค้นพบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ ไดก้ ล่าวว่า เมือ่ พระยาเลอไทสวรรคตใน พ.ศ. ๑๘๘๔ พระยาตวั นาํ ถมได้ขึน้ ครองราชย์ ต่อมา พญาลิไทยกทัพมาแย่งชิง ราชสมบัติได้ และข้ึนครองราชย์ใน พ.ศ. ๑๘๙๐ ทรงพระนามเตม็ วา่ พระเจา้ ศรสี รุ ิยพงครามมหาธรรมราชาธิราช ทรงมพี ระ นามอีกอย่างหน่ึงว่า พญาภาไทยราช และเรียกกนั เปน็ สามัญว่า พระมหาธรรมราชาที่ ๑ พระองค์ทรงเปน็ ผูท้ ี่เลื่อมใสใน พระพทุ ธศาสนาเปน็ อย่างมาก ดรุ และเปน็ พระมหากษัตรยิ ์องค์แรกทท่ี รงออกผนวช
โดยพระองค์ได้สละราชสมบัติเสดจ็ ออกผนวช ท่ีวดั ปุามะม่วง อยู่ระยะหน่ึง ทําใหท้ รงมีความรอบรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎกี า และปกรณ์ พิเศษต่าง ๆ และในสมัยของพระองคน์ ่ีเองท่ีพระองค์ทรงสรา้ งพระพทุ ธชนิ ราช ท่เี มืองพิษณโุ ลก ทรง สร้างเจดียท์ ่นี ครชมุ (เมืองกาํ แพงเพชร) นับได้ว่าพระพทุ ธศาสนาไดเ้ จริญอยา่ งย่ิงในสมัยนี้ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ หรือพญาลิไท มีมเหสีชื่อพระนางศรธี รรม ทรงมีโอรสสืบพระราช บัลลังกต์ อ่ มาคือ พระมหาธรรมราชา ท่ี ๒ ปที ส่ี วรรคตของกษัตรยิ ์พระองคน์ ี้ไม่เป็นทที่ ราบแนช่ ัด สันนษิ ฐานว่าน่าจะอยู่ในระยะเวลาระหว่างปี พ.ศ. ๑๙๒๑-๑๙๒๗ (๕) เนอ้ื หาย่อ ไตรภมู ิกถามีเน้ือเรอ่ื งแบง่ ออกเป็น ๑๑ กณั ฑ์ เน้ือเรอ่ื งเรมิ่ ต้นด้วยคาถานมสั การคุณพระ ศรีรตั นตรัย บานแพนก อารัมภพจน์ แลว้ จงึ ข้นึ กณั ฑท์ ี่ ๑ นรกภมู ิ จนถึงกัณฑท์ ่ี ๑๑ นิพพานกถา แล้วจบลงดว้ ยอวสานพจน์ บานแพนกบอกชือ่ ผู้แต่ง วนั เดือนปีท่แี ต่ง บอกชื่อคัมภรี ์ บอกความมุง่ หมาย ในการแตง่ แลว้ จึงกล่าวถึงภูมทิ ัง้ ๓ วา่ “อันว่าสัตว์ ท้งั หลายยอ่ มจะเวียนวนไปมาและเกิดในภูมิ ๓ อนั นแี้ ล” เนอื้ เรือ่ งไตรภูมิกถาลําดับตามกัณฑโ์ ดยสงั เขป ดังน้ี อารัมภพจน:์ ไตรภูมิ เน้ือเรอื่ งกลา่ วถึง ไตรภมู ิ ปฏสิ นธิ ปฏสิ นธิ ๒๐ จาํ พวก ปฏสิ นธโิ ดยบญุ และบาป และปฏสิ นธเิ ปน็ พรหม กณั ฑ์ท่ี ๑ : ว่าด้วยนรกภมู ิ เหตุแหง่ การเกดิ นรกใหญ่ นรกบา่ ว โลกันตนรก มหาอเวจีนรก กัณฑ์ท่ี ๒ : ว่าดว้ ยติรัจฉานภมู ิ สัตว์ สัตว์ทะเล ครุฑ นาค นกและสัตวป์ าุ กัณฑ์ที่ 3: เปรตภมู ิ วมิ านเปรตลักษณะต่าง ๆ เปรตผ้หู ญิง เปรตทุกข์ทรมาน เปรตอ่นื ๆ กณั ฑ์ท่ี ๔ : วา่ ด้วยอสุรกายภมู ิ ลักษณะอสุรกาย อสูรภภิ พ พญาอสูร กัณฑ์ท่ี ๕ : มนสุ สภูมิ วา่ ด้วยการเกิด ทวีปทั้ง ๔ มหาจกั รพรรดริ าช ประวตั ิบคุ คลสาํ คัญ เรื่องเบด็ เตล็ด กัณฑ์ที่ 6 : ฉกามาพจรภูมิ ว่าด้วย สวรรคช์ ้ันจาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี และ ปรนิมมติ วสวัสดี กัณฑ์ท่ี ๗ : รปู วจรภมู ิ วา่ ดว้ ย รปู พรหม ๑๖ ช้ัน ตามภมู ิธรรม เรียกวา่ โสฬสพรหม กัณฑ์ที่ ๘ : อรปู าวจรภมู ิ วา่ ด้วย อรปู พรหม พรหมไม่มีรปู ๔ ชนั้ และฉพั พรรณรงั สี กัณฑ์ที่ ๙ : อวนิ โิ ภครปู ว่าดว้ ย สัตว์ ภูเขาและแม่นาํ้ พระอาทติ ย์ พระจันทร์ นวเคราะห์ ดวงดาว ฤดแู ละเดือน วันและคนื ชมพทู วีป ปาุ หมิ พานต์ ลว้ นแลว้ เป็นอนจิ จลกั ษณะ กัณฑ์ที่ ๑๐ : โอกาสมหากัลปสุญญตา กลั ปวินาศและอบุ ัติ ไฟน้ําลมล้างโลก โลกาวนิ าศ ไฟประลยั กัลป์ น้ําประลัยกลั ป์ กัป ตา่ งๆ ลมทง้ั ๔ โลกอุบตั ิ ฤดูกาล ความประมาทในบญุ ธรรม ภาวะ ของโลก อนิจจังสงสาร กัณฑ์ที่ ๑๑ : นิพพานกถา กล่าวถงึ นิพพานสมบัติ มรรค ๘ วธิ ปี ฏบิ ัตเิ พอื่ บรรลพุ ระนิพพาน สมถกรรมฐาน วิปส๎ สนากรรมฐาน สมภารบารมี
อวสานพจน์ ว่าด้วย วนั เดอื น ปีที่ และเหตทุ ท่ี รงนิพนธ์ (๖) เนอื้ เรื่อง ไตรภูมพิ ระร่วง มีสาระสําคญั คือ พรรณนาถงึ เรื่องการเกิด การตายของสตั ว์ทงั้ หลายว่า การเวยี นว่ายตายเกดิ อยูใ่ นภูมิทัง้ ๓ คือ กามภมู ิ ๑๑ รูปภูมิ ๑๖ และอรูปภูมิ ๔ ด้วยอาํ นาจของบุญ และบาปทต่ี นได้กระทําแลว้ ก. กามภูมิ กามภูมิ คือ ภูมิระดบั ล่าง เป็นแดนทย่ี งั เกย่ี วข้องอยกู่ ับกามตณั หา ยังมีโลภะ โทสะ โมหะ ระคนอยู่ด้วยความรัก ความใคร่ มีสขุ มีทกุ ข์ มที ัง้ สิน้ ๑๑ ภูมิ แบง่ ออกเป็น ทุคติภมู ิ ๔ (อบายภูมิ) และ สุคตภิ มู ิ ๗ - ทคุ ตภิ ูมิ หรือ อบายภูมิ คอื แดนทเ่ี ปน็ ทุกข์ จดั เป็นภูมิช้นั ตาํ่ มี ๔ ชน้ั ประกอบดว้ ย ๑.๑ นรกภมู ิ คือ ภมู ิท่ไี ม่มคี วามเจรญิ สถานที่ของสตั วท์ ่ีทาํ บาป ตอ้ งไปรบั ทณั ฑ์ทรมาน นานาประการ ประกอบดว้ ยนรกใหญ่ 4 ขุมดว้ ยกัน ได้แก่ สญั ชีพนรก กาฬสตุ ตนรก สงั ฆาฏนรก โรรวุ นรก มหาโรรุวนรก ตาปนรก มหาตาปนรก อเวจนี รก หรือ มหา อเวจีนรก นอกจากนรกใหญ่ท้ัง ๘ ขมุ น้ีแล้ว ยังมนี รกบรวิ ารล้อมนรกใหญ่อยู่อีกดา้ นละ ๔ ขุม เรยี กวา่ นรกบา่ ว ดังนนั้ นรกใหญแ่ ตล่ ะ แหง่ จงึ มีนรกบ่าว (บริวาร) ๑๖ ขมุ รวมนรกข่าวทัง้ ส้ิน ๑๒๘ ชมุ ใน ไตรภูมพิ ระร่วง ได้กลา่ วถึง เหตุอนั เป็นต้นตอรากเหงา้ ของความช่ัวทง้ั หลายที่ทําให้ สัตว์ตอ้ งไปเกดิ ในรกมี ๓ ประการ คอื โลภเหตุ (ความโลภ) โทสเหตุ (ความโกรธ) โมหเหตุ (ความหลง) ดว้ ยอกศุ ลมลู ๓ ประการนี้ ทําให้สัตวท์ ้ังหลายกระทาํ ช่ัว มี ๑๐ ประการ ไดแ้ ก่ เพ้อเจ้อ เป็นชอบ กายกรรม คือ การกระทาํ ช่วั ทางกาย ๓ คือ ฆา่ สัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผดิ ในกาม วจกี รรม คือ การกระทาํ ชว่ั ทางวาจา ๔ คือ พดู เทจ็ , พดู คาํ หยาบ, พดู สอ่ เสียด และพดู มโนกรรม คือ การกระทาํ ช่วั ทางใจ ๓ คอื คดิ อยากไดข้ องผ้อู น่ื คิดปองร้ายผูอ้ น่ื เห็นผดิ ๑.๒ เปตภมู ิ ภูมอิ ันเปน็ ทอี่ ยขู่ องเปรตชนิดต่างๆ เป็นภมู ิแห่งสตั ว์ท่ีหา่ งไกลจากความสุข มคี วามหิวกระหายไร้ความสขุ กล่าวถึง บาปกรรมท่ีทําให้ต้องไปเปน็ เปรต เชน่ ขโมยของสงฆ์ นินทา พระสงฆ์ และครบู าอาจารย์ ยยุ งให้สงฆแ์ ตกกัน ให้ยาแก่หญงิ มี ครรภ์เพ่ือทาํ แทง้ ตระหน่ีและห้ามผอู้ ื่น ให้ทาน ทําร้ายบดิ ามารดา พดู เทจ็ รบั สนิ บน ตดั สินความไมย่ ตุ ิธรรม เผาปุาทําลายปาุ เป็นต้น ๑.๓ อสรุ กายภมู ิ ภมู อิ นั เป็นท่ีอยขู่ องอมนษุ ย์พวกหนงึ่ ที่ไม่ถูกกับเทวดา เปน็ สถานท่ี ที่ไม่มีความสวา่ งร่งุ โรจน์โดยความเป็นอิสระ และความรื่นเริง คําวา่ “ไมร่ ุ่งโรจน”์ หมายถงึ มีความ เป็นอยู่ฝดื เคือง ใจคอไม่รา่ เริง ในไตรภมู พิ ระรว่ ง แบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ กาลกัญชกาอสรู กาย หมายถงึ พวกทีม่ ีรปู ร่างน่าเกลียดน่ากลัว และทพิ ยอสูรกาย หมายถงึ พวกทีม่ ีท่ีอยู่งดงาม ท่เี รยี กว่าอสรุ ภพ
๑.๔ เดรจั ฉานภูมิ เป็นท่ีอย่ขู องสตั วด์ ิรจั ฉาน ซ่งึ ถือวา่ พวกน้ีมีสญั ญา หรือความสาํ นึกรู้ (สัญญา) เพยี ง ๓ อย่าง คือ กามสญั ญา อาหารสญั ญาและมรณสัญญา ซง่ึ ตา่ งจากมนษุ ย์ คือ มนษุ ย์ เพม่ิ ธรรมสญั ญา สามารถรบู้ าปบญุ คณุ โทษได้ ๒. สคุ ติภูมิ ๗ คือ แดนทีเ่ ปน็ สุข ในแง่ของผู้ท่ียงั ข้องเกย่ี วในกาม เปน็ ภมู ชิ ้นั สูงข้ึนมา ได้แก่ มนุสสภูมิ ภมู ขิ องมนษุ ย์ ๑ และ สวรรคภมู ิ ภูมขิ องเทวดา 5 ชัน้ (ฉกามาพจร) ๒.๑ มนสุ สภมู ิ ภมู ขิ องมนษุ ย์ เปน็ ภูมิระดบั สูงกว่าอบายภูมิ เปน็ ช้นั แรกของสุคติภูมิ แตย่ งั รวมอยู่ในภูมิใหญ่ คือ กามภมู ิ ไตรภมู ิ พระรว่ งไดพ้ รรณนาถงึ การเกิดขึ้นหรือการปฏิสนธิครั้งแรก ของมนษุ ยข์ ณะทอี่ ยู่ในท้องมารดา การจาํ แนกบุตรธิดาท่อี อกจาก ครรภม์ าแลว้ ว่ามี ๓ ประเภท คือ อภชิ าตบุตร อนชุ าตบตุ ร และอวชาตบตุ ร นอกจากนย้ี งั กล่าวถงึ ประเภทของมนษุ ยท์ ี่แบ่งตามทวปี อีก ๔ ประเภท ได้แก่ ๑) พวกมนษุ ย์ในชมพูทวีป ซง่ึ ตัง้ อย่ดู ้านทศิ ใต้ของเขาสิเนรุ มหี นา้ กลมเหมือนดุมเกวยี น กําหนดอายุใครมีศลี ธรรมอายุยนื ไมม่ ี ศีลธรรมอายจุ ะน้อย อายุกําหนดไม่แนน่ อน ๒) พวกมนษุ ย์ในอปรโคยานทวีป ซึง่ ตัง้ อยดู่ า้ นทิศตะวนั ตกของเขาสเิ นรุ มีหน้าเป็นวงรี คลา้ ยแวน่ มีอายุ ๕๐๐ ปี แนน่ อน ๓) พวกมนษุ ย์ในบุพพวเทหทวีป ซ่ึงตงั้ อย่ทู ิศตะวันออกของเขาสเิ นรุ หนา้ เหมอื นพระจนั ทร์ วนั ๘ ค่ํา หรือครึ่งวงเดือน กาํ หนด อายุ ๗๐๐ ปี แน่นอน ៨ ๔) พวกมนุษย์ในอุตตรกุรทุ วีป ซง่ึ ตงั้ อย่เู หนือของเขาสิเนรุ มีหนา้ ส่ีเหล่ยี มเหมอื นดง่ั ความเป็นอยู่ของมนุษย์ในทวปี น้ีมีความ สมบูรณ์มากทีส่ ุด นอกจากนยี้ ังแบ่งมนุษย์ออกเป็น ๔ จําพวก ได้แก่ ๑) คนนรก เพราะเป็นคนทีม่ ีจิตใจทารณุ ดรุ า้ ยชอบเบยี ดเบียนฆ่าสัตว์ตดั ชวี ติ อยเู่ สมอ เป็นคนทไี่ ม่ความเมตตาปรานี คิดสงสาร สัตว์ ๒) คนเปรต เพราะเปน็ คนทไ่ี ม่ชอบทําบุญสนุ ทานในกาลก่อน เมือ่ เกิดมาแล้วก็เป็นคน ยากจนเข็ญใจ ต้องแสวงหาของกนิ ของ สกปรก เน่าเสีย เหมือนเปรต ๓) คนดริ จั ฉาน เพราะเปน็ คนที่ไม่รู้จักบาปบญุ คณุ โทษ ไม่มีความเมตตากรุณา ไมเ่ คารพ ยาํ เกรงทา่ นผมู้ ีอายุ ไม่รจู้ ักปฏิบตั ติ ่อ พอ่ แม่ ครูบาอาจารย์ ไม่รกั พ่ี รักนอ้ ง ทาํ บาปตลอดเวลา ๔) คนมนษุ ย์ เพราะเป็นคนท่ีมคี วามรบั ผิดชอบชวั่ ดี เปน็ คนท่มี ีปญ๎ ญารู้จักบาปบุญคณุ โทษ มีความกตัญํูกตเวที มีความเคารพ นอบนบบชู าผู้มพี ระคุณ พ่อแม่ พ่ี ปูา เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ยังกลา่ วถึงเหตุของความตายของมนุษย์ว่า มี ๔ อยา่ ง คือ ๑) ตายเพราะสน้ิ อายุ หมายถึง การตายเพราะสิน้ อายขุ ัย ๒) ตายเพราะสิ้นกรรม หมายถึง การตายนัน้ ไมม่ ีกรรมอ่นื เขา้ มาชว่ ยเหลอื อุปถมั ภ์ จงึ ทาํ ให้ตาย การตายน้จี ะมีต่อกรรมท่สี ่งผล ให้เกิด
๓) ตายเพราะสน้ิ ทง้ั อายะและกรรม หมายความว่า การทค่ี นเรามีชวี ติ ยนื ยาวจนถงึ อายขุ ัย และพอดอี ปุ ๎ตถมั ภกรรมทีช่ ่วย อดุ หนนุ กส็ น้ิ สดุ ลงพรอ้ มกนั ๔) ตายเพราะกรรมเข้าไปตัดรอน หมายความวา่ การตายไปของบุคคลในขณะท่ีชีวิตและ ยงั ไมถ่ งึ อายุขยั แต่เพราะบาปกรรมท่ี ตนกระทําไวแ้ ต่อดตี ๒.๒ สวรรคภมู ิ ภูมขิ องเหล่าเทพยดา อยเู่ หนือมนุสสภูมิขนึ้ มา แต่ยงั จดั อยใู่ นภมู ิระดบั ล่าง กลา่ วคือ ยังเกยี่ วขอ้ งกบั กาม มที ั้งสน้ิ 5 ชัน้ รวมเรยี กว่า ฉกามาพจรภมู ิ คือ ๑) จาตุมมหาราชกิ าภมู ิ คอื ภูมอิ ันเปน็ สถานทอี่ ยูของทา้ วจัตโุ ลกบาล (เทพแห่งทศิ ทั้ง ๔) หรือเรยี กอีกอย่างหนงึ่ วา่ จตุมมหา ราชา ขนึ้ ตรงกับพระอินทร์ ผู้เปน็ ราชาแหง่ สวรรค์ ไดแ้ ก่ ๑) ทา้ วธตรัฏฐะ ผู้ปกครองอยูท่ างทศิ ตะวันออกของภเู ขาสเิ นรุ ๒) ท้าว วิรุฬหกะ ผ้ปู กครองอยทู่ างทิศใตข้ องภูเขาสเิ นรุ ๓) ทา้ ววริ ูปก๎ ขะ ผู้ปกครองอยู่ทางทิศตะวันตกของภเู ขาสเิ นรุ ๔) ทา้ วกุเวรหรอื ท้าวเวสสุวณั ผู้ปกครอง อยู่ทางทศิ เหนือของภเู ขาสเิ นรุ ๒) ดาวดึงส์ภูมิ คือ ภูมิอนั เป็นสถานทอี่ ยู่ของเทพ ๓๓ องค์ มีท้าวสักกะหรอื พระอนิ ทร์ เป็นหัวหน้า เปน็ ผู้ปกครองท้ังจาตมุ มหา ราชกิ า และดาวดงึ ส์ เปน็ หวั หนา้ ๓) ยามาภมู ิ คอื ภูมิอันเปน็ สถานที่อยขู่ องเทวดาผู้ปราศจากความทุกข์ มีท้าวสุยามะ ๔) ดุสติ าภมู ิ คอื ภมู อิ นั เปน็ สถานทีอ่ ยู่ของเทวดาท่ีมแี ต่ความแชม่ ชน่ื ความยินดีอยู่ เปน็ นจิ เปน็ ชนั้ ท่ีพระโพธสิ ตั ว์ก่อนที่จะตรสั รู้ เปน็ พระพทุ ธเจา้ จะมาบงั เกิดในสวรรค์ช้นั นกี้ ่อน มีท้าว สนั ดสุ ติ เปน็ หวั หน้า ๕) นมิ มานรดภี มู ิ คือภูมอิ นั เป็นสถานทีอ่ ยู่ของเทวดาท่ีมแี ต่ความยนิ ดี ความเพลดิ เพลนิ ในกามคุณ ๕ ทต่ี นเนรมิตขน้ึ มีทา้ วสุนิม มติ ตะ เป็นหวั หน้า ๖) ปรนิมมิตวสวัตติภูมิ คอื ภูมิอนั เปน็ สถานท่อี ยู่ของเทวดา ผู้เสวยกามคุณที่เทวดา องค์อื่น ๆ เนรมิตให้แก่ตน มีท้าวปรนมิ มติ ะ เปน็ หัวหน้า ภูมิทง้ั ๗ ภูมิตามท่กี ล่าวมาแลว้ น้ี ทา่ นเรียกวา่ กามสคุ ติภูมิ ๗ เม่อื รวมกับทุคติภูมิ ๔ ข้างตน้ จงึ เปน็ กามภูมิ ข. รปู ภูมิ รปู ภูมิ หมายถงึ ภมู ิอนั เปน็ สถานท่เี กดิ รปู พรหม (พรหมที่มรี ูป) ท้ังหลาย เสวยสขุ โดย ไมเ่ กี่ยวขอ้ งด้วยกาม มีแสงสว่างรุ่งเรอื งยิง่ กวา่ เทวดาทง้ั ปวง มเี สียงไพเราะ มอี ายุยืนหลายพันปีทพิ ย์ จัดอย่ใู นภูมิระดบั กลาง มีทั้งหมด ๑๖ ภูมิ เรียกวา่ โสฬสพรหม จําแนกตามชน้ั ของฌานทบี่ คุ คลไดบ้ รรลุ เรียงลาํ ดับ ดงั น้ี ๑. ปฐมฌานภูมิ ภมู อิ ันเป็นสถานทีเ่ กิดของบุคคลผูส้ ําเรจ็ ปฐมฌาน ฌานที่ ๑) มี ๓ ภมู ิ ไดแ้ ก่ ๑) พรหมปาริสัชชาภมู ิ หมายถึง ภูมอิ นั เปน็ สถานท่ีอยู่ของพรหมผ้เู ปน็ บริษทั บริวารของมหาพรหม
๒) พรหมปุโรหิตาภมู ิ คือ ภมู ิอนั เป็นสถานท่เี กดิ ของพรหมปุโรหิตา ผู้เปน็ ทีป่ รกึ ษาของมหาพรหม ๓) มหาพรหมาภมู ิ คอื ภูมิอนั เป็นสถานทเี่ กดิ ของท้าวมหาพรหม ๒. ทุตยิ ฌานภูมิ คือภูมิอนั เป็นสถานที่เกดิ ของบคุ คลผู้สําเร็จทุติยฌาน (ฌานที่ ๒)มี ๓ ภูมิ ไดแ้ ก่ ๑) ปริตตาภาภูมิ ภูมิอนั เป็นสถานท่ีอยู่ของพรหมท่ีมีรัศมนี ้อย ๒) อปั ปมาณาภาภมู ิ ภูมิอันเป็นสถานทอ่ี ยู่ของพรหมที่มรี ัศมหี าประมาณมไิ ด้ ภูมิ ๓) อาภัสสราภมู ิ ภูมอิ นั เปน็ สถานท่ีอยู่ของพรหมที่มีรัศมเี ป็นประกายร่งุ โรจน์ แผ่ซา่ นไป ตตยิ ฌานภูมิ ภูมหิ รอื แดนอนั เปน็ สถานท่ีเกิดของบคุ คลผ้สู าํ เรจ็ ตติยฌาน (ฌานที่ ๓) ๑) ปริตตสภุ าภมู ิ ภูมอิ นั เป็นสถานทอี่ ยู่ของพรหมที่มรี ัศมีสวยงามน้อย ๒) อัปปมาณสุภาภูมิ ภมู อิ นั เปน็ สถานทีอ่ ยู่ของพรหมทมี่ รี ัศมีสวยงามหาประมาณมิได้ ๓) สุภกิณหาภมู ิ ภูมอิ ันเป็นสถานท่ีอยู่ ของพรหมที่มรี ศั มีสวยงามกระจา่ งจา้ ๔. จตุตถฌานภูมิ คือภูมหิ รือแดนอนั เปน็ สถานทเ่ี กิดของบุคคลผสู้ าํ เรจ็ จตุตถฌาน มี ๗ ภมู ิ ไดแ้ ก่ ๑) เวหัปผลาภมู ิ คอื ภมู ิอันเป็นสถานทอ่ี ยู่ของพรหมท่ีไดร้ บั ผลแหง่ ฌานกุศลอันไพบูลย์ ๒) อสัญญสี ตั ตภูมิ คือ ภมู ิอันเป็นท่อี ยู่ ของพรหมที่ไม่มีสัญญา คือ มีแต่รปู ขนั ธ์ ไมม่ ี นามขนั ธ์ พรหมในภมู ินมี้ ักเรียกวา่ พรหมลูกฟ๎ก ๓) อวิหาภูมิ คอื ภมู ิอันเปน็ ท่ีอยู่ของพรหมท่ไี มเ่ ส่ือมจากฐานะของตน หรือผู้ละไปแลว้ ผูค้ งอย่นู าน (เจรญิ สทั ธนิ ทรยี )์ วริ ยิ ินทรีย์) ๔) อตัปปาภูมิ คือ ภมู ิอนั เป็นสถานทีอ่ ยู่ของพรหมท่ีไม่มคี วามเดอื ดเนื้อร้อนใจใดๆ (เจริญ ๕) สุทสั สาภมู ิ คอื ภมู ิอันท่ีอยู่ของพรหมผู้งดงามนา่ ทัศนา (เจริญสตนิ ทรยี )์ * ต้ังแต่ อวิหาภมู ิ ถงึ อกนิฏฐาภูมิ รวมเรยี กวา่ สทุ ธาวาสภมู ิ คือภมู อิ นั เปน็ ท่ีอยขู่ องพระอนาคามีและพระอรหนั ต์ ๖) สุทสั สีภมู ิ คือ ภมู อิ ันเปน็ ท่ีอยขู่ องพรหมผมู้ องเห็นชัดเจนดหี รอื มที ัศนาแจม่ ชดั (สมาธินทรยี )์ ๗) อกนิฏฐภูมิ คอื ภมู ิอนั เปน็ ท่อี ยู่ของพรหมที่มีทิพยสมบัติและความสุขไมด่ ้อยไป กวา่ ใคร (ปญ๎ ญนิ ทรยี )์ ค. อรูปภูมิ อรูป คอื ภูมิอนั เปน็ สถานทเ่ี กิดของอรปู พรหม (พรหมไม่มรี ูป) ทัง้ หลาย หรือทร่ี ู้กันโดยทั่วไป วา่ เป็นพรหมที่ไมม่ ีรูปร่างหน้าตา มีแต่นามธรรม คือ ความรู้สึกนึกคดิ จิตใจอย่างเดียวเทา่ นัน้ ภมู ิช้นั น้ี ทา่ นแบง่ ตามผู้สาํ เร็จอรูปฌาน ๔ โดยตรง และเรียกตาม อรปู ฌานนัน้ ๆ ด้วย ดังนี้ ส้นิ สุด
๑. อากาสานัญจายตนภมู ิ คือ ภูมอิ ันเปน็ สถานที่อยขู่ องผเู้ ข้าถงึ ภาวะมีอากาศไม่มสี ิ้นสดุ ๒. วิญญาณญั จายตนภมู ิ คือ ภมู อิ นั เป็นสถานท่อี ยู่ของผ้เู ขา้ ถึงภาวะมีวญิ ญาณไม่มีที่ ๓. อากิญจัญญายตนภมู ิ คือ ภูมิอนั เปน็ สถานที่อย่ขู องผ้เู ข้าถึงภาวะไมม่ ีอะไร ๔. เนวสญั ญานาสญั ญายตนภมู ิ คือภูมิอันเป็นสถานทีอ่ ยู่ของผเู้ ขา้ ถงึ ภาวะมสี ญั ญาก็ไม่ใช่ ไมม่ สี ญั ญากไ็ มใ่ ช่ นอกจากนี้ ท่านยังได้บรรยายถงึ โลกท้งั ๓ ตามที่กล่าวมานี้อยา่ งละเอยี ดว่า มีการเกิดอย่างไร จะดับอย่างไร อันเป็นการแสดงถงึ ไตรภูมทิ ง้ั ๓ เปน็ สิ่งที่ไมจ่ รี ังย่ังยืนตลอดไป แมแ้ ต่พรหมที่มีอายุมาก เปน็ หลายกัปหรือแม้กระท่ังพระเจา้ จกั รพรรดิที่มีอํานาจ เป็นผ้ยู ิ่งใหญ่ในจกั รวาลน้ี มกี ารปกครองด้วย ธรรมานุภาพ มีความสุขมากท่ีสดุ แม้เทวดากย็ งั มาปฏิบัติรับใช้พระองค์ ถงึ กระนั้น พระองค์กย็ ังต้องจตุ ิ เวยี นว่ายตายเกิดเหมือนสตั ว์ทวั่ ไป หาความเทีย่ งแทแ้ นน่ อนไมไ่ ด้ สรรพสตั วท์ ั้งหลายยอ่ มเปน็ ไปตาม หลกั ไตรลกั ษณ์ กล่าวคือ ความเป็นสภาพไม่เที่ยง ความเปน็ ทกุ ข์ทนไดย้ าก ความไม่ใชต่ วั ตน จึงบังคับ บญั ชาการไม่ได้ ต้องเปน็ ไป ตามสภาพธรรม ตามเหตปุ ๎จจัย น่นั เอง พร้อมกนั นี้ในทสี่ ุดท่านจึงได้แนะนํา แนวทางท่ีจะทาํ ให้หลุดพ้น ไม่ต้องเวียนว่ายตายเกิด ในโลกทั้ง ๓ อีก กล่าวคอื การปฏิบัติตามทาง สายกลางที่พระพุทธเจ้าทัง้ หลายทรงดาํ เนนิ มาแล้ว น่ันคือ ทางสายเอก อนั ได้แก่ อรยิ มรรค มีองค์ ๘ เมื่อใครปฏบิ ตั ิตามทางสายน้ีแลว้ จะทําให้บรรลถุ ึงท่สี ุดคือพระนิพพานได้อย่างแน่นอน ซึง่ นบั ว่า เปน็ อดุ ม คตสิ ูงสุดของพระพุทธศาสนาที่แทจ้ ริง (๗) จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ของผ้ปู ระพนั ธ์ ตามที่ปรากฏในบานแผนกของไตรภมู ิพระรว่ งนน้ั ท่ีสําคญั มี ๓ประการ คือ ๑. เพอื่ เผยแผอ่ ภธิ รรม ๒. เพอ่ื เทศนาโปรดพระมารดา เปน็ การเจริญธรรมความกตัญํู ๓. เพือ่ ใชส้ ง่ั สอนประชาชนให้มคี ุณธรรม และชว่ ยกันดํารงพระพทุ ธศาสนาไว้ให้มัน่ คง (๔) คณุ คา่ ของวรรณกรรม ผลของวรรณกรรมเรอ่ื งไตรภูมพิ ระร่วงมอี ิทธพิ ลและมีคณุ ค่าในดา้ นตา่ งๆ มากมาย หลายประการ ดว้ ยกนั คือ ๑. คุณคา่ ดา้ นศาสนา เนื้อเร่อื งมีอิทธิพลตอ่ ความรสู้ ึกนึกคิดเกี่ยวกับบาปบุญคุณโทษ เชน่ การทาํ บุญรกั ษาศลี เจรญิ สมาธภิ าวนา จะได้ขึน้ สวรรค์ การทาํ บาปจะตกนรก กลา่ วโดยสรุปคอื มุ่งสอน ใหค้ นทําแตค่ วามดี ละเว้นความช่ัว เกรงกลวั ตอ่ การกระทาํ บาป และทาํ ให้เหน็ ความไม่เทย่ี งแท้ของ สรรพสิ่งในโลก เป็นการสอนศีลธรรมให้คนประพฤตดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบ ซงึ่ เป็นประโยชน์ต่อ การอยูร่ ่วมกนั ของคนในสังคม ๒. คุณค่าด้านวรรณคดี ไตรภูมิพระรว่ งมีความโดดเดน่ ในศิลปะการประพนั ธ์ มีอิทธพิ ล ตอ่ วรรณคดใี นสมยั ตอ่ มา เช่น ลิลติ โองการแช่งน้าํ ปุณโณวาทคําฉนั ท์ ขุนช้างขนุ แผน นิราศนรินทร์ วรรณกรรมเหลา่ นี้ไดร้ บั แนวคิดจากไตรภูมิพระร่วง เช่น เรอ่ื ง นรก สวรรค์ อเวจี เปรต อสุรกาย ครุฑ นาค ปุาหมิ พานต์ ภูเขาสตั ตบรภิ ณั ฑ์ อีกท้ังยังสรา้ งความเพลดิ เพลินเริงรมย์แก่ผอู้ า่ น เพราะให้ภาพ เกยี่ วกับภพภูมิต่าง ๆ ชดั เจน
๓. อิทธพิ ลตอ่ การดาํ เนินชวี ติ เน้อื เรอ่ื งในไตรภมู ิกถา จูงใจใหค้ นยดึ ม่นั ในการทําดี มีเมตตากรณุ า รักษาศลี บาํ เพญ็ ทาน รู้จกั เสียสละ เชือ่ ม่นั ในผลของกรรม ๔. คุณคา่ ด้านภาษา สํานวนโวหารในไตรภมู ิโดยเฉพาะพรรณนาโวหารนั้นประณีตละเอยี ด ลออเป็นอยา่ งย่ิง จนทําให้นกึ เห็น สมจริง ใหเ้ ห็นสภาพอันนา่ สยองขวญั ของนรก สภาพอนั รุ่งเรือง บรมสขุ ของสวรรค์ จนเป็นแรงบนั ดาลใจให้ศิลปินนําเรื่องราวไป ถ่ายทอดโดยการเขยี นภาพจติ รกรรม ฝาผนงั พระอุโบสถและวหิ ารของวดั ต่าง ๆ ๕. คณุ ค่าทางด้านการปกครอง นบั วา่ ไตรภมู พิ ระรว่ งเป็นหนังสือทม่ี ีคณุ ค่าดา้ นสงั คมศาสตร์ ในฐานะท่ีเปน็ อุดมการณ์ทาง การเมือง เป็นเคร่ืองมือของชนช้ันปกครองในสมัยสโุ ขทยั เพ่ือสรา้ งสรรค์ ความสงบสุขในสงั คม ไตรภูมิพระรว่ งหรอื ไตรภูมิกถา เป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาทส่ี าํ คญั มากเล่มหนึง่ ของไทย ทีเ่ ต็มไปดว้ ยสารตั ถประโยชนเ์ กย่ี วกบั หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนา ที่ทรงอิทธิพลในแง่ ความคดิ การดํารงชวี ิต ศลิ ปะ ฯลฯ ตอ่ คนไทยทุกยคุ ทุกสมัย หัวใจของเร่ืองก็คือ การละชั่ว ทาํ ดแี ละ ทําจิตใจใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ ซ่ึงเป็นคําสอนสําคัญของ พระพทุ ธศาสนา ไตรภมู ิพระร่วง เปน็ ผลงานเขียนทแี่ สดงให้เหน็ ถึงพระปรีชาสามารถและพระอัจฉริยภาพของ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลิ ไท) ที่พระราชนพิ นธ์วรรณคดีเรอ่ื งนี้ ผู้ท่ไี ด้ศึกษางานพระราชนิพนธ์นี้ จะได้เข้าใจสภาพสังคมสมยั เม่ือเร่มิ ต้งั อาณาจกั รเป็น ปึกแผน่ ในแผ่นดินไทยว่า พระมหากษัตริยไ์ ทย ในคร้ังน้นั ต้องทรงมจี ิตวิทยาสูงเพียงใด เพราะการก่อต้ังอาณาจักขึ้นใหม่จะต้องรวบรวมพลังไพร่ฟาู ข้าแผ่นดนิ หากประชาชน ต้ังอยู่ในศีลธรรมมีระเบยี บวินัย รู้บาปบญุ คุณโทษ และมีจติ ยดึ มน่ั ในหลกั คําสอนทางศาสนา กจ็ ะสามารถดํารงความมน่ั คงและ สามารถตอ่ สู้ศัตรทู ่ีคอยคุกคามความดํารงอยู่ของ ชาติได้ นอกจากนีเ้ มื่อวนั ท่ี ๒๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ คณะกรรมการวรรณคดีแหง่ ชาติ ได้ประกาศ ผลจากที่ไดม้ ีการพจิ ารณาคดั สรร วรรณกรรมที่แต่งในสมยั สุโขทัยทีม่ ีคุณค่าทางด้านเนื้อหาและมีความ งดงามเชงิ วรรณศิลป์ จํานวน ๕ เรื่อง ได้แก่ จารึกหลักที่ ๑ ศิลาจารกึ พ่อขนุ รามคําแหง, จารกึ หลักที่ ๒ ศิลาจารกึ วดั ศรีชุม, จารกึ หลกั ท่ี ๓ ศลิ าจารึกนครชมุ , สุภาษิตพระร่วง และไตรภมู ิ กถา หรือไตรภมู ิ พระรว่ ง และในท่ปี ระชุมมีมติเปน็ เอกฉันทว์ า่ วรรณคดเี รอื่ ง “ไตรภูมกิ ถา” ซงึ่ พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ หรือ พญาลิไท กษตั รยิ ์แหง่ กรงุ สุโขทยั พระราชนิพนธ์นัน้ เป็นหนงั สือแต่งดี มีคุณสมบตั ิครบถ้วนแห่ง การเป็นวรรณคดี กลา่ วคือเปน็ วรรณคดีท่มี ีคณุ ค่าพร้อม ทงั้ ในด้านศาสนา ดา้ นสงั คม ด้านศลิ ปกรรม และด้านวรรณศลิ ป์ เป็นหนังสอื ซึ่งให้ความร้ทู างอักษร ศาสตร์ จารตี ประเพณี วัฒนธรรม และศาสนา และยังมีอิทธิพลตอ่ การสรา้ งสรรค์ศลิ ปกรรมไทยแขนงตา่ งๆ ตลอดถงึ เปน็ รากฐานความคิด ความเช่อื ในสังคมไทยโบราณและสืบทอดมาจวบจนปจ๎ จบุ นั ด้วยเหตนุ ้คี ณะกรรมการวรรณคดีแห่งชาติจึงมี มติ ประกาศยกย่องให้ไตรภูมิกถาเปน็ ยอดของวรรณคดีสมัยสโุ ขทัย (๔) ลักษณะเด่นของวรรณกรรม ๖ด ลกั ษณะเด่นของวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาเรื่อง ไตรภมู ิกถา สามารถสรุปได้ดงั นี้ เป็นวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาเร่อื ง แรกของไทยทีม่ เี น้ือหาเก่ียวกับบาปบญุ
Q). คุณโทษ ท่ีแตง่ ข้ึนในสมยั สุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๘๒-๑๙๒๐) ๒. สาํ นวนโวหารท่ปี รากฏในเรือ่ งไตรภูมิกถานป้ี ระกอบดว้ ยภาษา ๓ ภาษา คอื บาลี สนั สกฤต แลภาษาไทย ทพ่ี ญาลไิ ททรงนิพนธไ์ ด้อย่างไพเราะงดงาม ๓. ไตรภมู ิกถาได้มีการใหบ้ รรณานกุ รมไว้ คือ พระคัมภรี ์บาลี (พระไตรปฎิ ก) อรรถกถา ฎกี า อนฎุ ีกา และคมั ภีร์ทางพระพุทธศาสนาอ่นื ๆ ไวใ้ นปฐมพจน์ และอวสานพจน์ ตลอดจนถึงรายชอื่ นกั ปราชญส์ าํ คญั ทาง พระพทุ ธศาสนาในสมยั นั้นดว้ ย ๔. วรรณกรรมเรอื่ งนสี้ ่งอิทธพิ ลตอ่ งานด้านศลิ ปไทยทงั้ ทางด้านสถาปต๎ ยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรมท่ีไดร้ ับคติความเชอ่ื ท่กี ลา่ วไว้ในเนือ้ เรื่อง ๕. ไตรภมู กิ ถานี้ชว่ ยส่งเสรมิ คําสั่งสอนทางพระพุทธศาสนา มผี ลต่อวถิ ีการดําเนนิ ชวี ิต ของคนในสมยั น้ัน ไม่เพียงแตบ่ ุคคล ธรรมดาสามญั ทวั่ ไปเทา่ น้นั แตย่ ังส่งผลตอ่ ชนชัน้ ผ้ปู กครองให้ต้งั อยู่ ในธรรมะ ความถูกต้อง ความยตุ ธิ รรม เมตตา กรุณา และ คุณธรรมตา่ ง ๆ ๒.๓ งานวรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนาสมัยลา้ นนา สภาพทางการเมืองการปกครอง ลา้ นนาเปน็ อาณาจักรท่ีเก่าแก่และยงิ่ ใหญ่มาแตโ่ บราณกาล จากหลกั ฐานข้อมลู ในตํานาน ลา้ นนาพบวา่ มีการรวมตัวของชนเผ่า ไทยวนเมื่อปีกัดไก่ (ปีกนุ ) ตรงกบั พ.ศ. ๑๑๘๑ ที่บริเวณเมือง เชียงลาว-เชยี งแสน โดยมลี ัวะจงั กราชเป็นผนู้ ําคนแรก และสืบ เช้อื สายต่อ ๆ กันมา จนถึงสมัยพญา เม็งราย กษัตริยล์ าํ ดับที่ ๒๕ แห่งราชวงศ์ลาว (พ.ศ.๑๘๐๕-๑๘๕๔) จากน้นั ชนเผ่าไทยวน กไ็ ด้ขยาย อาณาเขตลงมายงั เมืองลาํ พนู ตามมาดว้ ยการสร้างเมอื งเชยี งใหมใ่ นปี พ.ศ. ๑๘๓๙ นับแต่นัน้ เปน็ ตน้ มา ราชวงศ์เม็ง รายกไ็ ด้ปกครองเชียงใหม่มาโดยตลอดเป็นระยะเวลา ๒๐๐ ปเี ศษ ในชว่ งนี้ เชยี งใหม่มีความเจรญิ แทบทุกดา้ นและเปน็ ศนู ย์กลางของอาณาจักรล้านนา จนถงึ พ.ศ. ๒๕๐๑ เม่อื อาณาจักรล้านนาตกอยภู่ ายใตก้ ารปกครองของพม่า บ้านเมอื งมแี ตค่ วามวนุ่ วายระํส่าระสาย จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๑๗ พระ เจา้ ตากสิน แหง่ กรุงธนบรุ ี โดยความร่วมมือของพญากาวิละและพญา จา่ บา้ น แห่งเชียงใหม่ สามารถขับไล่พม่าออกไปจาก ล้านนาได้ ทาํ ให้มกี ารฟนื้ ฟบู ูรณะเมืองเชียงใหม่ ขึน้ มาอกี ครั้งหนงึ่ ความสงบสุขและความเปน็ ปกึ แผ่นกลับมาสดู่ นิ แดนล้านนา ดัง้ เดมิ โดยเฉพาะเมอื ง เชยี งใหม่ ลําพูน และลาํ ปางซึง่ มีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งแน่นแฟนู โดยสายเลอื ด กลายเปน็ เมืองสําคญั ของ ลา้ นนามเี จ้าผูค้ รองนครปกครองสืบทอดกันเรื่อยมา ในฐานะเปน็ เมืองประเทศราชของกรุงรตั นโกสนิ ทร์ จนกระท่ังมีการรวมอาณาจกั รลา้ นนาเขา้ เป็นสว่ นหน่งึ ของราชอาณาจกั รไทย สภาพทางสังคม
ในอาณาจกั รลา้ นนา เป็นราชอาณาจักรท่ีอดุ มร่งุ เรืองไปด้วยธารนาํ้ และทวิ เขาสูง มแี ม่นํ้าปิง วัง ยม น่าน เปน็ แหลง่ ในการทาํ การเกษตรกรรม จึงมชี นพนื้ เมืองอยมู่ ากมาย การตดิ ต่อคา้ ขายสามารถ ทําได้กบั พมา่ คืออาณาจักรพุกาม และอาณาจักรสุโขทยั โดยอาศัยทางสายนํ้าเปน็ เส้นทางหลักในการ คมนาคม สภาพทางพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๒ สมยั ของพระนางจามเทวี พระราชธดิ า ของกษัตริยม์ อญ ในอาณาจักรทวาราวดี เมืองล วปรุ ะ (ลพบุรีในปจ๎ จุบัน) ไดเ้ สดจ็ มาครองราชสมบัตินครหรภิ ุญชัย (ลําพนู ในปจ๎ จุบัน) ตามคาํ เช้ือเชญิ ของวาสุเทพฤาษี ทอี่ อก บวชเป็นฤาษแี ลว้ ได้จดั หาสถานทใี่ นการสร้างเมอื ง ขึน้ มา ขณะท่ีพระนางเสดจ็ มาได้ทรงนําพาอารยธรรมแบบทวารวดีขึ้นมาด้วย ในจํานวนนน้ั มกี าร นาํ พาพระพุทธศาสนามีท้ังพระพุทธศาสนาแบบมหายานและเถรวาท โดยเฉพาะ พระพทุ ธศาสนาแบบ หนิ ยานหรอื เถรวาทไดน้ าํ พระเถระผู้ทรงพระไตรปิฎกจาํ นวน ๕๐๐ รปู มาด้วย พระนางจามเทวีได้สร้าง วดั ไว้ ๔ มุมเมือง ทาํ ให้ เมอื งนเ้ี ป็นจตุรปราการของพระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาจึงประดษิ ฐาน รงุ่ เรืองนบั ตงั้ แตส่ มัยนั้นเป็นตน้ มา ดังตวั อย่างของ ศลิ ปวัตถใุ นสมยั ของพระนางจามเทวี เราจะเห็นได้ จากวัดกกู่ ูด วดั จามเทวีปจ๎ จุบนั ) มสี ถูปเป็นรปู สีเ่ หลีย่ ม แบง่ เป็นชั้น ๆ มคี ูหา ทกุ ช้นั ทุกด้านภายในคหู า มีพระพทุ ธรูปยืนรวมท้งั หมด ๖๐ องค์ ข้างสถูปเล็กมสี ถูปใหญอ่ ีกองคห์ นึ่ง ชอ่ื สุวรรณจังโกฏเิ จดีย์ ศลิ ปวตั ถุทง้ั สองน้มี ีอายมุ ากกวา่ สองพนั ปี ในพทุ ธศตวรรษท่ี ๑๕ พวกขอมแผ่อํานาจจากลุม่ แม่นาํ้ เจา้ พระยาขน้ึ ไป ศลิ ปวัตถุใน ยคุ นี้หายากมากข้ึน ต่อมาในสมยั ของพระเจ้าอาทจิ จราช หรืออาทติ ยราช ทรงสรา้ งพระบรมธาตุหรภิ ุญชยั ขนึ้ กลางพระนคร ใน รชั สมัยนพ้ี ระพุทธศาสนามีความเจรญิ รุ่งเรืองมาก มกี ารเรียนรู้พระไตรปิฎกอย่างแพร่หลาย ราชวงศ์เมง็ ราย (ครองราชย์ พ.ศ. ๑๓๓๙-๑๘๕๔) พระพทุ ธศาสนาในสมยั น้ี เป็นแบบเถรวาท ท่รี ับมาจากมอญ ศลิ ปกรรมและ ปฏิมากรรมทางศาสนาได้รบั อิทธพิ ลแบบทวารวดี มีการสรา้ ง พระพุทธรปู ทเี่ รียกวา่ สมัยเชยี งแสน ซึง่ แบง่ ออกเปน็ ยุคต้น และ สมยั เชียงแสนยุคหลงั พระพทุ ธศาสนาลังกาวงศเ์ ขา้ สู่ล้านนา ในรชั สมัยของพญากอื นา กษตั ริย์ลาํ ดับที่ 5 ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๙๘ - ๑๙๒๘ ทรงเปน็ โอรสพญาผายู พระองค์ทรงเป็นธรรมมกิ ราช ในสมยั นั้นบา้ นเมอื งรม่ เย็น เป็นสขุ ต่อมาพระองค์ได้สดับกิตติคณุ ของพระอุทมุ พร บุพผาสวามี ผู้เปน็ พระลงั กาแต่มาจาํ พรรษาที่ เมืองนครพนั (เมาะตะมะ ประเทศพม่า) ท่านมาเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาท่ีนน่ั พระ เจ้ากือนาจงึ สง่ ทูตไป อาราธนามาเชยี งใหม่ แต่ทา่ นกลบั สง่ หลานชายคอื พระอานันทะเถระ และคณะสงฆ์จาํ นวนหนึ่งมาแทน พระเจา้ กือนาทรงขอให้พระอานนทเถระบวชกุลบุตร ใหต้ ามลทั ธลิ งั กาวงศ์ แต่พระอานนั ทะเถระขอให้ พระสุมณะเถระ และ พระอโนมทสั สเี ถระ ซึ่งเป็นชาวสุโขทยั แต่เรยี นรูพ้ ระพทุ ธศาสนาแบบลงั กาวงศ์ มาบวชใหพ้ ระเจ้ากือนาจึงได้ทรงอาราธนาพระสมุ นเถระพร้อมดว้ ยพระอนจุ รรวมกันเป็น ๑๐ รปู จากสโุ ขทยั มาเผยแพร่ ศลิ ปวฒั นธรรมในอาณาจักรล้านนา ที่สําคญั คือพทุ ธศาสนาลทั ธิลงั กาวงศ์ ขณะที่พระสุมณะเถระเดนิ ทางมาเชยี งใหม่ ท่านไดม้ า พกั จําพรรษาอยทู่ ่ลี ําพนู พระสุมณะเถระไดท้ าํ พธิ ี ผูกพัทธสมี าวดั พระยนื และไดร้ ว่ มกบั พระเจ้ากือนาบรู ณะวดั พระยืนใหม่พร้อม ท้งั พระเจา้ กือนายงั ทรง อทุ ิศสวนหลวงนอกเมอื งเชียงใหม่ใหเ้ ปน็ วดั อาราธนาพระสุมณะเถระมาครอง ทรงสถาปนาพระสมุ ณะ เถระขึ้นเปน็ สมเดจ็ พระสังฆราชพระองคแ์ รกของลา้ นนา พระเจา้ กือนาทรงสร้างเจดยี ์วดั สวนดอก บรรจุ พระบรมธาตุสว่ นหน่งึ พระเจดยี น์ ้ีมีอิทธพิ ลศิลปะแบบลังกาองคแ์ รกในเชยี งใหม่ และทรงสร้างพระธาตุ ดอยสเุ ทพอีกดว้ ย พระพทุ ธศาสนาในรัชสมัย ของพญาติโลกราช หรอื พระเจ้าตโิ ลกราช พระองค์ ทรงเป็นกษัตริย์ลําดับที่ ๙ ครองราชย์ พ.ศ. ๑๙๘๔-๒๐๓๐ ทรงเป็นโอรส พญาสามฝ่๎งแกน ในสมยั ของพระองค์ถอื ว่าเป็นยุคทองของล้านนา เพราะบ้านเมืองมคี วามเจริญสูงสุดทุกด้าน โดยเฉพาะดา้ น
ศาสนาทรงจัดให้มีการสังคายนาพระไตรปิฎก ครัง้ ที่ 4 ของโลก ที่วัดเจด็ ยอด (มหาโพธาราม) เม่ือ พ.ศ. ๒๐๒๐ รวมเวลาในการ ทาํ สงั คายนา ๑ ปี โดยมีพระธรรมทินนาเถระเปน็ ประธาน นับแต่นั้นมา การศึกษาของพระสงฆใ์ นทางลา้ นนาก็มีความ เจรญิ รงุ่ เรอื งกวา่ ทางอยธุ ยา ไดม้ ีพระเถระหลายรปู ทมี่ ี ความร้แู ละแตกฉานในพระไตรปิฎกได้รจนาคัมภีร์ทางพระพทุ ธศาสนาท้ังเปน็ แบบภาษาบาลแี ละ ลา้ นนา กอ่ ให้เกดิ ประโยชนอ์ ันย่งิ ใหญแ่ ก่พระพทุ ธศาสนาในลา้ นนา และของประเทศไทยสบื ตอ่ มา ซึ่งจะไดก้ ล่าวถึงพระเถระใน ล้านนาทีไ่ ดร้ จนาคมั ภีรท์ างพระพทุ ธศาสนา ในหวั ขอ้ ต่อไป ๒.๓.๑ วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาทีส่ าํ คญั ในลา้ นนา สมัยล้านนา มวี รรณกรรมทางพระพุทธศาสนามากพอ ๆ กับการมีพระเถระท่ีเปน็ นกั ปราชญ์ ทมี่ คี วามรู้ความสามารถแตกฉาน และมีความรคู้ วามเขา้ ใจในพระไตรปิฎก จงึ ได้รจนา ในหลายรปู ดว้ ยกนั คัมภรี แ์ ละวรรรณกรรมทางพระพทุ ธศาสนามากมายพอสรุปดงั นี้ (๑) จามเทวีวงศ์และสิหิงคนทิ าน (๒) เวสสันตรทีปนี (๓) สังขยาปกาสกฎีกา (๔) มงั คลัตถทีปนี (๕) จักรวาลทปี นี (๖) ชนิ กาลมาลี (๑) จามเทวีวงศแ์ ละสิหิงคนทิ าน จามเทวีวงศ์ จดั เป็นพงศาวดาร ทร่ี จนาเป็นภาษาบาลี มีทัง้ หมด ๑๕ ปริเฉท เป็นการกล่าว ถึงวงศ์ของพระนางจามเทวที ข่ี นึ้ ครองราชย์ ปรากฏตอนท้ายทุกปริเฉทว่า อนั มหาเถรมีนามวา่ โพธริ งั สี ได้แต่งตามคํามหาจารกึ สันนษิ ฐานว่ารจนาราว พ.ศ. ๑๙๕๐ - ๒๐๖๐ สหิ งิ คนทิ าน หรอื ประวตั พิ ระพทุ ธสิหิงค์ แม้มิไดร้ ะบุปที ่ีรจนา แต่สนั นิษฐานวา่ เป็นระหว่าง ปี พ.ศ. ๑๙๘๕ -๒๐๖๘ เพราะเปน็ ระยะทีว่ รรณกรรมบาลีกําลงั เฟือ่ งฟู เนื้อเร่อื งในสิหงิ คนิทาน ว่าด้วย ประวัตคิ วามเปน็ มาของพระพทุ ธรปู สาํ คัญ ซึ่งหล่อใน ประเทศลงั กาดว้ ย เงิน ตะก่วั และทองเหลือง ประวตั กิ ารเดินทางมาสู่ประเทศไทยและจังหวัดตา่ ง ๆ รวมทัง้ เชยี งใหม่ ปจ๎ จบุ นั ได้ มีผ้แู ปลเปน็ ภาษาไทยกลางและพิมพ์เผยแพร่แลว้ วรรณกรรมท้งั สองเรื่องดงั กล่าว นักปราชญ์ชาวล้านนาทเ่ี ป็นพระเถระที่อาวุโสทีส่ ดุ เป็นชาว เชยี งใหม่คอื พระโพธิรังสเี ถระเปน็ ผแู้ ต่ง ผลงานของท่านปรากฏอยู่คู่กับวรรณคดลี า้ นนาเล่มอ่ืน ๆ ทม่ี ี ผู้คนอ้างอิงและศึกษาทั้งทางศาสนาและประวัติศาสตร์ คือ จามเทววี งศ์ และ สิหงิ คนิทาน
๒๓ (๒) เวสสนั ดรทีปนี รจนาสาํ เร็จเมือ่ พ.ศ. ๒๐๖๐ ในรัชกาลพระเมืองแกว้ อธบิ ายอรรถกถา เวสสนั ดรชาดก เกีย่ วกบั ความ เบ็ดเตลด็ เกร็ดเล็กน้อยต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจ ตลอดจนวธิ ีแบ่งคาถาในเวสสนั ดร ชาดกอีกด้วย คัมภรี น์ ้ีมคี วามยาวป้น๎ ตน้ ๔๐ ผูก บนั้ ปลาย ๑๐ ผูกแตง่ โดยพระสิริมังคลาจารย์ (๓) สังขยาปกาสกฎกี า เป็นหนงั สอื อธิบายคัมภีร์สงั ขยาปกาสกะที่พระญาณวลิ าสเถระ ชาวเชียงใหม่รจนาเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๙ เพอื่ ให้เขา้ ใจง่ายย่งิ ขึ้น รจนาเม่อื พ.ศ. ๒๐๖๓ จํานวน ๒ ผกู แตง่ โดยพระสิรมิ งั คลาจารย์ (๔) มังคลตั ถทีปนี หรือมงคลทีปนี เป็นวรรณกรรมเรื่องเอกท่มี ชี ือ่ เสยี งยิ่งของพระ สริ ิมังคลาจารย์ รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๐๖๗ เพอ่ื เปน็ การอธบิ ายความในมงคลสตู ร (๕) จักรวาลทปี นี รจนาเสรจ็ เม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๓ กลา่ วถงึ เรือ่ งราวในจกั รวาลหรือโลกธาตุ พรรณนาถึงภูมทิ ่เี กดิ ของสตั วท์ ้ังหลาย อาหารของสัตว์ ภเู ขา แม่น้าํ เทวดา เปน็ คัมภรี ท์ ี่ได้อธบิ าย ความหมายคาํ ที่เป็นชอื่ กอ่ นแลว้ จาํ แนกเกี่ยวกับผอู้ าศยั ในภูมินั้น ๆ ตลอดรูปร่าง สถานท่ีอาศัย เหตทุ ําใหจ้ ุติ ฯลฯ นอกจากนี้ ไดก้ ลา่ วถึงอสูร ทําใหเ้ กิดภพดาวดงึ ส์ ติดตามมาด้วยเทวดาภูมิ ตลอด ถงึ พรหมกถาเป็นเร่ืองสุดท้าย ในจาํ แนกภมู เิ ป็น ๒ ภมู ิใหญ่ ๆ คือ อบายภูมแิ ละเทวดาภูมิ ผูร้ จนาคือ พระสิริมงั คลาจารย์ (๖) ชนิ กาลมาลี หรือชินกาลมาลปี กรณ์ คมั ภรี น์ ีเ้ ริม่ รจนาเม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๐ รชั สมัย พระเมืองแก้ว เนือ้ เร่ืองกล่าวถึงกาลของ พระพทุ ธเจา้ โดยเรยี บเรียงอยา่ งมรี ะเบยี บ จึงไดช้ อ่ื วา่ ชินกาลมาลีปกรณ์ รจนาถึงกาลก่อนท่ีพระพทุ ธเจา้ จะตรสั รู้โดยพศิ ดาร นอกจากนี้ยังกลา่ วถึงประวัติ ของบุคคลและสถานที่ของเมืองสาํ คญั คอื เชียงแสน เชยี งราย ลาํ พูน และเชยี งใหม่ รจนาเสรจ็ สมบรู ณ์ เม่อื พ.ศ. ๒๐๗๑ มีความยาว ๑๔ ผกู กับ ๑๔ ลาน วรรณกรรมบาลีเล่มน้ีถือได้ว่าเป็น วรรณกรรมประวตั ิศาสตร์ ลา้ นนาทใ่ี ช้เปน็ หลักฐานอ้างอิงได้เปน็ อยา่ งดี และเป็นที่เชื่อถือตลอดมาจนถึง ปจ๎ จุบันนี้ จากการศึกษาคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา จะเห็นได้วา่ มจี าํ นวนมากมายหลายคัมภีรด์ ้วยกนั ถือว่า คัมภรี ์เหลา่ นมี้ ีความสาํ คญั ต่อ พระพทุ ธศาสนาทั้งสิ้น ไมเ่ พียงแตว่ า่ ในล้านนาเท่านัน้ แต่มคี ุณค่าต่อ พระพุทธศาสนาในประเทศไทยจนมาถงึ ปจ๎ จุบัน นอกจากน้ีมีพระเถระที่เป็นนักปราชญแ์ หง่ ลา้ นนา หลายรูป เชน่ ๑. พระโพธิรังสีเถระ เป็นนักปราชญช์ าวล้านนาที่เป็นพระเถระท่ีอาวุโสที่สดุ เปน็ ชาวเชยี งใหม่ คือ ผลงานของท่านปรากฏอยู่คู่ กบั วรรณคดลี า้ นนาเลม่ อ่นื ๆ ทม่ี ผี คู้ นอ้างอิงและศกึ ษาท้งั ทางศาสนา และประวัติศาสตร์ คอื จามเทวีวงศ์ และ สหิ ิงคนิทาน ๒. พระญาณกิตตเิ ถระ เป็นชาวเชยี งใหม่ มีอาวุโสกว่าพระสริ ิมังคลาจารย์ จําพรรษาอยู่วดั ปนสาราม (สวนตน้ ขนนุ ) ซง่ึ ต้ังอยู่ ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของนครเชียงใหม่ ทา่ นเป็นพระอาจารย์ ของพระเจ้าตโิ ลกราชเชอ่ื ว่าท่านเคยไปศึกษาท่ีประเทศลังกา ในสมัยกษตั รยิ ์กรุงลงั กาปรักกรมพาหทุ ่ี 5 และพระเจา้ ภวู เนกพาหทุ ่ี 5 (พ.ศ. ๑๙๕๕-๒๐๒๔) คร้งั นนั้ ศาสนสมั พันธร์ ะหวา่ ง เชียงใหม่ อยุธยา ลังกา และพม่า ดาํ เนนิ ไปด้วยดี พระสงฆ์ล้านนาเดนิ ทางไปประเทศเหล่านี้ไดอ้ ยา่ งเสรี ท่านมีชวี ิตอยใู่ นสมัย พระเจ้าติโลกราชและพระเจา้ ยอดเชยี งราย งานที่ทา่ นรจนาขน้ึ หลังจากสงั คายนาพระไตรปฎิ กคร้ังท่ี 4 พ.ศ. ๒๐๒๐ ลว้ นแต่เป็น ภาษาบาลีทงั้ สิ้น ๓. พระสริ มิ งั คลาจารย์ เปน็ ชาวเชยี งใหม่ ได้บรรพชาตั้งแต่อายุ ๑๓ ปี จากน้ันได้ไปศึกษา ทางพระพุทธศาสนาแบบรามัญวงศ์ ลงั กาวงศ์ เปน็ พระเถระที่มีความรอบรู้ในพระไตรปิฎก และกลับ
เข้ามาในสมยั ของพระแก้วเมือง ต่อมาได้รบั สถาปนาเปน็ พระสริ มิ งั คลาจารย์ มีผลงานทางวรรณกรรม หลายเรอื่ ง เช่นเวสสนั ดร ทปี นี สังขยาปกาสกฎกี า และมังคลัตถทปี นี เปน็ ตน้ ๔. พระรตั นป๎ญญาเถระ หรอื พระสริ ิรตั นป๎ญญาเถระ พระเถระชาวเชียงราย เปน็ พระภกิ ษุ รุ่นเดยี วกันกบั พระสริ ิมงั คลาจารย์ และเปน็ เช้อื พระวงศ์ในราชวงศ์เม็งราย อุปสมบทและพํานักอยู่ท่ีวดั ปาุ แก้ว เชยี งราย ต่อมาไดม้ าศกึ ษาต่อทเี่ ชียงใหม่ และ พํานกั อยูว่ ัดสหี ลาราม หรอื วัดเจ็ดยอดในปจ๎ จบุ นั ซึ่งเป็นพระอารามหลวง ๕. พระพทุ ธพกุ าม และพระพุทธญานเจา้ ไม่ทราบประวตั ิของพระเถระท้งั สองทา่ นน้ี อย่างชัดเจน แตผ่ ลงานของท่านทป่ี รากฏ คือ มลู ศาสนา ไดร้ ะบชุ อ่ื ผู้รจนาไว้ในตอนทา้ ยของเร่ืองน้ี 5. พระสวุ ัณณรงั สีเถระและพระพรหมราชปญ๎ ญาพระภกิ ษุชาวเชียงใหมร่ ูปนี้ ตอ่ มาได้ไป จาํ พรรษาอยู่ที่วดั วชิ ยาราม นคร เวยี งจันทนป์ ระเทศลาว และได้รบั แต่งตง้ั เป็นพระสังฆราช ท่านได้รจนา คัมภีร์ ๒ เรอ่ื ง คือ คันถาภรณฎกี า ซ่ึงเป็นหนงั สอื อธิบายคัมภีร์ชอ่ื คนั ถาภรณะ ของชาวพม่า อันว่าดว้ ย หลักเกณฑ์ทางภาษาบาลี รจนาขึ้นเม่ือ พ.ศ. ๒๑๒๘ ๗. พระอุตตรารามเถระไดร้ จนาคมั ภรี ช์ ือ่ วสิ ทุ ธิมคั คทีปนี อนั เปน็ การอธิบายความใน วสิ ุทธมิ รรคของพระพุทธโฆสาจารย์ แต่ ตน้ ฉบับยังคน้ หาไม่พบ ๒๔ พระเถระเหล่าน้ีไดม้ ผี ลงานมากมายในล้านนาถือวา่ เปน็ ยุคของวรรณกรรมบาลีทีม่ เี น้ือเร่อื ง เก่ียวกับพทุ ธศาสนา และ พระไตรปิฎกทง้ั สน้ิ จึงขอยกตวั อยา่ งของคัมภรี ท์ างพระพุทธศาสนาท่สี ําคญั ในลา้ นนา เรื่อง มงั คลัตถทปี นี ซึ่งเป็น วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาท่ี ทา่ นพระสิริมังคลาจารย์ได้รจนาขน้ึ มาอวเิ คราะห์ใหร้ ู้และเขา้ ใจในตัว คมั ภรี ์มากข้ึน ดงั ต่อไปน้ี ๒.๓.๒ การวเิ คราะห์วรรณกรรมเร่อื งมังคลัตถทปี นี (๑) ความเป็นมา ๒๕ พระสิรมิ ังคลาจารย์ท่านได้รจนามงั คลตั ถทปี นเ้ี มื่อประมาณ พ.ศ. ๒๐๖๐ - ๒๐๖๗ ในขณะ ทท่ี ่านจาํ พรรษาอยู่ทีว่ ดั สวนขวัญ ท่านใช้เวลาในการค้นควา้ รจนาจากคมั ภรี ต์ า่ ง ๆ จากหอธรรมที่ ทา่ นได้รวบรวมไว้ จะเหน็ ไดว้ ่าคมั ภีร์ของท่านมกี ารอา้ งอิงบอก ถงึ ทีม่ าอยา่ งชดั เจน สภาพบรรยากาศ ในการรจนาคมั ภีร์ท่านอย่ทู ี่วัดนี้เปน็ สถานทีส่ งบสงดั ซึ่งหา่ งจากตวั เมืองออกไป ซ่งึ เดิมที กอ่ นท่ีทา่ น จะไดร้ จนาคัมภรี ์ต่าง ๆ นนั้ ท่านเป็นเจ้าอาวาสวัดเจด็ ยอด (วัดมหาโพธาราม)วดั นี้ตั้งอยู่ในเขตเมือง เป็นท่ีพลุกพล่าน มผี คู้ นมากมายจงึ ทําใหไ้ มเ่ หมาะสมกับการรจนาคัมภีร์ ท่านจึงย้ายไปสรา้ งวดั สวนขวัญ อันเปน็ สถานท่ีสงบ เพื่อจะไดร้ จนาคมั ภรี ์ ในยคุ สมัยของพระสิริมังคลาจารย์เป็นยุคสมยั ท่ีพระพทุ ธศาสนามีความเจรญิ ร่งุ เรือง ทา่ นเกิด ร่วมสมยั ท่ีมีการทําสงั คายนา พระไตรปิฎก ถือวา่ เป็นการทําสงั คายนาครั้งท่ี 4 ของพระพุทธศาสนา ฝุายเถรวาท ในปี พ.ศ. ๒๐๒๐ ซ่ึงอกี ไม่ก่ปี ตี ่อมาพระ สริ มิ งั คลาจารย์กเ็ ปน็ เจ้าอาวาสวดั มหาโพธาราม วัดน้ีจึงเป็นแหลง่ รวบรวมความรู้ และคัมภรี ์ทางพระพุทธศาสนาไว้ เปน็ ประโยชนใ์ นการศึกษาค้นคว้า
จนทาํ ใหท้ ่านนนั้ มีความรอบรู้ในพระไตรปิฎก ในชว่ งน้กี ็ยังปรากฏวา่ มพี ระเถระทที่ รงพระไตรปิฎก ท่มี คี วามรู้และเชยี่ วชาญใน พระไตรปิฎกมากมาย ในสมัยนั้นพระเถระท่ีมีความรู้ความสามารถใน พระพทุ ธศาสนาก็นิยมแตง่ คัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา ประกอบกับทา่ นได้ศึกษาเล่าเรียนในสาํ นักของ พระเถระที่มีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก สิง่ เหล่าน้ีจงึ เปน็ บรบิ ทให้เกิดคมั ภรี ์ ทางพระพุทธศาสนา ท่สี าํ คัญอกี คัมภรี ์หนึ่งคือมังคลตั ถทีปนี (๒) ท่ีมาของเรื่อง คัมภีร์มงั คลตั ถทปี นี ที่พระสริ ิมงั คลาจารยไ์ ด้รจนาขนึ้ เปน็ เรอ่ื งราวเกดิ ข้ึน เม่ือประมาณ ๒๖ ศตวรรษทีผ่ ่านมาแล้ว ประชาชน ชาวชมพูทวีปโตเ้ ถยี ง และอภิปรายถึงเรื่องราวตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ มงคล กนั วา่ อะไรทเี่ ป็นมงคลในการดําเนินชวี ิต มนี ักวาทะศาสตร์ ๓ ท่านคือนายทฏิ ฐะมังคลกิ บอกวา่ มงคล คือส่ิงท่เี ราเห็น นายสตุ ะมงั คลิก บอกวา่ มงคลคอื สิง่ ท่เี ราไดย้ ิน ส่วนนายมตุ ะมังคลิกะ บอกวา่ มงคล คอื อารมณท์ เี่ รารบั รู้ การโต้วาทะด้วยหลกั เหตุผลจงึ เป็นทม่ี าขององค์ความรู้ ปญ๎ หาเรอ่ื งมงคลจึงมีการ วิพากษ์วิจารณ์กนั แพร่ขยายไปทัว่ ชมพทู วีป ปญ๎ หาเรื่องมงคลตกคา้ งยดื เย้ือมาถงึ ๑๒ ปี กย็ ังหาข้อยตุ ิ ไมไ่ ด้ เม่ือเวลา ๑๒ ปีผา่ น ไปได้มีเสยี งพูดกันว่า พระสัมมาสมั พุทธเจา้ จักตรัสมงคล คราวน้ันได้มี เทพบตุ รนําป๎ญหาเรอ่ื งมงคลเขา้ เฝูาทลู ถามพระพทุ ธเจา้ ในขณะทปี่ ระทบั อยทู่ ี่พระเชตวันมหาวหิ าร ใกลเ้ มืองสาวัตถี พระพุทธองค์จงึ ทรงตรสั วา่ สง่ิ ทีเ่ ป็นมงคลนน้ั มี ๓๘ ประการ จึง เป็นทมี่ าของ วรรณกรรมเรอื่ งมังคลัตถทปี นี พระสิริมังคาจารย์ทา่ นเรยี นรู้รูปแบบการรจนาคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา จากคณะ สงฆท์ แี่ ตกฉานในพระไตรปิฎก ทําให้ท่านสามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะหค์ ัมภีรท์ างพระพุทธ ศาสนาอยา่ งเป็นระบบแบบแผน อกี ประการหน่ึง ในยุคสมยั ของทา่ นมีนักปราชญ์ของลา้ นนาหลาย ๆ ทา่ น ได้รจนาคัมภีร์ ทางพระพุทธศาสนาไวม้ ากมาย สิ่ง เหลา่ น้อี าจจะเปน็ แรงดลใจให้ทา่ นได้รจนาคัมภีร์มังคลัตถทีปนี้ข้นึ ซ่งึ ถือว่าเปน็ คมั ภรี ์ทีม่ ีคณุ ค่าและก่อประโยชนใ์ หก้ ับพระพุทธศาสนานานัปการ (๓) ประวตั ิผแู้ ต่ง พระสริ ิมังคลาจารย์ เกดิ ท่ีเมืองเชยี งใหม่ เม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๒๐ ในสมัยพระเจา้ ตโิ ลกราช มีชอ่ื เดิมว่า “ศรปี ิงเมอื ง ขณะท่ที ่านเกดิ มาน้ันพระพทุ ธศาสนาในเมอื งเชียงใหม่กําลัง เจริญรุ่งเรอื งมาก มีพระสงฆ์ท้งั นกิ ายพืน้ เมืองดั้งเดิมแบบรามัญวงศ์ และแบบลงั กาวงศ(์ นิกายสงิ หล) มพี ระสงฆผ์ ู้แตกฉานในพระไตรปิฎกเปน็ จํานวนมากถงึ กบั สามารถกระทําการสงั คายนาชําระพระธรรม วนิ ยั ท่ีวดั มหาโพธาราม เมอ่ื พ.ศ. ๒๐๒๐ ในพระอุปถัมภข์ องพระเจ้าติโลกราช ท่านได้บรรพชา เป็นสามเณรเมื่ออายุ ๑๓ ปี แล้วศึกษาพระธรรมวินยั อย่างแตกฉาน ขณะนัน้ พระสงฆน์ ิกายส่งิ หล เป็นที่ข้ึนชื่อในดา้ นความรูค้ วามสามารถ ท่านจงึ ไปเรียนหนงั สือในสาํ นกั ของพระ พทุ ธวีระ ซ่ึงเปน็ พระ ในนิกายสงิ หลและอยตู่ า่ งประเทศ เม่ือกลับมาเมืองเชยี งใหม่ก็เปน็ สมยั พระเมืองแกว้ และพระเมืองแกว้ ได้ ทรงแต่งตงั้ ให้ทา่ นเป็น “พระสริ มิ งั คลาจารย์” ตามฉายาเดิมของทา่ น และทรงแต่งต้งั ให้เปน็ เจ้าอาวาสวดั มหาโพธาราม ต่อมา ท่านไดย้ ้ายไปเป็นเจา้ อาวาสและอยปู่ ระจําวัดสวนขวญั ซึ่งตั้งอยู่ทาง ทิศใตจ้ ากตวั เมืองเชียงใหมไ่ ปประมาณ ๔ กิโลเมตร และ ท่านเคยไปศึกษาทีล่ งั กาและเคยเปน็ อาจารย์ ของพระเมอื งเกษเกลา้ จนกระท่ังมรณภาพ เม่ือ พ.ศ. ๒๐๖๘ - ๒๐๗๘ ในสมัย พระเมอื งเกษเกลา้ สว่ นตาํ นานบางฉบบั กล่าวว่า บิดาของท่านเป็นพ่อค้าชา้ งน้ันอาจจะเป็นเร่อื งท่ีผกู ข้นึ มาใหมเ่ พราะ วัดตาํ หนัก สร้างขน้ึ สมัยพระเจ้ากาวลิ ะ
หลงั จากพระสิริมงั คลาจารย์มรณภาพไปแล้ว ประมาณ ๓๐๐ ปี วดั น้ีสรา้ งทบั ลงไปบน ซากเดมิ ของวดั สวนขวัญ และที่วดั ตําหนกั นก้ี ม็ ีกบู ชา้ งซง่ึ ไม่ทราบวา่ เปน็ ของใคร จึงได้ผูกเรอื่ งให้เป็น ของพระสิริมงั คลาจารย์ว่ามบี ิดาเป็นพ่อคา้ ชา้ ง เวลาทที่ ่านจะ เขา้ เมืองเชียงใหม่กจ็ ะขี่ชา้ งเข้าไป ซงึ่ ตาม พระวินยั แลว้ มีข้อห้ามมิใหพ้ ระภกิ ษุใชย้ านพาหนะท่เี คล่ือนได้ดว้ ยแรงคนหรอื แรงสตั ว์ ซึ่งพระสิริ มงั คลาจารย์เป็นพระภกิ ษผุ ทู้ รงพระธรรมวินยั คงจะไม่ขีช่ ้างเปน็ แน่ อีกตํานานหนงึ่ กลา่ วว่า พระสริ ิ มงั คลาจารยเ์ ปน็ เช้อื สายราชวงศพ์ ่อขุนเม็งราย ไม่ตอ้ งการยุ่งเกย่ี วกบั ราชสมบัติ จงึ ออกบวชนั้นนา่ จะ เปน็ การเขยี นขน้ึ เพื่อยกย่องสรรเสริญพระ สริ ิมังคลาจารย์มากกวา่ (๔) เนื้อหาโดยย่อ วรรณกรรมมงั คลตั ถทปี นีเ้ ป็นเรือ่ งราวท่ปี ระกอบดว้ ยเนื้อหาเก่ยี วกับมงคล ๓๘ ประการ โดยแต่ละมงคลนนั้ นอกจากจะอธบิ าย คาถาแลว้ ยังมีชาดกประกอบเน้อื เรื่องอีกด้วย เนอ้ื หาของ มังคลัตถทีปน้ีเปน็ เรอ่ื งราวเกิดขึ้น เมือ่ ประมาณ ๒๖ ศตวรรษมาแล้ว ประชาชนชาวชมพูทวีปโต้เถยี ง และอภปิ รายถึงเร่อื งราวตา่ ง ๆ ทเี่ ปน็ มงคลกนั ปญ๎ หาเรื่องมงคลจึงมกี ารวิพากษว์ ิจารณ์กนั แผ่ ขยายไป ทว่ั ชมพทู วปี ป๎ญหาเร่อื งมงคลตกค้างยืดเยื้อมาถงึ ๑๒ ปี ก็ยงั หาขอ้ ยุติไม่ได้ เมื่อเวลา ๑๒ ปี ผ่านไปได้ มเี สยี งพดู กนั วา่ พระสมั มาสมั พุทธเจา้ จักตรสั มงคล คราวนนั้ ได้มีเทพบุตรนําปญ๎ หาเรอื่ งมงคลเข้าเฝาู ทูลถามพระพทุ ธเจา้ ในขณะที่ประทบั อย่ทู ี่พระเชตวันมหาวหิ ารใกล้เมอื งสาวัตถี พระพุทธองค์จึงทรง ตรัสวา่ สิ่งทีเ่ ป็นมงคลน้นั มี ๓๘ ประการ ดังนี ๒๗ ๑. ไม่คบคนพาล (อเสวนา จ พาลาน) คนพาล ได้แก่ คนคิดช่วั กระทําชั่ว พดู ชวั่ ๒. คบบัณฑติ (ปณฺฑิตานํฺจ เสวนา) บณั ฑติ คือ บคุ คลทค่ี ิดพดู และทําในทางทีด่ ี แสดงออก ในลกั ษณะท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ก่ ตนเองและผอู้ ื่น 3 บชู าคนผูค้ วรบูชา (ปูชา จ ปูชนยี าน) คําว่า บูชา หมายถึง การแสดงความเคารพนบนอบ เทดิ ทนู ซึ่งอาจแสดงออกทางกาย ทางวาจาหรือทางใจดว้ ยลักษณะของการแสดงความเคารพ ๔. อยู่ในประเทศอันสมควร (ปฏิรปู เทสวาโส) ประเทศที่สมควร อาจจดั เปน็ ได้ ดงั นี้ เชน่ ประเทศท่ีมีพระพทุ ธศาสนา คอื ถ่นิ หรือสถานท่ีท่ีมพี ระพทุ ธศาสนาปรากฏอยู่ มีการศึกษาใน หลักธรรมทางศาสนา เพอื่ ให้ประชาชนมคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในข้อท่ี ควรละและข้อที่ควรประพฤติ ๕. มบี ุญทําไวใ้ นปรางกอ่ น (ปุพเพ จ กตปุญญตา) คําวา่ “บุญ” โดยสว่ นเหตุ หมายถงึ การกระทําอันใดก็ตามทบ่ี คุ คลมีเจตนา กระทาํ ลงไปแล้ว มีลักษณะขจดั กิเลสให้เบาบางลงไป คําว่า “บุญ” โดยสว่ นผล คอื หลังจากกระทําลงไปแล้ว ยอ่ มมีความสุข กายสบายใจเป็นผล เป็นต้น 5. ตง้ั ตนไวช้ อบ (อตฺตสมมาปณิธิ จ) ตนในทนี่ ้ี หมายถึง ร่างกายและจิตใจบางทกี ็เรียกวา่ ชีวติ รา่ งกาย คาํ วา่ ตงั้ ตนไวช้ อบนั้น หมายถงึ ประพฤตดิ ี ด้วยกาย วาจา ใจ จึงจะเป็นการตง้ั ตนทชี่ อบ ๗. เป็นพหูสตู ร (พาหสุ จจฺ ญจ) การศึกษานัน้ หมายถึง การ เรยี นรู้ การกระทาํ ความเขา้ ใจ การค้นควา้ การพนิ ิจพจิ ารณา เกดิ ขน้ึ มาจากการฟ๎ง การสอบถาม การสนทนา หรอื การค้นควา้ จาก ตํารา เป็นต้น ส่ิงทบี่ ุคคลจะต้องเรยี นรู้นนั้ มที ้งั วชิ าการทางโลก และการเรยี นร้ใู นทางศาสนา
๔. มศี ลิ ปะ (สิปปํจฺ ) ศิลปะ น้ัน หมายถงึ ความเป็นผู้ฉลาดในวิชาชพี ตา่ ง ๆ ท่ีคฤหัสถ์ จะต้องใช้เป็นเคร่ืองมือในการดาํ รงชีวิต ของตน ในการสรา้ งฐานะความม่นั คงของครอบครวั ๔. มีวินยั ดี (วนิ โย จ สสุ ิกขิโต) ทไ่ี ดช้ ื่อวา่ วินัย เพราะวา่ มีนัยตา่ ง ๆ เช่น ศลี ทีพ่ ระพุทธเจา้ ทรงบัญญตั ิไว้กม็ ศี ีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ หรอื ศลี ๒๒๗ มนี ยั พเิ ศษ คือ มลี กั ษณะที่ขัดเกลาฝึกปรือ มรรยาทของบุคคลให้มคี วามละเอียดประณตี ขนึ้ ไปตามลําดับ ๑๐. มีวาจาเปน็ สุภาษิต (สุภาสิตา จ ยา วาจา) วาจา หมายถึง การเปลง่ หรอื การพูดของ บคุ คลทแ่ี สดงออกมาใหบ้ ุคคลอ่นื ทราบถึงความประสงคแ์ ละเร่ืองท่ีตนต้องการจะพดู แก่บุคคลผู้น้ัน เรือ่ งของวาจาเป็นเรื่องที่มคี วามสําคัญ ๑๑.เลีย้ งดูบดิ ามารดา (มาตาปติ อุ ปุ ฏฐาน) มารดาบิดานนั้ ทางพระพุทธศาสนาถือว่า เป็นครูคนแรก เป็นพระพรหม เปน็ ผู้ให้ชีวติ แกบ่ ุตร คือ ทา่ นเลีย้ งมาแล้วตอ้ งเลยี้ งทา่ นตอบ ช่วยเหลือ ในกิจการงานตา่ ง ๆ ของท่านเทา่ ทต่ี นจะช่วยได้ ดาํ รงตนให้เหมาะสม ที่จะรกั ษาและดาํ รงวงศส์ กุล เอาไว้ ประพฤติตนใหเ้ ป็นผเู้ หมาะควรในการทีจ่ ะรับมรดก เมื่อมารดาบดิ าล่วงลับไปแลว้ อุทศิ ส่วน บญุ ส่วนกศุ ลไปให้ ๑๒. เลยี้ งดบู ุตร (ปตุ ตสงฺคโห) บุตรธิดาน้นั ยอ่ มเป็นทีป่ รารถนาของผ้ทู ่ี เปน็ มารดาบิดา การเล้ยี งดูบุตรธิดาเป็นภาระหนา้ ทีข่ อง ผู้เป็นมารดาบดิ า พระพุทธเจ้า ทรงกําหนดหน้าท่ที ม่ี ารดาบิดา จะพงึ แสดงออกตอ่ ผู้เป็นบตุ รธิดาของตนไว้ ดงั น้ี ๑. ห้ามไม่ให้ บุตรกระทําความชัว่ ๒. ให้ประพฤตกิ ระทํา แต่สิ่งทด่ี ี ๓. ใหศ้ ึกษาศิลปวทิ ยาท่ีควรแกก่ ารศกึ ษา เพือ่ เปน็ หลักในการดาํ รงชีพของ บตุ รธิดา ๔. จดั การ ตกแต่งให้มคี รอบครวั เปน็ หลักฐาน ๕, มอบทรัพย์สมบตั ิให้ในสมัยที่ควรจะมอบให้ ๑๓. เลี้ยงดภู รรยา (ทารสฺส สงฺคโห) ภรรยา หมายถงึ ผ้ทู ส่ี ามจี งึ เลี้ยงดู โดยปกติแลว้ ผ้ทู ่ี เปน็ ภรรยานั้น เป็นคนนอกไม่ไดเ้ กี่ยวข้องกัน มาก่อน แต่เกิดความรกั ความชอบพอก็มีการแต่งงานกัน สามีภรรยาจะตอ้ งอยู่กันดว้ ยความสาํ นึกในหน้าที่ดว้ ยความรักเข้าใจ และเห็นใจซ่ึงกนั และกนั รู้จกั ผอ่ นปรนสัน้ ยาวกัน ๑๔. ทาํ งานไม่อากลู (อนากลุ า จ กมฺมนตฺ า) ไม่อากูล คือ การงานท่ไี ม่คง่ั ค้าง งานที่ไม่ คั่งค้าง หมายถึง คนนั้นมภี าระหนา้ ทีท่ ีต่ น จะตอ้ งกระทําในฐานะต่างๆ งานทกุ อยา่ งทบ่ี ุคคลกระทาํ ลงไปจะต้องมีลักษณะที่ไม่อากลู คอื ผูป้ ฏบิ ตั ิงานจะตอ้ งทําการงานที่ตั้ง ใจว่าจะทาํ ให้สาํ เร็จ ๑๕. บาํ เพญ็ ทาน (ทานญจ) ทาน หมายถึง จาคะเจตนาที่จะบรจิ าค ซงึ่ เกิดข้ึนภายในจิตใจ ของบุคคล และอาจจะหมายถึง วิรัติ คือ จติ คดิ จะงดเวน้ จากการกระทําความชวั่ ใหอ้ ภยั แก่บุคคลอื่น หมายถึง สถานท่ที บ่ี รจิ าคทานและหมายถึงวัตถซุ ่ึงบุคคลนาํ ไป บรจิ าคทานซึ่งเรียกว่า ไทยทาน มขี ้าวนา้ํ เปน็ ต้น กไ็ ด้ ๑๖. ประพฤติธรรม (ธมฺมจริยา) ธรรม ในทน่ี ห้ี มายถึง ความดี ซง่ึ มีลกั ษณะขจดั ความชว่ั ให้ออกไปจากจิตใจ และนําจิตใจให้หา่ ง จากความชัว่ ในระดบั ต่าง ๆ จนถงึ บคุ คลผ้นู นั้ ได้ประสบ ความสงบท้งั ทางกายและทางจติ ใจ อันเป็นความสงบจากอกุศลและ บาปธรรมท้ังมวล
๑๗. สงเคราะหญ์ าติ (ญาตกานญจ) ญาติ คือ บคุ คลท่ีเกีย่ วขอ้ งกนั ทางสายโลหติ ประการหน่ึง ซึง่ ท่านเรยี กวา่ ๗ ชวั่ โคตร คอื จากขา้ งบน ได้แก่ ระดับ ปูุ ย่า ตา ยาย ลงุ ปาู นา้ อา พี่ ระดบั ลา่ ง คือ ระดบั ของน้อง ลูก หลาน เหลน และแมจ้ ะย่ิงไปกว่านั้น ซึง่ เกย่ี วข้องกันในฐานะญาติ ท่านกถ็ ือวา่ เป็นญาติ ในที่น้ี ญาตอิ ีกประการหนงึ่ ได้แก่ ญาติซึง่ เกิดจากการคนุ้ เคยกนั การสงเคราะห์ อนเุ คราะห์ช่วยเหลือกนั ๑๔. ทํางานทีไ่ ม่มีโทษ (อนวชชาน กมมาน)ิ การจะตัดสนิ ว่างานมโี ทษหรือไม่มโี ทษน้นั อยู่ทว่ี า่ การงานใดกต็ ามท่ที าํ ไปแล้ว ทาํ ตนให้เดือดร้อนทําบุคคลอน่ื ให้เดอื ดร้อนหรือเดือดรอ้ นทง้ั ตน และบคุ คลอ่ืน การงานนน้ั เรียกว่าการงานมีโทษ ๑๙. งดเว้นจากบาป (อารตี วริ ตี ปาปา) บาป หมายถึง สิง่ ทีเ่ ปน็ ความชว่ั เป็นความ เศร้าหมอง เม่ือบคุ คลคิดสิ่งใดกต็ าม หากคดิ แล้วมคี วามเศรา้ หมอง กระทําออกไปพดู ออกไป มีการ เบียดเบียนประทุษร้ายบุคคลอ่นื การกระทาํ น้นั การพดู นน้ั การคดิ น้นั ช่อื วา่ เป็นบาป เชน่ การฆา่ สตั ว์ การลกั ทรพั ย์ การประพฤติผิดในกาม การพูดเทจ็ เปน็ ตน้ ส่ิงเหลา่ นี้ เมอ่ื บุคคลกระทาํ ลงไปแลว้ มี ลักษณะ เบียดเบยี นตนเองและผู้อ่นื ๒๐. สาํ รวมจากการดมื่ นาํ้ เมา (มชชฺ ปานา จ สํญฺ โม) น้ําเมา คอื สงิ่ ท่ีมีแอลกอฮอล์ ทุกชนดิ จะมากหรือน้อยก็ตามจัดเป็น นาํ้ เมา นํ้าเมาในบาลที า่ นแสดงไว้ได้แก่พวกสรุ า ๕ อย่าง คือ ๑. สรุ าท่เี กิดจากแปูง ๒. สรุ าที่เกิดจากขา้ วสกุ ๓. สรุ าทีเ่ กิดจาก ขนม ๔. สรุ าทีใ่ สเ่ ชือ้ ๕. สุราที่ผสม เคร่ืองปรงุ อกี ประการหนึง่ คือเมรยั ไดแ้ ก่ นํ้าหวานจากดอกไม้ น้ําหวานจากน้าํ ดองผลไม้ นาํ้ ดอง นํ้าออ้ ย นํา้ ดองผสมหรือว่านา้ํ ดอง ดอกไม้ เป็นต้น ๒๑. ไมป่ ระมาทในธรรม (อปปมาโท จ ธมเฺ มส) คือ การท่ีบุคคลมสี ตริ ะลึกรู้ในการกระทํา พูด คดิ ไมใ่ หเ้ กิดความผิดพลาดข้นึ ความไมป่ ระมาท อาจจะแสดงออกดว้ ยความไมป่ ระมาท ในการ ละกายทุจจริต ประพฤติกายสุจรติ ละวจีทุจจรติ ประพฤตวิ จี สุจริต ละมโนทจุ รติ ประพฤติมโนสจุ รติ ละความเห็นผิด ทําความเหน็ ให้ถูกต้อง ๒๒. มีความสัมมาคารวะ (คารโว จ) คอื การกระทาํ ให้หนัก ไดแ้ ก่การยกย่องเทิดทูนบคุ คล ผนู้ ั้นในฐานะทสี่ งู กวา่ ตน แสดง ออกมาดว้ ยการอ่อนนอ้ ม การเคารพ การสักการะต่อส่งิ ทคี่ วรเคารพ และบุคคลผู้ควรแก่การเคารพ เชน่ ความเคารพใน พระพุทธเจ้า ความเคารพในพระธรรม ความเคารพ ในพระสงฆ์ ๒๓. มีความถอ่ มตน (นวิ าโต จ) ได้แก่ ความเป็นผู้ไม่ถือตวั ไม่ยกตนข่มท่าน เป็นลักษณะ ของการประพฤติ ออ่ นน้อมถ่อมตนต่อ ผู้ใหญไ่ ม่มีการกระด้างทัง้ ทางกาย ท้งั ทางวาจา และแมแ้ ต่ ความร้สู ึกดูถูก ดูหมิน่ ๒๔. มีความสนั โดษ (สนตุฏฐี จ) คือความเป็นผูย้ นิ ดีในป๎จจัย ท้งั หลายตามท่ีตนมแี ละ ตามทต่ี นได้ ความยนิ ดเี หลา่ นี้ มีลักษณะ เปน็ ๓ ประการ คือ ๑. ยถาลาภสันโดษ ยินดีตามทไี่ ด้มา ๒. ยถาพลสนั โดษ ยนิ ดีตามทีต่ นได้ใชก้ าํ ลงั ความเพยี รพยายามไปแล้ว ไดม้ า ๓. ยถาสารปุ ปสนั โดษ ยนิ ดตี ามสมควรแก่สิง่ แก่ฐานะ แก่กาลนน้ั ๆ ๒๕. มคี วามกตัญํู กตํฺํตุ า) คือรู้อุปการะอนั บคุ คลอืน่ กระทาํ แล้ว ประกอบด้วย ๑.รู้อุปการะท่ีบุคคลอนื่ กระทําแล้วแกต่ นจะ มากหรอื น้อยก็ตามการกระทําน้ันเป็นอปุ การะแก่ตน ๒. แสดงออกมาในลักษณะความสาํ นึกคุณ พร้อมท่จี ะตอบแทนและตอบแทนคณุ ความดขี องท่าน เหล่านั้นได้
๒๖. ฟง๎ ธรรมตามกาลอันสมควร (กาเลน ธมมฺ สสฺ วน) คือการฟ๎งธรรมในกาลทมี่ กี าร แสดงธรรม มีการสอนธรรม มีการบรรยาย ธรรม การฟง๎ ธรรมในขณะท่จี ิตของตนตอ้ งการอาหาร คือ ธรรมเข้าไปหล่อเลย้ี ง เขา้ ไประงบั ความฟูุงซา่ นเปน็ ตน้ การฟ๎งธรรม ตามกาลจึงจดั เป็นอดุ มมงคล อีกประการหนึง่ ๒๗. มีความอดทน (ขนที่ ๑) คอื จติ ใจท่ไี ม่หวน่ั ไหวตอ่ สิ่งต่าง ๆ 1 ซึ่งบังเกิด ข้ึนในชวี ติ ของตน ๒๔. เปน็ คนวา่ งา่ ยสอนง่าย (โสวจ สุสตา) คอื มีความเกี่ยวข้องกันกับบคุ คล ซึ่งมที ง้ั ผู้น้อย และผู้ใหญ่ บคุ คลทเ่ี ป็นผูน้ ้อยจะต้องมลี กั ษณะอย่างหนง่ึ คือ ความเปน็ ผู้ว่าง่ายยินดีท่ีจะรบั ฟ๎งคาํ ตักเตอื น พราํ่ สอนช้ีแนะ แม้แตค่ ําดดุ ่าของท่านผใู้ หญ่ซ่งึ พูดไป กระทาํ ไปด้วยความเมตตาและหวังดี เป็นท่ีตัง้ ๒๙.พบปะสมณะ (สมณานํฺจ ทสสฺ น)์ สมณะ แปลว่า ผูส้ งบ โดยตรงหมายถึง นกั บวช โดยอ้อม หมายถึง ผูส้ งบจากบาปธรรมมี กายสงบ มีจิตใจท่ีสงบ การพบเหน็ สมณะ ผปู้ ฏิบตั ดิ ีปฏิบตั ิตรง ปฏิบตั เิ พื่อขดั เกลา และปฏิบตั สิ มควรในลกั ษณะน้ี ยอ่ มเปน็ มงคล ๓๐. สนทนาธรรมตามกาล (กาเลน ธมฺมสากจฉา) ธรรมท่บี ุคคลศึกษามานั้นมบี างเรื่อง ซึ่งตนเข้าใจยังไม่ชดั เจนหรือเข้าใจแลว้ ปรารถนาอรรถกวา้ งขวางย่ิงขึ้น เร่ืองเหลา่ น้จี ะเกิดข้ึนได้ ถ้าหาก มกี ารสนทนาสอบถามเทียบเคยี งความรู้ความเข้าใจกัน การ สนทนาธรรมนนั้ ในด้านของวาจาก็เปน็ วจสี ุจรติ ในดา้ นของใจก็เปน็ มโนสจุ รติ ๓๑.บําเพ็ญตบะ (ตโป จ) ตบะ เปน็ ลักษณะของความเพยี รประการหนึง่ แต่เปน็ ความเพียร ท่ีเอาจริงเอาจัง มุง่ หวังผลสาํ เร็จ อยา่ งเด็ดเด่ียวและรวดเร็ว การบาํ เพญ็ บุญ มลี ักษณะขจัดกิเลสใหเ้ บาบาง ลงไป ทา่ นจงึ ถือว่าเป็นตบะ คอื ความเพียรเครอ่ื งเผา บาปเผากิเลสให้เรา่ ร้อน ๓๒. ประพฤติพรหมจรรย์ (พรหมจรยิ า จ) พรหมจรรย์ แปลว่า ความประพฤตปิ ระเสริฐ การประพฤติเพื่อทาํ ตนใหเ้ ป็นผู้ ประเสริฐ หรือการประพฤติดังพรหม ผปู้ ระพฤติพรหมจรรยน์ ั้น ตอ้ งประกอบดว้ ยคุณธรรม ๑๐ ประการ เชน่ ทานการบริจาค วัตถสุ ิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ด้วยเจตนา ทเี สยี สละ เป็นตน้ ๓๓. เหน็ อรยิ สัจ (อริยสจั จานทสสฺ น์) อรยิ สจั แปลวา่ ของจริงอันทําใหบ้ คุ คลสําเรจ็ เปน็ พระอริยเจา้ หรอื ของจรงิ อย่างแทจ้ ริง อรยิ สจั แบง่ ออกเป็น ๔ ประการ คอื (๑) ทุกข์ (๒) สมุทยั (๓) นิโรธ (๔) มรรค ๓๔. ทําใหแ้ จ้งพระนิพพาน (นพิ พานสจั ฉิกริ ยิ า จ) นิพพาน หมายถึง จิตที่ออกจาก เครอื่ งรอ้ ยรดั คือ ตัณหา หมายถึง การดับซง่ึ เพลงิ กิเลสและเพลงิ ทกุ ข์ นิพพานแบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คอื (๑) สอปุ าทิเสสนพิ พาน ดบั กิเลสยังมีเบญจขันธอ์ ยู่ (๒) อนปุ าทิ เสสนพิ พาน ดับท้ังกิเลสและเบญจขันธ์ ๓๕. จิตไมห่ ว่ันไหวในโลกธรรม (จติ ต์ ยสฺส น กมปฺ ต)ิ ธรรมดาจิตใจของบุคคลนั้น ย่อมมี ความโน้มเอยี งไปตามอํานาจของกเิ ลสที่เกิดข้ึนในขณะนน้ั ๆ เชน่ หวัน่ ไหวในเรือ่ ง ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข และเสือ่ มลาภ เส่อื ม ยศ นินทา ทุกข์ เกิดขึ้นในชวี ิตของคนทุกคน ถา้ จติ จะไมห่ วั่นไหวไดน้ ้นั จะเกิด ขนึ้ ได้แก่บุคคลผรู้ ูเ้ ทา่ ทนั ต่อโลกธรรมทัง้ ๘ ประการ ๓๖. จิตไมเ่ ศรา้ โศก (อโศก) คือ จิตทไี่ มแ่ สดงอาการเดอื ดร้อนหวัน่ ไหวทกุ ข์ทรมานเพราะ การเก็บส่ิงท่ีไมด่ ีมาคดิ ด้วยอํานาจของ ความโลภบา้ ง ดว้ ยอาํ นาจของความโกรธบา้ ง ด้วยอํานาจของ ความหลงบา้ ง จิตใจลักษณะน้มี ีในบคุ คลใด บุคคลผู้นั้น ยอ่ มไม่ เศรา้ โศก
๓๗. จติ ไม่กาํ หนดั (วริ ช์) คาํ ว่า “จิต” ในที่นีเ้ ป็นจิตทผี่ ่านการบรรลุเห็นแจง้ อริยสัจ ๔ มาแล้วท้ังนน้ั แตใ่ นทที่ ว่ั ไปจะพบว่า จิต ของบุคคลใดก็ตามในขณะใดทีไ่ ม่ถูกกเิ ลสกลมุ้ รมุ ในขณะนั้น จะมคี วามสงบโปร่งสบาย แต่ถ้าหากว่าถกู กเิ ลสเข้ากลุ้มรมุ จะเกิด ความขุ่นมัวเศรา้ หมอง เป็นต้น ๓๔. จิตหลุดพ้น (เขม) คือจิตในขณะน้นั ไม่ไดถ้ ูกดึงรัดไวด้ ้วยเคร่อื งผกู คอื โยคะบา้ งถกู ผูกไว้ ด้วยกามคณุ ท้ัง ๕ คือ รูป เสยี ง กล่ิน รส สัมผสั บา้ ง ไม่ถูกผูกพนั ไวด้ ว้ ยภพ ต่างด้วยกามภพ รปู ภพ และ อรูปภพบา้ ง หรือไม่ถกู ผูกไวด้ ้วยทิฏฐิความคิดเห็นอยา่ ง ใดอย่างหนง่ึ จติ ในลกั ษณะน้ีย่อมเปน็ จติ ที่มี ความรู้แจ่มแจ้งและแทงตลอดในอรยิ สัจ ๔ (๕) วัตถปุ ระสงค์ วรรณกรรมมังคลตั ถทีปนีท่ี พระสิรมิ งั คลาจารย์ ไดร้ จนาขึ้นมาน้นั สืบเนอื่ งจากท่านมีชวี ติ อยู่ ในชว่ งพุทธศตวรรษที่ ๒๐ เปน็ ยคุ ทพ่ี ระพุทธศาสนาในล้านมีความเจรญิ รุ่งเรืองมาก อีกทง้ั มีพระเถระ นกั ปราชญร์ าชบัณฑิตผู้แตกฉานในพระธรรมวินัยมากมาย และมีการรจนาวรรณกรรมขึ้นหลายเรอ่ื ง ดว้ ยความเปน็ ผู้แตกฉานใน พระไตรปฎิ ก จงึ ได้รจนาเรื่องมงั คลตั ทีปน้ีขนึ้ เพ่ือต้องการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาในลักษณะของคมั ภรี ์ เพ่ือให้เขา้ ถึงผู้ที่ต้องการ จะศกึ ษาหลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาใหม้ ากทส่ี ดุ และเพื่อเปน็ การเรยี นรู้รปู แบบการรจนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา เป็นสําคัญ (๖) คณุ คา่ ของวรรณกรรม วรรณกรรมมงั คลตั ถทปี นี เป็นวรรณกรรมชน้ิ เอกทม่ี ชี อื่ เสียงย่งิ ของพระสริ มิ ังคลาจารย์ ทา่ นได้อธิบายถึงความหมายของมงคลทม่ี าจากพระสตู รโดยละเอยี ดด้วยภาษาบาลีอันไพเราะสละสลวย และนําเรอื่ งคัมภีรแ์ ละ ชาดกอื่น ๆ มาอธบิ ายประกอบมังคลัตถทีปนี คมั ภรี ์นไี้ ด้มีการแปลเปน็ ภาษาไทย ความยาวถึง ๘๙๓ หนา้ และมีการพิมพ์ เผยแพรค่ รงั้ แล้วคร้ังเลา่ คัมภีร์นกี้ อ่ ให้เกดิ คุณค่าหลาย ๆ ประการ ด้วยกัน พอจะสรปุ คุณค่าของมงั คลัตถทีปนี ได้ดงั นี้ ๑. คณุ ค่าทางศาสนา วรรณกรรมมังคลัตถทปี นี เปน็ คัมภีร์ทสี่ ําคัญของพระพุทธศาสนา ท่ีสืบทอดมาถึงปจ๎ จบุ ัน มีการอธิบายความ ในมงคลสตู ร โดยมที ม่ี าปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกอยู่ ๒ แห่ง ดว้ ยกัน คือ ในขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกายและในทุติยวรรค สตุ ต นบิ าต ในพระสตุ ตนั ตปฎิ ก ขุททกนิกาย มอี รรถกถา ชื่อ ปรมัตถโชติกา ซง่ึ พระพทุ ธโฆสะเปน็ ผ้รู จนาไว้ อนั เป็นพระสูตรทแ่ี สดง ถงึ การปฏบิ ตั ทิ ี่ เป็นมงคล ๓๘ ประการ คัมภรี ์มังคลัตถทปี นีรจนาด้วยภาษาบาลีล้วน ป๎จจบุ นั คมั ภีรน์ ้ีเปน็ ภาษาบาลี พิมพ์ดว้ ย อักษรไทย แบ่งออกเป็น ๒ ภาค คือ ปฐโม ภาโค (ภาคท่ี ๑ ) และทตุ โิ ย ภาโค (ภาคท่ี ๒) โดยมีสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรม พระยาวชิรญาณวโรรส ทรงชาํ ระ และสมเดจ็ พระพุทธโฆสาจารย์ (เจรญิ ญาณวรเถระ) ๒. คุณค่าทางวรรณคดี วรรณกรรมมังคลัตถทปี น้ีถือว่าเป็นวรรณกรรม หรือวรรณคดี ชัน้ ยอดที่พระสิรมิ ังคลาจารยไ์ ด้รจนาข้นึ ลกั ษณะการแตง่ คัมภีร์นี้ เป็นแบบร้อยแก้วผสมด้วยคาถา สําหรบั รอ้ ยแกว้ นัน้ เป็นการอธิบายความหมายของศัพท์ในคาถาหนึง่ ๆ ใหเ้ ข้าใจง่าย เช่น อเสวนาติ อภิชนา แปลว่าคําว่า อเสวนา ไดแ้ ก่ การไมค่ บ เปน็ ตน้ แลว้ อธบิ ายความหมายของมงคลแต่ละข้อ อย่างละเอียด พรอ้ มท้ังยกอุทาหรณม์ นี ทิ านประกอบ นทิ านมีทงั้ นิทานในสมยั พระโคดมพทุ ธเจ้า และนิทานชาดก อา้ งถงึ พระพทุ ธเจ้าในอดตี มีคาถาประกอบนิทานเรื่องน้นั ๆ ใช้คาํ งา่ ยท่ีคนทั่วไป เขา้ ใจได้ การแตง่ ประโยคก็ใช้ประโยคง่าย ๆ อ่าน แล้วเข้าใจ ความหมายในประโยคทันที มีการแสดง หลักฐานการอ้างองิ ว่าข้อความน้ีมาจากคัมภรี เ์ ล่มไหน สูตรอะไร วา่ อย่างไร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201