Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติความเป้นมา

ประวัติความเป้นมา

Published by An Dutsadee, 2021-02-05 02:50:05

Description: ประวัติความเป้นมา

Search

Read the Text Version

บทเรยี นเร่อื ง หวั ใจชายหน่มุ หวั ใจชายหนมุ่ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๔

๙ บทที่ ๑ ความรทู้ ั่วไปเก่ยี วกับหัวใจชายหนมุ่ ความเปน็ มาของเร่อื งหวั ใจชายหนมุ่ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน (๒๕๕๔ : ๑๕) กลา่ วถึง หัวใจชายหน่มุ เป็นบทพระราชนพิ นธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระ นามแฝงว่า “รามจิตติ” เพ่ือพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ดุสิตสมิต” เม่ือ พ.ศ. ๒๔๖๔ ลักษณะ การพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจานวน ๑๘ ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมาย ทั้งหมด ๑ ปี ๗ เดอื น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงสร้างตัวละครเอกขึ้นโดยสมมติให้มีตัวตนจริง คือ “ประพันธ์ ประยูรสิริ” เป็นผู้ถ่ายทอดความนึกคิดและสภาพของสังคมของสังคมไทยผ่านมุมมอง ของ “ชายหนุ่ม” (นักเรียนนอก) ในรูปแบบของจดหมายท่ีส่งถึงเพื่อนชื่อ “ประเสริฐ สุวัฒน์” เป็นเรื่องที่ สะท้อนให้เห็นแนวคิดสาคัญในพระราชดาริของพระองค์ในการค่อย ๆ ปรับเปล่ียนรับเอาอารยะธรรม ตะวันตกเข้ามาให้ผสมกลมกลืนกับวัฒนธรรมของไทยโดยทรงสื่อพระราชดาริน้ันผ่านตัวละครในเรื่องได้ อย่างแยบยล พระราชนิพนธ์เรื่องหัวใจชายหนุ่มเล่าเรื่องราวชีวิตของชายหนุ่มนักเรียนนอกในยุคท่ีสังคมกาลัง ปรับเปลี่ยนไปตามแบบตะวันตกโดยเล่าผ่านจดหมายทั้ง ๑๘ ฉบับท่ีเขาเขียนถึงผู้เป็นเพ่ือนข้อความใน จดหมายได้เผยให้เห็น“หัวใจ” อันร้อนรุ่มกระวนกระวายของชายหนุ่มผู้กาลังโศกเศร้าอาลัยอาวรณ์ต่อ จาก “ส่ิงงาม ๆ ” ทง้ั หญิงทร่ี ักและบ้านเมืองอนั “ศวิ ไิ ลซ์” หัวใจชายหนมุ่ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔

๑๐ ประวตั ิผแู้ ตง่ เรือ่ งหวั ใจชายหนมุ่ เบญจมาศ พลอินทร์ (๒๕๒๔ : ๓๔ – ๓๗ ) กล่าวถึงพระราชประวัติของ พระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ลาดับท่ี ๖ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เสด็จพระ ราชสมภพ เม่ือวันเสาร์ที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ได้รบั พระราชทานนามว่าสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจ้าฟา้ มหาวชริ าวธุ และได้รับการสถาปนาข้ึนเป็น เจ้าฟา้ กรมขนุ เทพทวาราวดี ทาให้ทรงมพี ระเกียรติยศเป็นชั้นที่ ๒ รองจากสมเดจ็ พระบรมโอรสา ธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร เม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๖ ทรงได้เสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษทรงได้ศึกษาวชิ าการทหารบก ทโ่ี รงเรียนนายร้อยทหารบกแซนเฮสิ ต์ เม่ือพ.ศ. ๒๔๔๐ หวั ใจชายหน่มุ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔

๑๑ ดา้ นการศึกษา ได้ทรงริเร่มิ สร้างโรงเรยี นขึ้นแทนวดั ประจารชั กาล ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมหาดเล็กหลวง ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อย่หู วั ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ สถาปนาเป็นโรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ในระดับอุดมศกึ ษา เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๔๕๙ ได้ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯยกฐานะ โรงเรียนข้าราชการพลเรอื นในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ขึ้นเปน็ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นับเปน็ มหาวิทยาลัยแหง่ แรกของไทย หัวใจชายหนุม่ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔

๑๒ ดา้ นการเศรษฐกจิ ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ คลังออมสิน พุทธศักราช ๒๔๕๖ ข้ึนเพ่ือให้ประชาชน รู้จักออมทรัพย์และเพ่ือความม่ันคงในด้านเศรษฐกิจของ ประเทศ ทรงรเิ ริ่มก่อตง้ั บริษัทปนู ซเี มนตไ์ ทยขึน้ ด้านการคมนาคม ได้ทรงปรับปรุงและขยายงานกิจการรถไฟ เริ่ม ตัง้ แต่ ปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ทรงตั้งกรมรถไฟหลวง และเริ่มเปิด การเดินรถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ สายใต้จากธนบุรี ถงึ ไปเช่อื มกบั ปีนังและสิงคโปร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพานพระราม ๖ เพี่อเช่ือมทางรถไฟใน พระราชอาณาจกั ร หวั ใจชายหน่มุ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔

๑๓ ด้านศลิ ปวัฒนธรรมไทย ทรงโปรดศิลปะการแสดงโขน ละคร จงึ ได้ทรง ตัง้ กรมมหรสพ ข้นึ เพื่อฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย และ ยงั ได้ทรงสร้างโรงละครหลวง ไวใ้ นพระราชวังทกุ แหง่ นอกจากนี้ ยงั ทรงสนพระราชหฤทยั ดา้ นจติ รกรรม ดา้ นการแพทย์และการสาธารณสขุ ไ ด้ ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า โ ป ร ด เ ก ล้ า ฯ ใ ห้ ตั้ ง โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์และ วชิรพยาบาล และ วันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ ได้เสด็จฯ ไปทรงเปิด สถานเสาวภา และทรงเปดิ การประปา กรุงเทพฯ เมอ่ื วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๗ หัวใจชายหนุ่ม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔

๑๔ ดา้ นการตา่ งประเทศ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัวได้ทรงมี พระบรมราช-โองการประกาศสงครามกบั ประเทศฝา่ ยเยอรมนั ซ่ึงประกอบด้วยออสเตรีย – ฮังการี บัลกาเรีย และตุรกี ซ่ึงเป็น กลุ่มมหาอานาจกลาง โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประเทศฝ่าย สัมพันธมิตร ซ่ึงประกอบด้วยประเทศอังกฤษ ฝร่ังเศส และ รัสเซียเป็นผู้นา เม่ือ วันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๖๐ พร้อม ทั้งได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งทหารไทยอาสาสมัครไป ร่ ว ม ร บ ใ น ส ม ร ภู มิ ยุ โ ร ป ด้ ว ย ผ ล ข อ ง ส ง ค ร า ม ป ร ะ เ ท ศ ฝ่ า ย สัมพันธมิตรได้ชัยชนะ ทาให้ประเทศไทยมีโอกาสเจรจากับ ประเทศมหาอานาจหลายประเทศ ขอแก้ไขสนธิสัญญาท่ีไม่เป็น ธรรม คือ สนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และสนธิสัญญา จากดั อานาจการเก็บภาษขี องประเทศไทย หวั ใจชายหนุ่ม ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔

๑๕ ด้านกิจการเสือปา่ และลกู เสอื ไดท้ รงจดั ต้ัง กองเสือป่า ขึน้ เมื่อ วันเสาร์ ท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ และทรงจัดตั้ง กองลูกเสอื กองแรกขึ้นที่โรงเรียนมหาดเลก็ หลวง คอื โรงเรยี นวชิราวุธวทิ ยาลัยในปจั จบุ นั ดา้ นการฝกึ สอนระบอบประชาธปิ ไตย ไดท้ รงจัดต้ัง กองเสอื ปา่ ขึน้ เมอ่ื วนั เสาร์ ท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ และทรงจัดตั้ง กองลูกเสือกองแรกขึ้นทีโ่ รงเรยี นมหาดเลก็ หลวง คือ โรงเรยี นวชริ าวธุ วทิ ยาลยั ในปัจจุบนั หวั ใจชายหนุ่ม ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๔

๑๖ ดา้ นวรรณกรรมและหนังสอื พมิ พ์ ได้ทรงเริม่ งานประพันธ์ต้ังแต่ทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ พระราช นิพนธ์ของพระองค์มีทุกประเภท ต้ังแต่ โขน ละคร พระราชดารัส พระบรมรา ชานุศาสนีย์ เทศนาปลุกใจเสือป่า นิทาน มีท้ังภาษาไทย อังกฤษ และ ฝรั่งเศส ซ่ึงเต็มไปด้วย ข้อคิดและคาคม วรรณกรรมของพระองค์ท่านจะสอน ให้รักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ทรงส่งเสริมให้มีการแต่งหนังสือ โดย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั วิ รรณคดีสโมสร พระราชนิพนธ์ ท่ไี ด้รบั การพิจารณายกยอ่ ง คือ หัวใจนักรบ ด้านละครพดู มัทนะพาธา ดา้ นคาฉนั ท์ และพระนลคาหลวง ด้านกวีนิพนธ์ องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ(ยูเนสโก) ก็ได้ยกย่องพระเกียรติคุณของ พระองค์ท่านในฐานะที่ทรงเป็นท้ัง กวี นักประพันธ์ และนักแต่งบทละคร ได้ ทรงเป็นปราชญ์สยามคนท่ี ๕ ประชาชนได้ถวายพระราชสมัญญานามว่า สมเด็จ พระมหาธีรราชเจ้า สาหรับด้านงานหนังสือพิมพ์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ตรา พระราชบัญญตั สิ มุด เอกสาร พ.ศ. ๒๔๖๕ ขน้ึ หวั ใจชายหน่มุ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๔

๑๗ ตอ่ มาไดเ้ สดจ็ ไปทรงศึกษาวิชา ประวัติศาสตรแ์ ละกฎหมาย ทว่ี ิทยาลยั ไครสต์เชิช มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้กระทาเป็นสองคราว คราวแรก เป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลิมพระราชมณเฑียร เม่ือวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๓ อีกคราวเป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สมโภช ได้จัดข้ึนระหว่างวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ถึง วันที่ ๑๐ ธันวาคม พฤศจิกายน ถึง วันท่ี ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๕๔ โดยมีบรรดาผู้แทนพระองค์ พระมหากษัตริย์ของประเทศที่มีสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยกับข้าราชการชั้น ผู้ใหญ่ซึง่ เป็นตวั แทนของประมขุ ประเทศตา่ ง ๆ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชธิดาพระองค์ เดียวจากพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ซ่ึงประสูติเมื่อ วันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ ก่อนที่จะเสด็จสวรรคต ณ พระท่ีน่ังจักรพรรดิ พิมาน เม่ือวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ เวลา ๑ นาฬิกา ๔๕ นาที พระชนมพรรษาเปน็ ปที ี่ ๔๖ เสด็จดารงสริ ริ าชสมบตั ไิ ด้ ๑๕ พรรษา หัวใจชายหน่มุ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔

๑๘ แก่นเรื่อง พระราชนิพนธ์เรื่องหัวใจชายหนุ่มมุ่งสะท้อนปัญหาการรับวัฒนธรรม ตะวันตกของคนไทยซ่ึงเป็นปัญหาสาคัญของสังคมไทยในสมัยน้ัน เพ่ือให้การ เสนอปญั หาของยุคสมัยได้ผลดี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง เลือกเสนอแนวคิดนี้ผ่านรูปแบบงานเขียนประเภทนวนิยายซ่ึงถือว่าเป็นรูปแบบ การประพันธ์ท่ีสามารถสร้างความสมจริงได้มากท่ีสุด แม้หัวใจชายหนุ่มจะเป็น เรื่องสมมติข้ึน แต่พระองค์ทรงใช้กลวิธีการนาเสนอหลากหลายประการท่ีทาให้ ผูอ้ ่านร้สู กึ ราวกับว่าเรื่องนีเ้ ป็นเรอื่ งจริง โครงเร่ือง พระราชนิพนธ์เร่ืองหัวใจชายหนุ่มเป็นเร่ืองท่ีแสดงถึงเรื่องราว ของประพันธ์ ชายหนุ่มนักเรียนนอกท่ีอยู่ในยุคของสังคมไทยกาลัง ปรับเปล่ียนไปตามแบบตะวันตกและมีความขัดแย้งทางความคิดกับคน รุ่นเก่าซ่ึงยังอยู่กับวัฒนธรรมไทยดั้งเดิม ท้ังในเร่ืองของการประกอบ อาชพี และการใช้ชีวิตคู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรง เลือกเสนอรูปแบบงานเขียนเป็นแบบประเภทนวนิยายซ่ึงถือว่าเป็น รูปแบบการประพันธ์ท่ีสามารถสร้างความสมจริงได้มากท่ีสุด กลวิธีนั้น คือการใช้จดหมายเป็นหลักในการดาเนินเรื่องและเสนอแนวคิดสาคัญ กอ่ นที่ผู้อา่ นจะได้อ่านจดหมายลฉกั บษับณแระกคาประพันธ์ หวั ใจชายหนุ่ม ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔

๑๙ หวั ใจชายหน่มุ เป็นนวนยิ ายร้อยแกว้ ในรูปแบบของจดหมาย โดยมีข้อควรสังเกตสาหรับ รูปแบบจดหมาย ทั้ง ๑๘ ฉบับในเรอื่ งดงั นี้ ๑.หัวจดหมาย ตงั้ แตฉ่ บับที่ ๑ วันท่ี ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖- จนถงึ ฉบับสดุ ท้าย วนั ที่ ๓๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๖- จะเห็นว่ามกี ารเว้นท้ายปี พ.ศ.ไว้ ๒.คาขึน้ ตน้ จดหมาย ทั้ง ๑๘ ฉบบั ใช้คาขึ้นตน้ เหมอื นกนั หมด คือ “พ่อประเสรฐิ เพอื่ นรัก” หัวใจชายหนุ่ม เป็นนวนิยายร้อนแก้วในรูปแบบของจดหมาย โดยมีข้อควรสังเกต สาหรับรูปแบบจดหมายท้ัง ๑๘ ฉบับในเร่ือง ดังนี้ ๑) หัวจดหมาย ตั้งแต่ฉบับที่ ๑ วันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๖- จนถึงฉบับสุดท้าย วันท่ี ๓๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๖- จะเหน็ ว่ามีการเวน้ เลขท้ายปี พ.ศ. ไว้ ๒) คาขึ้นต้นจดหมาย ท้ัง ๑๘ ฉบับ ใช้คาขึ้นต้นเหมือนกันหมด คือ “ถึงพ่อประเสริฐ เพ่ือนรัก” ๓) คาลงท้าย จะใช้คาว่า “จากเพ่ือน....” “แต่เพ่ือน...” แล้วตามด้วยความรู้สึกของ นายประพนั ธ์ เช่น “แต่เพื่อนท่ีใจคอออกจะยงุ่ เหยงิ ” (ฉบับที่ ๑๐) มีเพียง ๙ ฉบับเท่านั้น ที่ไม่ มีคาลงทา้ ย ๔) การลงชื่อ ต้ังแต่ฉบับที่ ๑๔ เป็นต้นไป ใช้บรรดาศักดิ์ท่ีได้รับพระราชทาน คือ “บรบิ าลบรมศักดิ์” โดยตลอด แตฉ่ บบั ท่ี ๑-๑๓ ใชช้ ือ่ “ประพนั ธ”์ ๕) ความส้ันยาวของจดหมาย มีเพียงฉบับท่ี ๑๔ เท่านั้นที่มีขนาดสั้นที่สุด เพราะเป็น เพยี งจดหมายทีแ่ จ้งไปยังเพือ่ นว่าตนไดร้ บั พระราชทานบรรดาศักดิ์ เร่ืองหัวใจชายหนมุ่ นจ้ี ะเขยี นเป็นนวนิยายแบบสนั้ รปู แบบจดหมาย (ฝ่ายเดียว) หวั ใจชายหนมุ่ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔

๒๐ จุดม่งุ หมายในการแตง่ ๑.เพ่อื ใหร้ ้ถู ึงวถิ ีชวี ติ ของชายหนมุ่ ไทย ๒.แสดงใหเ้ หน็ วธิ ีเขียนจดหมายที่ถูกต้อง ๓.สือ่ ถงึ พระราชดาหรขิ องพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยู่หวั ๔.เขา้ ใจในความรกั ของหนมุ่ สาวในอดตี ๕.รบั ร้กู ารแตง่ บทประพนั ธท์ ่ถี ูกต้องและถูกตอ้ งตามหลักการ ๖.สื่อการแต่งงานแบบคลมุ ถงุ ชนในอดีต ๗.สอ่ื ถึงประเพณี การแตง่ งานกบั ชาวต่างชาติวา่ แตกตา่ งกับคนไทยอยา่ งไร ๘.สื่อถึงชายหนุ่มท่ีเมื่อไปอยู่ต่างบ้านต่างเมืองเป็นเวลานานอาจแสดงพฤติกรรมของ วฒั นธรรมตะวันตก แต่ถึงอยา่ งไรก็ไมส่ ามารถลมื วฒั นธรรมของถ่นิ กาเนดิ ตวั เองได้ หัวใจชายหนมุ่ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook