Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8. สลองปราสาทผึ้ง

8. สลองปราสาทผึ้ง

Published by wilawan phiwon, 2021-02-18 03:51:43

Description: 8. สลองปราสาทผึ้ง

Search

Read the Text Version

1

2

3 สลองปราสาทผ้ึง (วา่ ด้วยอานสิ งส์การถวายปราสาทผ้ึง) ฉบับวัดพระธาตเุ ชิงชุมวรวิหาร ตาบลธาตเุ ชงิ ชมุ อาเภอเมืองสกลนคร จังหวดั สกลนคร พิพธิ ภัณฑ์เมอื งสกลนคร งานวชิ าการและวิจยั สถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร พร้อมคณะผมู้ ีจิตศรทั ธา จัดพิมพเ์ ผยแพร่

4 สลองปราสาทผง้ึ (ว่าดว้ ยอานสิ งสก์ ารถวายปราสาทผง้ึ ) พมิ พค์ รง้ั ที่ ๑ จานวน ๓๐๐ เล่ม พจนวราภรณ์ เขจรเนตร,เอกสดุ า ไชยวงศค์ ต ปรวิ รรต/เรียบเรยี ง คณะที่ปรกึ ษา เจา้ อาวาสวัดพระธาตุเชงิ ชุมวรวิหาร พระเทพสทิ ธโิ สภณ ประธานศูนยอ์ นรุ กั ษ์วฒั นธรรมพืน้ บา้ นหทยั ภพู าน พระครูปลดั ศรีธรรมวฒั น์ มหาวทิ ยาลยั นครพนม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อธริ าชย์ นนั ขนั ตี ผเู้ ชย่ี วชาญอุบลราชธานศี ึกษา นายปกรณ์ ปุกหตุ ผ้อู านวยการสถาบันภาษาฯ นายสุรสิทธิ์ อยุ้ ปดั ฌาวงศ์ รองผอู้ านวยการสถาบันภาษาฯ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พฒุ จกั ร สทิ ธิ รองผู้อานวยการสถาบนั ภาษาฯ นางสาววิชญานกาญต์ ขอนยาง บรรณาธกิ าร รองผ้อู านวยการสถาบนั ภาษาฯ ดร.สถิตย์ ภาคมฤค คณะบรรณาธกิ าร ศิลปกรรม/แบบปก นางสาวชตุ มิ า ภูลวรรณ นายหตั ธไชย ศิริสถติ นายประกาศิต บญุ ตาวนั นางสาวจรี ะภิญญา จันโทวาท สอบทาน/พสิ จู น์อกั ษร นายพจนวราภรณ์ เขจรเนตร พมิ พ์ที่ พิพิธภัณฑเ์ มอื งสกลนคร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร สงวนลิขสิทธ์ติ ามกฎหมาย

ก คานา การปริวรรตเอกสารโบราณ มีความสาคัญ อย่างย่ิง เพราะเป็นงานท่ีต้องใช้ความพากเพียรพยายาม ในการศึกษา และทาความเข้าใจวัฒนธรรมทางภาษาผ่านวรรณกรรมพื้นถ่ิน พ ร้ อ ม ถ่ า ย ท อ ด อ อ ก ม า ใ น รู ป แ บ บ อั ก ษ ร ห น่ึ ง ไ ป สู่ อั ก ษ ร ห นึ่ ง โดยยังคงรักษาความสละสลวยทางภาษาของต้นฉบับเดิมเอาไว้ ใ น ท่ า ม ก ล า ง ก ร ะ แ ส แ ห่ ง โ ล ก า ภิ วั ฒ น์ ใ น ปั จ จุ บั น การศึกษาวรรณกรรม หรือเร่ืองราวของท้องถิ่นมักไม่เป็นที่นิยม ถูกมองว่า เป็นเรื่องเก่าล้าสมัย แต่ตรงกันข้ามการศึกษา เร่ืองราวใด ๆ ในทั้งถิ่นนับเป็นสิ่งสาคัญอย่างหน่ึง อันจะก่อให้เกิด ความร้แู ละความเข้าใจ ที่ทาให้คนเห็นรากเหงา้ ของตนเอง เกิดสานึก ความเห็นคุณค่าความภูมิใจ และศักดิ์ศรีของสิ่งที่ตนเองมีอยู่ ท่ีเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษในท้องถิ่น ความภูมิใจนี้ ทาให้คนเรามีความเชื่อมั่นในตัวเองว่ามีของดีอยู่ สู่การพัฒนา ท้องถิ่นใหม้ คี วามเจรญิ ในอนาคต พิพิธภัณฑ์เมืองสกลนคร งานวิชาการและวิจัย สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครได้เล็งเห็น ความสาคัญ ของวรรณกรรมต่าง ๆ ท่ีจัดเก็บรักษาภายในวัดพระ ธาตุเชิงชุมวรวิหาร จึงได้จัดให้มีการปริวรรตจากอักษรธรรมอีสาน

ข เป็นอักษรไทยปัจจุบัน เพ่ือทาการเผยแพร่อันจะยังประโยชน์ ต่อผู้ศึกษาวิชาวรรณกรรมท้องถ่ิน คติชนวิทยา มานุษยวิทยา และสังคมวิทยา นอกจากนี้ยังได้ช่วยอนุรักษ์และเผยแพร่วัฒนธรรม ท้องถิ่นซงึ่ เป็นสมบัติอันมคี า่ ยิง่ ใหค้ งอยตู่ อ่ ไป ข อ ชื่ น ช ม ใ น ค ว า ม วิ ริ ย ะ อุ ต ส า ห ะ ข อ ง ผู้ ป ริ ว ร ร ต ที่ได้สร้างสรรค์ผลงานช้ินน้ี และขอขอบพระคุณไปยังผู้สนับสนุนทุน ทรพั ย์ในการจดั พิมพ์ “สลองปราสาทผึ้ง” ในครั้งน้ี หวังเป็นอยา่ งย่ิง ว่า วรรณกรรมฉบับนี้ จะอานวยประโยชน์ต่อผู้สนใจศึกษา วรรณกรรมท้องถิ่น คติชนวิทยา มานุษยวิทยา และสังคมวิทยา พร้อมต่อยอดองค์ความรู้ มรดกภมู ิปัญญาของบรรพชนสืบตอ่ ไป พิพิธภณั ฑ์เมืองสกลนคร งานวชิ าการและวจิ ยั สถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร

ค หนา้ สารบญั ก ๑ คานา ๙ บทนา ๑๓ เนอื้ เรอ่ื ง “ฉลองปราสาทผ้งึ ” ๑๔ บรรณานกุ รม อภธิ านศพั ท์

ง ราษฎรชาวธาตพุ นมกบั ปราสาทผึ้ง เม่อื ปพี ทุ ธศักราช ๒๔๔๙ ท่มี า : สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศลิ ปากร

๑ บทนา “สลอง” หรือ “ฉลอง” เป็นหนังสอื แสดงให้เห็นถึงท่ีมาของการ ทาบุญต่าง ๆ ของบุคคล เมื่อคร้ังสมัยพุทธกาลและกล่าวถึงอานิสงส์ อันเป็นก่อให้เกิดธรรมเนียมประเพณีปฏิบัติสบื ทอดมาจวบจนปัจจุบัน ในส่วนของ “สลองปราสาทผึ้ง” เป็นการแสดงอานิสงส์อันเกิดจาก การถวายอามสิ บูชาหรอื การบชู าอยา่ งหน่ึงดว้ ยวตั ถสุ ิง่ ของ เพื่ อ ใ ห้ ผู้ อ่ า น เกิ ด ค ว า ม เข้ า ใ จ ใ น ส า รั ต ถ ะ ท า ง ค ว า ม คิ ด เน่ืองในงานประเพณีอันดีงามของท้องถ่ิน จึงใคร่ขอนาเสนอท่ีมา ความสาคัญของปราสาทผ้ึง และหลักเกณฑ์ในการปริวรรตเอกสาร และเนือ้ หาโดยย่อก่อนนาเขา้ สู่เน้อื หาตอ่ ไป ปราสาทผง้ึ “ผาสาทเผิ้ง” หรือ “ปราสาทผ้ึง” เป็นเคร่ืองสักการบูชา อย่างหนึ่งของพุทธศาสนิกชน มักประกอบด้วยหลายลักษณะรูปทรง อาทิเช่น ทรงตะลุ่ม ทรงหอปราสาท และทรงปราสาทยอด เป็นต้น จาลองข้ึนจากรูปลักษณะของปราสาทบนสรวงสวรรค์ โดยใช้กาบ ของตน้ กลว้ ยหุ้มข้ึนบนโครงไมไ้ ผท่ ที่ าเปน็ รูปปราสาท ปิดประดับดว้ ย ดอกผ้ึง (ขี้ผึ้งหรือเทียนทาเป็นดอกด้วยพิมพ์) นิยมใช้ในพิธีทาบุญ อุทิศส่วนกุศล และนอกจากนี้ ช่วงประเพณี บุญ ออกพรรษา ยงั นยิ มทาถวายเป็นพทุ ธบชู าด้วย

๒ พระครวู มิ ลสกลเขต (พระเทพวิมลเมธี (วันดี สริ วิ ัณโณ)) กับปราสาทผงึ้ วัดธาตุศาสดาราม เมอ่ื ปีพทุ ธศกั ราช ๒๔๙๒ ที่มา : พพิ ธิ ภัณฑ์เมืองสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

๓ การจดั งานแหป่ ราสาทผ้งึ สกลนคร การแห่ปราสาทผ้ึง ในช่วงเทศกาลบุญออกพรรษาเป็นประเพณี อย่างหน่ึงท่ีชาวเมืองสกลนครยึดถือปฏิบัติสืบทอดเป็นครั้งแรก ในปีพุทธศักราช ๒๔๘๕ โดยราษฎรจาก ๗ ตาบล ประกอบด้วย ตาบลธาตุเชิงชุม ตาบลดงชน ตาบลดงมะไฟ ตาบลห้วยยาง ตาบลโนนหอม ตาบลบึงทวายและตาบลเต่างอย มีวัตถุประสงค์ เพ่ือน้อมนาไปถวายเป็นพุทธบูชา ธรรมบูชาและสังฆบูชา โดยเฉพาะ องค์พระธาตุเชิงชุม ซึ่งเป็นศูนย์รวมใจของชาวเมืองสกลนคร คร้ันต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๔๙๐ เทศบาลเมืองสกลนคร พร้อมกับชุมชนต่าง ๆ จัดให้มีการประกวดประสาทผ้ึงข้ึน เป็นคร้ังแรกจวบจนถึงปัจจุบัน นอกจากการแห่ปราสาทผ้ึงแล้ว ยังจัดให้มกี ารเล่น “ส่วงเฮอื ” หรอื การแขง่ ขนั เรอื อีกด้วย ประวตั ิทมี่ าของเอกสาร หนังสือ เรื่อง “สลองปราสาทผ้ึง” ฉบับนี้ เป็นเอกสารโบราณ ในครอบครองของวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร สร้างโดย “อาชญาหัวครู หลักคา” ไม่ปรากฏระบุปี พ.ศ.ท่ีสร้าง โดยจารลงในใบลานดิบ อักษรจารึกท่ีใช้เป็นอักษรธรรมอีสาน ด้วยสานวนร้อยแก้วทั้งหมด โดยเอกสารโบราณฉบับน้ยี งั ไม่ไดร้ ับการปรวิ รรตเผยแพรม่ ากอ่ น

๔ ปราสาทผึง้ ประยุกต์วดั ธาตศุ าสดาราม เมื่อปีพทุ ธศักราช ๒๔๙๒ ทีม่ า : พิพิธภณั ฑ์เมืองสกลนคร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร

๕ ปราสาทผงึ้ วดั ธาตุศาสดาราม เมอ่ื ปีพทุ ธศกั ราช ๒๔๙๒ ท่ีมา : พพิ ธิ ภณั ฑเ์ มอื งสกลนคร มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร

๖ หลกั เกณฑ์การปริวรรต วรรณกรรม เร่ือง “สลองปราสาทผ้ึง” เล่มนี้ ต้นฉบับเดิม บันทึกเป็นข้อความร้อยแก้ว เขียนต่อกันยาวไม่ได้เว้นวรรคตอน ผู้ ป ริ ว ร ร ต จึ ง ไ ด้ จั ด รู ป แ บ บ ก า ร เขี ย น โ ด ย ก า ร เว้ น ว ร ร ค ต อ น เพ่ือให้มีความสละสลวยทางภาษา นอกจากน้ีผู้ปริวรรตทาการ อธิบายคาศัพท์เฉพาะ อีกทั้งอธิบายศัพท์เพ่ิมเติม และข้อความ สันนิษฐานศัพท์อื่น ๆ ในวงเล็บท้ายข้อความ กรณีที่ต้นฉบับบันทึก ตกหลน่ หรอื เอกสารขาดชารดุ ในการปริวรรตวรรณกรรม เร่ือง “สลองปราสาทผ้ึง” ฉบบั น้ี ผปู้ ริวรรตใช้รูปแบบอักขรวิธีปัจจุบัน ท้ังน้ียังคงรักษาคาศัพท์ ภาษาเดิมซึ่งมีความหมาย การออกเสียงที่คล้ายหรือแตกต่าง จากภาษาไทยปัจจุบันเอาไว้ เพื่อให้ผู้อ่านได้รับอรรถรสของถ้อยคา ภาษาถิน่ อันเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของทอ้ งถิ่นนนั้ ๆ คาทม่ี คี วามหมายแตกตา่ งจากภาษาไทยปจั จบุ นั เชน่ ต้นฉบับอกั ษรธรรม คาทใ่ี ช้ในเลม่ ภาษาไทยปัจจุบัน ดีหลี ดจี รงิ ผญา ปญั ญา พญา กษตั รยิ ์ วนั ลนุ วันถดั ไป

๗ คาที่ออกเสียงคลา้ ยหรอื แตกต่างจากภาษาไทยปัจจบุ นั เช่น ตน้ ฉบบั อักษรธรรม คาท่ีใชใ้ นเล่ม ภาษาไทยปัจจุบัน จักฮู้ จะรู้ บูฮาน โบราณ ฮบั รบั ฮักษา รักษา ท้ังนี้ ผู้ปริวรรตได้จัดทาอภิธานศัพท์จากเนื้อหาไว้บางส่วน เพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจในความหมายของคาท้องถ่ินอีสาน ทีป่ รากฏในเน้อื เรื่องนี้ดว้ ย เนอ้ื เรื่องยอ่ “สลองปราสาทผ้งึ ” เปน็ หนังสือแสดงอานิสงสก์ ารถวายปราสาท ผึ้ง ดาเนินเรื่องโดยพระอานนท์ เป็นผู้จดจาและเล่ามาว่า เมื่อองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประทับอยู่ ณ วัดพระเชตวัน นครสาวัต ถี ทรงปรารภถึงอานิสงสก์ ารถวายปราสาทผ้ึงว่า ผู้หญิง ผู้ชาย ภิกษุ ภิกษุณี ผู้มีจิตใจเล่ือมใสในพระรัตนตรัยแล้วได้ทาปราสาทผึ้งถวาย บูชาแก้วท้ัง ๓ ประกอบด้วย พระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า และพระสังฆเจ้า รวมไปถึงพระเจดีย์ พระศรีมหาโพธ์ิ บุคคลผู้นั้น

๘ ย่อมได้รับผลาอานิสงส์ประกอบด้วยโภคทรัพย์ในเมืองคน (มนุษย์ สมบัติ) เมืองฟ้า (สวรรค์สมบัติ) และนิรพาน (นิพานสมบัติ) นอกจากน้ีบุคคลใดได้บูชาพระพุทธเจ้าจะเป็นผู้มีเตชะอันมาก ผู้บูชา พระธรรมจะเป็นผู้มีปัญญาอันมาก และผู้บูชาพระสงฆ์จะเป็นผู้อุดม ด้วยโภคทรัพย์ต่าง ๆ นา ๆ และเป็นท่ีรักแก่มนุษย์และเทวดา ทั้งหลาย บุคคลผู้ใดได้บูชาพระนวโลกุตรธรรม เพ่ือให้เข้าสู่ภาวะที่ หลุดพ้นแล้วจากโลกิยะ ไม่เก่ียวข้องกับกาม ตัณหา ทิฏฐิ อวิชชาอีก ต่อไปน้ัน จะยังให้ได้เสวยทรัพย์สมบัติท้ังหลาย ครั้นเป็นมนุษย์จะได้ เป็นพระเจ้าจักรพรรดิครั้นละโลกน้ีไปแล้วได้ไปเกิดบนสวรรค์มีอายุ พันปีทิพย์ คร้ังจุติจากสวรรค์ก็จะได้กลับมาเกิดเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ เป็นใหญ่กวา่ ผูใ้ ดในทวปี ทั้ง ๔ อีกด้วย กุ ศ ล บุ ญ ที่ ข้ า พ เจ้ า ไ ด้ ท า ก า ร ป ริ ว ร ร ต เรี ย บ เรี ย ง พ ร ะ ธ ร ร ม เท ศ น า เรื่ อ ง ส ล อ ง ป ร า ส า ท ผึ้ ง ฉ บั บ นี้ ขอจงเป็นพลวปัจจัย เป็นนิสัยตามส่ง ให้เกิดปัญญาญาณท้ังชาติน้ี และชาติหน้า ตลอดชาติอย่างยิ่ง จนถึงความพ้นทุกข์ คือ พระนิพพาน และขออนุโมทนากับคณะญาติธรรมผู้สนับสนุนการ จัดพิมพ์ทุกท่าน หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารปริวรรตฉบับนี้ จะอานวยประโยชนต์ อ่ การศึกษาของผู้ทสี่ นใจต่อไป. ผปู้ ริวรรตและเรียบเรยี ง

๙ เน้อื เรื่อง “สลองปราสาทผ้ึง” ฉบบั วัดพระธาตุเชิงชมุ วรวิหาร ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมอื งสกลนคร จังหวดั สกลนคร ๏ เอวมฺเม สุตฯ เอก สมย ภควา สาวตฺถิย วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฑิกสฺส อาราเมฯ โภ สาธโว ดูรา สัปปุริสาท้ังหลาย อิท สุตฺต อันว่า สูตร อันน้ี เม มยา อันผู้ข้า อานนฺโท ตนซื่อว่า อานนท์ สุตฺต หากได้สดับฮับฟังเอาแต่พระอูษฐ์แก้วกล่าวคือว่า ปากแห่งสพั พัญญเู จ้า เม่อื ยังทวั รมาน เอว ดงั น้ี เอก สมย ยังมีในกาลอัน ๑ ภควา อันว่า สัพพัญญูเจ้า วิหรนฺติ ก็อยู่สาราญ ในป่าเชตวันอาราเม อันเป็นอาฮาม แห่งนายอนาถปณิ ฑิกมหาเศรษฐี สาวตถฺ ิย อนั มีท่จี มี ใกลเ้ มอื งสาวตั ถี มปี ระมาณว่าได้ ๕ ฮอ้ ย ซว่ั คันธนู ก็มแี ล อถโข ในกาลเมื่อน้ัน ภควา อันว่าสัพพัญญูเจ้า อามนฺเตสิ ก็ต้านจารจาเซ่ิงภิกษุท้ังหลายว่า ภิกฺขเว ดูราภิกษุทั้งหลายฝูงน้ัน ปจฺจสฺโสสุง ก็ฮับเอา ภควโต วจฺจน ยังคาแห่งพระพุทธเจ้า ภณฺเต ดังน้ี ฝูงข้าไหว้สัพพัญญูเจ้า อิท อันว่า คาวุฒิ สวัสสะดีจงมี แกส่ พั พญั ญเู จา้ เทอญ ภควา อันว่า สัพพัญญูเจ้าก็กล่าวยังคาอันน้ันเซ่ิงภิกษุทั้งหลาย ว่า ภิกฺขเว ดูรา ภิกษุท้ังหลาย โยโกจิปุคคโล อันว่า ปุคคละผู้ใด

๑๐ อิตฺถีวา ผู้ยิงก็ดี ปุริโสวา ผู้ซายก็ดี ภิกฺขุวา ภิกษุก็ดี ภิกฺขุณีวา ภิกษุณีก็ดี สทฺธายสมทฺธโน อันประกอบไปด้วยใจใสศรัทธา กตฺวา เล่ามากระทา มธุปาสาธปุพผ ยังผาสาทเผ้ิงแลประนมดอกไม้ ปูเชสิ ก็บูชาแก้วแก้วทั้ง ๓ มีพระพุทธเจ้าเป็นเค้าเป็นประธาน มหาผล มีผลาอันมาก หิ ด้วยมีแท้ เยชนา อันว่า คนทั้งหลายฝูงใด กโรติ มากระทายังดอกไม้ทั้งหลายอันมีดอกจอก แลดอกเจี้ย แลฮูปซ้าง ฮูปม้า เป็นต้น แล้วแลมาบูซายังพุทธเจ้าก็ดี บูซายังพระธรรมเจ้าก็ดี บูซายังพระสังฆเจ้ากด็ ี เจดียศ์ รมี หาโพธิ์เจ้าก็ดี ต ปูช อนั วา่ การบซู า อันนั้น มหาผล มหานิส ก็มีผลาอานิสงค์อันมากแก่ปุคคละอันได้บูซา น้ันแล เตชนา อันว่า คนทั้งหลายฝูงน้ัน คจฺฉนฺติ ก็ได้เสวยศรีสมบัติ ในเมืองคน แลเมืองฟ้า แลเมืองพรหม สมบัติในนีรพานเป็นท่ีแล้ว แห่งคามักแล เต เนวฺ ผเลน ด้วยผลาอานิสงส์ มธุปาสาทปุพผ ยงั อันได้ให้ผาสาทเผิง้ แลประนมดอกไม้บูซานน้ั แล สตฺถา อันว่า สัพพัญูญเจ้า วตฺวา กล่าวแล้วดังนั้น เทเสนเต อนั จักเทศนาดว้ ยอันกวา้ งขวาง ปจฺจสฺสา เม่อื ภายลุน อาห ก็กล่าวว่า พุทธบูชา มหาเตชวนฺโต ธมฺมบูชา มหาปญฺญวนฺโต สงฺฆบูชา มหาโภควโห ดังนี้เป็นเค้า พระพุทธเจ้าเทศนาว่า ภิกขเว ดูรา ภิกษุ ทง้ั หลายพุทธบชู าอันได้บูซาสัพพญั ญูเจ้า มหาเตชวนโฺ ต เกิดมามีเตซะ อนั มาก ธรรมบซู า อนั ว่า ได้บซู าพระธรรมเจ้า มหาปญฺญวนฺโต เกิด

๑๑ มามีผญาปัญญาอันมาก สังฆบูซา อันว่า ได้บูซาพระสังฆเจ้า มหา โภควโห เกิดมามีเข้าของเงินคาเครื่องบอระโภคเป็นอันมากแล เย ชนา อันว่า คนทั้งหลายฝูงได้กระทา อภิปูเชนติ กระทาสักการะ บูซาพระพทุ ธเจา้ ตนเป็นท่เี พิ่งแก่โลกท้ัง ๓ เตชนา อนั ว่า คนท้งั หลาย ฝูงนั้น คจฺฉนฺติ ก็ได้ไป ยถ ปเทเสสุ ในประเทศท่ีใดก็ดี ปุจฺฉิโต เทียรย่อมเป็นท่ีสักการะบูซาแก่คนแลเทพยดาทั้งหลายแล ปเทเส ในประเทศที่น้ัน ปจฺจสฺสา เมื่อภายลุน เยชนา อันว่า คนท้ังหลาย ฝูงได้ ปูเชนฺติ ก็ได้บูซายังพระนวโลกุตรธรรมเจ้าดังน้ัน เตชนา อันว่า คนทั้งหลายฝูงน้ัน ลภตฺติ ก็ได้เสวยสมบัติทั้งหลายมีต้นว่า ไดเ้ ป็นพญาจกั กวตั ตริ าชน้นั แล ภิกฺขเว ดูรา ภิกษุทั้งหลาย เตชนา อันว่า คนทั้งหลายฝูงน้ัน อหิตฺวา คันว่า ละเสียแล้วยังอัตตภาวะเนื้อตนอันเป็นคน คจฺฉนฺติ ก็ได้เมือเกิด เทวโลเก ในสวรรค์เทวโลก เทวปุตฺโต หุตฺวา ได้เป็นเทวบุตร อิตฺถิโย อันว่า ผู้หญิงก็จะได้เป็นนางเทวดา อนุภวนฺติ ก็ได้เสวยศรีสมบัติทิพย์เส้ียงว่าได้พันปีทิพย์ในซ้ันฟ้า ตาวติงสา จกฺกวตฺติราชา หุตฺวา ได้ลงมาเกิดเป็นพญาจักกวัตติราช อีสโร อันได้เป็นเจ้าเป็นใหญ่แก่คนท้ังหลายในทีปทั้ง ๔ บ่ท่อแต่นั้น ปเทสรฐฺฐ ก็จะได้เป็นพญาในประเทศราชบ้านน้อยเมืองใหญ่

๑๒ ได้เสวยราชสมมบัติทั้งหลายบ่อาจจักคณานับได้ อนัตตา อันว่า จากศรสี มบัตขิ า้ วของ นตถฺ ิ บ่หอ่ นมีแล อิท ผล อันว่า อันน้ีก็เป็นอานิสงส์ มธุปาสาทปุพผ อันได้ให้ ผาสาทเผ้ิงแลประนมดอกไม้บซู าน้ันแล เทสนาปริโยสาเน ในเมือ่ แล้ว ธรรมเทศนา แห่งสัพพัญ ญู เจ้าแล มีดังน้ัน สาธมฺมเทสนา อันว่า ธรรมเทศนาดวงนั้น เทียรย่อมเป็นหิตประโยชน์โผดปัณณะ สัตว์ทั้งหลายอันมาก ปาปุนิงสุ ก็ได้เถิงธรรมอันวิเศษ มีประเภทว่า โสดาปฏิผลาญาณ อันจายังอานิสงส์ อันได้ให้ผาสาทเผ้ิงแลประนม ดอกไมบ้ ซู าแก้วท้งั ๓ นติ ถิต กเ็ สด็จบรบวรควรเท่านีก้ ่อนแล ๚๛

๑๓ บรรณานุกรม ปรีชา พิณทอง. (๒๕๓๒) สารานกุ รมภาษาอสี าน – ไทย – องั กฤษ. อุบลราชธานี : โรงพิมพ์ศริ ิธรรม. หอสมุดแห่งชาติ, กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). ประมวลคาศัพท์ภาษาลาว ในเอกสารโบราณ เล่มที่ ๑ อักษร ก – ง. กรุงเทพฯ : เอ.พี.กราฟฟิคดีไซด์. หอสมุดแห่งชาติ, กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). ประมวลคาศัพท์ภาษาลาว ในเอกสารโบราณ เลม่ ท่ี ๒ อกั ษร จ – ถ. กรงุ เทพฯ : เอ.พี.กราฟฟคิ ดไี ซด์. หอสมุดแห่งชาติ, กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). ประมวลคาศัพท์ภาษาลาว ในเอกสารโบราณ เล่มที่ ๓ อกั ษร ท – ฝ. กรุงเทพฯ : เอ.พ.ี กราฟฟคิ ดีไซด์. หอสมุดแห่งชาติ, กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). ประมวลคาศัพท์ภาษาลาว ในเอกสารโบราณ เลม่ ที่ ๔ อักษร พ – ษ. กรงุ เทพฯ : เอ.พ.ี กราฟฟคิ ดไี ซด์. หอสมุดแห่งชาติ, กรมศิลปากร. (๒๕๔๔). ประมวลคาศัพท์ภาษาลาว ในเอกสารโบราณ เลม่ ที่ ๕ อักษร ส – ฮ. กรงุ เทพฯ : เอ.พี.กราฟฟคิ ดไี ซด์.

๑๔ อภิธานศพั ท์ ในการอธิบายศัพท์วรรณกรรมชาดก เรื่อง สลองผาสาทเผ้ิง (ฉลองปราสาทผึ้ง) ฉบับวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ตาบลธาตุเชิงชุม อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ผู้ปริวรรตใช้รูปแบบตาม หลักการอภิธานศพั ท์ของกลมุ่ งานอนุรกั ษเ์ อกสารโบราณ สถาบันวจิ ัย ศิลปวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดยกาหนดอักษร ยอ่ ดังนี้ น. = คานาม ส. = คาสรรพนาม ก. = คากริ ิยา ว. = คาวเิ ศษณ์ สัน. = คาสนั ธาน ป. = คาบาลี ค คา น. ทองคา. จ จา ก พูดจา. จีม ว. ใกล้.

๑๕ ต้าน ก. ต โต้, ปะทะ. ทปี น. เทยี รยอ่ ม ว. ท ทัวรมาน ก. ทวปี . เป็นคาบอกกาลปจั จบุ ันใกล้อดตี . บรบวร ว. ทรมาน, ทาให้ลาบาก. บ ปัณณะสตั ว์ น. เตม็ , ถ้วน, ครบ = บริบูรณ์. ประนมดอกไม้ ก. เปน็ เค้า ว. ป สรรพสัตวท์ ัง้ หลาย. ผญา น. พุ่มดอกไม.้ ผลา น. เป็นต้น. ผาสาท น. ผ ผูข้ า้ ส. ปัญญา. เผ้ิง น. ผลแหง่ บุญกศุ ล. ผายโผด ก. ปราสาท. ข้าพเจ้า. ผึง้ . โปรด, ปลดปลอ่ ย

๑๖ พญา พ พระอูษฐ์ น. ผู้เป็นใหญ่, ผ้เู ปน็ หวั หน้า. น. ปาก (พระโอษฐ์). ภายลุน ภ ศรีสมบัติ น. ภายหลัง, ต่อจากนีไ้ ป. เสย้ี ง ศ น. สมบัตอิ ันบริบรู ณ์. อาฮาม ส ฮับ ว. หมด, ส้ิน, ทั้งหมด. ฮปู อ น. อาราม. ฮ ก. รับ. น. รปู .

๑๗ รายช่อื ผ้สู นับสนุนการจดั พมิ พ์ คุณสริ ภพ สมผล พรอ้ มครอบครัว จานวน ๕๐๐ บาท คณุ ปกรณ์ ปุกหตุ พรอ้ มครอบครัว จานวน ๒๐๐ บาท คณุ อลิสา ทบั พิลา พร้อมครอบครัว จานวน ๑๕๐ บาท พพิ ธิ ภัณฑ์เมืองสกลนคร งานวิชาการและวิจยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร จานวน ๓๐๐ บาท รวมเป็นเงนิ ๑,๑๕๐ บาท

๑๘ ---------------------------- พิพธิ ภัณฑ์เมอื งสกลนคร งานวิชาการและวจิ ัย สถาบนั ภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เลขที่ ๖๘๐ ถนนนิตโย ตาบลธาตเุ ชิงชุม อาเภอเมอื งสกลนคร จงั หวดั สกลนคร โทร. ๐ ๔๒๗๔ ๔๐๐๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook