Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร. ธัญบุรี

นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร. ธัญบุรี

Published by Plely Miwy, 2020-03-04 22:56:48

Description: นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร. ธัญบุรี

Keywords: นโยบายและยุทธศาสตร์, แผนปฏิบัติราชการ 3 ปี, มทร. ธัญบุรี

Search

Read the Text Version

คำนำ ในขณะท่ีโลกปัจจุบันได้เปล่ียนแปลงไปสู่การพัฒนาในมิติของเทคโนโลยี มิติของ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในทุกขณะ เป็นปจั จยั ท่เี ป็นผลกระทบที่จาเป็นต่อการเปล่ียนแปลง นโยบายของรัฐบาล ต้องการขับเคล่ือนประเทศสู่ Thailand 4.0 ใหห้ ลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลาง รวมท้ังกับดักของความไม่เท่าเทียมกันของคนในชาติ เพื่อให้ประเทศไทยมีศักยภาพท่ีสามารถ แข่งขันได้บนเวทีโลก จงึ จาเปน็ ต้องพฒั นากาลังคน เทคโนโลยี นวัตกรรม รวมท้ังสร้างองค์ความรู้ ใหเ้ กิดความคิดสร้างสรรค์ที่เปน็ ของประเทศมอี ัตลักษณค์ วามเป็นไทย บนพ้นื ฐานเศรษฐกิจพอเพยี ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีบทบาทสาคัญในการผลักดันนโยบายดังกล่าว จาก 5 พันธกิจ ประกอบด้วย ผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีความสามารถทางวิชาการ วิชาชีพ คิดสร้างสรรค์ และเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ และนวัตกรรม สูก่ ารนาไปใช้ประโยชน์ในภาคอุตสาหกรรม สงั คม ชมุ ชน หรือสรา้ งมูลค่าเชงิ พาณิชย์ ใหบ้ ริการวิชาการ แก่ชุมชนในพ้ืนที่เป้าหมายหรือภาคประกอบการเพ่ือการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทานุบารุงศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม และอนรุ ักษ์สิง่ แวดลอ้ ม บริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล เพิม่ ประสิทธภิ าพและ ประสิทธิผลด้วยนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองและยั่งยืน การจะทาให้ 5 พันธกิจ สามารถสนับสนุนการพัฒนาได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ตอ้ งปฏริ ูปตนเองไปพร้อมกับการปฏริ ูปประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้นาเสนอหลักการหรือแนวคิด Innovative University รวมถึงการกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ท่ีสาคัญ ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ และโครงการหลัก เป็นกรอบท่ีจะนาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ เป็นแผนหลักในการขับเคลื่อนให้เกิด แผนปฏบิ ัตริ าชการประจาปี (Action Plan) ของหน่วยงาน นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ฉบับนี้ได้ผ่านกระบวนการในการจัดทาโดยมีส่วนร่วมของ ผู้เก่ียวข้องภายในมหาวิทยาลัย และข้อเสนอแนะของคณะกรรมการชุดต่างๆ ของสภามหาวิทยาลัย เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยได้พัฒนาศักยภาพตามภารกิจให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืนตามเป้าหมายต่อไป มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี พฤศจิกายน 2562



สารบัญ (ก) หน้า บทสรุปผบู้ รหิ าร 1. ความเป็นมาการจัดทานโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 – 2580 และ ก แผนปฏิบตั ิราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2. การดาเนนิ งานจัดทานโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 – 2580 และ ก แผนปฏบิ ตั ิราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 3. สาระสาคญั ของกรอบนโยบายและยทุ ธศาสตร์การทบทวนภารกจิ ข 4. สาระสาคัญของนโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 – 2580 และ ค แผนปฏบิ ตั ิราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี บทที่ 1 หลักการแนวคิดในการทบทวนนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 1.1 จุดมงุ่ หมายของการก่อต้งั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 1-1 1.2 การแบ่งส่วนราชการของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 1-2 1.3 หลักการ แนวคิดในการทบทวนนโยบายและยทุ ธศาสตร์ 1-4 1.4 กระบวนการทบทวนและจดั ทานโยบายและยุทธศาสตร์ 1-11 บทที่ 2 สภาวการณ์ และบริบททสี่ ่งผลตอ่ การพฒั นา มทร.ธัญบรุ ี 2.1 สถานการณ์และแนวโน้มภายนอก 2-1 2.1.1 บรบิ ทภายนอกประเทศ 2-1 2.1.1.1 สถานการณ์และแนวโน้มเศรษฐกจิ โลก 2-1 2.1.1.2 การเขา้ สู่สงั คมสูงวยั ของโลกสง่ ผลตอ่ เศรษฐกจิ และ 2-2 รปู แบบการดาเนนิ ชวี ิต 2.1.1.3 การวิจยั และพฒั นาดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 2-2 อยา่ งก้าวกระโดด 2.1.1.4 การเลอื่ นไหลของกระแสวัฒนธรรมโลกทผ่ี สมผสานกับ 2-3 วฒั นธรรมท้องถ่นิ ส่งผลต่อการเปลีย่ นแปลงวถิ ีชีวิตและ รูปแบบการบรโิ ภค 2.1.1.5 การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 2-3 2.1.1.6 สถานการณ์ความมนั่ คงโลก 2-3 2.1.1.7 เป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยนื (Sustainable Development 2-4 Goals - SDGs) 2.1.2 บริบทภายในประเทศ 2-6 2.1.2.1 รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 2-6 2.1.2.2 ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561- 2580 2-7 2.1.2.3 การขบั เคลื่อนประเทศสู่ Thailand 4.0 2-9 2.1.2.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 2-11 (พ.ศ. 2560 - 2564) 2.1.2.5 แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 2-12 2.1.2.6 มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 2-14

สารบญั (ข) หน้า 2.1.2.7 ทิศทางนโยบายการพฒั นากาลงั คนของประเทศ พ.ศ. 2563 - 2567 2-15 2.1.2.8 แผนการดาเนินงานของคณะทางานดา้ นการพฒั นากาลงั คน 2.17 ในเขตพฒั นาพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC-HDC)ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2566 2.1.2.9 แผนอุดมศกึ ษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 2-18 2.1.2.10 มตคิ ณะรฐั มนตรเี ม่ือวนั ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 2-27 เกี่ยวกบั การจดั ทาแผนงานในภารกจิ หลักของหน่วยงาน ระยะ 20 ปี 2.1.2.11 พระราชกฤษฎกี ารว่าดว้ ยหลักเกณฑ์และวธิ กี ารบรหิ าร 2-27 ราชการบ้านเมอื งทด่ี ี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 2.1.2.12 คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา 2-28 นายกรัฐมนตรี แถลงตอ่ รฐั สภาเมือ่ วันพฤหัสบดี ท่ี 25กรกฎาคม2562 2.1.2.13 กรอบนโยบาย 4 มติ ิ กระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ 2-32 วิจัยและนวัตกรรม 2.1.2.14 ยทุ ธศาสตร์การอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม 2-33 เพอ่ื การพฒั นา พ.ศ. 2563 – 2570 2.1.2.15 การจดั อนั ดบั (Ranking) มหาวทิ ยาลยั 2-37 2.2 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) 2-40 บทที่ 3 นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 – 2580 มทร.ธญั บรุ ี 3.1 RMUTT Strategies Innovation Platform 3-2 3.2 แนวทางการขับเคล่ือน RMUTT Strategies Innovation Platform 3-8 3.3 ปรชั ญา (Philosophy) 3-34 3.4 ปณิธาน (Determination) 3-34 3.5 วสิ ัยทัศน (Vision) 3-34 3.6 เอกลักษณ (Uniqueness) 3-34 3.7 อตั ลักษณ (Identity) 3-34 3.8 พันธกิจ (Mission) 3-34 3.9 คานิยมหลัก (Core Value) 3-35 3.10 วฒั นธรรมองค์กร (Corporate Culture) 3-35 3.11 ความเชื่อมโยงระหว่างประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ ผลสมั ฤทธิท์ ีส่ าคัญ 3-36 กลยุทธ์และโครงการหลกั บทที่ 4 แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร.ธญั บรุ ี 4-1

สารบญั (ค) หนา้ บทท่ี 5 การขบั เคลือ่ นนโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร.ธญั บรุ ี 5-1 การสื่อสารและถ่ายทอดนโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 5-2 และแผนปฏิบตั ิราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธัญบรุ ี ส่ปู ระชาคมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 5-2 การเชอ่ื มโยงจากยุทธศาสตร์ส่กู ารจัดทาโครงการและงบประมาณ 5-3 5-3 การติดตามและประเมนิ ผล 5-4 5-4 การทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏบิ ัติ 5-6 ราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี ภาคผนวก 1. คาส่ังแต่งต้ังคณะกรรมการอานวยการ/คณะกรรมการดาเนินการจดั ทา 1 นโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 และแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี พ.ศ. 2563 มทร.ธญั บุรี 2. ภาพกจิ กรรมการประชมุ ทบทวนยุทธศาสตรเ์ พอ่ื สนบั สนนุ นโยบาย 4 RMUTT INNOVATIVE UNIVERSITY พลังขบั เคล่อื นประเทศไทย 4.0 วันที่ 15 – 17 กนั ยายน 2561 ณ โรงแรมแคนทารีกบินทร์บุรี จงั หวดั ปราจีนบุรี 3. ภาพกจิ กรรมการประชุมทบทวนยุทธศาสตร์ Value Chan Innovation 6 วันท่ี 19 - 21 มกราคม 2562 ณ ชชู ยั บรุ ี ศรอี มั พวา จังหวัดสมุทรสงคราม 4. ภาพกจิ กรรมการจดั ทา (รา่ ง) Innovation Strategy & Strategy 7 Innovative สู่ Innovative University วันท่ี 26-27 เมษายน 2562 ณ ธาราบางคล้า รสี อรท์ จังหวดั ฉะเชงิ เทรา 5. ภาพกจิ กรรมโครงการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการ \"Driving Forward to 8 RMUTT Innovative University\" วันท่ี 9-10, 21-22 และ 30-31 พฤษภาคม 2562 ณ รอยัลฮลิ ส์ กอลฟ์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จงั หวัดนครนายก 6. ภาพกิจกรรมสัมมนาเพอ่ื พฒั นางานด้านนโยบายและแผนรองรบั 10 การขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์ระยะยาวของมหาวทิ ยาลัย วันที่ 15 – 17 พฤษภาคม 2562 ณ โรงแรม บางแสน เฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี 7. ภาพกจิ กรรมโครงการเชิงปฏิบตั ิการ RMUTT Count : Innovation Walk 12 towards Innovative University วันที่ 27 - 28 กันยายน 2562 ณ ธาราบางคลา้ จ.ฉะเชิงเทรา 8. ภาพกจิ กรรมรบั ฟังความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ 14 (ร่าง) นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มทร.ธญั บรุ ี จากคณะ/วทิ ยาลัย/หนว่ ยงานสนับสนุน ของมหาวิทยาลยั วันที่ 6-15 พฤศจิกายน 2562

สารบญั ภาพ (ก) แผนภาพที่ 1-1 โครงสรา้ งมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี หนา้ แผนภาพท่ี 1-2 Towards RMUTT Innovative University แผนภาพท่ี 1-3 Innovation is Making Creativity into Value Reality 1-3 แผนภาพที่ 1-4 Innovating U_to 5th Dimension 1-4 แผนภาพที่ 1-5 5I’S & 3C’5 : Mindset designed as Non-Linear System 1-4 for Innovative 1-5 แผนภาพที่ 1-6 Mental Transformation (before Digital) 1-5 แผนภาพที่ 1-7 3C (Categories/Custer, Collaboration/Connectivity, Co-Creation) 1-6 แผนภาพท่ี 1-8 Inspirational 1-7 แผนภาพท่ี 1-9 7S’s Sub-System : การขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ถกู วางกลไก ผา่ นระบบยอ่ ยโดยเนน้ การเช่อื มโยงเร่ือง คน องคก์ ร นวัตกรรม 1-8 แผนภาพท่ี 1-10 ใหส้ ามารถสรา้ งและนาสง่ คุณคา่ ได้อยา่ งครบวงจร 1-8 VCM (Value Creation Map) Innovating thru strategic แผนภาพที่ 1-11 questions of what ??? (aligning with you Innovation 1-9 Strategy) แผนภาพที่ 1-12 Sustainable Social Economic & Environmental 1-9 Development แผนภาพที่ 2-1 World Dynamicism in 9 Policy Space Domains 1-10 “STEEPELCA” แผนภาพที่ 2-2 เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืน (Sustainable Development 2-4 แผนภาพที่ 2-3 Goals-SDGs) แผนภาพที่ 2-4 บทบาทของอดุ มศึกษาที่ตอบวสิ ยั ทศั นช์ าติ 2-8 แผนภาพที่ 2-5 การยกขีดความสามารถในกลมุ่ เปา้ หมาย 2-10 แผนภาพที่ 2-6 กลมุ่ เทคโนโลยีและอตุ สาหกรรมเป้าหมาย 2-10 แผนภาพที่ 3-1 ยุทธศาสตร์ อววน. เพื่อการพัฒนา 2-33 แผนภาพที่ 3-2 BCG Economy Model 2-33 แผนภาพท่ี 3-3 นวตั กร 3-9 แผนภาพที่ 3-4 วจิ ยั เพ่อื สร้างนวตั กรรม 3-12 แผนภาพท่ี 3-5 บรกิ ารวชิ าการด้วยนวัตกรรม 3-13 แผนภาพที่ 3-6 RMUTT Ecosystem 3-15 แผนภาพที่ 3-7 Area Based 3-16 แผนภาพที่ 3-8 Domestic 3-16 International 3-17 Value Chain นวตั กร 3-23

สารบัญภาพ (ข) แผนภาพท่ี 3-9 Value Chain วจิ ัยเพือ่ สร้างนวตั กรรม หน้า แผนภาพที่ 3-10 Value Chain บริการวิชาการด้วยนวัตกรรม แผนภาพที่ 3-11 RMUTT Flagship Strategic 3-23 แผนภาพท่ี 3-12 3C Connectum – การผลิตนวัตกร 3-24 แผนภาพท่ี 3-13 3C Connectum – วจิ ยั เพ่อื สรา้ งนวตั กรรม 3-25 แผนภาพท่ี 3-14 3C Connectum – บริการวิชาการด้วยนวัตกรรม 3-27 แผนภาพท่ี 3-15 Output/End Value Delivery Chanels – การผลติ นวตั กร 3-28 แผนภาพที่ 3-16 Output/End Value Delivery Chanels – วจิ ัยเพ่ือสร้างนวตั กรรม 3-29 แผนภาพท่ี 3-17 Output/End Value Delivery Chanels – 3-31 บริการวชิ าการดว้ ยนวตั กรรม 3-32 แผนภาพท่ี 3-18 ปรัชญา ปณิธาน วสิ ยั ทศั น์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 3-32 แผนภาพท่ี 3-19 คา่ นยิ มองค์กร (Core Value) แผนภาพท่ี 3-20 วฒั นธรรมองคก์ ร Organization Working Culture 3-34 แผนภาพท่ี 3-21 ความเชื่อมโยงระหวา่ งประเด็นยุทธศาสตร์ เปา้ ประสงค์ 3-35 ผลสัมฤทธท์ิ ส่ี าคญั กลยทุ ธ์ และโครงการหลัก 3-35 แผนภาพท่ี 5-1 การเชอื่ มโยงการนายุทธศาสตร์ไปสู่การปฏบิ ัติ 3-36 แผนภาพท่ี 5-2 การส่ือสารและถ่ายทอดนโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ.2563-2580 และแผนปฏิบตั ิราชการ 3 ปี พ.ศ.2563-2565 มหาวทิ ยาลัย 5-1 แผนภาพท่ี 5-3 เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 5-3 แผนภาพที่ 5-4 RMUTT Strategic design & Implement Strategy การติดตามและประเมนิ ผล 5-5 5-5



  บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ก ก 1. ความเปน็ มาการจดั ทํานโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี สืบเน่ืองจากประเด็นท้าทายต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน อาทิเช่น มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2562 ได้กําหนดให้หน่วยงานของรัฐดําเนินการสนับสนุน พัฒนาและบูรณาการข้อมูล ที่เกี่ยวข้องสําหรับการจัดทําตัวชี้วัดของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อประโยชน์ในการ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงให้หน่วยงานของรัฐปรับปรุงแผนระดับ 3 ในความรับผิดชอบตามนัยมติ คณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทภายใต้ ยทุ ธศาสตรช์ าติ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองทีด่ ี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 นโยบายต่างๆ ตามแนวทางการพัฒนาประเทศ สํานกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และ สังคมแห่งชาติ บริบทมหาวิทยาลัยในกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประกอบกับยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 20 ปี พ.ศ. 2560 - 2579 ไดใ้ ชด้ าํ เนินการมาระยะหน่งึ จึงเป็นเหตุผลและความจําเป็นของมหาวิทยาลัย ต้องทบทวนภารกิจใหม่ โดยจัดทํานโยบาย และยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีให้สนองตอบต่อ ยุทธศาสตร์ชาติและเป้าหมายของแผนพัฒนาฉบับต่าง ๆ ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ภารกจิ ของมหาวทิ ยาลัย 2. การดาํ เนินงานจัดทํานโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี มหาวิทยาลัยจึงได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยได้ นําข้อเสนอแนะ ของคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ของ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สภามหาวิทยาลัย และแนวทางการพัฒนามหาวิทยาลัย เป็นปัจจัยนําเข้า เช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษา แห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนา พ.ศ.2563-2570 (4 Platforms) รวมท้ังผลการดําเนินงานของยุทธศาสตร์และแผนการพัฒนา มทร.ธัญบุรี พ.ศ. 2561 - 2562 มาประกอบการทํา SWOT Analysis เพอื่ นํามาสกู่ ารทบทวนภารกจิ และจัดทาํ RMUTT Strategies Innovation Platform โดยในกระบวนการยกร่าง ได้เปิดโอกาสให้ ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับหน่วยงาน บุคลากรสายวิชาการ มีส่วนร่วมในการสัมมนา เชงิ ปฏิบัติการ “Driving Forward to RMUTT Innovative University” ในชว่ งเดอื น พฤษภาคม 2562

  โดยดําเนินการรวมจํานวน 3 รุ่น ร่าง RMUTT Strategies Innovation Platform ได้นําเสนอต่อ คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562 และสภามหาวิทยาลัยในโครงการเชิงปฏิบัติการ RMUTT Count : Innovation Walk towards Innovative University เมื่อวันที่ 27 – 28 กนั ยายน 2562 เพ่ือให้เกิดการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติให้เกิดรูปธรรมมากขึ้น คณะกรรมการได้นํา ข้อเสนอแนะจากที่ประชุมต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น มาเรียบเรียง และประสานข้อมูล จัดทํา – ร่าง 1 - นโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี เสนอตอ่ ที่ประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เม่ือวันท่ี 21 ตุลาคม 2562ท่ีประชุมสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 ตลุ าคม 2562 คณะกรรมการตรวจสอบของสภามหาวิทยาลัย เม่อื วันที่ 4- 5 พฤศจิกายน 2562 เพื่อ รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ และได้ดําเนินการจัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นจาก หน่วยงานในสังกัด เมื่อวันที่ 6-15 พฤศจิกายน 2562 รวมทั้งได้จัดทําแบบประชาพิจารณ์เพื่อรับฟัง ความคิดเห็นจากบุคลากรในสังกัด และได้นําข้อเสนอแนะจากเวทีต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นมาปรับปรุง จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์ พ.ศ.2563-2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ.2563-2565 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 3. สาระสําคญั ของกรอบนโยบายและยุทธศาสตรก์ ารทบทวนภารกิจ สาระสําคัญของการทบทวนภารกิจโดยใช้หลักการหรือแนวคิด Towards RMUTT Innovative University คือ 1. นวัตกรรมคืออะไรในบรบิ ทและองคก์ รของเรา What 2. นวัตกรรมเริม่ ทไ่ี หน Where 3. นวตั กรรมเรมิ่ และจบอยา่ งไร How 4. Innovation Walk The Why? Seeding & Natural Growth 5. Innovation Fly Exponential Growth by Technology “นวัตกรรม: Innovation” หมายถึง ผลิตภัณฑ์ สิ่งประดิษฐ์ บริการ กรรมวิธีที่เกี่ยวกับการ ผลิต การจดั โครงสร้างองค์กร ระบบบริหารจัดการ การบรหิ ารการเงิน ธุรกิจ การตลาด หรือในการ อ่ืนใด ทั้งน้ี ซึ่งเป็นส่ิงใหม่หรือพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างมีนัยสําคัญและนําไปใช้ประโยชน์ได้ในวง กว้างทั้งในเชิงพาณิชย์และสาธารณะ ในบริบทการทํางานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เน้นการก่อเกิดความคิดสร้างสรรค์แล้วลงมือทําให้เกิดคุณค่าท่ีจับต้องได้ มีคุณูปการสูง (Value Impact) และวัดผลได้อย่างแท้จริง Making Creativity into Value Reality การสร้างนวัตกรรมใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เริ่มจากสร้าง Mindset ให้บุคลากร นักศึกษา ของ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี เปน็ ผู้ทส่ี ามารถสรา้ งความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity) ผ่าน การพัฒนา ปลูกฝังทักษะ 5Is และยุทธศาสตร์นวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) โดยกระบวนการความรว่ มมือกับโลกเปิดในรปู แบบ 3C’s ข

  4. สาระสาํ คญั ของนโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และ แผนปฏบิ ัตริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากกรอบยุทธศาสตร์การทบทวนภารกิจ ได้ถูกนํามาวิเคราะห์ และจัดทํานโยบายและ ยุทธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และแผนปฏิบัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ดว้ ยหลักการประกอบดว้ ย ประเด็นยุทธศาสตร์ท้ัง 4 ประเด็น ได้กําหนดเป้าประสงค์ ผลสัมฤทธ์ิท่ีสําคัญ กลยุทธ์ และโครงการหลักเป็นกรอบกว้าง ๆ สําหรับการบูรณาการกรอบอํานาจหน้าท่ีของมหาวิทยาลัย - การผลติ บัณฑติ สู่นวตั กรและผปู้ ระกอบการสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ - การพฒั นางานวจิ ัย และนวตั กรรม ทสี่ ง่ ผลกระทบเชิงบวกตอ่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม เพอื่ ยกระดับขดี ความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ - การสร้างความเขม้ แขง็ ของเศรษฐกจิ สังคมทอ้ งถ่นิ และเพ่มิ คุณคา่ ทางดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นดว้ ยนวตั วิถี - การใช้นวัตกรรมในการบริหารจดั การทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ และปรับตวั ไดเ้ ร็วต่อการเปล่ียนแปลงเพื่อความยั่งยนื จาก 4 เป้าหมายการพัฒนา ดังกล่าวข้างต้น จะเป็นการส่งมอบมูลค่า และคุณค่า สสู่ งั คม เพอื่ นาํ พาประเทศชาตใิ ห้เกดิ ความม่ันคง มัง่ ค่ัง และย่ังยนื ตามเปา้ หมายต่อไป ค





หลักการ แนวคิดในการทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์ 1.1 จุดมงุ่ หมายของการกอ่ ต้ังมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเป็นสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาท่ีให้บริการ การศึกษา และผลิตทรัพยากรมนุษย์ท่ีมีคุณค่าให้กับสังคมไทยเป็นระยะเวลายาวนาน นับย้อนจาก การสถาปนาในนาม “วิทยาลยั เทคโนโลยีและอาชีวศกึ ษา” 27 กมุ ภาพันธ์ 2518 15 กันยายน 2531 18 มกราคม 2548 \"วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละอาชวี ศึกษา\" \"สถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล\" \"มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บรุ \"ี วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2518 เป็นวันที่ บรหิ ารจดั การภายใต้การก่ากับดูแลของสภาสถานศึกษา พระราชบัญญัติ“วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีว ดังนั้น สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล จึงได้ ศึกษา” ได้ถูกประกาศในราชกิจจานุเบกษาและ ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับเดิมและยก มีผลบังคับใช้เพ่ือผลิตครอู าชวี ศึกษาระดับปริญญา ร่างเป็นพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช ตรี ให้การศึกษาทางด้านอาชีพทั้งระดับต่ากว่า มงคล โดยมีการรวมกลุ่มวิทยาเขตจัดต้ังเป็น ปริญญาตรี ระดับปริญญาตรี และประกาศนียบัตร ชั้นสูง ท่าการวิจัยส่งเสริมการศึกษาทางด้าน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล จา่ นวน 9 แห่ง วชิ าชพี และใหบ้ รกิ ารทางวิชาการแก่สงั คม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ท้ัง 9 แห่ง วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษาได้ อยู่ภายใต้การก่ากับดูแลของส่านักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการพระบาท พัฒนา ระบบการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้ทรงลง การศึกษาท่ีมีคุณภาพ และศักยภาพมีความ พระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย พร้อมในหลาย ๆ ด้าน ในวันท่ี 15 กันยายน 2531 เทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ.2548 และประกาศใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายต้ังแต่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานช่ือใหม่ว่า วันท่ี 19 มกราคม พ.ศ.2548 ให้มหาวิทยาลัยเป็น “สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล” สืบเน่ืองจากแนว “สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี ทางการปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการให้การศึกษา ส่งเสริม การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ที่มุ่งเน้นการ วิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่เน้นการปฏิบัติ กระจายอ่านาจ การบริหารจัดการสู่สถานศึกษา ทาการสอน ทาการวิจัย ผลิตครูวิชาชีพ ให้บริการทางวิชาการในด้านวิทยาศาสตร์และ ระดับอุดมศึกษา เพ่ือให้สถานศึกษาของรัฐ เทคโนโลยีแก่สังคม ทานุบารุงศิลปะและ ดา่ เนนิ การโดยอิสระ และมีความคล่องตัวในการ วฒั นธรรม และอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อม” 1-1

ในปี พ.ศ. 2562 มีการเปล่ียนแปลงการบริหารของส่านกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีการยุบรวมหน่วยงาน 4 หน่วยงานเข้าด้วยกัน ได้แก่ ส่านักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ส่านักงาน คณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และส่านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เปน็ “กระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (MHSRI)” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2562 ซึ่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีแนวนโยบายขับเคล่ือน เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้เป็นนวัตกร ซ่ึงจะมีการบูรณาการระหว่างการเรียนการสอน และการ สร้างสรรคน์ วัตกรรม เพอื่ ตอบโจทย์ยุทธศาสตรช์ าติและนโยบายของประเทศ Thailand 4.0 1.2 การแบ่งสว่ นราชการของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี สานักสภามหาวิทยาลัย เป็นหน่วยงานที่ท่าหน้าที่ในการบริหารจัดการงานประชุมสภามหาวิทยาลัย ประสานงานกับมหาวิทยาลัยในการน่านโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ มติที่ประชุม ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะ ของสภามหาวิทยาลัยสู่การปฏิบัติ พร้อมท้ังติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมนิ ผลการดา่ เนินงานตามมติท่ปี ระชุมสภามหาวิทยาลัย สานักงานอธกิ ารบดี ท่าหน้าท่ีเป็นหน่วยประสาน ส่งเสริม และสนับสนุนการปฏิบัติงานให้แก่ คณะ วทิ ยาลัย สถาบนั ส่านัก ประกอบดว้ ย หน่วยงานระดับกอง คือ กองกลาง กลองคลงั กองนโยบาย และแผน กองบริหารงานบุคคล กองพัฒนานักศึกษา กองประชาสัมพันธ์* ส่านักจดั การทรัพย์สิน* กองอาคารสถานที่* กองยุทธศาสตร์ต่างประเทศ* และกองกฎหมาย* หมายเหตุ : * เป็นหน่วยงานท่ตี ้ังเป็นการภายในของมหาวทิ ยาลัยฯ คณะ / วทิ ยาลัย ปจั จบุ ันมี 11 คณะ 1 วทิ ยาลัย คือ 1. คณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม 2. คณะเทคโนโลยีการเกษตร 3. คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ 4. คณะเทคโนโลยสี ือ่ สารมวลชน 5. คณะบรหิ ารธรุ กจิ 6. คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 7. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 8. คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ 9. คณะศิลปศาสตร์ 10. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์* 11. วทิ ยาลัยการแพทยแ์ ผนไทย* 12. คณะพยาบาลศาสตร*์ * หมายเหตุ * เปน็ ส่วนราชการที่ตั้งเป็นการภายในของมหาวิทยาลัยฯ ** เปน็ ส่วนราชการท่ีต้งั เป็นการภายใน โดยงบประมาณเงินรายได้ 1-2

สถาบัน / สานัก เป็นหน่วยงานท่ีให้บริการเก่ียวกับการด่าเนินการด้านวิชาการ ศึกษาวิจัย ค้นคว้า ทดลอง และฝึกอบรม 6 หนว่ ยงาน ดังนี้ 1. สถาบนั วิจยั และพัฒนา 2. ส่านกั ส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน 3. ส่านกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 4. สา่ นกั สหกจิ ศกึ ษา* 5. สา่ นกั ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา* 6. สา่ นกั บัณฑิตศึกษา หมายเหตุ : * เปน็ หน่วยงานทีต่ งั้ เปน็ การภายในของมหาวิทยาลัยฯ แผนภาพท่ี 1-1 โครงสร้างมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี หมายเหตุ : - * เป็นหน่วยงานภายในที่ตัง้ เป็นการภายในของมหาวิทยาลัยฯ - ** เป็นส่วนราชการท่ีตัง้ เปน็ การภายในของมหาวิทยาลัยฯ - *** เป็นส่วนราชการทีต่ งั้ เปน็ การภายในโดยใชง้ บประมาณเงินรายได้ - โรงเรยี นสาธิตนวัตกรรมมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี เป็นหน่วยงานภายใน มทร.ธัญบรุ ี โดยมีฐานะเทียบเท่าภาควชิ า และอยภู่ ายใต้การก่ากบั ของคณะครศุ าสตรอ์ ุตสาหกรรม - โรงเรยี นสาธิตอนบุ าลราชมงคลธัญบรุ ี เป็นหนว่ ยงานภายใน มทร.ธญั บรุ ี และอยู่ภายใต้การกา่ กบั ของคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 1-3

1.3 หลกั การ แนวคดิ ในการทบทวนนโยบายและยทุ ธศาสตร์ RMUTT Transforming Mind Re-designing Innovativeness แนวคดิ โดย รศ.ดร.สมเจตน์ ทณิ พงษ์ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคุณวฒุ ิ และประธานคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผล แผนยทุ ธศาสตร์ ของมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี Towards RMUTT Innovative University แผนภาพท่ี 1-2 Towards RMUTT Innovative University การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีไปสู่ RMUTT Innovative University ควรมีหลักการหรือแนวคิด คือ 1. นวัตกรรมคืออะไรในบริบทและองค์กรของเรา What 2. นวัตกรรมเร่ิมท่ีไหน Where 3. นวัตกรรมเริ่มและจบอย่างไร How 4. Innovation Walk The Why? Seeding & Natural Growth 5. Innovation Fly Exponential Growth by Technology  นวตั กรรม (Innovation) คอื อะไร  What แผนภาพท่ี 1-3 Innovation is Making Creativity into Value Reality “นวัตกรรม: Innovation” ในบริบทการท่างานของ มทร.ธัญบุรี เน้นการก่อเกิดความคิด สรา้ งสรรคแ์ ลว้ ลงมอื ท่าใหเ้ กิดคณุ คา่ ที่จบั ต้องได้ มคี ณุ ูปการสูง (Value Impact) และวัดผลได้อย่าง แท้จรงิ Making Creativity into Value Reality การสร้างนวตั กรรมในมทร.ธัญบรุ ี เร่ิมจากสรา้ ง Mindset ให้บุคลากร นักศึกษา ของ มทร.ธัญบุรี เป็นผู้ที่สามารถสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) ผ่านการพัฒนา ปลูกฝังทักษะ 5Is และยุทธศาสตร์นวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) โดยกระบวนการความรว่ มมือกับโลกเปดิ ในรปู แบบ 3Cs 1-4

 นวัตกรรม (Innovation) เร่ิมที่ไหน  Hand-On แผนภาพที่ 1-4 Innovating U_to 5th Dimension  นวตั กรรม (Innovation) เร่ิมอย่างไร  How แผนภาพที่ 1-5 5I’S & 3C’5 : Mindset designed as Non-Linear System for Innovative 1-5 1-5

แผนภาพท่ี 1-6 Mental Transformation (before Digital) 1-6

แนวทางการทางาน ร่วมกับสังคม เราอยู่ในจักรวาลเปิด แผนภาพที่ 1-7 3C (Categories/Custer, Collaboration/Connectivity, Co-Creation) 1-7

 Innovation Walk The Why Seeding & Natural Growth แผนภาพท่ี 1-8 Inspirational  Innovation Fly Exponential Growth by Technology แผนภาพท่ี 1-9 7S’s Sub-System : การขับเคล่อื นยุทธศาสตรถ์ กู วางกลไกผ่านระบบย่อย โดยเนน้ การเช่ือมโยงเรื่อง คน องคก์ ร นวตั กรรม ให้สามารถสรา้ งและนา่ ส่งคณุ ค่าได้อย่างครบวงจร 1-8

การก่าหนดแนวทางให้ประเมินคุณค่าโครงการโดยสร้าง Value Creation Map ให้เป็น เครื่องมอื  มลู คา่ (Worth) และคุณคา่ (Value) ทางสงั คมต้องวัดได้  ก่าหนดให้มีการประเมินคุณค่าของโครงการที่เสนอของบประมาณท้ังก่อนและ หลังการด่าเนินงาน (Pre-Post Value Evaluation) โดยใช้ Value Creation Map ตามองค์ประกอบดังตาราง 12 ชอ่ ง แผนภาพท่ี 1-10 VCM (Value Creation Map) Innovating thru strategic questions of what ??? (aligning with you Innovation Strategy) แผนภาพที่ 1-11 Sustainable Social Economic & Environmental Development 1-9

แผนภาพท่ี 1-12 World Dynamicism in 9 Policy Space Domains “STEEPELCA” การยกระดับ มทร.ธัญบุรีในด้าน Geospatial & Innovation Domain ภายใต้ปัจจัย ท้าทายและสภาวะการเปล่ียนแปลงใน 9 มิติ (STEEPELCA) ท่ีส่งผลกระทบเชิงคุณค่าสูงต่อ มทร.ธัญบุรีและประเทศ โดยยุทธศาสตร์ท่ีออกแบบและน่าไปสู่การขับเคล่ือนบนยุทธศาสตร์ เชิงนวัตกรรม (Innovation Strategy) และนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Innovation) เน้นการส่งผลในทิศทางเดียวกันกับ UN SDGs ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนอุดมศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ. 2561 - 2580 ยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพ่ือการพัฒนา พ.ศ. 2563 – 2570 1-10

1-11 1-11 1.4 กระบวนการทบทวนและจดั ทานโยบายและยทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี แผนงานและขั้นตอนกระบวนการจดั ท่า นโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 – 2580 และแผนปฏบิ ัติราชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี

รบั ฟังความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะ (รา่ ง) นโยบายและยทุ ธศาสตร์ พ.ศ. 2563 - 2580 และ แผนปฏิบตั ริ าชการ 3 ปี พ.ศ. 2563 - 2565 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 1-12





สภาวการณ์และบริบททส่ี ง่ ผลต่อการพฒั นา มทร.ธญั บุรี 2.1 สถานการณแ์ ละแนวโนม้ ภายนอก นโยบายและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ.2563-2580 และ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี พ.ศ.2563-2565 ได้มีการพิจารณาถึงบริบทที่ เปล่ียนแปลงไปในสังคมไทย ภูมิภาค อาเซียน และสังคมโลก ที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาคน โดยการ เปล่ียนแปลงท่ีสาคัญและส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการศึกษา ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลธัญบรุ ี ประกอบด้วย 2.1.1. บรบิ ทภายนอกประเทศ 2.1.1.1 สถานการณ์และแนวโนม้ เศรษฐกจิ โลก 1. การขยายตัวของเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วทาให้มีการพัฒนา โลก เศรษฐกิจโลกประสบปญั หาวิกฤตเศรษฐกิจ เครื่องมือทางการเงินใหม่ ๆ เช่น Application การเงินท่ีเริ่มต้นในสหรัฐอเมริกา ทาให้เศรษฐกิจมี ทางการเงิน Crowd Funding และ Financial การขยายตัวได้ช้า และเผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ Platform เป็นต้น ประกอบกับการเปิดเสรีภาค ในยุโรป สาหรับในระยะ 5 ปีข้างหน้า เศรษฐกิจ การเงินในอาเซียน ทาให้เกิดการแข่งขันท่ี โลกยังมีแนวโน้มขยายตัวช้า และมีความเสี่ยง รุนแรงขึน้ ในทกุ ภมู ิภาคของโลก จากความผนั ผวนในระบบเศรษฐกจิ และการเงิน โลกในเกณฑ์สงู 4. การเปิดเสรีมากข้ึนของอาเซียน ภายหลังปี 2558 ซึ่งเป็นโอกาสสาคัญหลาย 2. รูปแบบการค้ามีแนวโน้ม ประการ อาทิ การเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต เปล่ียนแปลงไปสกู่ ารค้าเสรีเฉพาะกลมุ่ มากข้ึน ทุน แรงงานอย่างเสรี การลดขอ้ จากัดในด้านอุป และมีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจท่ีหลากหลาย สงค์ในประเทศซึ่งทาให้ภาคการผลิตสามารถ ขน้ึ โดยเฉพาะการแข่งขันในภาคการบรกิ ารและ ขยายตลาดและพัฒนาตนเองให้มีความเข้มแข็ง การท่องเท่ียวท่ัวโลก มีความรุ่งแรงมากย่ิงขึ้น มากขึ้น รวมท้ังการใช้ความได้เปรียบด้านสถาน ภายใต้สภาพแวดล้อมการเดินทางท่ีเปลี่ยนแปลง ที่ต้ังและด้านโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ ไปอย่างรวดเร็ว ท้ังการเคลื่อนย้ายผู้คนได้อย่าง ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจให้เป็นศูนย์กลาง เสรีภายใต้กรอบข้อตกลงต่าง ๆ การเดินทางท่ี ทางด้านการค้า การลงทุน การเงิน การบริการ สะดวกและมีทางเลือกมากขน้ึ และการผลิตภาคอุตสาหกรรมทั้งในภาคสินค้า และบรกิ าร 3. ตลาดเงินโลกไร้พรมแดน เป็น ผลมาจากเทคโนโลยีและนวตั กรรมทางการเงนิ มี 2-1

2.1.1.2 การเข้าส่สู งั คมสงู วยั ของโลกสง่ ผลตอ่ เศรษฐกิจและรปู แบบ 2 - 1 การดาเนนิ ชีวติ องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์โครงสร้างประชากรโลกว่า ในช่วงปี 2544-2643 จะเป็นศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ โดยกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาจะมีระยะเวลา เปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรค่อนข้างสั้นกว่ากลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ ระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศท่ีมีสภาวการณ์ “วิกฤตสังคมสูงวัย” มีปัญหาขาดแคลน แรงงานในประเทศ และการเคลื่อนย้ายแรงงานต่างด้าวมากขึ้น รวมท้ังส่งผลต่อความต้องการสินค้า และบรกิ ารสาหรับผ้สู งู อายุมากขึ้น 2.1.1.3 การวิจยั และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง ก้าวกระโดด ในอนาคตองค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สั่งสมมาอย่างต่อเน่ือง ประกอบกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานแขนงใหม่ เช่น วิทยาการรับรู้ (Cognitive Science) ซ่ึงเป็นการทางานระหว่างสมองและจิตใจ ความสัมพันธ์ระหว่างความคิด อารมณ์ และการกระทา มีความสาคัญต่อการสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ท่ีจะส่งผลให้เกิดการ ผลิกโฉมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการดารงชีวิตของมนุษย์แบบก้าวกระโดด (Disruptive Technology) โดยมีแนวโน้มว่าเทคโนโลยีพ้ืนฐานใน 4 ด้าน ได้แก่ เทคโนโลยีชีวภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุศาสตร์ พลงั งาน และสิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยสี ารสนเทศ การส่อื สาร และดจิ ทิ ลั ประเทศไทยจาเปน็ ต้องเร่งสรา้ งสมรรถนะทางเทคโนโลยีช้ันสงู ใน 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มอาหารเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ กลุ่มเคร่ืองมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม กลุ่มดิจิทัล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆ ปัญญาประดิษฐ์และ เทคโนโลยีสมองกลฝงั ตัว กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการท่ีมีมูลค่าสูง โดยกลุ่ม เทคโนโลยที ี่ไทยมีศักยภาพพัฒนาได้เอง ได้แก่ การเกษตร การแพทย์ และสิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม สร้างสรรค์และวัฒนธรรม จะต้องพัฒนาตอ่ ยอดให้เกิดมูลค่าเพ่ิมและเป็นฐานเศรษฐกิจใหม่ในระยะ ต่อไป สาหรับกลุ่มเทคโนโลยีอ่ืนๆ ที่ประเทศไทยยังขาดศักยภาพในการพัฒนา อาจใช้รูปแบบการ พัฒนาในลักษณะวิศวกรรมย้อนกลับ (Reverse Engineering) เพ่ือให้สามารถเร่งพัฒนาเทคโนโลยี ให้ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมท้ังต้องเตรียมพัฒนาคนท้ังในระยะส้ันและในระยะยาว โดยใน ระยะส้ันต้องดึงดูดนักวิจัยจากต่างประเทศ และในระยะยาวพัฒนาคนและบุคลากรวิจัยโดยเฉพาะ วทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐานในลกั ษณะสหสาขาเพอื่ สงั่ สมองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยสี าหรบั การ พัฒนาเศรษฐกิจ และยกระดบั คุณภาพชีวิตของประชาชนในระยะยาว 2-2

2.1.1.4 การเล่ือนไหลของกระแสวัฒนธรรมโลกทผี่ สมผสานกบั วฒั นธรรม ท้องถ่ินสง่ ผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงวิถชี ีวติ และรูปแบบการบรโิ ภค พลวัตความเปล่ียนแปลงของวัฒนธรรมไทยท่ีได้รับอิทธิพลจากกระแส วัฒนธรรมโลกมีสาเหตุจากโลกาภิวัตน์ เกิดการผสมผสานกันระหว่างวัฒนธรรม ส่งผลให้มีการ เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ทัศนคติ ความเช่ือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การเรียนรู้และการบริโภคใน รูปแบบตา่ งๆ อาทิ การใชส้ ่ือออนไลนใ์ นการจับจา่ ยใชส้ อยและการทาธุรกรรมตา่ งๆ การแลกเปล่ียน เรียนรู้ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยไม่จาเป็นต้องรู้จักตัวตนซ่ึงกัน และกัน การบริโภคส่ือหลายช่องทางในช่วงเวลาเดียวกันส่งผลให้คนไทยเข้าถึงข้อมูลได้อย่างไร้ ขีดจากัด เกิดการสร้างวัฒนธรรมร่วมสมัย และมีโอกาสสาหรับการสร้างสรรค์สินค้าและบริการเพื่อ สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับประเทศ ขณะเดยี วกันอาจก่อให้เกิดวิกฤตทางวฒั นธรรม เนอ่ื งจากการขาดการ คัดกรองและเลือกรับวัฒนธรรมท่ีดีงาม จนทาให้คนไทยละเลยอัตลักษณ์ มีพฤติกรรมท่ีเน้นบริโภค นิยมและค่านิยมท่ีฟุ้งเฟ้อ ใช้ชีวิตแบบเร่งรีบไม่เคารพในสิทธิของคนอื่น ขาดความเอ้ือเฟ้ือเกื้อกูล ซึ่งนาไปสูก่ ารสญู เสียคุณค่าทางวัฒนธรรมดง้ั เดมิ และพฤติกรรมท่ีไม่พงึ ประสงค์ในสงั คมไทย 2.1.1.5 การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติมีความผันผวนและรุนแรงมาก ขึ้นส่งผลกระทบและกดดันให้ต้องเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและพฤติกรรมการบริโภค ความตระหนักในระดับนานาชาติ ผลักดันให้ประเทศต่าง ๆ ต้องดาเนินการตามข้อตกลงระหว่าง ประเทศเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ประเทศไทยจึงต้องเร่งเตรียมความพร้อมในการ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และกาหนดกฎระเบียบในเรื่องการจัดการของเสียภาคอุตสาหกรรม ให้มีความชัดเจนและบังคับใช้ให้เกิดผลในด้านการบริโภคก็มีความตื่นตัวและตระหนักถึงความ จาเป็นท่ีจะต้องปรับเปล่ียนพฤติกรรมไปสู่การบริโภคสินค้าเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมกันมากข้ึน และมแี นวโน้มที่จะมีการเปลย่ี นแปลงอยา่ งเปน็ วงกว้างในอนาคต 2.1.1.6 สถานการณ์ความมนั่ คงโลก 1. ประเทศมหาอานาจมีแนวโน้มของการขยายอิทธิพลและการเพิ่มบทบาท ในภูมิภาคตา่ งๆ ของโลก 2. ความขัดแย้งด้านอาณาเขตแบบรัฐต่อรัฐทั้งด้านอาณาเขตทางบก การอ้างสิทธิ ทับซอ้ นทางทะเล และภูมิรัฐศาสตร์ เพอื่ ประโยชน์และการแย่งชิงทรพั ยากร 3. อาชญากรรมข้ามชาติ มีแนวโน้มขยายตัวและควบคุมได้ยาก มีการเช่ือมโยง ในภูมิภาค และพัฒนาการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย โดยมีรูปแบบและ วธิ ีการทีซ่ ับซอ้ นมากข้ึน 4. การก่อการร้ายกาลังส่งผลกระทบต่อสังคมโลก โดยทวีความรุนแรง และมี ความถ่มี ากขนึ้ 2-3

2.1.1.7 เป้าหมายการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื (Sustainable Development Goals- SDGs) แผนภาพท่ี 2 – 1 เป้าหมายการพัฒนาทยี่ ั่งยนื (Sustainable Development Goals-SDGs) ใน การป ระชุ ม สมั ช ช าให ญ่ แ ห่ ง คุณภาพ โดยเชื่อมโยงกับความต้องการของ องค์การสหประชาชาติ เมื่อวันท่ี 27 กันยายน ต ล า ด ง า น จึ ง ต้ อ ง แ ส ว ง ห า ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ 2558 ท่ีประชุมมีมติรับรองเป้าหมายการพัฒนา ภาคเอกชนเพ่ือรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับทักษะ ของโลกชุดใหม่เพื่อดาเนินการต่อเน่ืองจาก การทางานท่ีภาคเอกชนต้องการ รวมถึงกลุ่ม MDGs 2015 โดยใช้ชื่อเป้าหมายการพัฒนาที่ ผู้ใหญ่ท่ีมีปัญหาการอ่านออกเขียนได้และการ ยั่งยืนของโลก(Sustainable Development ขาดทักษะใหม่ ๆ ที่ตลาดต้องการให้กลับเข้ามา Goals : SDGs : 2030) โดยได้มีการกาหนด ศึกษาต่อเพ่ือเสริมสร้างทักษะและสมรรถนะใน เป้าหมายการพัฒนาไว้ 17 เป้าหมาย โดย การประกอบอาชพี อย่างต่อเน่ือง เป้าหมายท่ี 4 เป็นเป้าหมายท่ีเก่ียวข้องกับ การศึกษา ได้กาหนดเป้าหมายไว้ว่า “สร้าง เป้าประสงค์ทีส่ าคัญของ SDGs 2030 หลักประกันว่าทกุ คนได้รบั การศกึ ษาท่ีมีคณุ ภาพ คือ การสร้างหลักประกันทางการศึกษาที่มี อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมและสนับสนุน คุณภาพเสมอภาคและเท่าเทียม สาหรับเด็กทุก โอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวติ ” คนในทุกระดับต้ังแต่ปฐมวัยถึงอุดมศึกษา เพ่ิม จานวนครูท่ีมีคุณภาพ เพ่ิมจานวนเยาวชนและ ใน ส่ ว น ข อ ง ส า ร ะ ส า คั ญ มี ก า ร ผู้ใหญ่ที่มีทักษะท่ีจาเป็นสาหรับการทางานและ เปลี่ยนแปลงจากเดิมที่เน้นการสร้างโอกาสทาง การเป็นผู้ประกอบการ รวมท้ังขจัดความเหลี่อม ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ไป สู่ แ น ว คิ ด ท่ี ใ ห้ ล้าทางการศึกษา โดยคานึงถึงสิทธิมนุษยชน ความสาคัญกับการเข้าถึงเด็กที่ด้อยโอกาสทุก ความเสมอภาคระหว่างเพศ การส่งเสริม กลุ่ม ปัญหาความเท่าเทียมของหญิงและชายใน วัฒนธรรมแห่งความสงบสุข และการเป็น การเข้าถึงการศึกษา และต้องเป็นการศึกษาท่ีมี พลเมอื งของโลก 2-4

เป้าหมายการพัฒนาทย่ี ัง่ ยนื (Sustainable Development Goals-SDGs) ท้ัง 17 ข้อ คือ เปา้ หมายท่ี 1 : ยุติความยากจนทกุ รูปแบบในทุกท่ี เป้าหมายที่ 2 : ยตุ ิความหิวโหย บรรลุความมัน่ คงทางอาหารและยกระดบั โภชนาการ และสง่ เสรมิ เกษตรกรรมทยี่ ่ังยนื เปา้ หมายที่ 3 : สรา้ งหลักประกนั ว่าคนมีชีวิตท่ีมสี ุขภาพดีและสง่ เสริมสวสั ดิภาพ สาหรบั ทุกคนในทุกวยั เปา้ หมายท่ี 4 : สรา้ งหลกั ประกันวา่ ทุกคนมีการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพอย่างครอบคลมุ และ เท่าเทยี ม และสนบั สนนุ โอกาสในการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต เป้าหมายที่ 5 : บรรลคุ วามเสมอภาคระหว่างเพศและให้อานาจของผูห้ ญิงและเด็กหญงิ ทุกคน เป้าหมายที่ 6 : สรา้ งหลักประกันว่าจะมกี ารจดั ใหม้ ีนา้ และสุขอนามยั สาหรบั ทุกคน และมีการบริหารจัดการทีย่ งั่ ยนื เปา้ หมายที่ 7 : สร้างหลกั ประกันวา่ ทุกคนเขา้ ถึงพลงั งานสมยั ใหมใ่ นราคาท่ีสามารถ ซอื้ หาได้ เชือ่ ถอื ได้ และยั่งยืน เป้าหมายท่ี 8 : สง่ เสรมิ การเตบิ โตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุม และย่ังยืน การจ้างงานเต็มท่ีและมีผลติ ภาพ และการมีงานทีส่ มควรสาหรับทุกคน เปา้ หมายท่ี 9 : สร้างโครงสรา้ งพืน้ ฐานท่ที ีความทนทาน สง่ เสรมิ การพัฒนา อุตสาหกรรมท่ีครอบคลุมและยง่ั ยืน และส่งเสรมิ นวตั กรรม เปา้ หมายที่ 10 : ลดความไมเ่ สมอภาคภายในและระหวา่ งประเทศ เป้าหมายที่ 11 : ทาให้เมอื งและการตั้งถิน่ ฐานของมนุษย์มีความครอบคลมุ ปลอดภยั มีภูมติ า้ นทาน และยงั่ ยนื เปา้ หมายท่ี 12 : สร้างหลักประกนั ให้มรี ูปแบบการบริโภคและผลติ ที่ยงั่ ยนื เปา้ หมายที่ 13 : ปฏิบัตกิ ารอยา่ งเร่งด่วนเพ่อื ต่อสกู้ ับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น เป้าหมายท่ี 14 : อนุรกั ษแ์ ละใชป้ ระโยชนจ์ ากมหาสมุทร ทะเลและทรพั ยากรทางทะเล อย่างยง่ั ยนื เพอ่ื การพฒั นาท่ยี ั่งยนื เปา้ หมายท่ี 15 : ปกป้อง ฟื้นฟู และสนบั สนุนการใชร้ ะบบนเิ วศบนบกอย่างย่ังยนื จดั การป่าไม้อยา่ งยัง่ ยนื ต่อสู้การกลายสภาพเปน็ ทะเลทราย หยุดการ เส่อื มโทรมของที่ดนิ และฟ้ืนสภาพกลบั มาใหม่ และหยดุ การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ เป้าหมายท่ี 16 : สง่ เสรมิ สงั คมที่สงบสขุ และครอบคลุมเพ่ือการพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื ให้ทุกคน เขา้ ถึงความยตุ ธิ รรม และสรา้ งสถาบันทม่ี ีประสทิ ธผิ ล รบั ผดิ รับชอบ และครอบคลมุ ในทกุ ระดับ เปา้ หมายท่ี 17 : เสริมความเขม้ แข็งให้แกก่ ลไกการดาเนินงานและฟ้นื ฟูสภาพหุ้นสว่ น ความร่วมมอื ระดับโลกสาหรบั การพัฒนาทยี่ งั่ ยืน 2-5

2.1.2 บรบิ ทภายในประเทศ 2.1.2.1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับท่ี 20 ประกาศใช้เมื่อวันท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย 16 หมวด 279 มาตรา โดยมี ประเด็น สาคญั ทเ่ี ชื่อมโยงกับการศกึ ษาประกอบด้วย หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชน หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ชาวไทย มาตรา 40 บุคคลย่อมมีสิทธิในการ 76 ให้ความ สาคัญระบบการบริหารราชการใน ประกอบอาชีพ โดยเฉพาะในวรรคสองเป็นการ ทุกระดับให้เป็นไปตาม หลักการบริหารกิจการ แยกบทบาทหน้าที่ของสถาบันอุดมศึกษา บ้านเมืองท่ีดี และการใช้งบประมาณ ให้มี ทางดา้ นวชิ าการกบั สภาวชิ าชีพไม่ใหไ้ ปกา้ วก่ายกนั ประสทิ ธภิ าพสูงสุด หมวด 5 หน้าท่ีของรฐั มาตรา 54 ให้รัฐ หมวด 16 การปฏิรูปประเทศ มาตรา จัดการศึกษา ให้เด็กทุกคนเป็นเวลาสิบสองปี 257 ดาเนินการ ปฏิรูปประเทศเพ่ือบรรลุ ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคับ เป้าหมาย 3 ประการ ดงั ต่อไปน้ี โดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย ให้ ป ระช าช น ได้ รับ 1. ประเทศชาติมีความสงบเรียบร้อย มี การศึกษาตามความต้องการ ให้มีการเรียนรู้ ความสามัคคี ปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดชีวิต เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง มีความ โดยรัฐมีหน้าท่ีกากับ ส่งเสริม สนับสนุนให้การ สมดุลระหว่างการพัฒนาด้านวัตถุ กับการ จัดการศึกษามีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล พฒั นาดา้ นจิตใจ ทั้งนี้ ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ 2. สังคมมีความสงบสุข เป็นธรรม และมี อย่างน้อยต้องมีบทบัญญัติเก่ียวกับการจัดทา โอกาส อันทัดเทียมกันเพื่อขจัดความเหลื่อมล้า แผนการศึกษาแหง่ ชาติ และการดาเนนิ การ และ 3. ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิต ตรวจสอบ ให้เป็นไปตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ท่ีดี และมีส่วน ร่วมในการพัฒนาประเทศและ การศึกษาต้องพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี การปกครอง ในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี มีวินัย ภูมิใจในชาติ เชี่ยวชาญตามความถนัด พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ของตน รับผิดชอบ ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และมาตรา 258 ให้ดาเนินการปฏิรูป และประเทศชาติ รัฐต้องจัดตง้ั กองทุนเพ่ือใช้ใน ประเทศ ในด้านต่าง ๆ 11 ด้าน โดยด้าน การช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพ่ือลด การศึกษาถูกกาหนดจะต้อง ดาเนินการให้สอด ความเหล่อื มล้าในการศกึ ษา รับกับมาตรา 54 ประกอบดว้ ย เส ริ ม ส ร้ า งแ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ แ ล ะ 1. ให้เด็กเล็กได้รับการดูแลและพัฒนา ประสิทธิภาพครู โดยจัดสรรงบประมาณให้แก่ ก่อนเข้ารับ การศึกษา เพื่อให้เด็กเล็กได้รับการ กองทุน หรือใช้กลไกทางภาษี รวมทั้งให้ผู้ พัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ บริจาคเข้ากองทุนได้ประโยชน์ในการลดหย่อน สตปิ ญั ญาให้สมกบั วยั โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย ภาษีตามที่กฎหมายบัญญัติ ซงึ่ กฎหมายดังกล่าว 2. จดั ทากฎหมายจัดตัง้ กองทุนทางการ ต้องกาหนด ให้การบริหารจัดการกองทุนเป็น ศึกษา ให้แล้วเสร็จ ภายในหนึ่งปีนับแต่วัน อิสระและกาหนดให้มีการ ใช้จ่ายเงินกองทุน ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญ เพ่อื บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ดงั กลา่ ว 2-6

3. ให้มีกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนา ผู้ประกอบวิชาชีพครู อาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของ ความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับ ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพ ในการสอน รวมท้ังมีกลไกสร้างระบบ คณุ ธรรมในการ บรหิ ารงานบุคคลของผปู้ ระกอบวชิ าชพี ครู 4. ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพ่ือให้ ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตาม ความถนัด และปรบั ปรงุ โครงสรา้ ง หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้องเพอ่ื บรรลุเป้าหมายดังกลา่ ว โดย สอดคล้อง กันทง้ั ในระดับชาติ และระดับพื้นท่ี ดงั น้ัน รัฐธรรมนญู จึงมีเป้าหมายเพ่ือยกระดบั คุณภาพ การศึกษาทกุ ระดับ รวมทั้ง สรา้ งการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคสว่ น ซ่งึ อุดมศึกษาสามารถนาพันธกจิ เพ่ือสนับสนนุ ในมิติต่าง ๆ ของ การพัฒนาการศกึ ษาในระดบั อื่นของประเทศ 2.1.2.2 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ. 2561- 2580 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 กาหนดไว้ใน มาตรา 65 ให้ รัฐบาลต้องจัดทายุทธศาสตร์ชาติ เพื่อใช้เป็นทิศทางการบริหารประเทศในช่วงระยะเวลา 20 ปี รวมท้ังออกเป็นพระราชบัญญัติการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2560 โดยกาหนดในหมวด 1 มาตรา 5 ใหม้ ียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอยา่ งยั่งยนื ตามหลักธรรมาภบิ าล เพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน อันจะก่อให้เกิด เป็นพลัง ผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว ตามระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งจะต้องไม่ น้อยกว่า 20 ปี ส่งผลให้ทุกแผนรวมทั้งแผนอุดมศึกษาระยะยาวจะต้องเช่อื มโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ ดงั กลา่ ว 2-7

ยทุ ธศาสตร์หลักสาคญั 6 ข้อ ทถ่ี า่ ยทอดจากวสิ ยั ทศั น์ ประกอบดว้ ย 1. ยุทธศาสตร์ดา้ นความม่ันคง : รกั ษาความสงบ ภายในประเทศ พัฒนาศักยภาพการ ป้องกัน ประเทศ บูรณาการความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ และปกปอ้ งผลประโยชน์ ทรพั ยากรธรรมชาติ 2 ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั : พัฒนาภาคการผลติ และ บรกิ าร พัฒนาผู้ประกอบการ และพฒั นาโครงสร้าง พน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ 3 ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและสง่ เสริม ศกั ยภาพมนษุ ย์ : ปฏริ ูปการเรยี นรู้ พัฒนาคน ตลอดช่วงชวี ิต คนไทยท่ีมีคุณธรรม มวี นิ ยั เคารพกฎหมาย มีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 สรา้ งสขุ ภาวะที่ดี และความอย่ดู ีมสี ุข 4. ยุทธศาสตร์การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม : สรา้ งความมั่นคงในชีวติ และ ทรพั ย์สิน สร้างโอกาสเข้าถงึ บริการทางสงั คม และความสมานฉันท์ 5. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพ ชีวติ ที่เปน็ มิตรต่อส่ิงแวดล้อม : อนุรักษ์ ฟืน้ ฟู ทรัพยากรธรรมชาติ วางระบบการจดั การน้า อยา่ งบรู ณาการ พัฒนา พลังงานทเ่ี ป็นมติ รกับ สง่ิ แวดล้อม 6. ยุทธศาสตรด์ ้านการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบ บรหิ ารจัดการภาครัฐ : ระบบบรหิ าร ราชการ แบบบูรณาการ พัฒนาข้าราชการมอื อาชีพ ตอ่ ต้านการทุจริต ปรับปรุง กฎหมาย ระเบยี บ ใหม้ คี วามชัดเจน ทันสมัย บทบาทของอดุ มศึกษาท่ีตอบวิสัยทศั น์ชาติ เพือ่ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขนั แผนภาพที่ 2 - 2 บทบาทของอดุ มศกึ ษาทต่ี อบวสิ ัยทัศน์ชาติ 2-8

อุดมศึกษาสามารถนาพันธกิจสนับสนุนการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติที่ ต้องการเห็นประเทศ มีความม่ันคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยผ่านกระบวนจัดการเรียนการสอน บน ความรับผิดชอบและมีคุณภาพทางการศึกษา การสร้างงานวิจัยและนวัตกรรมที่ตอบโจทย์การ พัฒนาประเทศสามารถนาไปสร้างมลู คา่ เพ่ิม รวมทั้งการสรา้ ง องค์ความรทู้ ี่ตรงกับความตอ้ งการของ ภาคสังคม ชุมชน ท้องถ่ิน และภาคการผลิตจริง เพ่ือให้บทบาทของอุดมศึกษา มีส่วนในการนา ประเทศหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางไปสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง สามารถ ลดความ เหลื่อมล้า ทง้ั ทางสังคม และเศรษฐกิจของคนไทย ในฐานะอุดมศึกษาเป็นกลไกหนึ่งที่สาคญั ของการ ขับเคล่อื น การพฒั นาประเทศ 2.1.2.3 การขบั เคลอ่ื นประเทศสู่ Thailand 4.0 นโยบายของรัฐบาลต้องการขับเคลื่อนประเทศให้หลุดพ้น จากกับดักประเทศ รายไดป้ านกลางไปสู่ประเทศรายได้สูง รวมทั้งหลุดพ้นกับดักความไม่เท่าเทียมกันของคนในชาตไิ ปสู่ การพัฒนาอย่างสมดุลท่ีไม่ท้ิงใครไว้ขา้ งหลัง โดยใช้โมเดล Thailand 4.0 ท่ีขับเคล่ือนเศรษฐกิจของ ประเทศไปสู่ Value Base Economy หรือการขับเคล่ือนประเทศด้วยนวัตกรรม ใช้ความได้เปรียบ ในความหลากหลายทางชีวภาพ และความ หลากหลายทางวัฒนธรรม มาเป็นกลไกในการพัฒนา ประเทศ จากวิวัฒ นาการของการพัฒ นาประเทศ จาก Thailand 1.0 : ประเทศ เกษตรกรรม ไปสู่ Thailand 2.0 : ประเทศอุตสาหกรรมเบา ไปสู่ Thailand 3.0 : ประเทศ อุตสาหกรรมหนกั จนไปส่เู ปา้ หมายของการพฒั นา คอื Thailand 4.0 ที่ประกอบดว้ ย 1. เปลย่ี นจากสนิ คา้ โภคภณั ฑไ์ ปสสู่ ินคา้ นวตั กรรม 2. เปลี่ยนจากขับเคลื่อนประเทศดว้ ยภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคล่ือนด้วย เทคโนโลยีและความคดิ สร้างสรรค์ 3. เปล่ยี นจากเน้นภาคการผลิตสินคา้ ไปสกู่ ารเนน้ ภาคบริการมากขึ้น วตั ถุประสงคห์ ลกั 4 ประการ Thailand 4.0 1. การสร้างความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนผ่าน การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ โดยมี เป้าหมายท่ีจะเพิ่มงบประมาณทางด้านการวิจัยและ พัฒนา ให้เป็นร้อยละ 4 ของ GDP เพิ่มอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เป็นร้อยละ 5 - 6 ภายใน ระยะเวลา 5 ปี และเพ่ิมรายได้ เฉลีย่ ต่อหัวของประชากรจาก 15,000 บาทต่อเดือนไปเป็น 43,000 บาทต่อเดือนภายในปี พ.ศ. 2575 2. การสร้างสังคมท่ีอยู่ดีมีสุข เป็นสังคมท่ีไม่ทอดท้ิงใคร ไว้ข้างหลัง ยกระดับ ขีดความสามารถของคนในสังคมให้เข้มแข็ง โดยลดความเหลื่อมล้าในสังคม (วัดผลจาก Gini Coefficient) จาก 0.465 ในปี พ.ศ. 2556 เป็น 0.36 ในปี พ.ศ. 2575 ตามมาตรฐาน OECD ปรบั เปล่ียนไปสรู่ ะบบสวสั ดกิ ารสงั คม เตม็ รปู แบบใน 20 ปี รวมท้งั พัฒนาเกษตรกรให้เปน็ เกษตรกร ยคุ ใหม่ (Smart Farmer) 20,000 ครวั เรือนภายใน 5 ปี 2-9

แผนภาพที่ 2 - 3 การยกขีดความสามารถในกลุ่มเปา้ หมาย 3. การยกระดับคุณภาพคนให้สูงขึ้น โดยพัฒนาให้ คนไทยมีสมรรถนะเทียบเคียง กับการพัฒนาในศตวรรษท่ี 21 และคนไทยในยุค Thailand 4.0 จะมีดัชนีการพัฒนามนุษย์ (Thailand HDI) จาก 0.722 ไปเป็น 0.8 ติดอยู่ในอันดับ 50 ประเทศภายใน 10 ปี รวมทั้ง สถาบันอุดมศึกษาของไทย อย่างน้อย 5 แห่ง ถูกจดั อยู่ใน 100 สถาบันอุดมศึกษาระดับโลก ภายใน ระยะเวลา 20 ปี 4. การปกป้องสิ่งแวดล้อม เป็นสังคมที่พัฒนา อย่างเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพ่ือ แก้ปัญหาการเปล่ียนแปลง ของสภาพภูมิอากาศ เป็นสังคมคาร์บอนต่า โดยมีเป้าหมาย การพัฒนา 10 เมอื งน่าอยู่ระดับโลก รวมทั้งเพมิ่ ความปลอดภยั และลดความเสยี่ งจากการกอ่ การร้าย การเตมิ เตม็ ดว้ ยวทิ ยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็น “5 กลุ่มเทคโนโลยีและ อตุ สาหกรรมเป้าหมาย” แผนภาพที่ 2 – 4 กลุ่มเทคโนโลยีและอตุ สาหกรรมเปา้ หมาย 2 - 10

รฐั บาลกาหนดทิศทางการพัฒนา Thailand 4.0 ภายใต้ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 วาระ วาระที่ 1 : การเตรยี มคนไทย 4.0 ให้พรอ้ มกา้ วส่โู ลกท่ีหนงึ่ วาระที่ 2 : การพฒั นาคลัสเตอรเ์ ทคโนโลยแี ละอตุ สาหกรรม แห่งอนาคต วาระที่ 3 : การบ่มเพาะผปู้ ระกอบการและพฒั นาเครือข่าย วสิ าหกจิ ที่ขับเคลือ่ นดว้ ยนวัตกรรม วาระที่ 4 : การเสริมความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศ ผ่าน 18 กลมุ่ จังหวดั และ 77 จังหวัด วาระท่ี 5 : การบูรณาการอาเซียน เชื่อมประเทศไทยสู่ ประชาคมโลก 2.1.2.4 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 เป็นแผนระยะ 5 ปี เชอื่ มโยง กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ท่ีจะเป็นแผนแม่บทหลักของประเทศ โดยมีหลักการสาคัญของแผน ประกอบด้วย 1. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้ เกิดการบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติ สมเหตุสมผล มีความพอประมาณ มีภูมคิ ุ้มกนั และการบริหารจัดการที่ดี 2. หลกั คนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนา เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นคนไทยที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิด สร้างสรรค์ มีทัศนคติท่ีดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมจริยธรรม 3. หลักวิสัยทัศน์ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือสนับสนนุ การสร้าง “ความมัน่ คง มงั่ คัง่ และย่ังยนื ” ให้เกิดข้ึนในประเทศ และ เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว 4. หลักเป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี พ.ศ. 2579 เพ่ือสร้างเศรษฐกิจ และสังคมท่ีมั่นคงและยั่งยืน เป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า เป็นคนท่ีมีวินัย เรียนรู้ตลอดชีวิต มี สุขภาพกายและใจท่ีสมบูรณ์แข็งแรง และเป็นระบบเศรษฐกิจท่ีต้ังอยู่บนฐานนวัตกรรมนาดิจิทัล 5. หลักการเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีลดความเหลื่อมล้า เพื่อลดกลุ่มประชากรท่ีมีรายได้ต่า เพ่ิมชนชั้น กลางโดยขับเคลื่อนการเจริญเติบโตบนฐาน ภูมิปัญญาและนวัตกรรม และ 6. หลักการนาแผนฯ ไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธ์ิภายใน 5 ปี เพ่ือนากลไกประชารัฐ มาเป็นเคร่ืองมือในการ ขบั เคลื่อน รวมทัง้ นาการพฒั นาแบบบูรณาการโดยเฉพาะประเด็นสาคญั ใหบ้ รรลุเป้าหมายของแผน เป้าหมายรวมของการพฒั นา ประกอบดว้ ย 1. คนไทยมลี ักษณะคนไทยท่สี มบรู ณ์ 2. ความเหล่อื มลา้ ทางดา้ นรายไดแ้ ละความยากจนลดลง 3. ระบบเศรษฐกจิ เขม้ แขง็ และแข่งขนั ได้ 4. ทนุ ทางธรรมชาติและคุณภาพสง่ิ แวดล้อมสามารถ สนับสนนุ การเติบโตที่เป็น มิตรกบั สิง่ แวดลอ้ ม มีความ ม่ันคงทางอาหารและนา้ 5. มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้าง ภาพลกั ษณท์ ดี่ ี และเพ่มิ ความเชื่อมั่น ของนานาชาตติ อ่ ประเทศไทย 6. มีระบบการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและ มีสว่ นร่วมของประชากร 2 - 11

ยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศ 10 ยทุ ธศาสตร์ 1. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ : คนไทยมีค่านิยมที่ดี มีทักษะ สาหรับศตวรรษท่ี 21 และมสี ุขภาวะท่ีดี 2. การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหล่ือมล้าในสังคม : โอกาสทางสังคม เศรษฐกจิ ของผมู้ รี ายได้น้อย รอ้ ยละ 40 ของประเทศ และสร้างชุมชนเข้มแข็ง 3. การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน : รายได้ต่อหัว สงู ขน้ึ สง่ เสรมิ ฐานการผลติ เดมิ และใหม่ใหเ้ ขม้ แข็ง มวี ินัยทาง การเงนิ การคลงั 4. การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน : ฟ้ืนฟู ทรพั ยากรธรรมชาติ บริหาร จัดการน้า สิ่งแวดล้อม และมลพิษ รองรับภัยพิบัติ ท่ี เกดิ ขึ้น 5. การเสริมสร้างความมั่นคงของชาติเพ่ือการพัฒนา ประเทศสู่ความม่ังค่ังและ ย่ังยืน : ปกป้องสถาบัน เสริมสร้างความม่ันคงภายใน และความร่วมมือ กับมิตร ประเทศ 6. การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกนั การทุจริต ประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภิบาล ในสังคมไทย : ภาครฐั มขี นาดที่เหมาะสม และการบรหิ ารจัดการ ทดี่ ี มธี รรมาภบิ าล 7. การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ : พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การขนส่ง การค้า ความมั่นคง ทางพลงั งาน ขยายบรกิ ารด้านดิจทิ ลั ทัว่ ประเทศ 8. การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม : สร้างความเข้มแข็ง และโอกาสในการ เข้าถึงของคนทุกกลุ่มทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมทั้ง บรู ณาการให้ไปในทิศทางเดียวกัน 9. การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ : กระจาย โอกาสการพัฒนาไปยัง ภูมิภาค และพัฒนาพื้นท่ี เศรษฐกจิ ใหม่ 10. ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา : ใช้ประโยชน์จากท่ีต้ังทาง ภูมศิ าสตรใ์ นการพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คม 2.1.2.5 แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 - 2579 คณะรัฐมนตรี เห็นชอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 โดยจัดทา เป็นแผนระยะ 20 ปี เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี กาหนดแนวคิดหลักสาหรับการจัดการศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) เพื่อความเท่าเทียม และท่ัวถึง (Inclusive Education) บนห ลักปรัชญ าของเศรษ ฐกิจพ อเพี ยง (Sufficiency Economy) รวมท้ังการมีสวนร่วมของทุกภาคส วนของสังคม (All for Education) แผนการศึกษา แห่งชาติ กาหนดวิสัยทัศน์ให้ “คนไทยทุกคนได้รับการศึกษาและเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมี คุณภาพ ดารงชีวิต อย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ เปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” เพ่ือให้บรรลุ วิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ดงั กลา่ วข้างตน้ แผนการศึกษาแหง่ ชาตไิ ดว้ างเปา้ หมายไว้ 2 ดา้ น คือ ==> เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations) โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มี คุณลักษณะและทกั ษะ การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs) 2 - 12

==> เปา้ หมายของการจดั การศกึ ษา (Aspirations) 5 ประการ 1. ประชากรทกุ คนเข้าถึงการศกึ ษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐานอยา่ งท่ัวถึง (Access) 2. ผเู้ รียนทุกคน ทุกกลุ่มเป้าหมายไดร้ ับบริการการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐาน อย่างเท่าเทยี ม (Equity) 3. ระบบการศึกษาท่ีมีคุณภาพ สามารถพัฒนาผูเ้ รยี นให้บรรลุขีดความสามารถ เต็มตามศักยภาพ (Quality) 4. ระบบการบริหารจัดการศึกษาท่ีมปี ระสิทธิภาพ เพอ่ื การลงทุนทางการศึกษา ท่ีคุม้ คา่ และบรรลุเป้าหมาย (Efficiency) 5. ระบบการศึกษาท่ีสนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็น พลวัตและบริบทที่เปล่ียนแปลง (Relevancy) แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติประกอบด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ท่สี อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ยุทธศาสตร์ 1 การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คง ของสงั คมและประเทศชาติ ยุทธศาสตร์ 2 การผลติ และพฒั นากาลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรม เพ่อื สร้างขดี ความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ ยทุ ธศาสตร์ 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว่ งวยั และการสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์ 4 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษา ยทุ ธศาสตร์ 5 การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริม คุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม ยุทธศาสตร์ 6 การพฒั นาประสทิ ธิภาพของ ระบบบริหารจดั การ ตัวชี้วดั สาคัญทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การจดั การศึกษาระดับอดุ มศึกษา เชน่  อตั ราการมงี านทาภายใน 1 ปี ของผ้จู บอดุ มศึกษาเพ่มิ ขนึ้ (ร้อยละ 90)  สดั ส่วนผูเ้ รยี นเอกชนสงู ขนึ้ เมื่อเทยี บกับรัฐ (50 : 50)  จานวนสถาบนั อุดมศกึ ษาไทยทไ่ี ดร้ บั การจัดอันดบั ในภาพรวมอยใู่ น 200 อันดบั แรกของโลก(7 แหง่ ) โดย QS World University Rankings  สัดสว่ นผ้เู รียนสาขาวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี ตอ่ ผูเ้ รียน สาขาสังคมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี (50 : 50)  งานวจิ ยั ได้รบั การตพี มิ พใ์ นระดบั นานาชาตเิ พมิ่ ขึ้น (ร้อยละ 40)  จานวนโครงการวจิ ยั เพ่อื สร้างองค์ความรู้ที่ใชพ้ ัฒนาประเทศ เพ่ิมข้ึน (1,200 โครงการ)  ความพงึ พอใจของสถานประกอบการต่อผจู้ บการศึกษา เพ่มิ ขน้ึ (ร้อยละ 100)  ระดบั ความสามารถการใช้ภาษาองั กฤษของบณั ฑิต ตามมาตรฐาน CEFR สงู ขนึ้ (ระดบั C) 2 - 13 2 - 13

2.1.2.6 มาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 มาตรฐานการอดุ มศกึ ษา ประกอบดว้ ย มาตรฐาน 5 ดา้ น ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 ดา้ นผลลัพธ์ผู้เรยี น 1.1 เป็นบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถ และความรอบรู้ด้านต่าง ๆ ในการ สร้างสัมมาอาชีพ ความมั่นคงและคุณภาพชีวติ ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน และสงั คม มที ักษะการ เรยี นรู้ตลอดชีวิต โดยเป็นผมู้ ีคุณธรรม ความเพียร มุ่งม่ัน มานะ บากบ่ัน และยึดมัน่ ในจรรยาบรรณ วิชาชพี 1.2 เป็นผู้ร่วมสร้างสรรคนวัตกรรม มีทักษะศตวรรษท่ี 21 มีความสามารถใน การบูรณาการศาสตรต์ ่างๆ เพ่ือพฒั นาหรือแก้ไขปญั หาสังคม มีคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการ รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและของโลก สามารถสร้างโอกาสและเพิ่มมูลค่าให้กับตนเอง ชมุ ชน สงั คม และประเทศ 1.3 เปน็ พลเมืองที่เข้มแข็ง มีความกลา้ หาญทางจริยธรรม ยึดมนั่ ในความ ถกู ต้อง รู้คณุ คา่ และรกั ษ์ความเป็นไทย รว่ มมอื รวมพลังเพื่อสร้างสรรค์การพฒั นาและเสริมสร้างสันติ สุข อยา่ งย่งั ยนื ทั้งในระดบั ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประชาคมโลก มาตรฐานที่ 2 ดา้ นการวจิ ัยและนวตั กรรม สถาบันอุดมศึกษามีผลงานวิจัยที่เป็นการสร้างและประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ สร้างสรรค์นวัตกรรมหรือทรพั ย์สินทางปัญญา ที่เชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ศิลปวัฒนธรรม หรือส่ิงแวดล้อม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภทสถาบัน มีเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง สถาบันอุดมศึกษา องค์กรภาครัฐและเอกชนท้ังในและต่างประเทศ ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ความต้องการจาเป็นของสังคม ชุมชน ภาครัฐและเอกชน และประเทศ ผลลัพธ์ของการวิจัยและนวัตกรรมมีผลกระทบสูงต่อการพัฒนาผู้เรียน การสร้างคุณภาพชีวิต หรือ การสร้างโอกาส มลู คา่ เพ่มิ และขีดความสามารถของประเทศในการแขง่ ขนั ระดับนานาชาติ มาตรฐานที่ 3 ด้านการบรกิ ารวิชาการ สถาบันอุดมศึกษาให้บริการวิชาการเหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน และสังคม ตามระดับความเชี่ยวชาญและอัตลักษณ์ของประเภท สถาบัน โดยมีการบริหารจัดการที่ประสานความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษา ภาครัฐและ ภาคเอกชน ท้ังในและต่างประเทศ และมีความโปร่งใส ชัดเจน และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ของการ บริการวิชาการนาไปสู่การเสริมสร้างความเข้มแข็งและความยั่งยืนของผู้เรียน ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรฐานท่ี 4 ดา้ นศิลปวัฒนธรรมและความเปน็ ไทย สถาบันอุดมศึกษามีการจัดการเรียนรู้ การวิจัย หรือการบริการวิชาการซึ่งนา ไปสู่การสืบสาน การสร้างความรู้ ความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม การปรับและประยุกต์ใช้ ศลิ ปวัฒนธรรมท้ังของไทย และตา่ งประเทศอย่างเหมาะสม ตามศักยภาพและอัตลักษณ์ของประเภท สถาบัน ผลลัพธ์ของการจัดการด้านศิลปวัฒนธรรมทาให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นไทย หรือการ สรา้ งโอกาสและมูลค่าเพิม่ ให้กับผเู้ รียน ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ 2 - 14

มาตรฐานที่ 5 ดา้ นการบริหารจดั การ 5.1 สถาบันอดุ มศึกษามหี ลกั สตู รและการจัดการเรียนรทู้ ่ีเนน้ การพัฒนาผูเ้ รียนแบบ บูรณาการเพื่อให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติและความต้องการท่ี หลากหลายของประเทศ ท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน สงั คม สถานประกอบการ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน 5.2 สถาบันอุดมศึกษามีการบริหารงานตามพันธกิจและวิสัยทัศน์ของสถาบันอุดมศึกษา ตลอดจนมีการบริหารจัดการบุคลากรและทรัพยากรการเรียนรู้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบ าล คานึงถึงความหลากหลายและความเป็นอิสระทางวิชาการ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ยดื หยุ่น คลอ่ งตวั โปรง่ ใสและตรวจสอบได้ 5.3 สถาบันอุดมศกึ ษามีระบบประกันคุณภาพ มีการติดตาม ตรวจสอบประเมิน และพัฒนาการจัดการศึกษาระดับหลักสูตร คณะ และสถาบันท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มี การกากับให้การจัดการศึกษาและการดาเนินงานตามพันธกิจเป็นไปตามกฎกระทรวงการประกัน คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานอ่ืน ๆ ที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด 2.1.2.7 ทิศทางนโยบายการพฒั นากาลังคนของประเทศ พ.ศ.2563 – 2567 แนวทางในการพัฒนากาลังคนเพ่ือรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรม New S-curve ในกรอบระยะเวลา 5 ปี มี 5 แนวทาง 1. สร้างระบบผลิตและพัฒนากาลังคนให้มีคุณภาพ มีแนวทางการดาเนินงาน ไดแ้ ก่ 1.1 ขยายผลหลักสูตรอุดมศึกษาและอาชีวะศึกษาที่เช่ือมโยงสถาบันการศึกษา และภาคอุตสาหกรรมแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน (Work-integrated Learning: WiL) ผ่อนคลายขอ้ จากัดดา้ นมาตรฐานหลกั สตู รเพื่อใหห้ ลกั สูตรตอบสนองความตอ้ งการภาคอุตสาหกรรม มากข้ึน สนับสนุนให้สถาบันอุดมศึกษาร่วมพัฒนาทักษะให้กับครูอาชีวะศึกษา สนับสนุน งบประมาณเพม่ิ เติมเพอ่ื ขยายผลหลักสูตรแบบ WiL 1.2 ผลักดันโปรแกรมใช้ประโยชน์ผู้มีศักยภาพสูง (Talent Utilization) เช่นสนับสนนุ ทุนวิจยั ระดับหลงั ปริญญาเอกหรอื ปริญญาโทเพ่ือทางานวิจยั ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม ผลกั ดันระบบศาสตราจารยร์ ่วมระหว่างสถาบนั จดั ตงั้ หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารร่วม หรอื วิทยาลยั ร่วม 1.3 ดงึ ดูดผู้มีศกั ยภาพสูงจากต่างประเทศ (Global Talent) ส่งเสริมการ นาบุคลากรชาวไทยท่ีมีศักยภาพสูงจากต่างประเทศเข้ามาทางานในประเทศไทย ปรับปรุงมาตรการ ตา่ งๆ ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เชน่ ปรับเงื่อนไขวซี ่านกั ศึกษาต่างชาตใิ ห้สามารถทางานระหวา่ งเรียน และหางาน ทาหลังสาเร็จการศึกษาได้ชักจูงมหาวิทยาลัยระดับโลกเข้ามาตั้งในประเทศไทย และสร้างเส้นทาง อาชพี ของนกั วจิ ยั ให้จงู ใจคนรุน่ ใหม่ 1.4 ส่ งเส ริม ก ารเค ลื่ อ น ย้ าย บุ ค ล ากร ระห ว่างภ าค ส่ วน ต่ างๆ ภายในประเทศ (Talent Mobility) ปรับระเบียบเคลื่อนย้ายบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงาน ในสถาบันวิจัยหรือภาคเอกชน ปรับปรุงกลไกและแรงจูงใจที่เก่ียวข้อง เช่น ระบบภาระงาน จัดทา ข้ันตอนทีช่ ัดเจนในการขอตาแหนง่ ทางวิชาการโดยใชผ้ ลงานจากภาคอุตสาหกรรม 2 - 15

2. ผลติ กาลังคนระดบั สงู รองรับ EEC มแี นวทางการดาเนินงาน ไดแ้ ก่ 2.1 พัฒนาระบบข้อมูลและแผนความต้องการบัณฑิตของพื้นท่ี EEC เพ่ือให้ จานวนและคณุ ภาพกาลังคนทผ่ี ลิตไดส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของอุตสาหกรรมในพ้ืนที่ EEC 2.2 พัฒนาความสามารถดา้ นเทคโนโลยีใหแ้ ก่สถานประกอบการโดยใชโ้ จทย์ (Training Consortium หรอื R&D Consortium) ซ่ึงรวมทัง้ โจทยก์ ารพัฒนากาลงั คนและโจทยก์ ารวจิ ยั 2.3 ส่งเสริมการพัฒนากาลังคนหรือการวิจัยร่วมระหว่างสถานศึกษากับ สถานประกอบการในพื้นที่ EEC โดยใช้กลไกต่างๆ เช่น หลักสูตรแบบ WiL กลไก Talent mobility และการทาวิจัยระดับหลังปริญญาเอกหรือปริญญาโทท่ีมีโจทย์วิจัยม าจากสถาน ประกอบการในพ้นื ที่ EEC 2.4 การใช้นวัตกรรมทางการศึกษาแบบ Sandbox เพื่อพัฒนาหลักสูตรใน สถาบันการศึกษารูปแบบใหม่ที่ทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ี EEC โดยข้อยกเวน้ มาตรฐานการศึกษาบางประการ 3. ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและการสร้างทักษะเพ่ืออนาคต มีแนวทางการ ดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่ 3.1 ยกระดับฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะสาหรับบุคลากรวัยทางาน (Reskill/ Upskill) เช่น ผลักดันระบบธนาคารหน่วยกิต พัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมระยะสั้นแบบ Micro- credential หรือ nano-degree ให้การสนับสนุนทางการเงินสาหรับบุคคลเพื่อเพ่ิมพูนทักษะ พัฒนาและขยายผลระบบ MOOCs เปน็ ต้น 3.2 ขยายผลกลไกพัฒนาทักษะด้านการวิจัยและนวัตกรรมและทักษะเพ่ือ อนาคต (Future skills) ให้แก่เยาวชน เช่น ขยายผลห้องปฏิบัติการวิศวกรรมศาสตร์ (STEAM Lab) ในโรงเรียน สร้างเวทีให้เด็กรุ่นใหม่แสดงออกด้านความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เช่น Youth TedTalk จัดการเรียนรู้โดยใช้งานวิจัยเป็นฐาน (Research-based learning) และใช้โจทย์ วจิ ัยจากทอ้ งถ่นิ 4. ส่งเสริมปัญญาประดิษฐ์เป็นฐานขับเคลื่อนประเทศในอนาคต มีแนวทาง ดาเนนิ งาน ไดแ้ ก่ 4.1 สร้างความเข้าใจและทักษะพ้ืนฐานให้แก่เด็กและเยาวชนด้าน ปัญญาประดิษฐ์ ผ่านหลักสูตรการศึกษาในระบบ หรือกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน เช่น การ ทาโครงการ การประกวดแข่งขนั นิทรรศการ เป็นตน้ 4.2 พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ให้กับบุคลากรวัยทางาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง นักวิจยั วิศวกร นกั วิทยาศาสตร์ข้อมูล เป็นตน้ 4.3 สร้างความสามารถให้กับผู้ประกอบการด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ โดยเจาะกลุ่มเป้าหมาย SMEs ท่ีมีการใช้ระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์เพื่อเพ่ิมผลิต ภาพการผลติ ในกจิ การ 2 - 16

5. ปฏิรปู ระบบการอุดมศกึ ษาของประเทศไทย มีแนวทางดาเนนิ งาน ได้แก่ 5.1 กาหนดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตาม “กลุ่มผลลัพธ์” (University Repositioning) กาหนดตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ของสถาบัน กาหนดแนวทางกากับดูแลการ ดาเนินการของสถาบันอุดมศึกษา และจัดทาแนวปฏิบัติการขอตาแหน่งทางวิชาการตามกลุ่ม สถาบนั อุดมศกึ ษา 5.2 ปฏิรูปกลไกการเงินและงบประมาณ จัดสรรงบประมาณอุดมศึกษาแบบ เน้นอุปสงค์ (Demand-side) เพ่ือผลิตกาลังคนระดับสูงตามความต้องการประเทศ ผลักดันการ จดั ตงั้ กองทนุ เพื่อพัฒนาการอดุ มศกึ ษา 5.3 ปรับเปลี่ยนมาตรฐานและคุณภาพหลักสูตรและสถาบันอุดมศึกษา ผลักดันให้เกิดการทดลองนวตั กรรมหลักสูตรอดุ มศึกษาแบบ Sandbox ทบทวนมาตรฐานหลักสูตร ให้ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับกลุ่มสถาบัน พิจารณาเกณฑ์การประเมินคุณภาพตามกลุ่ม สถาบันอุดมศึกษา พัฒนาระบบข้อมูลด้านการอุดมศึกษา ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยช้ันนาของ ต่างประเทศเพื่อพัฒนาหลกั สตู รและร่วมทาวิจัย 5.4 พัฒนามหาวิทยาลัยแห่งการประกอบการและธุรกิจนวัตกรรม ปรับ ระเบียบให้อาจารย์สามารถทางาน start-up ได้ พัฒนากลไกสนับสนุนให้มหาวิทยาลัยต้ังวิสาหกิจ เพื่อสังคมเพื่อแก้ปัญหาให้ชุมชน พัฒนาแนวทางแบ่งปันผลประโยชน์จากการนาผลงานวจิ ัยไปใช้ใน เชิงพาณิชย์ พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานต่างๆ เช่น ศูนย์บ่มเพาะ maker space คลังข้อมูลวิจัย เป็น ตน้ พัฒนากลไกการเงินเพื่อส่งเสรมิ ผปู้ ระกอบการจากมหาวิทยาลัย เช่น กองทนุ Startups รุ่นเยาว์ กองทุนร่วมลงทุนในมหาวิทยาลัยเพื่อลงทุนในงานวิจัยของอาจารย์หรือนักศึกษา และสนับสนุน หลกั สูตรฝกึ อบรมพัฒนาทกั ษะให้กับอาจารย์และบุคลากร 2.1.2.8 แผนการดาเนินงานของคณะทางานด้านการพฒั นากาลงั คนในเขต พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC-HDC) ปงี บประมาณ พ.ศ.2562 – 2566 สานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก หรือ อีอีซี บรู ณาการการศึกษาร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ จัดประชุมสรุปผลการศกึ ษาความต้องการกาลังคนใน อุตสาหกรรมเป้าหมาย โดย ดร.คณิศ แสงสุพรรณ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา พิเศษภาคตะวันออก เป็นประธานเปิดประชุม และ ดร.อภิชาติ ทองอยู่ เป็นประธานคณะทางาน ประสานงานด้านการพัฒนาบุคลากรในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC-HDC) ขับเคล่ือน ยทุ ธศาสตร์การศึกษาในคร้งั นี้ สรุปรายละเอยี ดดังน้ี การพัฒนาบุคลากรและการศึกษายุคใหม่ เพื่อขับเคลื่อนบุคลากรให้ตรงตาม ความต้องการของงานหรืออุตสาหกรรมเป้าหมายท่ีจะเกิดข้ึนในพื้นท่ี อีอีซี อย่างแท้จริง โดยได้ วางเป้าหมายการศึกษาใหม่ ดังน้ี ขั้นตอนที่ 1 สารวจความต้องการ (demand) บุคลากรในทุกอุตสาหกรรม เป้าหมาย เพ่ือศึกษาคุณสมบัติ และระดับการศึกษาของแตล่ ะกลมุ่ ท่ีแต่ละอุตสาหกรรมต้องการ ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาช่องว่างระหว่างความต้องการกับความสามารถในการผลิต ทง้ั ประเทศ และจับคู่ความตอ้ งการกับสถาบันทีม่ ศี กั ยภาพ ขั้นตอนท่ี 3 สร้างหลักสูตรและการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ตรงตามความ ตอ้ งการทัง้ เชงิ คณุ ภาพและปริมาณ 2 - 17

ข้ันตอนท่ี 4 จัดหาผู้สอนที่มีประสบการณ์จริงเพ่ือพัฒนาคุณภาพครูให้ได้ มาตรฐาน โดยต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญและสถาบันที่มีประสบการณ์จากท้ังในและต่างประเทศ เข้าร่วม พฒั นาบุคลากร ซ่ึงปัจจุบันในพ้ืนที่ อีอซี ี มีศนู ย์การเรียนรู้แบบ Education Transformation แล้ว 4 ศูนย์ ดังนี้ 1. ศูนย์พัฒนาการศึกษาระบบ Automation เป็นความร่วมมือระหว่าง อีอีซี– มิตซู และ ม.บูรพา 2. ศนู ย์พัฒนาศักยภาพพาณิชยนาวี ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรี ราชา 3. ศูนย์การพลังงานเช้ือเพลิงเคมี ร่วมกับ วิทยาลัยเทคโนโลยี IRPC 4. ศูนย์เรียนรู้ระบบราง โดยร่วมมือกบั วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี ข้ันตอนที่ 5 จัดทามาตรฐานวิชาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพโดยยกเข้าสู่ระดับสากล เพื่อยกระดบั การศกึ ษาใหต้ อบสนองการมีงานทาและสรา้ งรายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ขั้นตอนท่ี 6 การขยายผลและสร้างความร่วมมือต่อยอดการศึกษาแบบสะสม หน่วยกติ ในระหว่างทางาน ข้ันตอนที่ 7 การประเมินผลการศึกษาทั้งระบบและแต่ละสาขาเพื่อการปรับปรุง ประเมินติดตามผลที่สอดคลอ้ งกับความต้องการของอตุ สาหกรรม สาหรบั การขบั เคลอื่ นการศึกษาความต้องการกาลังคนในอุตสาหกรรมเป้าหมายใน เขตพื้นที่อีอีซี ในคร้ังนี้จะทาให้เกิดประโยชน์กับคนในพ้ืนที่ อีอีซี และพ้ืนท่ีใกล้เคียง ก่อให้เกิดการ จ้างงาน สร้างอาชีพ โดยคาดว่าในปี 2562-2566 มีความต้องการกาลังคนใน 10 อุตสาหกรรม เป้าหมาย ประมาณ 400,000 ตาแหน่ง ตามนโยบายการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ไทยแลนด์ 4.0 ของ รฐั บาลอยา่ งเปน็ รูปธรรมมากข้นึ 2.1.2.9 แผนอดุ มศึกษาระยะยาว 20 ปี พ.ศ.2561 – 2580 วิสัยทัศน์ “อุดมศึกษาไทยเป็นแหล่งสร้างปัญญาให้สังคม นาทางไปสู่การ เปลี่ยนแปลง สร้างนวัตกรรม ความรู้ งานวิจัย ที่เสนอทางเลือกและแก้ปัญหา เพื่อการพัฒนา ประเทศ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขนั ” วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับมาตรฐานการอดุ มศึกษาใหเ้ ทียบเคยี งกบั ประเทศพัฒนาแล้ว 2. เพ่ือสนับสนุนการถ่ายทอดองค์ความรู้และนวัตกรรมอย่างกว้างขวางและ ครอบคลมุ ผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียทกุ ภาคการผลิต 3. เพื่อสนับสนุนการเคลอื่ นยา้ ยทางสังคม (Social Mobility) 4. เพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการกากับดูแลระบบอุดมศึกษาให้มีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับความเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารตนเอง 2 - 18

ประเดน็ เพ่อื การกาหนดยุทธศาสตรห์ ลกั 6 ดา้ น 2 - 18 ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 อุดมศกึ ษาเป็นแหลง่ พัฒนากาลงั คนและสรา้ งเสริมศกั ยภาพทัง้ ทักษะความคดิ และ การร้คู ดิ เพอ่ื สนบั สนุนการพัฒนาประเทศตามยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ความทา้ ทายในยทุ ธศาสตร์ที่ 1 : ㆍคุณภาพของบัณฑิตท่ีถดถอยและไม่ตรงความต้องการของผู้จ้างงานและ ตลาด แรงงานที่กาลงั เปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ㆍการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนให้ทันสมัยและทันกับการเรียนรู้ใน ศตวรรษท่ี 21 และความสามารถในทกั ษะดา้ นดจิ ทิ ลั และภาษาต่างประเทศ ㆍความครอบคลุมเหมาะสมของสาขาการผลิตและศาสตร์ต่าง ๆ ตามความต้องการ ของภาคส่วนตา่ ง ๆ และการพฒั นาประเทศ ㆍการผลติ คนใหเ้ พยี งพอตามทศิ ทางการพฒั นา ㆍการเปิดโอกาสให้ต่อยอดความรเู้ พ่อื เตรยี มพร้อมรับการปรับสดั สว่ นประชากร เปา้ หมาย 1.1 ปรับสดั ส่วนการผลิตในภาพรวมเพือ่ ให้ตรงกบั ทิศทางการพฒั นา 1.2 การปรับปรงุ คณุ ภาพของอุดมศกึ ษาเพือ่ การพัฒนาทยี่ ง่ั ยนื 1.3 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงให้ทุกกลุ่มส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาในกลุ่มวัย ทางานและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต 1.4 การสร้างเครือข่ายและเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา (Work-based learning, Integrated Learning, Credit Bank) 1.5 ยกระดับอุดมศึกษาให้มีความเป็นสากล (Internationalization) เพ่ือให้ สามารถแขง่ ขันได้ในยคุ โลกาภวิ ัตน์ (Globalization) 2 - 19

ตวั ชี้วดั หลกั (Core KPI) KPI 1 : สัดส่วนการผลิตบุคลากรสายวิทย์ : สายอ่ืน ในสถาบันอุดมศึกษา 60 : 40 (พ.ศ. 2558 สายวิทย์ 28% : ต้ังเป้า พ.ศ. 2580 สายวทิ ย์ 60% : สายอน่ื พ.ศ. 2580 40%) KPI 2 : ร้อยละของผู้เรียนในระบบอุดมศึกษาเทียบกับจานวนประชากร ช่วงอายุ 18-22 ปี : รอ้ ยละ 60 (พ.ศ. 2558 : 53% : ต้ังเปา้ พ.ศ. 2580 : 60% KPI 3 : ระดับการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษ (CEFR ระดับปริญญาตรี) : ระดับ C1 : ตัง้ เปา้ พ.ศ. 2580 2 - 20

ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นาศักยภาพและคุณภาพนักศึกษา เสริมสรา้ งความรู้ และทักษะทางอาชีพ ให้พร้อมรองรบั การเปลยี่ นแปลงท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคต ประเดน็ ความทา้ ทายในยุทธศาสตรท์ ี่ 2 : • การพฒั นาทักษะในดา้ นต่าง ๆ อยา่ งต่อเน่ือง (3R8C) • การเปิดโอกาสใหเ้ กิดความเทา่ เทยี มและการเข้าถึงของกลุม่ ทีม่ ีข้อจากดั • การพฒั นาทักษะและความรคู้ วามสามารถเพือ่ ตอบสนองความตอ้ งการของ ตลาดแรงงานและการพฒั นาเศรษฐกิจในด้านการสร้างนวัตกรรมและ ความเป็นผูป้ ระกอบการ • การสรา้ งจติ สานกึ ด้านสิง่ แวดล้อมและความเปน็ ประชากรโลก • การพัฒนาศกั ยภาพเพ่ืออนาคต • กิจกรรมนักศึกษาทีบ่ ูรณาการกับหลักสูตร • ความสามารถและเทคนิคในการถ่ายทอดวชิ าความรู้และทักษะของอาจารย์ เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษารจู้ กั คดิ แก้ไขปัญหา และมีความคดิ สร้างสรรค์ เป้าหมาย 2.1 ปรบั ปรุงกจิ กรรมการพัฒนานกั ศกึ ษาให้ทนั สมัย ไดม้ าตรฐาน ครอบคลุม ความรแู้ ละทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 2.2 พฒั นาทกั ษะการทางานและการแก้ปัญหา (3R8C) 2.3 การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาเพ่ือสนับสนุนการสรา้ งนวัตกรรมและวจิ ัย ตัวชีว้ ัดหลัก (Core KPI) KPI 4 : การประเมนิ ทักษะและสมรรถนะของบณั ฑิตดา้ น Soft Skill และ Critical Thinking : 21 Century KPI 5 : Innovative Universities : 10 แหง่ 2 - 21

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 เสริมสร้างสมรรถนะหลักของอุดมศึกษาไทยให้เป็นแหล่งพัฒนาต่อยอด ความสามารถในการใช้ความรู้ สร้างผลงานวิจัย ค้นหาคาตอบท่ีจะนาไปใช้ ประโยชน์ ในการแกป้ ัญหา และพฒั นาเศรษฐกจิ ทงั้ ระดบั ท้องถ่นิ และระดับประเทศ ประเด็นความทา้ ทายในยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 : • การเพิ่มขีดความสามารถด้านงานวิจัยและนวัตกรรมท่ีนาไปสู่การพัฒนา ประเทศ (Thailand 4.0) • การสรา้ งขดี ความสามารถในการวจิ ยั ท่ีเปน็ แนวหนา้ • การคน้ หาคาตอบเพอื่ สนบั สนุนการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ • การนาผลงานวิจัยมาต่อยอดเพื่อพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายตาม ยทุ ธศาสตร์ประเทศ • การพัฒนาศักยภาพของนกั วจิ ยั ท้งั กลุม่ หลกั กลมุ่ สนับสนนุ และนักวิจัยมืออาชีพ • การพัฒนาขดี ความสามารถสูม่ หาวิทยาลยั วิจยั และการเป็น Global University เปา้ หมาย 3.1 พฒั นาสถาบันอดุ มศึกษาตามความสามารถและศักยภาพด้านการวิจัย และ การบริการท่มี ตี ่อสังคม (Research Hubs , Innovation Center) 3.2 พฒั นาสมรรถนะและความสามารถบุคลากรวจิ ัยเพื่อสร้างความรใู้ หม่และ นวตั กรรมทมี่ คี ุณภาพสูง (ผลงานวจิ ยั /จานวนอาจารย์ , จานวนนกั วจิ ยั , Impactor , Citation) 3.3 การสร้างขีดความสามารถในการวิจยั ทน่ี าไปส่กู ารใช้งานจรงิ แกไ้ ขปญั หา และชน้ี าสงั คม (จานวนนวัตกรรมทใ่ี ชง้ านและเกดิ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ/สงั คม) 3.4 พัฒนาขดี ความสามารถไปสู่มหาวิทยาลยั ชนั้ นาของโลก (University 4.0 World Class/Global University Ranking) ตวั ชว้ี ัดหลกั (Core KPI) KPI 6 : จานวนนกั วิจยั ตอ่ ประชากร : 60 คน KPI 7 : รายได้ท่ีได้จากการให้สิทธิในการใช้ทรัพย์สินทางปัญญาของมหาวิทยาลัย : 50 ล้านบาทต่อปี KPI 8 : World Class Ranking at 200 : 7 แห่ง 2 - 22