Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเทศไทยไร้หมอกควัน: เหลียวมองนโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหา

ประเทศไทยไร้หมอกควัน: เหลียวมองนโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหา

Published by Plely Miwy, 2019-11-01 00:52:10

Description: ประเทศไทยไร้หมอกควัน: เหลียวมองนโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหา

Keywords: ประเทศไทย, ไร้หมอกควัน, นโยบาย, แนวทางแก้ไขปัญหา

Search

Read the Text Version

ประเทศไทยไรห้ มอกควนั : เหลียวมองนโยบายและแนวทางแก้ไขปัญหา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศทุ ธินี ดนตรี 1. ความสาคญั ของปญั หา ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน 2562 ข่าวสารเรื่องหมอกควันในภาคเหนือมีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) เพ่ิมขน้ี มากที่สุดจนติดอันดบั โลกเมื่อเทียบกบั ในอดีต และมจี านวนวนั ที่คา่ เกินมาตรฐานนานมากท่ีสุด ด้วย จากสถิติของกรมควบคุมมลพิษ ค่า PM 2.5 เฉล่ีย 24 ชั่วโมง ในพ.ศ 2561 (www.aqmthai.com) จาก สถานีอุตุนิยมวิทยา 5 แห่งในสี่จังหวัดภาคเหนือตอนบน (เชียงใหม่ ตาก น่าน และลาปาง) ในระหว่างเดือน มกราคม – เมษายนมีค่าอยู่ระหว่าง 15 -133 ไมครอน/ลูกบาศก์เมตร โดยมีค่ามากท่ีสุดในเดือนมีนาคมท่ี อาเภอแม่สอด จังหวดั ตาก และมีจานวนวนั ทเี่ กนิ ค่ามาตรฐาน (50 ไมโครกรมั /ลูกบาศก์เมตร) รวม 56 วนั ส่วน ในพ.ศ 2562 ข้อมูลจากสถานีอุตุนิยมวิทยา 15 แห่ง ใน 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (เชียงใหม่ เชียงราย ตาก น่าน พะเยา แพร่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และลาพูน โดยมี 6 จังหวัดท่ีติดต้ังเครื่องวัด PM 2.5 เพิ่มขึ้นจาก พ.ศ. 2561) ในระหวา่ งเดอื นมกราคม – เมษายน (ถงึ วันที่ 20 เมษายน 2562) มีคา่ อย่รู ะหว่าง 5 – 353 ไมโครกรัม/ ลูกบาศก์เมตร โดยมีค่ามากท่ีสุดในเดือนมีนาคมท่ีอาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย และมีจานวนวันที่เกินค่า มาตรฐานมากถึง 85 วนั หากเปน็ ขอ้ มลู เฉล่ยี รายชวั่ โมงในระหว่างปลายเดือนมีนาคมถึงตน้ เดือนเมษายนพบว่า ค่าฝนุ่ ละอองอยู่ในระดับเป็นอันตรายต่อสุขภาพมาก มคี ่าเกิน 500 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตรเป็นเวลาหลายวัน (www.cmaqhi.org, www.cmuccdc.org) นอกจากน้ีใน พ.ศ. 2562 จานวนจุดความร้อนจากดาวเทียม Suomi NPP ระบบ VIIRS ยังเพ่ิมข้ึนเกือบสามเท่าตัวจากจานวนจุดที่เกิดขึ้นในปี 2561 ในช่วงเวลาเดียวกัน (http://fire. gistda.or.th) ดังตัวอย่างของจังหวัดเชียงใหม่ในระหว่างวันท่ี 1 มกราคม ถึง 20 เมษายน (เป็น ช่วงเวลาที่ควบคุมการเผาไหม้ในจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2561) พบว่า ในปี 2562 มีจานวน 13,683 จุด ในขณะ ที่ใน พ.ศ. 2561 มีจานวน 5,439 จุด โดยพบมากท่ีสุดในเดือนมีนาคม (https://earthdata.nasa.gov/earth- observation-data/ near-real.../firms/active-fire-data) สถานการณ์หมอกควันใน พ.ศ 2562 จึงมีความ รนุ แรงมากท่สี ุด โดยเฉพาะจงั หวดั เชยี งใหม่ ในเดือนมีนาคมเปน็ ช่วงเวลาที่ค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 ราย ช่ัวโมงในบางพื้นที่ มีค่าเกินมาตรฐานกว่า 10 เท่า จนถูกจัดอันดับเป็นเมืองห้าอันดับแรกของโลกท่ีมีค่าดัชนี คุณภาพอากาศเลวร้ายทส่ี ุดจากเว็บไซต์ AirVisual กว่า 10 วนั (ข่าวสด, 2562; มติชนออนไลน์, 2562) มลภาวะฝุ่นละอองขนาดเล็กมีผลกระทบต่อประชากรอย่างร้ายแรงในด้านการดารงชีวิต ด้านสุขภาพ มีความเส่ียงจากสารก่อมะเร็ง สารก่อการกลายพันธุ์ และโลหะหนักในระยะยาว ส่วนในระยะสั้นกลุ่มเด็กเล็ก หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วย และผู้สูงอายุ มีความเสี่ยงเกิดโรคทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคผิวหนัง อักเสบ และโรคตาอักเสบ จากสถิติของสานักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 1 เชียงใหม่ พบว่าจานวนผู้ป่วยด้วย 4 กลุ่มโรคท่ีได้รับผลกระทบสุขภาพจากภาวะหมอกควันและไฟป่าของจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงสัปดาห์ที่ 1-10 1

(วันที่ 6 มกราคม-16 มีนาคม 2562) อนั ดับที่ 1 คอื กลุ่มโรคทางเดนิ หายใจทุกชนิด พบผปู้ ่วยกวา่ 40,383 ราย และอันดับท่ี 2 คือ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด พบผู้ป่วยกว่า 29,651 ราย ส่วนอันดับที่ 3 คือ กลุ่ม โรคผิวหนงั อักเสบ และกล่มุ โรคตาอักเสบ พบผปู้ ว่ ยจานวน 2,783 ราย และ 2,373 รายตามลาดบั (ประชาชาติ ธุรกิจ, 2562ข) นอกจากน้ียังส่งผลกระทบต่อรายได้จากการท่องเที่ยว และการคมนาคมทางอากาศท่ีอากาศ ยานมกี ารยกเลิกเท่ียวบนิ และเครอ่ื งลา่ ช้ากวา่ 30 เทย่ี วในชว่ งวิกฤติฝุ่นควนั (ประชาชาติธุรกจิ , 2562ข) 2. สาเหตุของการเกดิ หมอกควนั หมอกควันจากฝุ่นละอองขนาดเล็กใน พ.ศ. 2562 ถือว่ามีความรุนแรงมากท่ีสุด จึงน่าสนใจว่าสาเหตุ ของเกิดการหมอกควันแตกต่างจากในอดีตอย่างไร และแนวทางแก้ไขปัญหาของหน่วยงานรัฐที่มีทาไมจึงไม่ สามารถทาให้สถานการณ์หมอกควนั ดีขึ้นได้ โดยจะขอนากรณีจังหวัดเชยี งใหม่ซึ่งเผชญิ ปญั หาค่าฝุ่นละอองเกนิ มาตรฐานในระดบั โลกมาเป็นกรณศี กึ ษา เม่ือศึกษาจากรายงานวิจัยและข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆ พบว่าสาเหตุหลักคือการเผาไหม้ที่ควบคมุ ไม่ได้ ในเชิงพื้นที่เมื่อศึกษาพื้นท่ีเผาไหม้ท่ีได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม พบว่าสภาพการใช้ที่ดินท่ีพบรอยไหม้ มากท่ีสุดเป็นป่าผลัดใบร้อยละ 68 รองลงมาเป็นพืชไร่ร้อยละ 7 และไร่หมุนเวียนร้อยละ 6 (ศุทธินี และคณะ, 2557) ถ้าศึกษาจากพื้นที่ป่าตามกฎหมาย พบพ้ืนท่ีเผาไหม้ในป่าสงวนแห่งชาติมากท่ีสุดร้อยละ 90 รองลงมา เป็นป่าอนุรักษ์ร้อยละ 5 (สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน), 2561) การ เผาไหม้ในภาพรวมจึงเกิดในพ้ืนที่ป่าไม้ท่ีอาจรวมพื้นที่เกษตรในเขตป่าไว้ด้วย โดยสัมพันธ์กับสาเหตุเชิงซ้อน หลายด้านที่แปรเปลี่ยนและแตกต่างกันไปตามบริบทของแต่ละพ้ืนที่ ประกอบด้วยเงื่อนไขเด้านส่ิงแวดล้อมทาง กายภาพ สภาพเศรษฐกิจ-สังคม และนโยบายและมาตรการของรัฐต่อการใช้พ้ืนท่ีเพ่ือการเกษตร การใช้ ทรพั ยากรทีด่ นิ และป่าไม้ และการจดั การปัญหาหมอกควนั (ศทุ ธินี และคณะ, 2557) (รูปท่ี 1) ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพของภาคเหนือที่สัมพันธ์กับการเกิดฝุ่นควันประกอบด้วย สภาพภูมิประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงสลับกับหบุ เขาหรือแอ่งท่ีราบท่ีวางตวั ในแนวเหนือ-ใต้ พ้ืนที่ราบมีจากัด มีผลต่อ การใช้ ที่ดิน ทาให้เกษตรกรต้องขยายพ้ืนที่เพาะปลูกพืชอายุส้ันข้ึนไปตามพ้ืนท่ีป่าไม้ในเขตที่สูง ทาให้ต้องใช้ไฟในการ กาจัดเศษพืชในระหว่างเตรียมการเพาะปลูกทุกปี นอกจากนี้ภูเขาสูงยังเป็นอุปสรรคกั้นลมมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ที่พาความชื้นมาจากทะเลอันดามัน มีผลทาให้พื้นที่ซึ่งมีความช้ืนน้อยเป็นป่าผลัดใบมากที่สุด จานวนร้อยละ 70 ของพ้ืนที่ป่าไม้ท้ังหมด ป่าไม้ประเภทนี้ประกอบด้วยป่าเตง็ รังและป่าเบญจพรรณ ท่ีท้ิงใบร่วงจนหมดในช่วง ฤดูแลง้ กลายเปน็ เชื้อเพลิงจานวนมากทเ่ี สี่ยงต่อการเกิดไฟป่า ปริมาณเช้ือเพลิงยังแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะปี ขึ้นอยู่ กับปริมาณน้าฝนและการจัดการเช้ือเพลิง ถ้าปีใดมีปริมาณน้าฝนมากกว่าปกติ เชื้อเพลิงมีความชื้นมากทาให้ การเผาลดลง หรือพ้ืนที่นนั้ ไม่มีการจัดการเช้ือเพลิงหลายปีจากนโยบายห้ามเผา ทาให้เกิดภาวะเชื้อเพลิงตกค้าง สะสมจนมีจานวนมากกว่าปกติในปีถัดไป แต่ถ้าปีใดมีความแห้งแล้งมากจนไฟป่าเกิดขึ้นบ่อยหรือมีการจัดการ 2

เช้ือเพลิง ปริมาณเช้ือเพลิงในปีถัดไปจะลดลงมีความเส่ียงต่อไฟป่าน้อยลงด้วย นอกจากน้ีความแห้งแล้งยังเพ่ิม ความเส่ียงต่อการเผาไหมใ้ นป่าไม่ผลดั ใบ (ป่าดบิ เขา ป่าสน และปา่ ดิบแลง้ ) ทปี่ กติมีความชื้นและเกิดไฟป่าน้อย บริบทของปัญหาหมอกควัน สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม นโยบาย/มาตรการของรัฐ สภาพภมู อิ ากาศ การประกอบอาชีพ การใชป้ ระโยชน์ทด่ี นิ การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย 1) ปรมิ าณนา้ ฝนและความชน้ื 2) ความกดอากาศสงู 3) ทิศทางลม 1) การเก็บของป่า/ล่าสตั ว์ 1) พน้ื ทเ่ี กษตรกรรม: เกษตรในที่ 1) พรบ. ป่าไม้ พ.ศ. 2484 2) พรบ. 2) การส่งเสริมปลกู พชื ไร่ ราบ ทเี่ นิน และทส่ี ูง 2) พื้นท่ปี ่าไม้: อทุ ยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 3) พรบ. ปา่ 3) การทาไรห่ มนุ เวยี น ปา่ ผลัดใบ ป่าไมผ่ ลัดใบ สวนปา่ ทุง่ สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 4) พรบ. สงวน หญา้ 3) พน้ื ทชี่ ุมชน: การก่อสรา้ ง และคมุ้ ครองสัตวป์ ่า พ.ศ.2535 5) พรบ. ยานพาหนะ โรงงานอุตสาหกรรม ท่ี ส่งเสริมและรกั ษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. รกร้าง พืน้ ทร่ี มิ ถนน และที่ทิง้ ขยะ 2535 6) พรบ.ป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั พ.ศ. 2550 7) พรบ. การ สาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี ก้ไข เพ่มิ เตมิ สภาพภมู ปิ ระเทศ ข้อจากัดทางเศรษฐกิจและสังคม แนวทาง/ยทุ ธศาสตร์ 1) ภมู ปิ ระเทศแบบภูเขาสลับกบั แอง่ ทร่ี าบ 2) การวางตวั ของ 1) รายไดไ้ ม่เพียงพอ 2) ขาดแคลนที่ดนิ ทากิน/ไมม่ ีสทิ ธ์ใิ นทด่ี นิ 3) มี 1) คณะกรรมการป้องกนั และบรรเทา ภมู ิประเทศ 4) ระดับความสูง แรงงานอยู่จากดั 4) ขอ้ จากัดในการเลือกชนดิ พืช 5) ไมม่ เี งินทุน/ลด สาธารณภัยแห่งชาติ 2) มติครม. 3) ยทุ ธ- 5) ทศิ ด้านลาด คา่ ใชจ้ ่าย 6) ขอ้ จากดั ด้านตลาดของผลผลติ การเกษตร 7) ประหยัด ศาสตรข์ องสว่ นราชการทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 1) อณุ หภูมผิ กผนั 2) ทศิ ทางลม เวลาทางาน 8) ขาดความชว่ ยเหลอื จากรฐั 9) การเปล่ยี นวถิ ีชวี ติ แบบ ประกาศ ขอ้ บญั ญตั ิ กฎระเบียบ 3) หมอกควนั ข้ามแดน 4) สภาพ ด่งั เดิมเปน็ วถิ ชี วี ติ แบบบรโิ ภคนยิ ม ภูมิประเทศ 1) ประกาศจังหวัดตา่ งๆ 2) ข้อบัญญตั ิ ชมุ ชน 3) กฎระเบยี บชุมชน สาเหตุของหมอกควนั 1) การเผาป่า 2) การขยายพ้นื ทเ่ี พาะปลกู 3) การกาจัดเศษพชื ในไร่นา 1) วธิ ีการไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 2) ขาดการมี 4) การเผาขยะ 5) การควบคุมการใช้ไฟจากคนนอกพืน้ ที่ไม่ได้ 6) การ สว่ นรว่ มจากท้องถนิ่ 3) เจ้าหนา้ ท่ี/ กาจัดหญา้ ในสวนปา่ 7) การกาจดั หญา้ ข้างทาง 8) มลภาวะจากยาน งบประมาณไม่เพียงพอ 4) ขาดความเขา้ ใจ พาหนะ 9) มลภาวะจากโรงงาน 10) ความขัดแยง้ 11) หมอกควนั ในมติ ิกายภาพ เศรษฐกจิ สังคม และความ ขา้ มแดน แตกต่างของพน้ื ท่ี 5) ขาดขอ้ มูลท่ีจาเปน็ ตอ่ การตัดสนิ ใจ 6) ขาดการบูรณาการ เช่ือมประสานระหวา่ งหนว่ ยงานทีร่ บั ผดิ ชอบและระหว่างพนื้ ที่ รปู ท่ี 1 บรบิ ทของการเกดิ หมอกควนั ในภาคเหนอื ตอนบน ท่มี า: ดัดแปลงจาก ศทุ ธนิ ี ดนตรแี ละคณะ, 2557. ในดา้ น สภาพภูมอิ ากาศ โดยปกตปิ ริมาณฝนในภาคเหนอื โซนใต้มีจานวนนอ้ ยกว่าโซนกลาง และโซน เหนือมีจานวนมากที่สุด ทาให้โซนใต้แห้งแล้งก่อนตั้งแต่กลางเดือนมกราคม หากเป็นปีที่เกิดภัยแล้งมาก 3

โดยเฉพาะในปีท่ีมีภาวะเอลนีโญ ดังเช่นในปี 2558/2559 และ 2561/2562 ทาให้ปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ มี ความแหง้ แล้งเกิดเร็วและยาวนานกวา่ ปกติ โดยทวั่ ไปในจงั หวัดเชียงใหม่ ไฟป่าเกิดข้ึนตง้ั แต่ปลายเดอื นธันวาคม โดยเริ่มท่ีโซนใต้ก่อนจากน้ันเป็นโซนกลางในช่วงปลายเดือนกุมภาพันธ์และทั้งจังหวัดรวมถึงโซนเหนือในเดือน มีนาคมและเมษายน นอกจากนี้ปัจจัยด้านทิศทางและความเร็วลมยังมีผลต่อการกระจายตัวของควันไฟและฝนุ่ ละออง ลมพัดตามทิศทางที่แตกต่างไปตามฤดูกาล ในช่วงฤดูฝนมีลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดพาความชื้นจาก ทะเลอันดามันเข้ามา ในช่วงฤดูร้อนมีลมพัดมาจากทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงใต้และทิศใต้ และในช่วงนี้ ความเร็วลมต่ากว่าฤดูอ่ืน ส่วนในฤดูหนาวทิศทางลมจะเปลี่ยนทิศตะวันออกเฉียงเหนือที่นาเอาความหนาวเย็น และทาให้เกิดความแห้งแลง้ และมีความเร็วลมมากพอสมควร เม่ือนาทิศทางท่ีลมพัดมาสมั พนั ธ์กับเวลาที่เกิดไฟ ป่า พบว่าโซนใต้มักมีไฟป่าก่อนในช่วงเดือนปลายเดือนธันวาคม-กลางกุมภาพันธ์ซึ่งเป็นช่วงท่ีมีความหนาวเย็น และมีลมพัดมาจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ หมอกควันจากการเผาไหม้จึงยังไม่ถูกพัดเข้าโซนกลางและโซนเหนือ ในขณะที่เวลาปลายเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนมีนาคมทุกพื้นท่ีแห้งแล้งมากขึ้นตามอุณหภูมิอากาศท่ีสูงขึ้น ลม เปล่ียนทิศทางมาพัดมาจากทิศตะวันตก ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และทิศใต้ เม่ือมีการเผาไหม้ในโซนใต้และโซน กลาง รวมท้ังในประเทศเพื่อนบ้าน ฝุ่นละอองขนาดเล็กจึงถูกพัดเข้าสู่พ้ืนที่แอ่งกระทะในภาคเหนือ เป็นทั้ง หมอกควันข้ามแดนระหวา่ งอาเภอ-จังหวัดและระหว่างประเทศ ทีท่ าใหว้ ิกฤตฝิ ุน่ ละอองขนาดเล็กรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะในเมยี นมาพบจดุ ความร้อนจานวนมากในชว่ งเดือนมนี าคม-เมษายน โดยเฉพาะในบรเิ วณพน้ื ทีร่ ฐั ฉาน ท่ตี ิดกบั ภาคเหนอื ของประเทศไทย มจี านวนจดุ ความรอ้ นสูงกว่าบริเวณภาคเหนือของไทยอยา่ งมีนยั สาคัญ และ มีจานวนมากกว่า 2 เท่าของจานวนจุดความร้อนที่เกิดในประเทศไทยแทบทุกปี (THE SUNDAY NATION, 2017; อรรคณัฐ, 2560; ธารา, 2562; ประชาชาติธุรกิจ, 2562จ) เมื่อมีกระแสลมพัดมาจากด้านนั้นเข้าสู่พื้นที่ แอ่งกระทะในจังหวัดเชียงใหม่ ทาให้ค่าฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเกินมาตรฐาน แม้จะการควบคุมการเผาไหม้ใน ประเทศ อีกประการหน่ึงสภาพอากาศหนาวเย็นและภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขาสลับกับหุบเขาทาให้เกิดภาวะ อุณหภูมิผกผัน (inversion temperature) ระหว่างชั้นอุณหภูมิท่ีพื้นดินและช้ันอุณหภูมิอากาศด้านบน ช้ัน อุณหภูมิผกผันนี้มีอุณหภูมิสูงกว่าชั้นอุณหภูมิท้ังสอง เมื่อมีการเผาไหม้ฝุ่นละอองขนาดเล็กจึงไม่สามารถฟุ้ง กระจายขึน้ ไปตามแนวด่ิง แต่กระจายในแนวราบใกล้กบั พน้ื ดิน และสะสมมากขนึ้ จนเกนิ คา่ มาตรฐาน สาหรับ สภาพสังคม-เศรษฐกิจ เมื่อมีแรงกดดันด้านประชากรต่อที่ดินทากินท้ังในท่ีราบและท่ีสูง ทา ให้เกษตรกรยากจนไม่มีที่ดินของตนเอง ขยายพ้ืนท่ีเพาะปลกู เข้ามาในเขตป่าตามพื้นที่สงู ส่วนใหญป่ ลกู พืชอายุ ส้นั (ไรห่ มนุ เวยี น พืชไร่ พืชผัก และไมด้ อกไม้ประดบั ) ประกอบกนั มีแรงจูงใจจากตลาดและภาครัฐท่ีส่งเสริมการ ปลูกพืชทาเงิน ที่เป็นพืชอาหารและพืชพลังงานโดยเฉพาะข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ท่ีมีตลาดรองรับและราคาซื้อ เพิ่มขึ้น จึงมีการขยายพ้ืนที่เกษตรในเขตป่าไม้มากขึ้นทั้งในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดในภาคเหนือ รวมทั้งใน ประเทศเพื่อนบ้าน (รัตนศิริ, 2562; อรรคณัฐ, 2560) โดยใช้ไฟกาจัดเศษพืชก่อน หากควบคุมไม่ดีไฟจากการ เผาไร่จะลกุ ลามกลายเป็นไฟป่า นอกจากนีว้ ิถชี ีวิตของชุมชนท่ีอยู่ใกล้เขตป่าไมย้ ังพึ่งพาป่าไม้และผลิตภัณฑ์จาก ป่าเพ่ือนามาใช้ประโยชน์และบริโภคเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน หรือนาไปขายเพื่อเพ่ิมรายได้ โดยเฉพาะป่า 4

เต็งรังที่มีแหล่งอาหารจากป่ามาก เช่น ไข่มดแดง สัตว์ป่า ผักป่า หน่อไม้ และเห็ดชนิดต่างๆ จากประสบการณ์ ชาวบ้านส่วนใหญ่ยังเชือ่ ว่า ไฟปา่ ชว่ ยใหข้ องป่าออกผลผลิต อาทิ กระตุ้นให้ผักหวานแตกใบ และมคี วามสะดวก ในการลา่ สัตว์และเกบ็ ของป่า นโยบายและมาตรการของรัฐ ถือเป็นอีกปัจจัยที่มีความสาคัญในการกาหนดแนวทางการแก้ไขปญั หา หมอกควันจากอดีตจนถึงปัจจุบนั รวมทั้งการกระจายงบประมาณและทรัพยากร นโยบายและมาตรการท้ังหมด ทกี่ าหนดขน้ึ ถูกส่ังการจากบนลงลา่ ง (top-down policies) โดยเรมิ่ ตน้ จากพระราชบัญญัติปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัย พ.ศ. 2550 ตามมาตรา 6 ที่กาหนดให้มีคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%BB46/%BB46-20-2550-a0001.pdf) เป็นหน่วยงานสูงสุด ทาหน้าท่ีสาคัญในการกาหนดนโยบายในการจัดทาแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ และให้ความ เห็นชอบแผนน้ีก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี บูรณาการพัฒนาระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระหว่าง หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาคเอกชนท่ีเก่ียวข้องให้มีประสิทธิภาพ ให้ คาแนะนา ปรึกษา และสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย วางระเบียบเกี่ยวกับ คา่ ตอบแทน คา่ ทดแทน และคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนินการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยความเห็นชอบของ กระทรวงการคลัง และปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติและกฎหมายอ่ืน หรือตามท่ี คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ซึ่งสาหรับกรณีการแก้ไขปัญหาหมอกควันมีพระราชบัญญัติท่ีเกี่ยวข้องประกอบด้วย พระราชบัญญตั ิปา่ ไม้ พ.ศ. 2484 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 (พระราชบญั ญัติฉบบั น้ถี ูกยกเลิก และแทนที่ด้วยพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2562) พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 (พระราชบัญญัติฉบับนี้ถูกยกเลิกและแทนที่ด้วย พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2562) พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และท่ีแกไ้ ขเพิม่ เตมิ สาหรับการแก้ไขปัญหาไฟป่าและมลพิษหมอกควัน แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติจึง เป็นกรอบการปฏิบัติงานให้แก่ระดับจังหวัด ที่มีลักษณะแบบแผนเดียวกันแม้ว่าแต่ละพ้ืนที่มีบริบทของการเผา ไหม้ที่แตกต่างกัน ในขณะเดียวกันหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่างแยกดาเนินการตามภาระงานที่กาหนดมา โดยขาด การผนวกแผนงานระหวา่ งหน่วยงานในทางปฏบิ ัติ การประสานงานและการเชอื่ มโยงการแกไ้ ขปญั หาในเรื่องน้ีมี น้อย และไมม่ คี วามต่อเนือ่ ง ทาใหก้ ารควบคมุ การเผาในทีโ่ ลง่ ยงั ไมส่ ามารถเหน็ ผลในภาพรวมได้อยา่ งชัดเจน อย่างไรก็ตามหมอกควันเกิดมาจากหลายสาเหตุ แม้จะมีงานวิจัยและรายงานจากส่วนราชการ เผยแพร่ออกมา แต่ยังเป็นประเด็นถกเถียงในแวดวงผู้ท่ีเก่ียวข้องและผู้ที่ได้รับผลกระทบว่าสาเหตุที่แท้จริงเกิด จากอะไร ยงั มคี นจานวนไมน่ อ้ ยท่ีเช่ือว่าเกิดจากสาเหตุใดสาเหตหุ นึ่ง โดยเกดิ ข้ึนตลอดเวลาที่เกดิ หมอกควนั แต่ ในความเป็นจริงสาเหตุของหมอกควันและพ้ืนที่เผาไหม้เปล่ียนไปตามเวลาและปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ทั้งด้านสภาพ 5

ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การใช้ที่ดิน พฤติกรรมการใช้ไฟในวิถีชีวิต และท่ีสาคัญคือนโยบายของรัฐในการแก้ไข ปัญหาหมอกควัน หากศึกษาในพ้ืนท่ีเน้ือที่ไม่มากนักในระดับหมู่บ้านหรือตาบล การค้นหาสาเหตุย่อมทาได้งา่ ย และชัดเจนกว่าในพ้ืนท่ีกว้างไม่ว่าจะเป็นระดับจังหวัด ประเทศ และภูมิภาค ท่ีมีสาเหตุหลากหลายและซับซ้อน มากข้นึ การแกไ้ ขปัญหาหมอกควันจึงควรมรี ะบบข้อมลู เชิงพนื้ ที่สนับสนุนเพ่ือติดตามสาเหตุและสถานการณ์ได้ ทันท่วงที ไม่เพียงแต่จุดความร้อนและพื้นท่ีเผาไหม้เท่านนั้ แต่ยังขาดลักษณะการใชท้ ่ีดิน สภาพป่าและปรมิ าณ เชื้อเพลิง ชนิดพืชและพื้นที่เพาะปลูก สภาพภูมิอากาศท่ีมีการเปล่ียนแปลงในแต่ละปี รวมท้ังนโยบายของรัฐ ด้านการเกษตร การใช้ท่ีดินในเขตป่าอนรุ ักษ์และป่าสงวนแห่งชาติ 3. แนวทางและนโยบายที่ใชใ้ นปัจจุบนั แนวทางและนโยบายในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน โดยเฉพาะสาหรับพ้ืนท่ีจังหวดั ภาคเหนือตอนบน รวมทั้งในจังหวัดเชียงใหม่ถูกกาหนดมาจากภาครัฐ โดยแนวทางและนโยบายในอดีตยังมีการนามาใช้มาจนถึง ปัจจุบัน โดยก่อน พ.ศ. 2550 กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เป็นหนว่ ยงานท่ีรวบรวมมาตรการและยทุ ธศาสตรจ์ ากหน่วยงานราชการท่ีเก่ยี วข้องแล้วนา จัดทาเสนอที่ประชุมคณะรัฐมนตรีพิจารณาออกประกาศเป็นมติคณะรัฐมนตรี อาทิ มติฯ ในวันท่ี 16 ธันวาคม 2546 เรอ่ื ง แผนยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาไฟป่าปี 2547 ในวันท่ี 23 พฤศจกิ ายน 2547 เร่อื ง มาตรการแก้ไข ปัญหาไฟป่าปี 2548 รวมท้ังแผนแม่บทแห่งชาติวา่ ด้วยการควบคุมการเผาในที่โล่งท่ีกรมควบคุมมลพิษเสนอให้ คณะรัฐมนตรีเห็นชอบใน พ.ศ.2546 (http://infofile.pcd.go.th/air/air_Openburning.pdf?CFID= 1369883&CFTOKEN =99719473) มียุทธศาสตร์ด้านการรองรับข้อตกลงอาเซียนเร่ืองมลพิษจากหมอกควัน ข้ามแดน การจัดการเศษวัสดุเหลือใช้จากภาคการเกษตร การจัดการขยะมูลฝอยชุมชน การจัดการไฟป่า การ สง่ เสริมการใช้พลงั งานหมุนเวียน การส่งเสรมิ และประชาสมั พนั ธ์ และการใชม้ าตรการทางดา้ นกฎหมาย จากน้นั ต้ังแต่ พ.ศ. 2550 เมื่อมีการออกพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยเสนอได้แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า พ.ศ.2551-2554 ผ่านเป็นมติ คณะรัฐมนตรีในวันที่ 30 ตุลาคม 2550 ต่อมามีมติคณะรัฐมนตรีปี 2556 เร่ืองมาตรการป้องกันแก้ปัญหา มลพิษจากหมอกควัน 9 จังหวัดภาคเหนือ และมีมติเพิ่มเติมแก้มาตรการควบคุมการเผาเป็น.“ไม่ให้มีการเผา” อันเป็นที่มาของการกาหนดเวลาห้ามเผาในทุกจังหวัดภาคเหนือตอนบน ในพ.ศ. 2558 ให้ใช้แผนการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 เป็นแผนแม่บทในการจดั การสาธารณภัยของประเทศ ที่ใช้ร่วมไป กับแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง และมลพิษหมอกควัน พ.ศ. 2556 – 2562 ภายใต้แผนแม่บทพัฒนาความปลอดภัยด้านอัคคีภัยแห่งชาติ (รูปที่ 3) ที่ในพ.ศ. 2552 คณะกรรมการป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เสนอให้ขยายเวลาใช้งานจนถึงปี 2562 โดยกาหนดแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหา 2 ด้าน คือ ด้านไฟป่าและด้านการเผาในที่โล่ง (ประกอบด้วย 6

ด้านไฟป่า (แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ ก่อนเกิดภัย (ข้ันเตรียมการ) ขณะเกิดภัย (ข้ันการปฏิบัติการ) และหลังเกิด ภัย (ข้ันการฟ้ืนฟูบูรณะ)) ด้านการเผาในชุมชน ด้านการเผาเศษวัสดุเหลือใช้จากภาคการเกษตร ด้านการ ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน ด้านการส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ และด้านการใช้มาตรการทางกฎหมาย) และด้านมลพิษจากหมอกควัน (ประกอบด้วยการรองรับข้อตกลงอาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน การสร้างกลไกการตดิ ตามตรวจสอบ การป้องกันการเกิดไฟในที่โลง่ และไฟป่าทั้งหมด การเตรียมความพร้อมใน การดาเนินการร่วมกับประเทศภาคีอื่น การจัดทาแผนปฏิบัติการฉุกเฉินแห่งชาติ และการให้ความช่วยเหลือ ความรว่ มมือด้านเทคนิคและการวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์) (คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย, 2552; https://www.ryt9. com/s/cabt/769545) รูปท่ี 2 กลไกการติดตามและประเมินผล แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไฟปา่ การเผาในทีโ่ ล่ง และ มลพิษหมอกควัน พ.ศ.2556-2562 ภายใต้แผนแมบ่ ทพฒั นาความปลอดภัยด้านอคั คีภยั แหง่ ชาติ ท่ีมา: คณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย. 2552. จากกรอบแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง และมลพิษหมอกควันใน ระดับประเทศ เมือ่ นามาส่กู ารปฏิบัติการพบว่ามีโครงสร้างอานาจในการทางานของส่วนราชการทเี่ ก่ียวข้องเป็น แบบสั่งการจากบนลงล่าง จากระดับกระทรวงไปยังระดับกรม ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับอาเภอ ตาบล หม่บู า้ นและประชาชนในพืน้ ท่ี ดังนี้ 7

หน่วยงานระดับกระทรวงที่มีอานาจสั่งการมีอยู่ 2 กลุ่ม คือ กระทรวงกลาโหม และกระทรวงตามที่ กาหนดในแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง และมลพิษหมอกควัน (รูปที่ 3) หน่วยงานที่สาคัญคือ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อม กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช และกรมป่าไม้) กระทรวงมหาดไทย (กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย กรมการปกครอง และกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กรม ชลประทาน กรมฝนหลวง กรมส่งเสรมิ การเกษตร และกรมพัฒนาที่ดิน) กระทรวงคมนาคม (กรมทางหลวง กรม ทางหลวงชนบท และกรมอุตุนิยมวิทยา) และกระทรวงสาธารณสุข (สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และ กรมอนามัย) บทบาทหน้าท่ีของหน่วยงานระดับกระทรวงและกรมเป็นไปตามแนวทางการปฏิบตั ิ “4 มาตรการเชิง พนื้ ท่ี 4 มาตรการบริหารจดั การและการบังคบั ใช้กฎหมาย” ท่ีกรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยเสนอ (สานัก ข่าวแห่งชาติ กรมประชาสัมพันธ์, 2561) สาหรับ 4 มาตรการเชิงพื้นที่ ได้แก่ 1) พ้ืนที่ป่าสงวนแห่งชาติ/ป่า อนุรักษ์ ให้กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มเป็นหนว่ ยงานหลักดูแล โดยจัดทาแนวกันไฟ สนธิกาลงั เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครภาคประชาชนเพิ่มความถี่ในการลาดตระเวนและเฝ้าระวังไฟป่า รวมถึงกาหนดกติกา ชมุ ชนห้ามเผาป่า 2) พน้ื ทีเ่ กษตรกรรม (ทไี่ ม่รวมพน้ื ท่ีเกษตรในเขตป่าไมต้ ามกฎหมาย) ให้กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์เป็นหน่วยงานหลักดูแล โดยกาหนดช่วงเวลาและจัดระเบียบการเผา ประกาศเขตห้ามเผา รวมถึง รณรงค์การไถกลบ การใช้สารย่อยสลายแทนการเผาวัชพืช และจัดอาสาสมัครเฝ้าระวังการลักลอบเผาในพ้ืนที่ การเกษตร 3) พ้นื ทช่ี มุ ชน/เมอื ง ให้กระทรวงมหาดไทยดูแลผ่านจงั หวดั อาเภอ และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น โดยกาหนดกติกาชุมชน ใช้กลไกประชารัฐในการป้องกันและเฝ้าระวังการเผา พร้อมจัดชุดปฏิบัติการประจา ตาบล/หมู่บ้าน ชี้แจงมาตรการป้องกันไฟป่าและหมอกควัน และ 4) พ้ืนที่ริมทาง ให้กระทรวงคมนาคมเป็น หนว่ ยงานหลักดแู ล โดยเฝา้ ระวังและควบคมุ การเผา พรอ้ มกาจัดเศษวัสดุและใบไม้แหง้ บริเวณพื้นทีร่ มิ ทาง ส่วน 4 มาตรการบรหิ ารจดั การ ได้แก่ 1) การวางระบบบญั ชาการเหตุการณ์ โดยจดั ตง้ั ศนู ยบ์ ัญชาการ เหตุการณ์จังหวัดและอาเภอ โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอเป็นผ้บู ัญชาการ ทาหน้าท่ีอานวยการ ส่ัง การ ระดมสรรพกาลังและทรัพยากรในการควบคมุ และแก้ไขปญั หาไฟปา่ และหมอกควันอยา่ งมีเอกภาพ 2) การ สร้างความตระหนัก เน้นการประชาสัมพันธ์ผลกระทบของไฟป่าและหมอกควัน บทลงโทษจากการลักลอบจุด ไฟในพ้ืนท่ี พร้อมปลูกฝังจิตสานึกในการอนุรักษ์ป่าไม้และสร้างการมีส่วนร่วมในการป้องกันปัญหาไฟป่าและ หมอกควัน 3) การลดปริมาณเชื้อเพลิง โดยจัดทาแนวกันไฟและควบคุมการเผา พร้อมส่งเสริมการใช้สารหมัก ชีวภาพเพื่อย่อยสลายตอซัง และรณรงค์การฝังกลบขยะและการไถกลบแทนการเผา รวมถึงผลักดันการจัดตั้ง กองทุนสนับสนุนการปอ้ งกันปัญหาไฟปา่ และหมอกควัน 4) การมสี ่วนรว่ มของจติ อาสาประชารัฐ โดยบรู ณาการ ทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ หน่วยทหาร ฝ่ายปกครอง ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมร่วมป้องกันปัญหาไฟป่า และแก้ไขปัญหาหมอกควันในพ้ืนท่ี และกาหนดให้บังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มข้นกับผู้ท่ีลักลอบเผาในพื้นท่ีป่า พืน้ ทก่ี ารเกษตร พน้ื ทีช่ ุมชน และพน้ื ทร่ี มิ ทาง (สานักข่าวแหง่ ชาติ กรมประชาสมั พันธ์, 2561) 8

สาหรับหน่วยงานในระดับภูมิภาคและจังหวัด ตามพระราชบัญญัติบรรเทาและป้องกันสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 17 กาหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดทาแผนการป้องกันบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด มีการ จัดตั้งศูนย์อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับจังหวัด (ศอ.ปกป.จว.) โดยมีผู้ว่า- ราชการจังหวัดในฐานะผู้อานวยการศูนย์ฯ มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดซ่ึงผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมาย ผู้ บัญชาการมณฑลทหารบกหรือผู้บังคับการจังหวัดทหารบกหรือตัวแทน และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองประธาน สาหรับกรรมการกาหนดให้มีผู้แทนหนว่ ยงานของรัฐทปี่ ระจาในจงั หวดั ผูแ้ ทนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัด ผู้แทนองค์กรสาธารณกุศลในจังหวัด ผู้บริหารสถาบันการศึกษาในจังหวัด และมีหัวหน้า สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเป็นกรรมการและเลขานุการ ดังตัวอย่างของจังหวัดเชียงใหม่ คณะกรรมการประกอบด้วยสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1, องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สานักบริหาร พน้ื ที่อนุรกั ษท์ ่ี 16, สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 1, สานกั งานเกษตรจังหวดั , สถานพี ฒั นาทด่ี นิ , แขวงการทาง เชียงใหม่ท่ี 2, ศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงภาคเหนือ, ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ, สานักงานสาธารณสุขจังหวัด, นายอาเภอ, ภาคเอกชน, องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันการศึกษา โดยมีตัวแทนสานักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัดและสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเป็นกรรมการ และเลขานุการร่วม แนวทางดาเนินงานรับมาจากแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในที่โลง่ และมลพิษหมอกควัน พ.ศ.2556-2562 คือ การใช้ระบบศูนยส์ ั่งการแบบเบ็ดเสร็จ (single command) ในการ บรหิ ารจัดการ การจดั การเชื้อเพลิงในพ้นื ทเี่ สี่ยงเพ่ือลดการเผา การใช้มาตรการกฎหมายในช่วงห้ามเผาเด็ดขาด (กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ.2484 พระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ 2507 พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 และ พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535) การระดมกาลังลาดตระเวน การสนับสนุนการปรับเปล่ียน พฤติกรรมการปลูกพชื และกาจัดเศษวัสดุการเกษตร กลไกภาคประชารัฐและเครอื ข่ายในการมสี ว่ นรว่ ม และการ ส่ือสารและประชาสมั พันธเ์ ชิงรุกให้เข้าถงึ พ้ืนทีเ่ ปา้ หมาย สาหรับกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีได้สั่งการผ่านกองทัพบกให้กองทัพภาคที่ 3 ต้ัง กองบัญชาการควบคุมสถานการณ์หมอกควนั ภาคเหนือข้นึ ท่ีมณฑลทหารบกท่ี 33 ผ่านศนู ยบ์ รรเทาสาธารณภัย กองทัพภาคท่ี 3 (http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/827178) ให้จัดตั้งศูนย์อานวยการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับภาค (ศอ.ปกป.ภาค) ทาหน้าท่ีอานวยการและบูรณาการ ปฏิบัติการ เฝ้าระวัง สั่งการ ควบคุม กากับดูแล ทุกหน่วยงานในส่วนภูมิภาคและศูนย์อานวยการป้องกันและ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับจังหวัด (ศอ.ปกป.จว.) ใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ระดมกาลังทหารมา ปฏิบัติงานในชุดปฏบิ ตั ิการดับไฟป่า และการใช้อากาศยานเพื่อดับไฟป่าในพ้ืนท่ีท่ีเข้าถึงลาบาก เป็นการบูรณา- การระหว่างตารวจ ทหาร และภาคประชาชน (กรงุ เทพธรุ กจิ , 2562; เชยี งใหมน่ วิ ส์, 2561) 9

รฐั บาล/มตคิ ณะรฐั มนตรี แผนแมบ่ ทแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการควบคมุ การเผาในท่ีโล่งซึ่งผา่ นความเหน็ ชอบจากคณะรฐั มนตรี พ.ศ.2546 แผนแมบ่ ทพฒั นาความปลอดภัยดา้ นอคั คภี ัยแหง่ ชาติ พ.ศ. 2549 แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 แผนปฏิบตั กิ ารการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาไฟปา่ การเผาในทีโ่ ลง่ และมลพิษหมอกควัน พ.ศ. 2556 – 2562 ภายใต้แผนแมบ่ ทพัฒนาความปลอดภยั ดา้ นอัคคีภัยแห่งชาติ: 1) การเพิ่มการป้องกัน อัคคีภัย 2) การลดความสญู เสยี 3) เพิ่มการฟืน้ ฟแู ละบรรเทาหลังจากเกิดอัคคีภยั 4) มุ่งเน้นให้เกิดการมีสว่ นร่วมในการ แกป้ ัญหาอัคคีภยั ทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และประชาชน และ 5) การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาไฟ ป่าและหมอกควันจากไฟปา่ ซึ่งแพรก่ ระจายมาจากตา่ งประเทศ 28 กุมภาพันธ์ 2560 กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั เสนอระยะเวลาปฏิบัติงาน 4 ระยะ คอื (1) การเตรยี มความพร้อม (กอ่ นเกิดภยั ) (2) แนวทางปฏิบตั ใิ นการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาไฟปา่ และหมอกควนั “๓ มาตรการ เชงิ พ้ืนท่ี ๕ มาตรการบรหิ ารจดั การ” (ขณะเกิดภัยหรอื ใกล้เกิดภัย) (3) การใหค้ วามช่วยเหลอื (ขณะเกดิ ภยั ) และ (4) การฟืน้ ฟูและแกไ้ ขปญั หาอย่างย่ังยืน (หลงั เกิดภัย) กระทรวงกลาโหม ราชการสว่ นกลางและส่วนภมู ภิ าค กองทพั ภาคที่ 3 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - ศูนย์บรรเทาสาธารณภยั กองทัพภาคที่ 3 - สานักงานปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั - กรมชลประทาน - ศูนยอ์ านวยการป้องกันและแก้ไขปญั หาไฟปา่ และหมอกควนั สิง่ แวดล้อม แห่งชาติ - กรมฝนหลวง ระดับภาค (ศอ.ปกป.ภาค) - กรมควบคุมมลพิษ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย - กรมสง่ เสริมการเกษตร แนวทางดาเนินงาน - กรมอทุ ยานแห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื กรมการปกครอง - กรมพัฒนาทด่ี ิน - อานวยการและบูรณาการปฏบิ ตั กิ าร เฝ้าระวงั สงั่ การ ควบคุม กากับดูแล ทุกหนว่ ยงานในส่วนภมู ภิ าคและศูนย์ - กรมปา่ ไม้ กรมสง่ เสริมการปกครองส่วนท้องถ่ิน กระทรวงคมนาคม อานวยการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดบั - กรมทางหลวง จังหวัด (ศอ.ปกป.จว.) ใน 9 จังหวัดภาคเหนอื - กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม - กรมทางหลวงชนบท - ระดมกาลังทหารมาปฏิบัตงิ านในชดุ ปฏิบัตกิ ารดับไฟปา่ และ - กรมอุตนุ ยิ มวทิ ยา การใช้อากาศยานเพอื่ ดบั ไฟป่าในพ้นื ท่ที ่ีเข้าถงึ ลาบาก เปน็ สานกั เทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (สทอภ.) กระทรวงสาธารณสขุ การบูรณาการระหว่างตารวจ ทหาร และภาคประชาชน – ฐานขอ้ มลู จดุ ความร้อน พ้นื ท่ีเผาไหม้ พื้นทีห่ มอกควนั - สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข - กรมอนามัย แนวทางจากกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยใน พ.ศ. 2560 - 2562 (หน่วยงานรับผดิ ชอบหลกั ตาม พรบ.ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550) การนาพระราชดาริการสร้างปา่ สร้างรายได้มาใช้ในการ ปอ้ งกนั การบกุ รุกพ้ืนที่ปา่ เพ่อื ทาการเกษตร พรอ้ มสรา้ งจติ สานกึ ในการอนุรกั ษ์ดิน น้า และปา่ ไม้ ภายใตแ้ นวทางการปฏบิ ตั ิ “4 มาตรการ เชิงพนื้ ที่ 5 มาตรการบริหารจดั การ และการบงั คบั ใชก้ ฎหมาย” ดังนี้ 4 มาตรการเชิงพนื้ ท่ี โดยแบ่งพ้นื ทดี่ าเนนิ การ ได้แก่ 1) พ้ืนทปี่ า่ สงวนแห่งชาต/ิ ปา่ อนรุ กั ษ์ มกี ระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม เป็นหนว่ ยงานหลัก โดยจดั ทาแนวกันไฟ สนธิกาลงั เจ้าหนา้ ที่และอาสาสมคั ร ภาคประชาชนเพิ่มความถี่ในการลาดตระเวนและเฝา้ ระวงั ไฟป่า รวมถึงกาหนดกตกิ าชมุ ชนห้ามเผาป่า 2) พื้นทีเ่ กษตรกรรมมกี ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ หน่วยงานหลกั โดยกาหนดช่วงเวลาและจัดระเบยี บการ เผา ประกาศเขตห้ามเผา รวมถงึ รณรงคก์ ารไถกลบ การใช้สารยอ่ ยสลายแทนการเผาวัชพืช จดั อาสาสมคั รเฝา้ ระวังการลักลอบเผาในพ้นื ท่กี ารเกษตร 3) พืน้ ที่ชุมชน / เมือง ใหจ้ งั หวดั อาเภอ และองค์กรปกครองส่วน ทอ้ ง-ถิน่ กาหนดกติกาชุมชน โดยใช้กลไกประชารัฐในการปอ้ งกนั และเฝา้ ระวังการเผา พรอ้ มจดั ชดุ ปฏิบัตกิ ารประจาตาบล/หม่บู า้ น ชีแ้ จงมาตรการปอ้ งกนั ไฟป่าและหมอกควนั และ 4) พ้ืนที่ริมทาง มีกระทรวง คมนาคม เปน็ หน่วยงานหลกั ในการเฝา้ ระวังและควบคุมการเผา พร้อมกาจดั เศษวสั ดแุ ละใบไมแ้ ห้งบรเิ วณพน้ื ทีร่ ิมทาง 5 มาตรการบริหารจดั การ ไดแ้ ก่ 1) การจดั ใหม้ ีระบบบญั ชาการเหตุการณเ์ พ่ือการแกป้ ญั หาอยา่ งมเี อกภาพ โดยจัดตงั้ ศนู ยบ์ ัญชาการเหตกุ ารณจ์ งั หวัดและอาเภอ มผี ู้ว่าราชการจังหวดั และนายอาเภอเป็นผบู้ ัญชาการ ทาหนา้ ทอี่ านวยการ ส่งั การ ระดมสรรพกาลงั และทรพั ยากรในการควบคมุ และแก้ไขปญั หาไฟป่าและหมอกควัน 2) การสรา้ งความตระหนักรเู้ ร่ืองมาตรการปอ้ งกันไฟปา่ และหมอกควนั ให้ประชาชน และมีสว่ นร่วมใน การแก้ไขปัญหา เน้นการประชาสัมพันธ์ผลกระทบของไฟป่าและหมอกควัน บทลงโทษจากการลักลอบจดุ ไฟในพื้นท่ี พร้อมปลกู ฝงั จิตสานึกในการอนุรักษ์ป่าไม้ 3) การลดปริมาณเชื้อเพลงิ โดยจัดทาแนวกันไฟและ ควบคมุ การเผา พร้อมสง่ เสรมิ การใช้สารหมักชวี ภาพ เพ่ือยอ่ ยสลายตอซัง และรณรงคก์ ารฝังกลบขยะและการไถกลบแทนการเผา รวมถงึ ผลักดนั การจัดต้ังกองทุนสนบั สนนุ การป้องกันปัญหาไฟป่าและหมอกควัน และ 4) การบงั คับใชก้ ฎหมายอยา่ งเคร่งครัดจบั กมุ ผู้กระทาความผดิ ท่ีลักลอบเผาในพื้นท่ีหา้ มเผา และ 5) การมสี ว่ นร่วมของจิตอาสาประชารัฐ โดยบรู ณาการทกุ ภาคสว่ น ทงั้ ภาครัฐ หน่วยทหาร ฝา่ ยปกครอง ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมร่วมป้องกันปญั หาไฟป่าและแกไ้ ขปญั หาหมอกควันในพ้นื ที่ ระดับจงั หวัด ศอ.ปกป.จว. ->> แนวทาง 1) การใช้ระบบศนู ย์ส่ังการแบบเบ็ดเสร็จ (single command) ในการบรหิ ารจัดการ 2) การจัดการเชอ้ื เพลงิ ในพ้นื ท่เี สี่ยงเพ่ือลดการเผา 3) การใช้มาตรการกฎหมายในช่วงหา้ มเผาเด็ดขาด 4) การระดมกาลังลาดตระเวน 5) การสนับสนนุ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมการปลูกพืชและกาจัดเศษวัสดกุ ารเกษตร 6) กลไกภาคประชารฐั และเครือขา่ ยในการมีส่วนรว่ ม 7) การส่อื สารและประชาสัมพันธ์เชงิ รุกให้ เขา้ ถงึ พ้นื ทีเ่ ปา้ หมาย (ตัวอยา่ งกรณีจงั หวดั เชียงใหม่) หนว่ ยปฏบิ ัตใิ นระดบั พน้ื ท่ี สานกั งานทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มจงั หวัด, สานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัด, สานกั งานสิง่ แวดล้อมภาค, สานกั บรหิ ารพนื้ ทอี่ นุรกั ษ/์ สถานคี วบคุมไฟปา่ /อุทยานแห่งชาติ/เขตรักษาพนั ธ์ุสัตว์ ป่า, สานกั จดั การทรพั ยากรปา่ ไม้/หนว่ ยปอ้ งกนั รกั ษาป่า, สานักงานเกษตรจงั หวัด/สถานีพฒั นาทดี่ ิน, แขวงการทาง/หมวดทางหลวง, ศูนย์ปฏบิ ตั ิการฝนหลวงภาคเหนือ, ศนู ย์อุตุนิยมวทิ ยาภาคเหนือ, สานกั งาน สาธารณสุขจังหวัด/สาธารณสุขอาเภอ, ศอ.ปกป.อภ., องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน, กานัน-ผใู้ หญบ่ า้ น (ชรบ., อพปร.) และภาคประชาชน รูปที่ 3 แนวทางการแก้ไขปญั หาหมอกควนั ตามโครงสรา้ งอานาจ หมายเหตุ: อปท. คอื องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ , ชรบ. คือ ชดุ รักษาความปลอดภยั ประจาหมูบ่ า้ น, อพปร. คือ อาสาสมัครป้องกันภยั ฝา่ ยพลเรือน 10

ตามโครงสร้างการกาหนดแนวทางปฏิบัติดังกล่าว ประชาชนในพื้นที่จึงมีส่วนร่วมกาหนดแนว ทางแก้ไขปัญหาได้น้อยมาก เพราะมาตรา 15 ของพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้อานวยการจังหวัดรับผิดชอบบรรเทาสาธารณภัยในเขตจังหวัด มีหน้าที่จัดทาแผน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ซึ่งต้องสอดคล้องกับแผนการบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ที่กากับ ควบคุมการดาเนินงานของศูนย์อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับจังหวัดทั้ง 9 จงั หวดั ในภาคเหนอื ตอนบน สาหรับแนวทางปฏิบัติงานของจังหวัดเชียงใหม่ใน ปี 2561- 2562 มีหลักการ คือ การน้อมนา โครงการพระราชดาริสร้างป่า สร้างรายได้ มาใช้ในการป้องกันการบุกรุกพื้นท่ีป่าเพ่ือทาการเกษตร พร้อมสร้าง จิตสานกึ ในการอนรุ ักษด์ ิน น้า และป่าไม้ ภายใตแ้ นวทางการปฏบิ ัติ “4 มาตรการ เชิงพนื้ ท่ี 4 มาตรการบริหาร จดั การ และการบงั คบั ใช้กฎหมาย” ตามทไ่ี ด้อธิบายมาแลว้ เรยี งภารกิจทไ่ี ดป้ ฏบิ ัติมาตามลาดบั เวลามดี ังนี้ วนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2561 ประกาศจงั หวัดเชียงใหม่ เร่ือง แต่งตง้ั คณะกรรมการแก้ไขปัญหาหมอกควันและ ไฟปา่ จงั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วันท่ี 29 ตุลาคม 2561 ประกาศจังหวัดเชียงใหม่ เรื่อง แต่งตั้งคณะทางานด้านการประชาสัมพันธ์แก้ไข ปัญหาหมอกควนั และไฟป่าจงั หวัดเชียงใหม่ วนั ท่ี 31 ตุลาคม 2561 คาสงั่ จงั หวดั เชียงใหมท่ ่ี 4471/2561 เร่ือง แตง่ ต้ังคณะทางานศนู ย์อานวยการสั่ง การแกไ้ ขปัญหาหมอกควันและไฟปา่ จังหวัดเชียงใหม่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 (มีการประชุมสปั ดาห์ละ ครั้งในช่วงวิกฤติหมอกควัน) โดยกาหนดเป็น 3 มาตรการ คอื - มาตรการเตรียมการและป้องกัน (ระหว่างเดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2562) ภายใต้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ดึงไฟออกจากฟืน โดยดาเนินการบูรณาการทุกภาคส่วนให้จัดเตรียมบุคลากร เครื่องมือ งบประมาณ บริหารจัดการด้วยการชิงเผา ทาแนวกันไฟในพ้ืนท่ีป่า และดาเนินการประชาสัมพันธ์เชงิ รุกเพื่อให้ ประชาชนได้รับข้อมลู อยา่ งทัว่ ถงึ โดยผ่านชอ่ งทางสอ่ื สารและการนาเสนอทุกช่องทาง - มาตรการรับมือ (ระหว่างวนั ที่ 1 มนี าคม ถึงวันที่ 30 เมษายน 2562) กาหนดเป็นช่วงเวลาหา้ มเผา เด็ดขาด ภายใต้ช่ือ “61 วันไม่เผา ชาวเชียงใหม่ร่วมแรงร่วมใจ ต้านภัยหมอกควันและไฟป่า เพ่ือสุขภาพท่ีดี เศรษฐกิจท่ีดี คุณภาพชีวิตที่ดี” ภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ดึงไฟจากใจคน ด้วยการจัดชุดลาดตระเวน จัดชุด ปฏิบัติการดับไฟทันทีในเวลาอันรวดเร็วหากมีเหตุเผาในพื้นที่ และดาเนินการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด หากผู้ใดจะทาการเผาหลังวันท่ี 30 เมษายน 2562 ต้องขออนุญาตจากนายอาเภอก่อนดาเนินการทุกคร้ัง เพื่อ ควบคุมการเผาโดยพนักงานเจา้ หนา้ ท่ี - - มาตรการสร้างความย่ังยืน (ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2562 เป็นต้นไป) ภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ควบคุมไฟอย่างยั่งยืนด้วยศาสตร์พระราชา ด้วยการบูรณาการหน่วยงานภาครัฐทุกหน่วยร่วมกันรณรงค์ให้ ความรู้แก่เยาวชน ประชาชน และแสวงหาองค์กรภาคประชาชน นักธุรกิจมาร่วมกันดาเนินการตามโครงการ 11

พระราชดาริฯ ทุกประเภทเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟูป่าไม้ โดยเฉพาะโครงการเสริมสร้างปลูกป่าในใจคน การ สร้างชุมชนปลอดการเผา โครงการฟางข้าวเท่ากับเงิน สนับสนุนกิจกรรมอนุรักษ์ป่าชุมชนและป่าในเมือง รวมทั้งการร่วมทาฝายชะลอน้าแบบผสมผสานในพ้ืนที่เหนือเขื่อนอ่างเก็บน้าทุกแห่ง เพ่ือให้เกิดผืนป่าที่เป็น ประโยชน์อย่างหลากหลาย วนั ที่ 26 พฤศจิกายน 2561 ประกาศจงั หวดั เชียงใหม่ เรื่อง เขตควบคมุ ไฟป่าและมาตรการทางกฎหมาย ในการควบคมุ ไฟปา่ ในเขตปา่ ไม้ วันท่ี 20 ธันวาคม 2561 พลโท สุภโชค ธวัชพีระชัย แม่ทัพน้อยที่ 3 แถลงแผนการรณรงค์ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับภาค ส่วนหน้า ปี 2562 ณ ห้องประชุมระวังเมือง พล.ร.7 อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัด 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบนและหัวหน้าส่วนราชการที่เก่ียวข้อง เข้าร่วมประชุม โดยศูนย์อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟปา่ และหมอกควัน ระดับภาคสว่ นหนา้ ได้สั่งการ ให้ชุดรณรงค์ฯ ลงพ้ืนที่ปฏิบัติงานร่วมกับชุดดารงธรรมเคล่ือนที่ระดับอาเภอ ให้ความรู้ ความเข้าใจกับ ประชาชนในชุมชน ท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าและหมอกควัน เพื่อขอความร่วมมือกับประชาชนให้งดการ เผาป่า เผาเศษวัชพืช เผาขยะในพ้ืนท่ีของตนเอง (https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/ 867842) วันท่ี 16 มกราคม 2562 ประกาศจังหวัดเชียงใหม่ เรื่อง กาหนดช่วงเวลาห้ามเผาในท่ีโล่งทุกชนิดอย่าง เดด็ ขาดในพ้ืนท่จี งั หวัดเชยี งใหม่ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 วนั ท่ี 16 มกราคม 2562 จังหวดั เชยี งใหม่ โดยนายศุภชยั เอีย่ มสวุ รรณ ผู้ว่าราชการจังหวดั เชยี งใหม่ เปน็ ประธานเปิดยุทธการ “สยบไฟป่า” แก้ปัญหาหมอกควัน จังหวัดเชียงใหม่ ณ บริเวณข่วงประตูท่าแพ อาเภอ เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ มีตัวแทนเจ้าหน้าที่พิทักษ์ป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช เจ้าหนา้ ที่ปอ้ งกันรักษาปา่ เครือข่ายอาสาสมคั รไฟปา่ จาก 25 อาเภอ เจา้ หน้าทีท่ หาร ตารวจ และชดุ อาสาสมัคร ฝ่ายปกครองเข้าร่วมงาน แจ้งว่าในช่วงเวลาดาเนินงานจะระดมกาลังเจ้าหน้าท่ีพิทักษ์ป่าจากอุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางเข้ามาชว่ ยเพิ่มอีกกว่า 3,000 นาย มีการ รับมอบส่ิงของ เครื่องอุปโภคบริโภค หน้ากากอนามัย และเงินสนับสนุนจากองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน บริษัท หา้ งร้านตา่ งๆ และประชาชน ทรี่ ่วมสนับสนนุ การแกไ้ ขปญั หาหมอกควันไฟปา่ และฝุ่นละออง วันท่ี 21 มกราคม 2562 พลโท ฉลองชัย ชัยยะคา แม่ทัพภาคท่ี 3 และผู้อานวยการศูนย์อานวยการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับภาค เป็นประธานในพิธีเปิดกิจกรรมการรณรงค์และซักซ้อม ดับไฟปา่ ประจาปงี บประมาณ 2562 ณ ศูนย์ฝึกนักศกึ ษาวชิ าทหาร มณฑลทหารบกท่ี 33 อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีนายศุภชยั เอ่ียมสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชยี งใหม่ รองผู้บัญชาการตารวจภธู รภาค 5 หัวหน้าส่วนราชการ ผู้นาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมจัดกิจกรรมรณรงค์ (http://www.cmpublica. com/?p=2395) 12

วนั ท่ี 1 กมุ ภาพันธ์ 2562 ประกาศจังหวดั เชียงใหม่ เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะทางานกองทุนสนับสนนุ การป้องกัน และแก้ไขปญั หาไฟปา่ และหมอกควนั จงั หวัดเชยี งใหม่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 ประกาศจังหวัดเชียงใหม่ เร่ือง กาหนดมาตรการจังหวัดเชียงใหม่เมือง ปลอดภยั จากฝุ่นละออง วันท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2562 พลตรีบัญชา ดุริยพันธ์ รองแม่ทัพภาคที่ 3 เป็นประธานการแถลงแนวความ คิดในการควบคุมสถานการณ์หมอกควันภาคเหนือ ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด รองผู้ว่าราชการจังหวัด หัวหน้า สว่ นราชการ และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนอื ตอนบน โดยสั่งการให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดท้ัง 9 จังหวัดภาคเหนือ เข้มงวดกับการบังคับใช้กฎหมาย และให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาหมู่บ้าน ผู้นา ชุมชน เจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องในการสอดส่องดูแลห้ามมีการเผาทุกชนิดอย่างเดด็ ขาด ไม่สามารถอ้างได้ว่าเป็นวิถี ชีวิตมาตง้ั แต่อดีต และได้ระดมกาลังทหารมาปฏิบตั ิงานในชุดปฏบิ ตั ิการดับไฟป่า และการใชอ้ ากาศยาน (ฮ. MI 17) เพื่อดับไฟป่าในพ้ืนท่ีท่ีลาบาก ไม่สามารถใช้เจ้าหน้าที่เข้าไปได้ เป็นการบูรณาการกันระหวา่ งตารวจ ทหาร และภาคประชาชน โดยไม่แบ่งแยกพ้ืนที่ ระหว่างวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ ถึง 30 เมษายน 2562 (http:// chiangmai.mnre.go.th/th/news/detail/32148) วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์อานวยการสั่งการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าจังหวดั เชียงใหม่ออก หนังสือที่ ชม 0014.8 / 7859 เรื่อง งดการจัดการเช้ือเพลิงโดยการชิงเผา โดยให้งดในทุกพ้ืนที่ ตั้งแต่วันท่ี 13 กุมภาพันธ์ ถึงวันท่ี 30 เมษายน 2562 และให้ดาเนินการตามมาตรการทางกฎหมายแก่ผู้ฝ่าฝืน เน่ืองจาก ค่าเฉล่ียฝุ่นละอองขนาดเลก็ ไม่เกิน 10 ไมครอน (PM 10) และค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองขนาดเลก็ ไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นจนเร่ิมส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ประกอบกับปัจจุบันทิศทางลมทาให้ หมอกควนั ฝ่นุ ละอองจากพื้นทีท่ ่ีมีการจัดการเชอ้ื เพลิงโดยการชิงเผาถูกพัดเขา้ ปกคลุมเขตเมืองเชยี งใหม่และเขต ชมุ ชน ส่งผลใหค้ ณุ ภาพอากาศ (AQI) และคา่ ฝุน่ ละอองในอากาศ PM 10 และ PM 2.5 เกินเกณฑ์มาตรฐาน จงึ ทาให้จังหวัดเชียงใหม่มีช่วงเวลาห้ามเผาเด็ดขาดรวมเป็น 77 วัน อน่ึง ในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์ อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับภาค (ศอ. กปก. ภาค) ได้มีหนังสือด่วนท่ีสุดถึง ผู้วา่ ราชการ 9 จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน ให้นาประกาศห้ามเผาอย่างเดด็ ขาดใน 9 จังหวดั ไปแจง้ ให้ประชาชนใน พ้ืนท่ีรับทราบ สาหรับจังหวัดเชียงใหม่ประกาศห้ามเผาอย่างเด็ดขาด ระหว่างวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ถึง 30 เมษายน 2562 วนั ที่ 5 มีนาคม 2562 พลโท ฉลองชยั ชัยยะคา แมท่ พั ภาคท่ี 3 เป็นประธานประชุมท่ี สโมสรบนั เทิงทัพ กองทัพภาคท่ี 3 จังหวัดพิษณุโลก ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด 17 จังหวัดภาคเหนือ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพ่ือเร่งแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันภาคเหนือ และร่วมหาแนวทางป้องกันและปฏิบัติต่อไป โดยกองทัพ ภาคท่ี 3 มีกรอบแนวความคดิ ในการดาเนินการ ดังนี้ - single command ระบบการ ควบคุม สั่งการ ต้องมีความรวดเร็ว ชัดเจน และดาเนินการได้อย่าง ทันท่วงที โดยเฉพาะในระดับพ้ืนท่ี ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้อานวยการส่ังการหลัก ตามระบบ single 13

command ต้องลงไปถึงระดับอาเภอ โดยหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในสังกัดทุกกระทรวงต้องให้การสนับสนุน และ ปฏิบัติตามแผนงานและข้อสั่งการอย่างเต็มกาลังความสามารถ นอกจากนี้ต้องบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด กับผู้ที่ฝ่าฝืนจุดไฟในช่วงเวลาห้ามเผา โดยการกาหนดห้วงห้ามเผาควรถูกเสนอในระดับอาเภอ โดยดูจาก สถานการณ์แต่ละพ้ืนท่ี พร้อมกับประกาศห้วงห้ามเผาในระดับอาเภอ พร้อมท้ังขยายเครือข่ายจิตอาสาและ ประชาชน ในการชว่ ยกันสอดส่องดูแล และแจ้งเหตุในพื้นท่ี - ใช้หลกั 4F 1P (Find, Fix, Fight, Follow และ Public Mind) เป็นแนวทางแกป้ ญั หา Find: ค้นหา พน้ื ท่เี กิดไฟปา่ Fix: จากดั พ้นื ท่ไี ม่ใหข้ ยายเพ่มิ มากขน้ึ Fight: ดาเนินการดับไฟป่า อากาศยานทงิ้ นา้ ดับไฟ, กาลัง ภาคพน้ื ดินดับไฟ Follow: จดั กาลังควบคุมพื้นที่ และมมี าตรการป้องกนั ไม่ให้เกิดไฟป่าขึ้นมาอีก พร้อมท้งั สร้าง ความยั่งยืนด้วยระบบป่าเปียก โดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น ทาให้เกิดน้าขังอยู่ในพ้ืนที่ จนทาให้เกิดการ แพร่ความชุ่มช้ืน และ Public Mind: จิตสาธารณะ โดยเริ่มจากการท่ีตนเองเกิดจิตสานึกตระหนักถึงผลเสียต่อ สขุ ภาพทเ่ี กดิ จากคา่ ฝ่นุ ละอองในอากาศ จนขยายไปยงั พ้นื ที่ใกลเ้ คยี ง จนถงึ ระดับหม่บู า้ น ตาบล อาเภอ จังหวดั (https://www. phitsanulokhotnews.com/2019/03/05/128583) วันที่ 24 มนี าคม 2562 ประกาศจงั หวดั เชียงใหม่ เรอ่ื ง มาตรการในการแก้ไขปัญหาไฟปา่ หมอกควัน ฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก และการดูแลสขุ ภาพของประชาชน ประจาปพี .ศ. 2562 วันท่ี 2 เมษายน 2562 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหัวหน้า คสช. เป็นประธานการ ประชุมติดตามสถานการณ์การจัดการและแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าในพ้ืนที่ภาคเหนือ ท่ีห้องประชุม อาคารอเนกประสงค์ ธนาคารแห่งประเทศไทย สานักงานภาคเหนือ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ สั่ง ให้ระดมเจ้าหน้าท่ีทุกภาคส่วน อาสาสมัครลงพื้นที่เข้าไปยังจุดความร้อน แก้ไขปัญหาให้ทันท่วงที จัดเจ้าหน้าที่ ลาดตระเวนกันขยายพื้นที่ โดยต้องคานึงถึงความปลอดภัยเป็นหลักเพ่ือไม่ให้เกิดความสูญเสีย ในระยะสั้นได้ กาชับจังหวัดและกองทัพในพ้ืนที่เพิ่มความถ่ีฉีดพ่นละอองน้าเพื่อเพ่ิมความชุ่มช้ืนในอากาศ จัดพ้ืนที่เซฟตี้โซน สาหรบั ประชาชนกลุ่มเสี่ยงเพอื่ ใช้เปน็ ศูนย์พักพงิ สาหรับประชาชน โดยเฉพาะผปู้ ว่ ยโรคทางเดินหายใจ เดก็ และ ผ้สู ูงอายุ ให้มีการตรวจและการปราบปรามการลักลอบเผาปา่ และจบั กุมผู้กระทาความผดิ และบงั คับใชก้ ฎหมาย อยา่ งเคร่งครดั (https://mgronline.com/politics/detail/9620000032610) วันที่ 6 เมษายน 2562 นายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ ผู้บังคับบัญชาศูนย์ฯ เป็น ประธานการประชุมศูนย์บัญชาการเหตุการณ์แก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าจังหวัดเชียงใหม่ ผ่านระบบ ทางไกล ติดตามการดาเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าร่วมกับท้ัง 25 อาเภอ ณ ห้องประชุม ปฏิบัติการ POC ช้ัน 3 อาคารอานวยการ ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ เร่งรัดให้ทุกหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ดาเนินการแก้ไขปัญหาให้เห็นผลภายใน 7 วัน ตามท่ีนายกรัฐมนตรีสัง่ การ โดยเน้นหนักอาเภอท่ีมีจดุ ความรอ้ น สูง ให้นายอาเภอพูดคุยกับกานัน ผู้ใหญ่บ้าน หาสาเหตุที่เกิดข้ึน และให้กานัน ผู้ใหญ่บ้านในฐานะเจ้าหน้าที่รัฐ รวมทั้งกาลังในท้องถิ่น อปพร.ชุมชนหรือแม้แต่จิตอาสาเข้ามาช่วยอาเภอแก้ปัญหาและป้องกันไฟป่า (http:// chiangmai.mnre.go.th/th/news/detail/35462) 14

วนั ที่ 25 เมษายน 2562 พลโท สุภโชค ธวัชพรี ะชยั แมท่ พั น้อยที่ 3 ในฐานะผู้อานวยการศูนยอ์ านวยการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ระดับภาคส่วนหน้า เป็นประธานสรุปบทเรียนการแก้ไขปัญหาไฟ ป่าและหมอกควัน ประจาปี 2562 โดยมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการจาก 9 จังหวัด ภาคเหนอื เข้ารว่ มประชุม โดยพบปญั หาในการปฏิบตั ิงานทีส่ าคัญคือ การสะสมเชอื้ เพลิงในแตล่ ะปีมจี านวนมาก ทาให้เกิดความล่อแหลมในการลักลอบเผาป่าในสาเหตุต่างๆ และการจัดระเบียบในการควบคุมการเผา นอกจากนี้ยังมีกลุ่มบุคคลบางกลุ่มท่ีไม่เกรงกลัวต่อมาตรการบังคับใช้กฎหมาย จึงลักลอบเผาป่าอย่างต่อเน่ือง ระบบ single command ในบางพน้ื ท่ยี ังใชไ้ มไ่ ด้ผล เนอ่ื งจากผบู้ ริหารยงั วเิ คราะห์สถานการณ์ปัญหาและระบบ การแก้ไขปัญหาไม่ชัดเจน ตลอดจนเทคนิคการส่ือสารรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในบางพ้ืนที่ยังไม่เข้าใจ และไม่ถึง ประชาชน โดยเฉพาะหมู่บ้านในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ ดังน้ันในปีต่อไป single command ท่ี ศนู ย์ควบคุมไฟปา่ และหมอกควันระดับอาเภอ จะต้องจดั ทาแผนควบคุมไฟปา่ และหมอกควันอย่างบรู ณาการทุก ภาคสว่ น สรา้ งความเขา้ ใจ ซกั ซอ้ ม ทุกข้นั ตอนอย่างเปน็ ระบบ และมีการจัดต้ัง war room วางแผน อานวยการ ควบคุม ประสานงาน ตลอดจนการจัดชุดปฏิบัติการบูรณาการระดับตาบล เพ่ือสร้างการรับรู้ ทาความเข้าใจถึง ระดบั หมูบ่ ้านตอ่ ไป (http://www.hedlomnews.com/?p=34658) วันท่ี 30 เมษายน 2562 ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่แถลงข่าวการประชุมหารือร่วมกับนายอาเภอท้ัง 25 อาเภอ มีมตวิ ่าเมื่อพ้นกาหนดช่วงหา้ มเผา จะให้มกี ารเผาเพื่อเตรียมพืน้ ที่ทางการเกษตรเฉพาะในที่ดนิ ทากิน ของเกษตรกรเท่านั้น คาดว่ามีพ้นื ท่ีการเกษตรรอเผากวา่ 1 แสนไร่ โดยการจดั โซนน่ิงและกาหนดระยะเวลาเผา ให้เหล่ือมกัน โดยผู้ท่ีจะเผาเศษวัชพชื ต้องแจง้ ใหก้ านนั ผู้ใหญบ่ ้านไดท้ ราบก่อน และต้องควบคุมการเผาให้อยู่ใน พืน้ ทก่ี ารเกษตรของตนเอง หากมีไฟลุกลามออกนอกพ้ืนทจ่ี ะต้องรับผิดชอบ แตถ่ ้าหากคณุ ภาพอากาศเริ่มวิกฤต ท่ีมีผลต่อสุขภาพของประชาชนก็จะมีการพิจารณาอีกครั้งว่าจะดาเนินการอย่างใด แต่หากมีการเข้าป่า ล่าสัตว์ และมีการเผาถอื ว่าทาผิดกฎหมาย ไดม้ อบหมายให้ทางสานักบรหิ ารพื้นท่ีอนุรักษ์ท่ี 16 และสานักจดั การป่าไม้ที่ 1 ซง่ึ ดแู ลพน้ื ทป่ี า่ สงวนแห่งชาติและป่าอนุรกั ษเ์ ปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบ (http://www.northpublicnews.com/) วันที่ 19 มิถนุ ายน 2562 พลโทฉลองชยั ชยั ยะคา แม่ทพั ภาคท่ี 3 เป็นประธานเปิดประชุมเชิงปฏิบัติการ การแก้ไขปัญหาไฟปา่ หมอกควันในพื้นท่ี 9 จังหวัดภาคเหนอื ท่ีโรงแรมคมุ้ ภูคา จงั หวัดเชยี งใหม่ โดยผู้ว่าราชการ จังหวัด 9 จังหวัดภาคเหนือตอนบน และมีหน่วยงานองค์กรต่างๆ เข้าร่วม แม่ทัพภาคท่ี 3 ขอให้ร่วมกันหาทาง แก้ไขปญั หาท่ีต้นเหตุให้เป็นรูปธรรม ขอความรว่ มมือจากนายอาเภอทุกพนื้ ที่ให้เป็นแกนหลัก เพราะสามารถขอ ความร่วมมือและเข้าถึงชาวบ้านได้อย่างใกล้ชิด รวมท้ังการสร้างการรับรู้ ความเข้าใจให้กลุ่มชาติพันธ์ุและ ประชาชนในพืน้ ท่ี มกี ารจัดระเบยี บและกาหนดช่วงเวลาการเผาทีช่ ดั เจน มีการใหค้ วามร้แู ละหาแนวทางหาของ ป่าโดยวิธีอ่ืน มีการระดมความคิดเห็นแยกแต่ละกลุ่มจังหวัด โดยข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขปัญหาจะรวม เป็นระดับภาคนาเสนอรัฐบาลต่อไป (https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/1031055; https://region3.prd.go.th/prcm/cmnews.php?ID=190619123341) 15

ตัวช้วี ดั ในการประเมนิ ผลความสาเร็จ ตัวชี้วดั ของการแกไ้ ขปญั หาไฟป่าและหมอกควนั แตล่ ะพ้ืนท่ีกาหนดคลา้ ยกนั มีรายละเอยี ดแตกตา่ ง กนั บา้ ง สาหรับใน พ.ศ. 2561 กรมควบคมุ มลพิษได้กาหนดเป้าหมายจัดการคุณภาพอากาศภาคเหนือให้ดีขน้ึ มี ตัวชวี้ ัด คือ ฝุ่นละอองในพ้นื ท่ี 9 จังหวัดภาคเหนืออยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน (http://www.pcd.go.th/info_serv/ File/Actionplan_ 61.pdf) สาหรับ พ้ืนที่กลุ่มจังหวัดภาคเหนอื ตอนบน 1 (เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ลาปาง และ ลาพนู ) ในพ.ศ. 2560 ใชต้ ัวชี้วัด 3 ด้าน คอื 1) จานวนวันทค่ี า่ คุณภาพอากาศไม่เกนิ เกณฑ์มาตรฐานกาหนด (ค่า PM 10 < 120 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร) 2) ลดจานวนจุดความร้อนท่ีเกิดจากการเผาในพ้ืนท่ีต่างๆ ของ 4 จังหวัด ร้อยละ 35 และ 3) เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาในทั้ง 4 จังหวัด (http://www.osmnorth- n1.moi.go.th/it3/project/ project_pdf_file/00139.pdf) และสาหรับจังหวัดเชียงใหม่ ในพ.ศ. 2561 ใช้ ตวั ช้ีวดั 6 ด้าน คอื 1)ตวั ชวี้ ดั ดา้ นจานวนจดุ ความร้อนของดาวเทยี ม Modis ในระหว่างเวลาห้ามเผาโดยเดด็ ขาด (1 มีนาคม 1– 20 เมษายน 2561) มีเป้าหมายให้จานวนลดลงร้อยละ 20 จากปี 2560 2) จานวนพื้นท่ีเผาไหม้ มีเป้าหมายให้จานวนลดลงร้อยละ 20 จากปี 2560 3) ค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10 มีเป้าหมายให้มีจานวน วันที่เกินค่ามาตรฐานลดลงจากปี 2560 4) ค่าความเข้มข้นสูงที่สุดของฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10 มีเป้าหมาย ให้ต่ากวา่ ปี 2560 5) การข้ึนลงของอากาศยาน มีเป้าหมายให้การขนึ้ ลงของอากาศยานเป็นไปตามปกติ สามารถ ขึ้นลงได้ทุกเที่ยวบิน และ 6) ความตระหนักถึงปัญหาหมอกควันและไฟป่า และมีส่วนร่วมในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาอย่างย่ังยืน มีเป้าหมายให้ประชาชนมีความตระหนกั (ศุทธินี และคณะ, 2561) สาหรับ พ.ศ. 2562 จงั หวดั เชยี งใหม่ลดตัวชวี้ ัดเหลือเพยี งด้านเดียวคือจานวนวันท่ีมคี ่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 10 เกนิ มาตรฐานไม่ เกนิ 10 วนั แตห่ ากนาเกณฑต์ ัวชีว้ ัดในปี 2561 มาใช้ประเมนิ ด้วยถือวา่ ไมบ่ รรลุตามเกณฑต์ วั ชีว้ ัดท้งั หมด ข้อสงั เกตต่อแนวทางและนโยบายการแกไ้ ขปญั หาไฟป่าและหมอกควนั 1) ในกรณีของจังหวัดเชียงใหม่เช่นเดียวกับจังหวัดอื่น ท่ีการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันถูก กาหนดโดยภาครัฐจากหน่วยงานส่วนกลางท้ังหมด ผ่านการสั่งการจากบนลงล่าง (top-down policies) ให้ นาไปปฏิบัติแบบเดียวกันมาหลายปี โดยเป็นแนวทางแบบกว้างๆ ในขณะที่พ้ืนที่เกิดปัญหามีลักษณะท่ี หลากหลาย ทาให้ไม่ชัดเจนเมื่อนาไปปฏิบัติ และมีทางเลือกให้แก่ผู้ที่ยังจาเป็นต้องใช้ไฟน้อยมาก แม้จะมีการ แบ่งห้วงเวลาแก้ไขปัญหาออกเป็น 3 ระยะ แต่ในทางปฏิบัติเป็นการแก้ไขปัญหาที่เน้นแต่ระยะส้ันช่วงก่อนเกิด ปัญหาเพียงไม่ก่ีเดือนและช่วงเผชิญปัญหาเป็นหลัก ส่วนระยะหลังเผชิญเหตุมีกิจกรรมน้อยมาก จึงไม่มีโอกาส แก้ไขสาเหตุของปัญหาที่เป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง เช่น ปัญหาการบุกรุกพ้ืนท่ีป่าไม้ การถือครองที่ดิน พ้ืนที่ เกษตรในเขตป่า เปน็ ต้น ที่ต้องใชเ้ วลาแก้ไขในระยะยาว 2) ศูนย์อานวยการส่ังการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าจังหวัด และศูนย์อานวยการส่ังการแก้ไข ปัญหาหมอกควันและไฟป่าอาเภอเป็นการแต่งต้ังเฉพาะกิจชั่วคราวในแต่ละปี มีแนวทางและนโยบายแก้ไข 16

ปญั หาถกู กากับจากศนู ย์อานวยการสั่งการแก้ไขปัญหาหมอกควนั และไฟปา่ ระดับภาคและระดบั ประเทศรวมทั้ง แผนและนโยบายต่างๆ จากสว่ นกลางไปสู่ผูน้ าในระดับจงั หวดั อาเภอ ตาบล และหมู่บา้ น โดยเรมิ่ ตน้ เตรยี มการ ทางานในเดือนตุลาคม หลังจากการประเมินผลถอดบทเรียนในเดือนมิถุนายนก็ถือว่าสิ้นสุดการทางานและปิด ศูนย์ฯ ทั้งหมด ผลการประเมินผลและถอดบทเรียนไม่สามารถนามากล่ันกรองเพื่อปรับเป็นแผนการทางานใหม่ ได้ทันกับเวลาท่ีต้องเสนอของบประมาณในปีงบประมาณใหม่ ทาให้แนวทางและนโยบายแบบเดิมถูกนามาใช้ ต่อไปเร่ือยๆ แต่ประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาลดลง โดยเฉพาะเมื่อปัญหามีความซับซ้อนมากขึ้น และมี เหตกุ ารณใ์ หม่ทีแ่ ตกตา่ งไปจากเดมิ นอกจากน้ีเม่ือมกี ารสับเปล่ยี นโยกย้ายผบู้ รหิ ารระดับจังหวัดและอาเภอบ่อย ทาใหแ้ นวทางการดาเนนิ งานไม่ตอ่ เน่อื ง 3) แผนต่างๆ แนวทาง และนโยบายที่สั่งการไปยังแต่ละหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทาให้เกิดการทางาน แบบแยกกนั ทาตามภารกจิ เฉพาะของแตล่ ะหน่วยงาน ยังขาดการเชือ่ มต่อในแนวราบระหว่างหน่วยงาน และใน เชิงพื้นที่ยังเกิดปัญหาพ้ืนที่ซ้อนทับระหว่างหน่วยงาน หรือพ้ืนที่สุญญากาศท่ีไม่มีใครรับผิดชอบ เช่น พื้นท่ี เกษตรในเขตป่าสงวนแห่งชาติและป่าอนุรักษ์ ท่ีหน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แจ้งว่าไม่ใช่พื้นท่ี รับผิดชอบตามกฎหมาย แตด่ ้วยขอ้ จากดั ด้านกฎหมายดา้ นป่าไม้และภาระงานที่รับผิดชอบ ทาให้หน่วยงานดา้ น ป่าไม้ไม่สามารถแก้ไขจัดการพ้ืนท่ีเกษตรในเขตป่าเหล่านี้แทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ โดยเฉพาะการ ควบคุมชนิดพชื ท่ีปลูกและการเผาไหม้ สว่ นพนื้ ทต่ี ามแนวชายแดนและในประเทศเพื่อนบ้าน ยังไม่สามารถแก้ไข ปัญหาได้ แม้จะมกี ารพดู คุยผ่านการประชมุ ในกลุม่ ประเทศอาเซียนแลว้ ก็ตาม 4) สาหรับพื้นที่ป่าไม้ท่ีพบการเผาไหม้มากที่สุด แม้ว่าคนในพื้นที่เข้าใจสาเหตุของปัญหาหมอกควัน รู้จกั สภาพภูมิประเทศเป็นอยา่ งดี และมภี มู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ในการควบคุมไฟปา่ แตข่ าดโอกาสเสนอแนวทางแก้ไข ปัญหาที่เหมาะสมกับพ้ืนท่ี กลายเป็นผู้รับคาส่ังจากระดับจังหวัดและอาเภอ โดยเฉพาะมาตรการห้ามเผา แต่ ในช่วงสามปีท่ีผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงเวลาโดยไม่มีการแจ้งเตือนล่วงหน้า ท้ังประกาศห้ามเผาก่อนเวลาท่ี ประกาศมาก่อนและขยายเวลาห้ามเผาออกไปจากเวลาที่เคยประกาศไว้ ทาให้มีกระทบต่อการลดปริมาณ เช้ือเพลิงท่ีวางแผนกันมาก่อน มีเช้ือเพลิงสะสมในป่ามากขึ้น จนเกิดไฟป่าที่ควบคุมไม่ได้ในช่วงเวลาห้ามเผา นอกจากนท้ี าใหเ้ กดิ การระดมเผาพร้อมกนั กอ่ นและหลังเวลาหา้ มเผา จนคา่ ฝุ่นขนาดเล็กเกนิ คา่ มาตรฐาน แม้จะ มีเน้นให้ใช้วิธีการลาดตระเวนและดับไฟเป็นหลัก แต่กาลังเจ้าหน้าท่ีและงบประมาณไม่เพียงพอจะควบคุมการ เผาไหมไ้ ดท้ ั่วถงึ 5) ศูนย์ฯ สั่งการระดับต่างๆ ยังขาดข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างครบถ้วน ข้อมูลที่มีการ สนับสนุนโดยตลอด คือ ข้อมูลจุดความร้อนและพื้นที่ไหม้จาก NASA FIRMS มีสานักงานพัฒนาเทคโนโลยี อวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานหลักเผยแพร่ตามท่ีกาหนดในแผนปฏิบัติการการ ป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง และมลพิษหมอกควัน พ.ศ. 2556 – 2562 ภายใต้แผนแม่บท พัฒนาความปลอดภัยด้านอัคคีภัยแห่งชาติ (ร่วมกับข้อมูลทิศทางลม การกระจายตัวของหมอกควันและฝุ่น ละอองขนาดเล็ก) นอกจากนี้ยังมีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธ์ุพืช และกรมป่าไม้ หน่วยงานทาง 17

วิชาการหลายแห่งท่ีเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าว แต่ยังขาดข้อมูลสาคัญอีกหลายด้าน ท่ีสาคัญ คือ ปริมาณเชื้อเพลิง ในเขตป่าไม้ อัตราการร่วงของใบไม้ ชนิดพืช พ้ืนที่เพาะปลูก และเศษวัสดุการเกษตรหลังการเก็บเก่ียวทั้งที่อยู่ ในเขตเกษตรทั่วไปและเขตป่า นอกจากน้ียังมีข้อจากัดในการเตือนภัยและแจ้งข้อมูลข่าวสารไปสู่คนในระดับ ตาบล-หมบู่ า้ นไดท้ ันท่วงที 6) การรับมือกับสถานการณ์วิกฤติยังไม่สามารถทาได้ ในพ.ศ. 2562 จังหวัดเชียงใหม่มีวิกฤติหมอก ควันรุนแรงมากที่สุด มีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 10 จากกรมควบคุมมลพิษ เกินค่ามาตรฐานไป 27 วัน ในขณะท่ีตัวช้ีวัดต้ังไว้ไม่เกิน 10 วัน และมีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 จากกรมควบคุมมลพิษเกินค่า มาตรฐานไป 50 วัน แต่หากนาค่าฝุ่นละอองจากเว็บไซต์ AirVisual มาใช้เป็นตัวชี้วัดจะมีค่าฝุ่นละอองเกิน มาตรฐานมากกว่าน้ี และสะท้อนขีดจากัดของกรอบแนวทางและนโยบายที่กาหนดมาวา่ ยงั แก้ไขปัญหาไม่ไดผ้ ล และไม่สามารถปรับเปลี่ยนวิธีการแก้ไขปัญหาให้ทันกับสถานการณ์ แม้จะมีข้อเรียกร้องให้ประกาศสถานการณ์ ฉุกเฉิน ให้สถานศึกษางดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์หมอกควันรุนแรงจากภาคเอกชนและบุคลากร ทางการแพทย์ ให้ป้องกันสุขภาพของผู้มีความเส่ียงและจัดหาพ้ืนท่ีปลอดภัย จนมหาวิทยาลัยและโรงเรียนบาง แห่งสั่งงดการเรียนกันเอง โดยจังหวัดไม่ได้ประกาศภาวะฉุกเฉินเพราะเกรงผลกระทบต่อการท่องเที่ยว จนกระทงั่ มีคาสั่งจากนายกรฐั มนตรีในวันท่ี 2 เมษายน 2562 ให้จัดพ้ืนท่ีเซฟต้โี ซน จงั หวัดจงึ ให้จัดเตรียมเซฟตี้ โซนตามอาเภอ 25 อาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวนรวม 347 แห่ง และเมื่อมีหนังสือจากกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินแจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินใช้ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยค่าใช้จ่าย เพ่ือช่วยเหลือประชาชน ตามอานาจหน้าท่ีขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ.2560 แก้ไขเพ่ิมเติมถึง (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2561 ข้อ 6 จึงมีการจัดซ้ือหน้ากากอนามัยแจกจ่ายแก่ประชาชนท่ีได้รับ แต่ก็เป็นเวลาที่ผ่านวิกฤติ หมอกควนั มามากแลว้ 7) ในด้านงบประมาณท่ีได้รับหากตามแผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในที่โล่ง และมลพษิ หมอกควนั พ.ศ.2556-2562 พบวา่ มจี านวนคงท่ีและกาหนดมาเป็นเวลานาน ทาใหไ้ ม่สอดคล้องและ ไม่เพียงพอกับภาระงานและสภาพปัญหาที่เพิ่มข้ึน ดังเห็นจากข้อเรียกร้องให้เพิ่มงบประมาณให้เพียงพอจาก ผู้ปฏิบัติงานในพื้นท่ีและภาคประชาชนที่เก่ียวข้องในหลายเวทีเสวนา นอกจากน้ียังมีกฎระเบียบในด้านการ เบิกจ่ายท่ีเปน็ อุปสรรคในการจัดซือ้ เครอื่ งมืออปุ กรณ์ใหเ้ พียงพอ อาทิ เครื่องเปา่ ลม รองเทา้ หน้ากากปอ้ งกันฝุ่น ยารักษาอาการเจบ็ ป่วย อาหารและเครือ่ งดมื่ สาหรบั อาสาสมัคร 7) หน่วยงานท่ีรับผิดชอบรวบรวมแนวทางและนโยบายเพ่ือแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดับ จังหวัด คือ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมจังหวดั และสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ในฐานกรรมการและเลขานุการของคณะทางานศูนย์อานวยการสงั่ การแก้ไขปัญหาหมอกควนั และไฟป่า 18

จังหวัดเชียงใหม่ รวมท้ังหน่วยงานอ่ืนที่ร่วมเป็นคณะกรรมการ ต่างรับผิดชอบภารกิจจานวนมาก จึงไม่สามารถ ดาเนนิ งานด้านหมอกควันน้ีไดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง แต่จะเรมิ่ งานแกไ้ ขปัญหาหมอกควันเมื่อเขา้ สู่ช่วงเวลาวิกฤติเท่านน้ั 8) นยิ ามความหมายของ “หมอกควัน” จาเปน็ ตอ้ งมีการทบทวนใหม่ เพราะปญั หาทส่ี ง่ ผลกระทบต่อ สังคมมากท่ีสุดในปัจจุบันไม่ใช่ไฟหรือควัน แต่เป็นปัญหาด้านสุขภาพจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ท่ีเกิด จากการเผาไหม้ด้วยหลายสาเหตุ 9) การกาหนดเป้าหมายและการประเมินผล พบว่ามีการเลือกใช้ตัวช้ีวัดแบบกว้าง คือ ค่าฝุ่นละออง และจานวนจุดความร้อน ยังขาดตัวชี้วัดด้านสุขภาพ และขาดการสนับสนุนตัวช่วยหรือทางเลือกให้คนในพื้นท่ี เพ่ือบรรลุเป้าหมาย ส่วนการประเมิน/ถอดบทเรียนเป็นแบบกว้างๆ ขาดการประเมินประสิทธิภาพของวิธกี ารที่ ใช้ เพื่อนาไปปรับแผนปีต่อไป และการถอดบทเรียนกับคนในพ้ืนที่ที่เกิดปัญหายังทาได้น้อย ส่วนใหญ่เป็นการ ถอดบทเรียนกันเองระหว่างส่วนราชการ 4. การจดั กล่มุ พน้ื ท่ีเผาไหม้ปัญหาตามสาเหตแุ ละเวลา ถึงแม้การเกิดหมอกควนั เกิดมาจากหลายสาเหตุ ในเชิงพื้นท่ีสามารถติดตามจากข้อมูลการเผาไหม้ท้งั จุดความรอ้ นและรอยการเผาไหม้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม โดยพบว่าการเผาไหม้ในแต่ละชว่ งเวลาแตกต่างกัน ตามสาเหตุและนามาจัดกลุ่มพื้นท่ีเผาไหม้ได้ แต่ไม่ได้นามาเป็นข้อมูลประกอบการแก้ไขปัญหา ดังตัวอย่างของ จังหวัดเชียงใหม่ (ศุทธินี และคณะ, 2557) ลักษณะของกลุ่มพื้นที่เผาไหม้ท่ีพบว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดซ้าใน ชว่ งเวลาหลายปี มดี งั น้ี • เดือนธันวาคม มีการเผาไหม้น้อยที่สุด พบบริเวณที่ราบในอาเภอแม่อาย ฝาง พร้าว แม่แจ่ม และ พนื้ ทตี่ ดิ ตอ่ กนั ระหว่างอาเภอแม่ริม–สนั ทราย–แม่แตง (รปู ที่ 4) มกี ารเผาเพือ่ เตรยี มพนื้ ทเี่ พอ่ื ปลูกพชื ฤดแู ลง้ • เดือนมกราคม พบการเผาไหม้เพ่ิมข้ึนเล็กน้อย ส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ทางตอนใต้ในบริเวณอาเภอฮอด แม่แจ่ม ดอยเต่า อมก๋อย และจอมทอง (รูปที่ 4) เป็นบริเวณป่าผลัดใบท่ีระดับความสูง 201–400 เมตร และ 401–600 เมตร ในช่วงน้ีป่าผลัดใบมักทิ้งใบบ้างแล้ว มีการเผาไหม้ทั้งเพ่ือเตรียมพื้นท่ีปลูกพืชฤดูแล้ง การลด ปรมิ าณเชื้อเพลงิ เพือ่ ลดจานวนไฟป่าในปา่ ผลัดใบ และการเผาหญ้าตามข้างถนนที่บางครัง้ ลุกลามเข้าเขตปา่ ไม้ • เดือนกุมภาพันธ์สัปดาห์่ที่ 1–2 พบการเผาไหม้มากข้ึนอยู่ใน 3 พื้นท่ีซ่ึงท่ีเนินเขาติดกับพ้ืนที่ราบ คือ พ้ืนที่เผาไหม้ในอาเภอทางด้านใต้ท่ีเคยพบในเดือนมกราคมซ่ึงในช่วงเวลานี้มีจานวนมากข้ึน พ้ืนท่ีติดต่อกัน ระหว่างอาเภอแม่ริม–สันทราย–แม่แตง และพื้นท่ีเผาไหม้ในอาเภอเชียงดาว (รูปที่ 4) สาเหตุการเผาไหม้เกิด จากการลดปริมาณเช้ือเพลิงในป่าผลัดใบ การเผาป่าผลัดใบเพื่อกระตุ้นใหผ้ ักหวานแตกใบและมีความสะดวกใน การเก็บหาเห็ดในปา่ การเผาหญา้ ตามพ้นื ทสี่ องข้างถนนและสวนปา่ และการเผาเพือ่ ขยายพืน้ ท่ีเพาะปลกู • เดือนกุมภาพันธ์สัปดาห์ท่ี 3–4 พบการเผาไหม้จานวนมากกระจายทั่วไปท้ังจังหวัด ถือว่ามากเป็น อนั ดบั ทสี่ องเมอื่ เปรยี บเทยี บกับช่วงเวลาอื่นๆ การเผาไหม้ยงั จากัดอยู่ในพ้นื ที่ซง่ึ ระดับความสูงไม่เกิน 600 เมตร โดยเฉพาะบริเวณในอาเภอท่ีมีปา่ ผลัดใบและพืชไร่จานวนมาก เช่น อาเภอแม่แจ่ม ฮอด อมก๋อย จอมทอง เชียง 19

ดาว สะเมิง ไชยปราการ เวียงแหง พร้าว แม่แตง สันทราย และแม่ริม (รูปที่ 4) โดยมีสาเหตุการเผาไหม้เกิดมา จากการขยายพ้ืนที่เพาะปลูก การเผาหญ้าตามพื้นที่สองข้างถนนและสวนป่า การเผาเพ่ือเร่งให้มีของป่า หรือ อาจมาจากการกลั่นแกลง้ ในกรณีท่สี ว่ นราชการส่งั ควบคุมไมใ่ ห้มีการเผาไหม้ • เดือนมีนาคมสัปดาห์ที่ 1–2 ถือเป็นช่วงท่ีมีการเผาไหม้มากท่ีสุด พบการเผาไหม้จานวนมากท่ัวทั้ง จังหวัดเช่นเดียวกับในเดือนกุมภาพันธ์สัปดาห์ที่ 3–4 โดยยังพบการเผาไหม้บางส่วนในพื้นที่ของปลายเดือน กุมภาพันธ์และเริ่มขยายตัวไปสู่พ้ืนท่ีสูงถึงระดับ 800 เมตรมากข้ึน พื้นท่ีเผาไหม้บางส่วนที่เคยพบในเดือน กุมภาพันธ์ สัปดาห์ที่ 3–4 เริ่มลดลง ในอาเภอจอมทอง ฮอด ดอยเต่า ในขณะที่อาเภอแม่แจ่ม อมก๋อย สะเมิง เชียงดาว แม่วาง มีพื้นที่เพ่ิมขึ้น ช่วงน้ีเชื้อเพลิงในระดับพ้ืนท่ีสูงมีความชื้นลดลงมากและแห้งพอท่ีจะเผาไหม้ได้ อีกทงั้ เป็น ชว่ งเวลาจาเปน็ ทเี่ กษตรกรต้องเตรยี มพืน้ ทีเ่ พาะปลูกใหท้ นั กบั ชว่ งฤดฝู น (รูปที่ 4) • เดือนมีนาคมสัปดาห์ท่ี 3–4 การเผาไหม้ในช่วงนี้ถือว่ามากเป็นอันดับสาม พบมากข้ึนตามพ้ืนที่สูง มากกวา่ 800 เมตร ในขณะที่พน้ื ท่ีต่าากวา่ 800 เมตรมีการเผาไหม้ลดลง เน่อื งจากมีการเผาไหม้ไปแล้ว ในชว่ ง เดือนมกราคม–กุมภาพันธ์ พบทอี่ าเภอแมแ่ จม่ กัลยาณิวฒั นา อมกอ๋ ย สะเมิง แม่วาง เวียงแหง และไชยปราการ (รูปที่ 4) ส่วนใหญ่เป็นเขตป่าไม่ผลัดใบและไร่หมุนเวียน สาเหตุการเผาไหม้มาจากการเตรียมไร่หมุนเวียน โดย เผาเศษพืชในไร่ท่ีมีการตัดไว้ก่อนแล้วท้ิงให้แห้งมาตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม–ต้นเดือนกุมภาพันธ์ และเป็น ช่วงเวลาท่ีต้องเตรียมไร่ให้ทันกับฤดูฝน มีข้อสังเกตว่าไร่หมุนเวียนที่มีการพักดินแล้วนาากลับมาเพาะปลูกใหม่ จะมีปริมาณต้นไม้ข้ึนหนาแน่น ยิ่งรอบหมุนเวียนนานจึงยิ่งมีเช้ือเพลิงจานวนมากตามไปด้วย และมักพบจุด ความร้อนเกิดข้ึนในบริเวณนั้นเสมอ นอกจากน้ียังพบว่ามีการขยายพ้ืนที่เพาะปลูกท้ังพืชไร่ พืชผัก ไม้ดอกไม้ ประดับ และไม้ผล ในเขตป่าไม่ผลัดใบ หรือท่ีดินแปลงท่ีพักดินไว้มาใช้ก่อนเวลา ตามแรงจูงใจด้านรายได้และ ความตอ้ งการของตลาดภายนอก ส่ิงน้ีจึงเปน็ อกี สาเหตุหนงึ่ ท่ีทาใหเ้ กิดการเผาไหมแ้ ละหมอกควัน • เดือนเมษายนสัปดาห์ท่ี 1–2 ในช่วงนี้พ้ืนที่เผาไหม้ในระดับต่าากว่า 800 เมตรลดลงมาก คงเหลือ อยู่ตามพ้ืนที่สูงระดับ 801–1,000 กว่าเมตร ในอาเภอแม่แจ่ม อมก๋อย จอมทอง แม่วาง สะเมิง เวียงแหง แม่ อาย พรา้ ว และไชยปราการ (รูปที่ 4) เนอื่ งจากการเตรยี มการเพาะปลกู ในพนื้ ท่สี ูง เมอื่ พนื้ ที่ปา่ ไมแ้ ละเศษพืชใน พ้ืนท่ีเพาะปลูกแห้งมากพอที่จะเผาไหม้ได้หมด พบการเผาไร่หมุนเวียนเพื่อปลูกข้าวไร่ การเผาและบุกรุกป่าไม่ ผลัดใบ เพ่อื ขยายพ้ืนที่เพาะปลูกพชื ผักเมืองหนาวและพชื ไร่ • เดอื นเมษายนสัปดาห์ท่ี 3–4 การเผาไหมใ้ นช่วงน้ีลดลงมากจนไมม่ ผี ลต่อการเกดิ หมอกควัน พบตาม พน้ื ทสี่ ูงมากกว่า 1,000 เมตร พบมากในอาเภอแม่แจ่ม เวียงแหง แมร่ มิ (รปู ที่ 4) เป็นการเตรียมพื้นท่ีเพาะปลูก บนพื้นท่ีสูงส่วนทยี่ งั ไม่ไดท้ าในช่วงเดอื นมีนาคมและตน้ เดือนเมษายน 20

21

รูปท่ี 4 การกระจายตวั ของจุดความรอ้ นสะสมในเดือนธนั วาคม – เมษายน ท่ีมา: ศทุ ธนิ ี และคณะ, 2557 22

5. ขดี ความสามารถและขอ้ จากัดในการจัดการปัญหาของชมุ ชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เม่ือพิจารณาแนวทางและนโยบายในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน การกาหนดแนวทางและนโยบาย แก้ไขปัญหาจากบนลงล่างทาให้หน่วยงานระดับอาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคประชาชนต้อง ปฏิบัติตามแนวทางที่ภาครัฐมีกาหนดวิธกี ารแก้ไขปัญหามาโดยตลอด ทาให้มีวิธีการแก้ไขปัญหาแบบเดิมมาทกุ ปตี ามแนวทางและนโยบายท่ีวางไว้ แมจ้ ะมีการเปลย่ี นแปลงสาเหตุ เง่อื นไข และรูปแบบของการเผาไหม้ก็ตาม ในระดับอาเภอ ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 19 ให้ นายอาเภอเป็นผู้อานวยการอาเภอ รับผิดชอบและปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในเขต อาเภอของตน ในกรณีของไฟป่าและหมอกควันเป็นผู้อานวยการของศูนย์อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหา ไป่าและหมอกควันระดับอาเภอ (ศอ.ปกป.อภ.) รับคาสั่ง แนวทางและนโยบายจากผู้อานวยการของศูนย์ อานวยการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันระดบั จังหวัด และรบั คาสง่ั แนวทาง และนโยบายแก้ไข ปญั หาหมอกควันของจังหวัดไปสู่ระดับตาบล หมูบ่ ้าน และภาคประชาชน นอกจากน้ที าการประสานการทางาน กับหน่วยงานในเขตอาเภอปฏิบัติตามแนวทางและนโยบายท่ีจังหวัดกาหนดมาในช่วง เวลาต่างๆ การ ประชาสัมพันธ์ขอความร่วมมือห้ามการเผาทุกชนิดในช่วงเวลาห้ามเผาอย่างเด็ดขาดผ่านกานันผู้ใหญ่บ้าน การ ขอให้องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นเขตอาเภอฉีดพน่ น้าเพื่อเพ่มิ ความชมุ่ ชนื้ เมอ่ื ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ (PM 10 และ PM 2.5) มีคา่ เกินมาตรฐาน และการบงั คับใช้กฎหมาย สาหรับงบประมาณท่ีใช้เปน็ ไปตามงบประมาณท่จี ังหวัด จดั สรรมา ซี่งในแตล่ ะปีมจี านวนไม่เท่ากันและไม่เพยี งพอ ในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมป่าไม้ได้การถ่ายโอนภารกิจควบคุมไฟป่าในพื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีพ้ืนท่ีป่าสงวนแห่งชาติอยู่ในเขตการปกครอง ตามพระราชบัญญัติ กาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และตามแผนปฏิบัติ การกาหนดข้นั ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 (หนงั สอื กรมป่า ไม้ ที่ ทส 1612.4/16509 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2554 เร่ือง การถ่ายโอนภารกิจการควบคุมไฟป่าให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.)) ซ่ึงกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้แจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีได้รับ การถ่ายโอนภารกิจน้ีแล้ว โดยให้ดาเนินการตามแผนที่กาหนด คือ การจัดหลักสูตรอาสาสมัครป้องกันไฟป่า การรณรงค์ประชาสัมพันธ์การควบคุมไฟป่าโดยให้ประชาชนยุติการเผาป่า หญ้า และพืชในพ้ืนท่ีเกษตรกรรรม ระหวา่ งเดือนมกราคม-เมษายน เพ่ือลดการเกิดปัญหาหมอกควนั สร้างความเขา้ ใจถึงมลพิษหมอกควันที่มีผลต่อ สุขภาพของประชาชน และดาเนินการป้องกันป่าและดับไฟป่าในพื้นที่ โดยสนับสนุนหรือร่วมดาเนินการกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังในด้านบุคลากร งบประมาณ อุปกรณ์และเคร่ืองมือ และสร้างเครือข่ายการควบคุมไฟ ปา่ แบบมีส่วนร่วม และให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ใช้จ่ายงบประมาณของตนเองในการแก้ไขปัญหาไฟป่าและ การเผาในที่โลง่ (หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ ที่ มท 0891.4/ว 212๒ ลงวันท่ี 13 กุมภาพนั ธ์ 2557 เรื่องการเตรียมความพร้อมเพื่อจัดการปัญหาไฟป่าและหมอกควันประจาปี 2556) นอกจากนี้ในช่วงเวลาวิกฤติ หมอกควนั ในพ.ศ. 2562 (หนังสอื จงั หวัดเชียงใหม่ ที่ ชม 0023.3/ว 14303 ลงวันท่ี 3 เมษายน 2562 เร่อื งการ 23

ป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าในจังหวัดเชียงใหม่) มีคาส่ังให้ดาเนินการ คือ นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตาบล ในฐานะผู้อานวยการท้องถ่ินตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย พ.ศ. 2550 สงั่ ใชอ้ าสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) รว่ มปฏิบัติหนา้ ที่ชดุ ลาดตระเวนปอ้ งกันดับไฟ ป่าของหมู่บ้าน กับกานันผู้ใหญ่บ้านหรือชุดดับไฟป่าของหน่วยงานของรัฐ และจัดทาโครงการฝึกอบรมเชิง ปฏิบัติการเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเน้น การฝึกอบรมส่งเสริมอาชีพอ่ืนทดแทนการหาของป่าและการให้ความรู้การดับไฟอย่างมีประสิทธิภาพและ ปลอดภัย ในระหว่างวิกฤติหมอกควันปี 2562 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้มีหนังสือแจ้งให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ในกรณีท่ีมลภาวะหมอกควันและค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) มีค่าเกินมาตรฐาน (หนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ที่ มท 0820.3/ว 6884 ลงวันท่ี 1 เมษายน 2562 เร่ืองการแก้ไข ปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5)) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติตามระเบียบ กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายเพ่ือช่วยเหลือประชาชนตามอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิ น พ.ศ. 2560 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 พ.ศ. 2561 จัดซื้อหน้ากากอนามัยแจกจ่ายประชาชนที่ได้รับผลกระทบ และดาเนินการแก้ไขปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ในพื้นท่ี ด้วยการฉีดพ่นน้าเพ่ือเพ่ิม ความชุ่มชื้นในอากาศ เพ่ือลดหมอกควัน และระงับฝุ่นละอองขนาดเล็ก การสร้างความเข้าใจและการรับรู้เมื่อ หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินค่ามาตรฐาน ให้คาแนะนาในการดูแลสุขภาพ และดาเนินการตาม กฎหมายแก่ผู้ท่ีทาให้เกิดหมอกควันและฝุ่นละอองตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีพระราชบัญญัติสาธารณสุขพ.ศ. 2535 กาหนด ในทางปฏิบัติจึงพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินต้องทาภาระหน้าที่ตามท่ีกาหนดมา โดยทาได้ตาม ขีดความสามารถและงบประมาณท่ีมีจากัด ส่วนใหญ่เป็นภารกิจในช่วงเตรียมความพร้อมและช่วงเผชิญเหตุใน ลักษณะเชน่ เดยี วกันมาหลายปี คือ การจดั ฝึกอบรม 1 ครงั้ ที่มปี ระเดน็ คล้ายๆ กัน โดยเนน้ การลาดตระเวนและ วิธีการควบคุมดับไฟ การประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวขอความร่วมมือไม่เผาในช่วงเวลาท่ีห้ามการเผาทุกชนิดโดย เดด็ ขาด การสนับสนุนรถดบั เพลิงในจดุ ทีเ่ กิดไฟริมทางท่ีสามารถเข้าถึงได้ การนารถดบั เพลิงไปฉีดพ่นละอองน้า ไปตามสถานที่ราชการและเสน้ ทางถนนในชุมชน การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการป้องกนั ไฟป่าด้วยการทาแนวกัน ไฟและดับไฟป่าในรูปของค่าอาหาร ซึ่งทาได้ไม่กี่คร้ังตลอดช่วงเวลาท่ีเกิดการเผาไหม้ เน่ืองจากงบประมาณมี จากัด การแจกหน้ากากอนามัยให้ประชาชน แต่เป็นเพียงหน้ากากอนามัยแบบธรรมดาไม่ใช่หน้ากากอนามัยท่ี สามารถป้องกันฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) ได้เพราะมีปัญหาด้านงบประมาณ และมีการจัดพ้ืนท่ีปลอดภัย จากฝุ่นละอองขนาดเล็กสาหรับประชาชนกลุ่มเส่ียงตามที่จังหวัดแจ้งมา นอกจากนี้ยังมีข้อจากัดในเงื่อนไขการ เบิกจ่ายตามระเบียบราชการ อาทิ การจัดซ้ืออุปกรณ์เป่าลมเพื่อดับไฟ การให้เงินอุดหนุนแก่หมู่บ้านในพ้ืนที่ รบั ผิดชอบในการจดั การไฟปา่ ท่ีต้องแปลงเป็นค่าอาหารแทน เปน็ ต้น 24

6. แนวทางและนโยบายเพอื่ ไปสู่ประเทศไทยไร้หมอกควัน เมื่อทบทวนแนวทางและนโยบายในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน มีข้อเสนอแนะเง่ือนไขเพ่ือช่วยลด ปัญหามลพิษหมอกควันหรือการเป็นประเทศไทยไร้หมอกควันมากขึ้น ในกรณีจังหวัดเชียงใหม่และภาคเหนือ ตอนบน ดงั น้ี 1) การทบทวนนิยามความหมายชองไฟป่าและหมอกควันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังให้ ความหมายท่ีต่างกัน ทั้งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช กรมป่าไม้ กรมควบคุมมลพิษ หน่วยงานใน สังกัดกระทรวงสาธารณสุข และฝ่ายวิชาการ เพ่ือให้การกาหนดเป้าหมาย และวิธีการแก้ไขปัญหาสอดคล้อง สภาพปัญหาทแี่ ทจ้ รงิ 2) การปรับเปลี่ยนโครงสร้างระบบการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันของภาครัฐท้ังหมด จาก ระบบการสั่งการจากบนลงล่าง ให้เป็นระบบการทางานบนฐานของชุมชนท้องถิ่น (องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน กานัน และผู้ใหญ่บ้าน) เป็นคนจัดการ (community-based management) โดยหน่วยงานรัฐเปล่ียนบทบาท เปน็ ฝา่ ยประสานงาน สนบั สนนุ ทางวชิ าการ เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ท่จี าเปน็ จัดทาฐานข้อมลู และเผยแพร่ข้อมูล ที่สาคัญต่อการตัดสินใจและวางแผน จัดสรรงบประมาณให้เพียงพอ และปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆ ใหเ้ ออ้ื ตอ่ การทางานของชุมชนอยา่ งมสี ว่ นร่วมในการแกไ้ ขปญั หาหมอกควันและไฟปา่ 3) การแกไ้ ขปญั หาแบบองค์รวม โดยบูรณาการการแก้ไขปัญหาท่ีเกี่ยวข้องกับหมอกควันไปพร้อมกับ การแก้ไขปัญหาที่เก่ียวข้อง โดยเฉพาะด้านกรรมสิทธิใ์ นที่ดินของพื้นที่เกษตรในเขตป่า สิทธิในการใช้ทรัพยากร จากป่า และการดูแลป่าของชุมชน และการอนรุ ักษแ์ ละฟนื้ ฟทู รัพยากรดิน-นา้ -ปา่ ใหค้ ืนความสมบรู ณ์ 4) การปรับการใช้ท่ีดินบนพ้ืนที่สูง โดยลดพ้ืนที่เพาะปลูกพืชเชิงเด่ียวแบบขยาย เพิ่มพื้นท่ีป่าต้นน้า และเปลีย่ นจากระบบเพาะปลูกจากพืชเชิงเดยี่ ว อายสุ ้ัน และใชพ้ ้ืนทมี่ าก มาเป็นการทาการเกษตรแบบเข้มและ ผสมผสาน ทีใ่ ชพ้ ื้นทน่ี ้อยแตไ่ ด้ผลผลิตและมีรายได้เท่าเดมิ หรือมากข้ึน และมเี วลาเพาะปลกู ยาวนาน เชน่ ระบบ วนเกษตร ไมผ้ ล ไมย้ ืนตน้ มกี ลไกการตลาดรองรับผลผลติ หรือสามารถนาไปต่อยอดแปรรูปเปน็ ผลิตภณั ฑ์ท่ีคน ในท้องถนิ่ สามารถเพิ่มมลู ค่าได้ 5) การทางานเชิงพื้นที่สามารถทาได้ในหลายมิติ ตามการใช้ท่ีดิน เขตปกครอง หรือการแบ่งพ้ืนที่ท่ี ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กดิ การเผาไหม้ อาทิ ป่าตน้ น้าลาธาร และพ้นื ทีจ่ าเปน็ ต้องใช้ไฟ อาทิ ปา่ เตง็ รงั และปา่ เบญจพรรณ ท่มี เี ชอ้ื เพลงิ สะสมมากจนเส่ยี งต่อไฟป่าท่ีรุนแรง สวนป่า ไร่หมนุ เวยี น และพ้ืนท่เี กษตรบนทสี่ ูงที่ยังจาเปน็ ตอ้ งใช้ ไฟ โดยมีการร่วมวางหลักการจัดการเชื้อเพลิงที่เหมาะสม ร่วมกับการบริหารจัดการควันไฟระหว่างพื้นท่ี ข้างเคียงท่ีเก่ียวข้อง ท่ีมีการควบคุมช่วงเวลาดาเนินงานและประสานงานเพื่อชะลอหรือเล่ือนการใช้ไฟเมื่อเกิด มลภาวะเกินมาตรฐาน เพือ่ ลดผลกระทบจากหมอกควนั ต่อสขุ ภาพของประชาชน 6) การวิจัยและสร้างนวัตกรรมใหม่ในการจัดการเศษวัสดุทางการเกษตรที่เกษตรกรสามารถทาได้ สะดวก เพ่ือลดการเผาเศษวัสดุการเกษตรก่อนการเพาะปลูก และการคิดค้นวิธีฟ้ืนฟูธาตุอาหารในดินสาหรับ 25

พื้นที่สูงท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เพ่ือลดการเผาวัสดุการเกษตรให้มีธาตุอาหาร และยังช่วยลดการใช้สารเคมีท่ี ทาใหด้ นิ เส่ือมสภาพมากขึ้น 7) การร่วมทาแผนปรบั เปลี่ยนการใช้ไฟในเขตเกษตรบนท่สี งู และในป่าผลดั ใบ จากการเผาท่วั ไปแบบ ไม่ควบคมุ มาเปน็ การเผาเฉพาะทจี่ าเป็นโดยมีการควบคุมและใช้วธิ ีการทเ่ี หมาะสมเหมอื นกันทุกพ้ืนที่ โดยมีการ สรา้ งความเข้าใจระหว่างคนในเมืองท่ีได้รับผลกระทบจากหมอกควัน และคนในชนบทที่มีความจาเป็นต้องใช้ไฟ แลว้ ทาใหเ้ กดิ หมอกควนั โดยเฉพาะในช่วงปรับเปล่ียนในระยะแรก 26

เอกสารอา้ งองิ คณะกรรมการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั . 2552. แผนปฏบิ ตั ิ การปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาไฟปา่ การเผาในท่ีโล่ง และมลพษิ หมอกควัน พ.ศ. 2556 – 2562 ภายใต้ แผนแมบ่ ทพฒั นาความปลอดภยั ดา้ นอคั คภี ัยแหง่ ชาติ. กรงุ เทพฯ: กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. คณะกรรมการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. 2558. แผน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ. กรุงเทพฯ: กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั . กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม. 2561. ทส. ถอดบทเรยี นการแก้ไขปญั หาหมอกควนั ภาคเหนือ ปี 2561 กาชับหนว่ ยงานบูรณาการแก้ไขปญั หา ทางานแบบไรร้ อยตอ่ เพอื่ ผลสาเร็จอย่างยั่งยืน. https://gnews.apps.go.th/news?news=21208, 14 มิถุนายน 2561. กรมควบคุมมลพิษ. 2548. แผนแมบ่ ทแห่งชาตวิ ่าดว้ ยการควบคมุ การเผาในท่โี ล่ง. กรุงเทพฯ: กรมควบคมุ มลพษิ . กรุงเทพธุรกิจ. 2562. ทภ.3 ตัง้ บก. แกห้ มอกควัน 9 จังหวัดภาคเหนือ. http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/827178, 15 กุมภาพนั ธ์ 2562. ขา่ วสด. 2562. เชียงใหม่วิกฤต ฝ่นุ พิษกลบั มาพงุ่ ตวั เลขแดงเถือก ข้ึนท่ี 1 โลก อนั ตรายหลายพน้ื ที่. https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_2363340, 30 มีนาคม 2562. เชยี งใหมน่ ิวส์. 2561. แมท่ พั นอ้ ยท่ี 3 แถลงแผนการรณรงค์ป้องกนั และแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ระดับภาค ส่วนหน้า ปี 2562. https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/867842, 20 ธันวาคม 2561. เชียงใหมน่ วิ ส์. 2562ก. รฐั บาลวางมาตรการ ระยะกลางและระยะยาว แก้ไขปญั หาหมอกควนั และฝ่นุ PM 2.5 พนื้ ที่ภาคเหนือ ตัง้ แต่ ปี 2562 ถงึ 2567. https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/ 980975, 23 เมษายน 2562. เชยี งใหม่นวิ ส์. 2562ข. เชียงใหม่สิ้นสดุ ประกาศสงั่ งดเผา 61 วัน พบจุดความรอ้ นจากการเผายอดพงุ่ ทันตา. https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/989669, 2 พฤษภาคม 2562. ไทยรฐั ฉบับพมิ พ์. 2562. เชียงใหม่อ่วมอีก ชาวเขาแห่เผาป่า รอเพาะปลูกฤดูฝน อีสานเละพายุถล่ม. https://www.thairath.co.th/news/local/1555521, 29 เมษายน 2562. ธารา บวั คาศร.ี 2562. แมส่ ายในดงฝุ่น PM2.5: ขอ้ สังเกตวา่ ด้วยมลพษิ จากหมอกควนั ข้ามพรมแดนในอนุ ภมู ภิ าคล่มุ นา้ โขง. https://www.greenpeace.org/thailand/story/5673/maesai-pm25/, 13 เมษายน 2562. นริศ ขานุรักษ.์ 2560. ปรับเปลย่ี นวธิ สี ูว้ ิกฤติไฟปา่ ปฏิรูปคน-งบประมาณ!!. https://www.dailynews.co.th/ article/560136, 8 มีนาคม 2560. 27

ประชาชาตธิ รุ กจิ . 2562ก. ต้นทุนของสังคมไทย จากมลพิษวิกฤตฝุ่นพิษ PM 2.5. https://www.prachachat. net/columns/news-291113, 16 กุมภาพันธ์ 2562. ประชาชาติธรุ กจิ . 2562ข. วิกฤต “หมอกควนั ” เชียงใหม่ ย่ิงแก้ ! ย่งิ หนัก ! “ศก.-ท่องเท่ียว-สุขภาพ” สูญหมน่ื ล้าน. https://www.prachachat.net/local-economy/news-308189, 28 มนี าคม 2562. ประชาชาติธรุ กจิ . 2562ค. ปิดผลวิจัยลกึ MBI 8 บ.ยึด “เมียนมา” ฐานสง่ ออกอาหารสตั ว์ บทพสิ ูจน์มลพิษ ภาคเหนอื -รฐั ฉาน. https://www.prachachat.net/local-economy/news-320001, 28 มนี าคม 2562. ประชาชาตธิ รุ กิจ. 2562ง. หมอกควันภาคเหนือกระทบหนัก โรงแรม-ท่องเทยี่ ววบู . https://www.prachachat.net/local-economy/news-311324, 4 เมษายน 2562. ประชาชาติธุรกิจ. 2562จ. หนนุ ปลูก “ข้าวโพดเลย้ี งสตั ว์” จุดชนวน “ควันพิษ” ข้ามแดนภาคเหนอื -เมียนมา. https://www.prachachat.net/local-economy/news-314528, 12 เมษายน 2562. ประชาไท. 2550. อากาศเชียงใหม่วิกฤติเข้าขน้ั เมืองในหมอกพษิ ค่ามลภาวะสงู เกนิ มาตรฐาน เสยี่ งสขุ ภาพ!. https://prachatai.com/journal/2007/03/11939, 13 มีนาคม 2550. ประอรพศิ คชวัฒน์. 2562ก. ระดมสมอง ทบทวนบทเรยี นจาก วิกฤตฝ่นุ PM 2.5 นาสู่โมเดลแกป้ ัญหาฝุ่นจวิ๋ คกุ คามคนเมอื งอยา่ งยั่งยนื . https://www.salika.co/2019/02/25/pm2-5-preventing-plan/, 25 กุมภาพนั ธ์ 2562. ประอรพิศ คชวฒั น.์ 2562ข. ประเทศไทยอยู่อันดบั ท่เี ท่าไร ในการจัดอันดับคณุ ภาพอากาศโลก? ฟังคาตอบ กอ่ นวางมาตรการปกป้องลมหายใจคนเมือง. https://www.salika.co/2019/03/25/air-quality- thailand-2562/, 25 มีนาคม 2562. ปรญิ ญา ชูเลขา. 2562. เอาไม่อยูแ่ ลว้ ! ฝ่าวิกฤต PM2.5 ถึงเวลารัฐบาลต้อง \"กล้า\" แกป้ ัญหาอย่างจริงจงั . https://www.posttoday.com/politic/report/579132, 3 กมุ ภาพนั ธ์ 2562. มติชนออนไลน์. 2562ก. แม่ฮ่องสอนเร่งพน่ ละอองนา้ หลังพบคา่ ฝ่นุ พุ่งพรวดเกินมาตรฐาน. https://www.matichon. co.th/region/news_1340611, 29 มกราคม 2562. มตชิ นออนไลน์. 2562ข. สนธิ คชวฒั น์ ถอดรหสั PM 2.5 ‘บทเรยี น-ทางออก’ รบั มอื วกิ ฤตฝนุ่ ระลอกใหม่. https://www. matichon.co.th/prachachuen/interview/news_1356394, 9 กุมภาพนั ธ์ 2562. มติชนออนไลน์. 2562ค. คา่ ฝนุ่ เชยี งใหม่ยังพุ่งตดิ อันดับ1โลก คนพร้อมใจสวมหน้ากากป้องกัน. https://www.matichon.co.th/region/news_1406895, 15 มนี าคม 2562. วษิ ณุ อรรถวานชิ . 2562ก. ตน้ ทุนของสงั คมไทย จากมลพิษ-วิกฤตฝนุ่ พิษ PM 2.5. https://www.prachachat. net/columns/news-291113, 16 กมุ ภาพันธ์ 2562. 28

วษิ ณุ อรรถวานชิ . 2562ข. สถาบันวจิ ยั ป๋วยฯ เผย “ตน้ ทุน” ของมลพษิ ทางอากาศในสังคมไทย – ช้ีปี 2560 กทม.ข้นึ อันดับ 1 ทะลุ 400,000 ล้านบาท. https://thaipublica.org/2019/04/pier-air-pollution- pm2-5/, 4 เมษายน 2562. รตั นศิริ กติ ตกิ ้องนภางค์. 2562ก. ประเทศไทยอยตู่ รงไหนในสถานการณ์คุณภาพอากาศโลก. https://www. greenpeace.org/thailand/story/2176/thailand-aqi-rank/, 6 มีนาคม 2562. รัตนศริ ิ กิตตกิ ้องนภางค์. 2562ข. มีอะไรใต้หมอกควนั PM2.5 ภาคเหนอื . https://www.greenpeace.org/ thailand/story/4769/north-pm25/, 19 มนี าคม 2562. ศักดช์ิ ัย จงกิตวิวฒั น์. 2559. ยุทธศาสตร์การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาไฟป่าในพนื้ ที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย. กรงุ เทพฯ: ส่วนควบคุมไฟป่า สานักป้องกัน ปราบปราม และควบคมุ ไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธุ์พืช. ศุทธินี ดนตรี, อภริ ดี สรวสิ ูตร, พจนา พิชติ ปัจจา, ปรัชญา ปน่ิ ขันธะยงค์ และศภุ ลกั ษณ์ หน้อยสุยะ. 2557. การ จาแนกเชงิ พ้นื ที่ของพ้นื ทีเ่ ผาไหม้ เพอื่ การเฝ้าระวังและการปอ้ งกันการเผาในทโี่ ลง่ : กรณีศึกษาจังหวดั เชยี งใหม่ ลาพนู และแม่ฮ่องสอน. เชยี งใหม่: ล๊อคอินดีไซน์เวิรค์ ศทุ ธินี ดนตรี. 2558. “การจดั การไฟป่าและหมอกควัน: บทเรียนจากการจดั การอย่างมีส่วนรว่ มของพหุภาคี” สังคมศาสตร์ 27 (2): 121-155. ศทุ ธินี ดนตรี, สตรีรัตน์ จมุ พิต และชณัฐฎา แสงงาม. 2561. การติดตามและประเมนิ ผลการจัดการและแก้ไข ปัญหาพ้ืนทเี่ ผาไหมแ้ ละหมอกควนั ในจงั หวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2561. เชียงใหม่: โครงการประเทศไทยไร้ หมอกควัน (Haze Free Thailand). สยามรฐั ออนไลน.์ 2562. รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานชิ มองฝุ่นพษิ เชงิ เศรษฐศาสตร์ “มัจจุราชมืด” ทาลายประเทศ. https://siamrath.co.th/n/73540, 7 เมษายน 2562. สานักขา่ วแหง่ ชาติ กรมประชาสมั พนั ธ์. 2561. ปภ.บูรณาการทุกภาคสว่ นขบั เคลอ่ื น “4 มาตรการเชิงพ้ืนท่ี 4 มาตรการบริหารจดั การ”บงั คับใชก้ ฎหมายเขม้ ข้น เตรยี มพรอ้ มป้องกนั ไฟป่าและหมอกควัน. http:// nwnt.prd.go.th/centerweb/News/NewsDetail?NT01_NewsID=TNSOC6101160010071, 16 มกราคม 2561. สานกั งานพฒั นาเทคโนโลยีอวกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องค์การมหาชน), 2561. สรปุ สถานการณไ์ ฟป่าและ หมอกควันด้วยภาพถ่ายจากดาวเทยี ม ปี 2561. กรุงเทพฯ: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภมู ิ สารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน). สันตสิ ขุ กาญจนประกร และณขวัญ ศรอี รุโณทยั . 2562. หมอกควนั บนมายาคติและความจรงิ : สู่ Policy Market แบบไมท่ ิง้ ใครไว้ข้างหลงั . https://waymagazine.org/northern-smog-policy/, 21 กมุ ภาพันธ์ 2562. 29

อัจฉราวดี บวั คลี่. 2550. ควนั ข้ามโขง ฆาตรกรเงยี บไรพ้ รมแดน. https://www.citizenthaipbs.net/node/ 25359, 1 กุมภาพนั ธ์ 2562. อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ. 2560. เปดิ ปมทุนข้ามชาติ กบั ควนั พิษข้ามพรมแดน. https://www.tcijthai.com/ news/2017/26/scoop/6792, 26 กมุ ภาพันธ์ 2560. Greenpeace Thailand. 2562ก. การจัดลาดับเมอื งทม่ี ปี ัญหามลพิษทางอากาศ ปี 2561. https://www. greenpeace.org/thailand/publication/3139/city-ranking-2561/, 25 มกราคม 2562. Greenpeace Thailand. 2562ข. รายงานการวิเคราะห์เบ้ืองต้น มลพิษทางอากาศขา้ มพรมแดนจากแผนท่ี ภาพถ่ายดาวเทียมความเข้มข้นของฝ่นุ ละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5). http://www. greenpeace.org/seasia/th/press/reports/Satellite-derived-PM25-Mapping-Report, 25 มกราคม 2562. North Public News. 2562ก. แม่ทัพน้อยที่ 3 ปิดศนู ยฯ์ ไฟป่า ชี้หลงั หมดชว่ งหา้ มเผาใหผ้ วู้ า่ ฯ จังหวัดไป บรหิ ารจัดการสงั่ หา้ มเผาพรอ้ มกัน. http://www.northpublicnews.com/แม่ทัพน้อยท่ี3, 25 เมษายน 2562. North Public News. 2562ข. เชยี งใหมเ่ ชอ่ื จดั โซนกาหนดเวลาคุมการเผาเชื้อเพลงิ กว่า 1 แสนไรใ่ น 23 อาเภอ เพื่อเตรียมพืน้ ทีเ่ กษตรได้. http://www.northpublicnews.com/เชียงใหม่เช่อื จัดโซนกา, 30 เมษายน 2562. Oknation. 2562. มฤตยูหมอกควันพิษภาคเหนอื ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์การเมือง. http://oknation. nationtv.tv/blog/ akom/2019/04/01/entry-1, 1 เมษายน 2562. Sanitsuda Ekachai. 2019. The red tape is killing us, not the haze. https://www.bangkokpost.com/ opinion/opinion/1658232/the-red-tape-is-killing-us-not- the-haze, 8 April 2019. THE SUNDAY NATION. 2017. Smog blowing in from Myanmar affects air quality in the North. http://www.nationmultimedia.com/detail/national/30307967, 5 March 2017. 30