Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างคำในภาษาไทย ม2

การสร้างคำในภาษาไทย ม2

Published by 45 ลัตฟี ยูโซ๊ะ, 2023-06-18 07:07:55

Description: การสร้างคำในภาษาไทย ม2

Search

Read the Text Version

ช่ือ - สกลุ ใบงานคร้ังท่.ี .................... ลายเซน็ ผสู้ 1อน................. ชนั้ เลขที่ วันท่ี........./........../.......... เร่อื ง “การสร้างคำในภาษาไทย” วชิ า ภาษาไทย 2 (ท 31102)  การใช้ภาษาไทยของมนุษย์มกี ารพฒั นาและเปลี่ยนแปลงมาตั้งแต่อดีตจนปัจจุบัน แต่เดิมไทยของ เราเป็นภาษาคำโดดซึ่งมักเป็นพยางค์เดียว (2 พยางค์ขึ้นไปก็พบ) และมีความหมายในตัวเองโดยที่ไม่ต้อง ประสมกับคำอนื่ หรืออาจเรยี กว่า “คำมูล” ดังน้ี 1. คำมลู  คำมูล คือ คำทม่ี คี วามหมายเป็นคำ ๆ โดยทยี่ ังไม่ไดป้ ระกอบกับคำอ่นื (อาจมีมากกว่า 1 พยางค์ก็ ได)้ ดงั ตัวอยา่ ง 1.1 คำมลู พยางค์เดยี ว คำไทยทีเ่ กย่ี วกับธรรมชาติ ดนิ นำ้ ลม ไฟ เขา เดือน ดาว ฟ้า เมฆ คำไทยที่เกย่ี วกับรา่ งกาย _____ _____ _____ _____ _____ คำไทยทเ่ี กยี่ วกบั รสชาติ _____ _____ _____ _____ _____ คำไทยทเ่ี ก่ียวกบั ญาตพิ ี่นอ้ ง _____ _____ _____ _____ _____ 1.2 คำมูลหลายพยางค์  คำมูลอาจมีหลายพยางค์ ไม่จำเป็นต้องเป็นพยางค์เดียวโดดเท่านั้น วิธีสังเกตคือแต่ละพยางค์ท่ี ผสมกันเมื่อรวมกันแล้วจะ “ไม่เกิดความหมายใหม่” นอกจากนี้ยังสังเกตได้อีกว่า “บางพยางค์จะไม่มี ความหมาย” ดว้ ย คำส่ัง : ใหน้ กั เรยี นทำเครื่องหมาย x ในหนว่ ยคำทีไ่ ม่มคี วามหมาย และทำเครอ่ื งหมาย ✓ หน่วยคำ ทม่ี ีความหมาย แลว้ ใหเ้ ขียนสรุปวา่ เปน็ คำชนดิ ใด (ex : คำมูล คำประสม คำซอ้ น หรือคำซ้ำ) สูตรการจำ “แยกไม่ได้ แยกแลว้ เน่า ไม่เกิดความหมาย” นาฬิกา มะละกอ ตะกรา้ ชะนี แมน่ ้ำ สรุปว่า สรปุ ว่า สรปุ วา่ สรุปวา่ สรุปวา่ …………… …………….. …………..… ……………… ……………… บทสรุปเรอ่ื ง “คำมลู ” 1) คำมูลจำเปน็ ต้องเป็นพยางค์เดยี วโดด ๆ เท่านั้น จริง  ไม่จรงิ  2) คำมลู หลายพยางค์ เม่อื แตล่ ะพยางค์รวมกนั จะมความหมายใหม่ จริง  ไมจ่ ริง  3) คำมูลหลายพยางค์ แตล่ ะพยางค์ตอ้ งเป็นคำทีม่ คี วามหมาย จริง  ไม่จริง  4) คำมลู ไม่สามารถแยกหน่วยคำออกจากกนั ได้ จริง  ไมจ่ ริง 

2  แมค้ ำภาษาไทยจะมลี กั ษณะเป็นคำโดดและมีความหมายในตัวเองก็ตาม แตค่ ำในภาษาไทยก็ยังไม่ มีใช้เพียงพอ ไทยจึงมีการคิดหลักการ “ประสมคำ” ขึ้นมา ได้แก่ คำประสม คำซ้อน และคำซ้ำ เพื่อให้ ภาษาไทยมีคำศพั ทม์ ใี ชม้ ากขึน้ 2. คำประสม  คำประสม คอื ซง่ึ คำมูลท่นี ำมาประสมกนั ในแต่ละคำ จะต้องมคี วามหมายทีต่ า่ งกนั ออกไปด้วย คำ (คำมลู ) + คำ (คำมลู ) => เกิดความหมายใหม่ ไฟ + ฟา้ ex : การสรา้ งคำประสม ต้น + คิด มา้ + น้ำ = ไฟฟา้ (พลังงานชนดิ หนึง่ ) ลกู + นอ้ ง = ตน้ คิด (ผูร้ เิ ริ่มสงิ่ ประดิษฐ์ขน้ึ มาใหม่) มือ + ลิง = ม้านำ้ (……………………….................) นกั + รอ้ ง = ลกู นอ้ ง (……………………….................) = มือลงิ (……………………….................) = นักร้อง (……………………….................) หมายเหตุ ถ้าขน้ึ ตน้ ด้วยคำดงั ต่อไปนี้ “นัก ชาว ชา่ ง ผู้ หมอ การ ความ เครือ่ ง” ให้เป็นคำประสม กจิ กรรมที่ 1) หลักสงั เกตการพจิ ารณาคำประสม คำสงั่ : ให้นักเรียนเตมิ คำประสมลงในชอ่ งว่างใหถ้ กู ตอ้ ง (ข้อละ 4 - 5 คำ) นกั ชาว ชา่ ง ผู้ หมอ การ ความ เครอื่ ง คำสัง่ : ให้นกั เรียนเลือกคำประสมที่กำหนดมาให้แลว้ นำมาเขยี นระบลุ งในช่องวา่ งให้ถกู ต้อง กลว้ ยแขก แมบ่ า้ น ยาแดง ยาตก โรงเรยี น เตารดี ตม้ ยำ ตม้ ข่า ต้มไข่ ใจดี สะพานลอย รถดว่ น น้ำแข็ง ต้มยำ พิมพด์ ดี เลอื กตั้ง กนิ ใจ ถูกคอ นาม + นาม นาม + กริยา / กริยา + นาม กริยา + กริยา ไม่ใชค่ ำประสม

3 3. คำซอ้ น “คำซ้อน” เป็นลักษณะการสร้างคำที่คล้ายกับคำประสม ต่างกันแค่วิธีการสร้าง คือ คำซ้อนจะสร้าง ด้วยคำทีม่ คี วามหมายเหมอื นกัน ใกลเ้ คยี งกนั หรอื ตรงข้ามกัน มาซอ้ นกันเพอ่ื ความหมายหรอื เพ่ือเสียง คำมลู คำมูล คำซ้อน (เพอ่ื ควาหมาย) (ความหมายเหมอื นกัน) + (ความหมายเหมือนกนั ) => (เพือ่ เสยี ง) (ความหมายใกลเ้ คยี งกนั ) (ความหมายใกลเ้ คยี งกนั ) (ความหมายตรงขา้ มกนั ) (ความหมายตรงขา้ มกัน) บ้าน + เรือน = บา้ นเรอื น กิจกรรมท่ี 2) หลักสงั เกตการพิจารณาคำซอ้ น คำสง่ั : ใหน้ ักเรยี นเลอื กคำซอ้ นท่ีกำหนดมาให้แล้วนำมาเขียนระบลุ งในช่องว่างให้ถูกต้อง เงยี บสงัด เด็ดขาด ถ่ินฐาน รูปร่าง จิตใจ รปู ภาพ ยา่ งเดิน สร้างสรรค์ สวยงาม ดุกดกิ จุกจิก งอแง งัวเงีย นวั เนยี โอนเอน ออ้ นแอน้ ดีช่ัว มืดคำ่ เสอ้ื ผา้ 3.1 ซอ้ นเพอื่ ความหมาย 3.2 ซอ้ นเพ่อื เสยี ง .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. สรปุ คำซอ้ นเพือ่ ความหมาย สรปุ คำซ้อนเพือ่ เสียง 4. คำซ้ำ “คำซำ้ ” คือ การนำคำมลู มาซำ้ กันโดยใชเ้ ครื่องหมาย “ๆ” ซงึ่ สง่ ผลใหค้ วามหมายตา่ งกนั ออกไปหรือ เพิ่ม/ลดนำ้ หนักความหมายของคำ ดงั น้ี 4.1 การใช้คำซ้ำเพ่อื ใหค้ วามหมายตา่ งกนั ออกไป หมู หมายถงึ _______________ หมๆู หมายถงึ _______________ เพอ่ื น หมายถึง_______________ เพื่อนๆ หมายถึง_______________ หลัง หมายถึง_______________ หลงั ๆ หมายถงึ _______________ 4.2 การใชค้ ำซ้ำเพือ่ เพิม่ นำ้ หนกั / ลดน้ำหนกั ความหมายของคำเดมิ หนงั สือหนาๆ  เพ่ิมน้ำหนักคำ  ลดน้ำหนกั คำ วิ่งใหม้ ันเรว็ ๆ หน่อย  เพิ่มนำ้ หนักคำ  ลดนำ้ หนกั คำ จา่ ยๆ เขา้ ไปเถอะรำคาญ  เพิม่ น้ำหนักคำ  ลดน้ำหนักคำ

แบบทดสอบเรอ่ื ง “การสรา้ งคำในภาษาไทย” คะแนน 4 คำสั่ง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  ลงในคำตอบท่ีถูกต้องเพยี ง 1 ตัวเลือก 20 1. ข้อความต่อไปนี้มีประสมกค่ี ำ “สมศักดิ์เป็นหัวหน้าในสำนักงาน เขามีเพื่อนร่วมงานอีก 4 คน เวลาคนอื่นไม่อยู่สมศักดิ์จะต้องยืน ตรงคอยรับลูกค้า” 1. 6 คำ 2. 5 คำ 3. 4 คำ 4. 3 คำ 2. ข้อใดเป็นคำซอ้ นทกุ คำ 1. แนบชิด กับแกลม้ เกง่ กาจ 2. รีดไถ กล่าวหา เอาอยา่ ง 3. อ้อยอิ่ง ปา่ วรอ้ ง โยนกลอง 4. หมดส้ิน กดดนั ใหมเ่ อ่ียม 3. คำซอ้ นในข้อใดประกอบขึ้นจากคำทมี่ ีความหมายไม่ตา่ งกัน 1. ขวากหนาม ซ่อมแซม 2. สักการบชู า เปลี่ยนแปลง 3. คาดคะเน ซอ่ นเร้น 4. หยุดยัง้ อภบิ าลรกั ษา 4. คำซำ้ ในข้อทำหนา้ ที่ในประโยคตา่ งกบั ข้อใด 1. เหน็ กนั พลดั ๆ ก็ได้ข่าวว่าสมบัตติ ายเสยี แล้ว 2. เขาเดินกระทบื เทา้ ปัง ๆ เข้าไปในครัว 3. เขามาถึงสนามบนิ เหน็ เครื่องบินออกไปลบิ ๆ 4. ผ้หู ญงิ สวย ๆ ทกุ วนั นี้ทำงานนอกบา้ น 5. ข้อใดมีคำซ้อนมากที่สดุ 1. แตห่ นาวใจยากแคน้ นีแ้ สนเข็ญ 2. ออกแออัดผ้คู นอย่ลู ้นหลาม 3. ในแหล่งหล้าใครไม่มีเสมอเหมือน 4. ไม่สมประกอบทรัพย์สินก็ขัดสน 6. การใช้ซำ้ ในขอ้ ใดต่างจากข้ออน่ื 1. น้ำพระทยั เธอขอ่ น ๆ คิดไมข่ าด 2. น้ำพระชลนยั นไ์ หลลงหล่ัง ๆ 3. พุ่มไมค้ ร้ิมเปน็ เงา ๆ ชะโงกเงอื้ ม 4. ฝูงสกุณาออกหากินบนิ เกร่ินกอ้ งร้องอย่แู จว้ ๆ 7. ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ 1. กล้ำกลืน เคยตวั ติดตาม 2. อวดอา้ ง หมายมาด เคลื่อนคลอ้ ย 3. พรั่งพร้อม หง่างเหงง่ วังเวง 4. รอ่ ยหรอ โศกศัลย์ ตกยาก 8. ขอ้ ใดเปน็ คำประสมทุกคำ 1. กรรมเกา่ นำ้ เนา่ สาดโคลน สั่นคลอน 2. แกะดำ นง่ั รา้ น วางมวย ผุยผง 3. เล่นตวั วางมอื หมกเมด็ แพแตก 4. จุดจบ สบั หลีก เลวทราม ลายคราม 9. ข้อใดมีคำซำ้ ทีแ่ สดงความหมายตา่ งจากข้ออื่น 1. ฝนตกพรำ่ ๆ ทงั้ คนื 2. ป้าของสมชาติชอบพูดซ้ำ ๆ 3. สมศรีชอบใชด้ นิ สอใหห้ มดไปเป็นแท่งๆ 4. สมชายร่ำ ๆ จะขอเกษียณอายุราชการก่อนกำหนด 10. ขอ้ ใดเปน็ คำซ้อนทกุ คำ 1. ปลอ่ ยวาง ลำนำ้ เผ่นโผน นบั ถอื 2. เงยี บสงัด เรอื งรอง ขมขี มัน หอ้ งหอ 3. สญู เสยี พกั ผ่อน สัตยซ์ ื่อ วธิ ีการ 4. เหตุการณ์ มิตรสหาย โกรธเคือง พบพาน 11. ขอ้ ใดเปน็ คำประสมทกุ คำ 1. ของขลงั ชุมชม เรอื ด่วน สามขุม 2. เรียงเบอร์ ข้าวสวย มูมมาม เหล็กดดั 3. มือถอื เคร่ืองบนิ ต้มเต็ม รูปภาพ 4. แม่พมิ พ์ เคร่อื งคิดเลข แกงไก่ ขายหน้า

5 12. ขอ้ ใดเป็นไดท้ ง้ั กลุ่มคำและคำประสม 1. เก็บอารมณ์ 2. เขียนหนงั สอื 3. ร้อยดอกไม้ 4. ทอดสะพาน 13. ขอ้ ใดเปน็ คำประสมทุกคำ 1. จานเดด็ จานรอ้ น จานแบน จานเปล 2. คดิ ถงึ คิดอา่ น คดิ ค้น คิดดู 3. เตะจมกู เตะตา เตะก้น เตะฉาก 4. คำขวัญ คำคม คำตัง้ คำตาย 14. ข้อใดมคี ำซำ้ ที่แสดงความหมายต่างจากข้ออ่ืน 1. ฉันไม่ชอบผ้าตาใหญ่ ๆ แบบน้ี 2. ต้องต้ังใจทำการบ้านนะอย่าทำสง่ ๆ มา 3. ขอยมื เสื้อสวย ๆ ใสส่ กั ตวั เถอะ ๆ 4. อยดู่ ึก ๆ มาหลายวนั เลยรู้สึกเพลีย 15. ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ 1. เปรยี บเทียบ พกั ผอ่ น ฟ้งุ ซ่าน ชงิ ชัย 2. ปิดปัง เพล่ยี งพล้ำ เฟ่ืองฟู ลบลา้ ง 3. ลอดชอ่ ง พิศดู จนถึง สารบรรณ 4. เปิดเผย ฟูมฟกั กรอบเคม็ อุ้มชู 16. ข้อความต่อไปน้คี ำประสมจำนวนเทา่ ใด (ไม่นับคำซ้ำ) “ปจั จบุ ันสนิ ค้าตา่ ง ๆ ที่ขายได้ ไม่ได้ขายด้วยคุณภาพอยา่ งเดยี วแล้ว แต่ขายด้วยภาพลักษณท์ ดี่ ดี ้วย นัน่ หมายความวา่ ห้างนน้ั บริษัทนนั้ มีชือ่ เสยี งดี มีสินค้าดี มภี ูมิหลังดี และสินค้านั้นเปน็ ที่เชือ่ ถือในวงการคา้ ” 1. 4 คำ 2. 5 คำ 3. 6 คำ 4. 7 คำ 17. ขอ้ ใดไม่มีคำซ้อน 1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขั้นเม่อื ทราบข่าวคนรักของเธอ 2. สาสินไมร่ ้จู ักมกั ค้นุ กับอศั นียแ์ ตเ่ ขาก็มาชวนเธอทำงาน 3. รจนาตกอยูใ่ นว้นวนของความทุกข์ท่ดี จู ะหาทางออกไม่ได้ 4. กนกเรขาไม่เดอื ดร้อนที่คนเข้าใจผดิ เรอ่ื งการทำงานของเธอ 18. คำซ้ำในข้อใดมคี วามหมายต่างจากข้ออน่ื 1. เรากำลงั ฟงั เพลนิ เธอกห็ ยุดเลา่ เสยี เฉยๆ 2. คนช่วยงานเยอะแลว้ เรานั่งเฉยๆ ดกี ว่า 3. นกั เรยี นมกั กลวั ครูที่ทำหน้าเฉยๆ 4. ไหนว่าเธอเขาเป็นคนเฉยๆ ไง 19. คำซอ้ นในข้อใดประกอบดว้ ยคำไทยกับคำเขมรทุกคำ 1. ปรับปรุง แลกเปล่ยี น ล้างผลาญ 2. คมุ้ กนั ละเอยี ดลออ ด่าทอ 3. กลา้ หาญ ป่ันทอน เพื่อนเกลอ 4. โง่เขลา เงยี บสงัด ฝ่นุ ละออง 20. ข้อใดมีคำทไ่ี มใ่ ชค่ ำประสม 1. ข้วั โลก ข้าวหลาม เขา้ รอบ 2. จนมมุ จวนตวั ใจเพชร 3. ชชู พี เชิดหนุ่ เชงิ กราน 4. ดินดาน เดมิ พนั เดนิ สาย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook