Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1-2

64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1-2

Published by elibraryraja33, 2021-08-17 02:04:34

Description: 64-08-17-คู่มือและแผนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ม.1-2

Search

Read the Text Version

492 หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เรอื่ ง การสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศัยเพศของพืช เวลา 1 ชัว่ โมง เรอ่ื ง การสบื พันธุ์ของพชื ดอก กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ขอบเขตเนอ้ื หา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ 1. รปู ภาพพชื พรรณไมส้ าหรับกิจกรรมขนั้ นา ประเภทของการสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของ ข้ันนา พชื 1. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วดั 2. ใบความรู้ เรอื่ ง การสบื พันธ์แุ บบไมอ่ าศัยของ 2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนโดยการนาเสนอครูโดยใช้รปู ภาพและครูใช้ พชื จุดประสงค์การเรยี นรู้ คาถามต่อไปน้ี 3. ใบกจิ กรรมเรอื่ ง การสบื พนั ธแุ์ บบไม่อาศยั ดา้ นความรู้ เพศ ภาระงาน/ชน้ิ งาน 1. อธิบายการสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศัยเพศของ พชื ได้ 1. ใบกิจกรรมเร่อื ง การสบื พันธแุ์ บบ 2. ระบโุ ครงสร้างของดอกทเ่ี ก่ียวกบั การ ไม่อาศยั เพศ สืบพนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพืชได้ ด้านทกั ษะกระบวนการ ภาพท่ี 6.5.1 รูปภาพพรรณไม้ 1. เขียนผงั ความคิดอธบิ ายการสบื พนั ธ์ุแบบไม่ อาศัยเพศของพชื - จากภาพ เป็นรูปภาพของอะไร (ใบของต้นเศรษฐเี งินล้าน, รากของต้นขงิ ,รากมนั มือเสอื ) 3. พชื เหลา่ นส้ี ามารถขยายพนั ธ์ุโดยวธิ ใี ด (การสืบพันธ์แุ บบ ไม่อาศัยเพศ) - นกั เรยี นยกตวั อย่างช่ือพชื ท่ีมกี ารสืบพันธ์แุ บบไมอ่ าศัยเพศ (ขงิ ข่า มันฝร่ัง กล้วย ฯลฯ) 475 492

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอื่ ง การสืบพนั ธุแ์ บบไมอ่ าศัยเพศของพชื 493 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การสบื พันธ์ุของพืชดอก รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เวลา 1 ชวั่ โมง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 - นอกจากเมลด็ แลว้ พืชใช้สว่ นใดในการขยายพนั ธุ์พืช (ราก ลาตน้ กง่ิ ใบ ไหล การแตกหนอ่ การสร้างสปอร์) ข้ันสอน 1. ครใู ห้นกั เรียนศึกษา ชนดิ ของการสบื พนั ธุแ์ บบไม่อาศัยเพศของ พืช จากใบความรู้ เรอ่ื ง วิธีการสืบพนั ธแ์ุ บบไม่อาศยั เพศของพืช 2. นักเรยี นทาใบกจิ กรรม เร่ือง วธิ ีการสบื พันธ์แุ บบไม่อาศยั เพศ ของพืช โดยมีลาดับการเรียนรดู้ งั น้ี 2.1 นกั เรียนทาใบกจิ กรรมท่ี 1 เรือ่ ง วิธีการสืบพันธแ์ุ บบไม่ อาศยั เพศของพชื ใชเ้ วลาประมาณ 5 นาที โดย ใหน้ ักเรยี นเขยี น คาตอบลงในชอ่ งวา่ งท่ีกาหนดให้ดว้ ยตนเอง 2.2 นกั เรยี นทาใบกิจกรรมท่ี 2 เรอ่ื ง วธิ กี ารสืบพันธุ์แบบไม่ อาศัยเพศของพชื ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที โดย ใหน้ กั เรยี นอา่ น ข้อความแตล่ ะข้อแล้วพิจารณาว่าข้อความนั้นถกู หรือผดิ ถา้ ถกู ใหท้ า เครอ่ื งหมาย √ ลงในข้อทเ่ี ห็นวา่ ถูก ถ้าผิดให้ทา เครือ่ งหมาย X ลงในข้อทเี่ หน็ ว่าผิด 3. หลังจากนักเรยี นทาใบกิจกรรม เร่อื ง วธิ กี ารสบื พนั ธแุ์ บบไม่ อาศยั เพศของพืชให้นักเรยี นท้ังชั้นเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยครูใช้ประเดน็ คาถาม ดงั นี้ 476 493

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เรอื่ ง การสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพชื 494 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การสืบพันธขุ์ องพชื ดอก รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 - วิธีการสืบพนั ธแุ์ บบไม่อาศยั เพศของพชื มีกวี่ ธิ ี (9 วิธี) การสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศยั เพศของพืชมอี ะไรบ้าง (การสบื พันธ์ดุ ว้ ยลา ต้น การสบื พันธดุ์ ้วยกิง่ โดยการปกั ชา ตอนกิ่ง ตดิ ตา ทาบกิ่ง หรือ เสยี บยอด, การสืบพนั ธด์ุ ว้ ยราก, การสบื พนั ธ์ดุ ว้ ยใบ, การสืบพนั ธ์ุ ดว้ ยการแตกหน่อ,การสืบพนั ธด์ุ ว้ ยการสร้างสปอร์, การสืบพนั ธ์ุโดย ใช้สโตลอน, การสบื พันธุด์ ว้ ยการขาดออกเป็นท่อน,การสืบพนั ธุด์ ว้ ย การเพาะเลีย้ งเน้ือเยือ่ ) - ใหน้ กั เรยี นบอกตัวอย่างพชื ท่ีมีการสบื พนั ธุ์ดว้ ยลาต้น (ขงิ ขา่ ขม้นิ แหว้ เผือก หอม กระเทยี ม มันฝรง่ั วา่ นสีท่ ิศ) - ให้นกั เรียนบอกตัวอย่างพืชที่มีการสืบพันธุ์ดว้ ยการสรา้ ง สปอร์ (เฟิรน์ สาหรา่ ย เห็ด รา ยีสต์ ) - ใหน้ ักเรียนบอกตวั อย่างพืชที่มีการสบื พนั ธุด์ ว้ ยการแตกหนอ่ (ขิง ขา่ กล้วย หนอ่ ไม้ พืชตระกูลปาล์ม) 4. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ระดมสมองและทาใบกจิ กรรมเขียนผงั ความคิด นักเรยี นทาใบกิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง วธิ ีการสบื พนั ธ์แุ บบไม่ อาศัยเพศของพชื ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที 477 494

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 6 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 5 เรอื่ ง การสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช 495 กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ เร่ือง การสบื พันธ์ขุ องพชื ดอก รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ชว่ั โมง ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ข้นั สรุป 1. นักเรยี นและครูร่วมกันอภิปรายเพอ่ื สรุปความรู้ เรื่องววิธธิ ีกกี าารร สืบพนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศ โดยครูใชค้ าถามดงั นี้ 1.1 พืชทม่ี กี ารสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศใช้สว่ นลาตน้ (พืชทีม่ ลี า ต้นใตด้ นิ ทาหน้าทีส่ ะสมอาหาร ได้แก่ ขิง ขา่ ขม้ิน แหว้ เผอื ก หอม) 1.2 พืชท่ีมีการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศใช้ส่วนกิ่ง โดยการ ปกั ชา ตอนกง่ิ ตดิ ตา ทาบกง่ิ หรือเสยี บยอด เชน่ ชบา โกสน กหุ ลาบ 1.3 พืชทม่ี กี ารสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศใชส้ ่วนราก (เป็นพชื ที่ รากสะสมอาหาร เชน่ มนั เทศ มันมือเสือ มนั กลอย) 1.4 พืชทีม่ กี ารสืบพนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศใชด้ ้วยใบ (ต้นคว่าตาย หงายเป็น ต้นทองสามยา่ น ต้นโคมญป่ี ุ่น) 1.5 พืชทีม่ กี ารสบื พนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศใช้ด้วยการแตกหน่อ (ขิง ขา่ กล้วย หน่อไม้ พืชตระกูลปาลม์ ) 1.6 พืชทม่ี ีการสบื พนั ธุ์แบบไม่อาศยั เพศใช้ด้วยการสรา้ งสปอร์ (เฟริ น์ สาหรา่ ย เหด็ รา ยีสต์) 1.7 พชื ทมี่ กี ารสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศใช้โดยใช้สโตลอนหรอื ไหล (ต้นเศรษฐเี รือนนอก สตรอเบอร่ี บวั บางชนิด) 1.8 พืชท่ีมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศใช้ด้วยการขาดออกเป็น 478 495

หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 เร่อื ง การสืบพันธุ์แบบไมอ่ าศัยเพศของพชื 496 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การสบื พันธุข์ องพืชดอก รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ชว่ั โมง ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ท่อน (สาหรา่ ยทะเล) 1.9 พืชทม่ี ีการสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศใช้ดว้ ยการเพาะเลย้ี ง เนอ้ื เยื่อ (กล้วยไม้ เบญจมาศ สัปปะรด) 2. ครูนัดหมายให้นักเรยี นนาส่วนของพืชในท้องถิ่นท่ีต้องการ ขยายพนั ธุ์ เช่น กิง่ ตน้ โกศล พร้อมขวดแก้วใส เพื่อใช้ในคาบต่อไป 479 496

497 480 497 การวดั ผลและประเมินผล ประเดน็ การประเมนิ วิธีการวดั เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การประเมิน - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง ทาใบกจิ กรรมไดค้ ะแนน 1. อธิบายการสืบพนั ธ์แุ บบ - ทาใบกิจกรรม วธิ ีการสืบพนั ธแ์ุ บบไม่ รอ้ ยละ 60 ขึน้ ไป อาศัยเพศของพืช ไมอ่ าศัยเพศของพชื ได้ - ใบกิจกรรมท่ี 2 เรือ่ ง วิธกี ารสบื พันธแ์ุ บบไม่ 2. ระบุโครงสร้างของดอกท่ี อาศยั เพศของพืช - ใบกิจกรรมท่ี 3 เร่ือง เกี่ยวกบั การสบื พันธ์ุแบบไม่ -ทาใบกจิ กรรม วิธกี ารสบื พันธแุ์ บบไม่ อาศัยเพศของพืช อาศยั เพศของพชื ได้ 3. เขียนผงั ความคดิ อธบิ าย การสืบพันธแุ์ บบไม่อาศัย เพศของพืช เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมนิ การประเมิน ดมี าก (ผ่าน) ดี (ผา่ น) พอใช้ (ไมผ่ า่ น) ปรบั ปรุง (ไมผ่ า่ น) คะแนนจากใบกจิ กรรม 8-10 6-7 1-5 0

498 481 498 ใบความรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง การสืบพนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 56 เรื่อง วธิ ีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช รายวชิ ราาวยิทวยิชาาศาวสิทตยราพ์ ศ้นื าฐสาตนร์ รหสั วิชาา วว2211101 ภภาาคคเเรรยี ียนนทท่ี ่ี11 ชชนั้ ้นัมมธั ธัยยมมศศึกกึ ษษาาปปที ที ่ี ่ี 11 มนุษย์รู้จักการขยายพันธุ์พืชมีตั้งแต่อดีต วิธีการขยายพันธ์ุพืชที่ง่ายที่สุด ได้แก่ การเพาะเมล็ด ซงึ่ จะทาให้ได้ต้นพืชจานวนมาก แต่ต้องใช้ระยะเวลานานในการเจริญเติบโตจนกระทง่ั ออกผล และตน้ ใหม่ทีไ่ ด้ อาจมีลักษณะแตกต่างไปจากต้นเดิม เป็นการปรับปรุงพันธุ์พืชสายพันธใ์ุ หม่ ๆ แต่อย่างไรก็ตามพืชหลายชนิด สามารถขยายพันธ์ุโดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชเพ่ือใหพ้ ืชตน้ ใหม่คงลักษณะต่าง ๆ ไว้ ไมแ่ ตกต่างจากตน้ เดมิ สว่ น ตา่ ง ๆ ของพืช หลายชนดิ ใช้ขยายพนั ธุ์ได้ กข คง ภาพที่ 6.5.2 ส่วนต่าง ๆ ของพชื และการขยายพันธ์ุพชื แบบตา่ ง ๆ ก. ใบของตน้ เศรษฐีเงินหม่ืน ข. รากของตน้ ขงิ ค. รากมันมือเสือ ง. การขยายพนั ธพุ์ ชื การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นวิธีการสืบพันธุ์ ของพืชท่ีจะเกิดต้นใหม่ ได้โดยไม่ต้องใช้เมล็ด หรือการผสมเกสรแต่อย่างใด พืชดอกมีวิธีการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศอยู่หลายวิธี เช่น การงอกต้นใหม่ จากส่วนต่าง ๆ เช่น กล้วย ขิง ข่า งอกเป็นลาต้นใหม่จากลาต้นที่ อยู่ใต้ดิน ท่ีเรยี กว่าการแตก หน่อ มันสาปะหลัง ออ้ ย ตัดเอาส่วนของลาต้นที่มีตาและปล้องอยู่เพียงทอ่ นหรือสองท่อนไปปักชาต้นใหม่ก็จะ งอกออกตรงบริเวณตา กระเพรา โหระพา ชบา เข็ม นาต้นหรือก่ิงไปปักชาขึ้นเป็นต้นใหม่ได้เช่น เดียวกัน ใบ ของพืชบางชนิด เชน่ คว่าตายหงายเป็น กหุ ลาบหนิ นาไปเพาะ ให้เกิดเป็นต้นใหม่ได้ เป็นต้น ในการสืบพนั ธุ์ที่

499 482 499 ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายโดยไม่ใชเ้ ซลล์สบื พนั ธ์ุ ลูกท่ีเกิดจะมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนพ่อแม่ทุกประการ ปรบั ตวั ให้เขา้ กบั สภาพแวดล้อมไดน้ อ้ ย มีวธิ ีต่าง ๆ ดงั นี้ 1. การสืบพันธุ์ด้วยลาต้น เชน่ พืชท่ีมีลาตน้ ใต้ดินทาหน้าที่สะสมอาหาร ได้แก่ ขิง ข่า ขมิ้น แห้ว เผือก หอม กระเทียม มนั ฝร่งั ว่านส่ีทศิ ภาพท่ี 6.5.3 ลาต้นใตด้ นิ ของขา่ ท่ใี ช้ในการสบื พนั ธ์ุ 2. การสืบพนั ธด์ุ ้วยกง่ิ โดยการปักชา ตอนกง่ิ ติดตา ทาบกิ่ง หรอื เสยี บยอด เช่น ชบา พู่ระหง โกสน กุหลาบ พุทรา มะม่วง ดาวเรือง ฤาษผี สม ภาพที่ 6.5.4 การสบื พนั ธุ์ดว้ ยก่ิงของพืช 3. การสบื พนั ธดุ์ ว้ ยราก มกั เป็นรากชนดิ ท่สี ะสมอาหาร เชน่ มนั ฝรงั่ มันเสือมอื มนั กลอย ฯลฯ ภาพที่ 6.5.5 ลาต้นทเู บอร์ มันมือเสือท่ีใช้ ในการสืบพนั ธุ์

483 500 500 4. การสบื พนั ธดุ์ ้วยใบ เชน่ ใบคว่าตายหงายเป็น ใบต้นทองสามยา่ น ใบของต้นโคมญ่ีปนุ่ ก ภาพที่ 6.5.6 เศรษฐีเงินหมนื่ ข ก.ใบสืบพนั ธ์ุของเศรษฐีเงินหม่นื ข.ใบสืบพนั ธ์ุควา่ ตายหงายเป็น 5. การสืบพนั ธ์ดุ ้วยการแตกหน่อ (Budding) เม่ือเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะมีการสรา้ งเนื้อเย่ือข้างลาตัว งอกออกมา แล้วเจริญเติบโตเป็นตัวเล็ก ๆ ท่ีมีอวยั วะต่าง ๆ เหมือนตัวแม่ หลังจากตดิ อยู่กับตัวแมร่ ะยะหน่ึงก็ จะหลดุ ออกมาไปอยอู่ สิ ระตามลาพงั ในพชื ชนั้ สงู ก็มีพวก ขงิ ขา่ กลว้ ย หนอ่ ไม้ พืชตระกลู ปาลม์ ภาพที่ 6.5.7 ลาตน้ ของพชื ตระกูลปาลม์ ที่ใชใ้ นการสืบพนั ธุ์ 6. การสืบพันธุ์ด้วยการสร้างสปอร์ (sporulation) เป็นการสืบพันธ์ุโดยการที่เซลลแ์ บ่งนิวเคลียสแบบ ไมโตซิสหลาย ๆ คร้ังจนได้นิวเคลียส เกิดข้ึนจานวนมากแล้วแบ่งไซโทพลาสซึมมาห่อหุ้มรอบ ๆ เป็นเซลล์ ขนาดเลก็ แตล่ ะเซลลเ์ รยี กว่า “สปอร์”เมอ่ื สปอร์แก่เต็มทจ่ี ะปลวิ ไปโดยอาศัยลม หรือลอยไปกบั กระแสนา้ เม่ือ มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมก็จะงอกเจริญเป็นหน่วยชีวิตใหม่เหมือนหน่วยชีวิตที่ให้กาเนิด เช่น เฟิร์น สาหร่าย เห็ด รา ยีสต์ ฯลฯ ภาพท่ี 6.5.8 กล่มุ สปอร์ของเฟนิ ขา้ หลวงหลงั ลายท่ใี ช้ในการสบื พนั ธุ์

501 484 501 7. การสืบพันธ์โุ ดยใช้สโตลอน (Stolon) การสืบพันธ์ุโดยใช้สโตลอน พืชบางชนิดมีส่วนของลาต้นงอก ออกมาและทอดยาวไปตามพ้ืนดิน เรยี กว่า สโตลอน หรอื บางท้องถ่นิ เรียกวา่ ไหล ส่วนน้ีสามารถเจรญิ ไปเป็น ตน้ ใหมไ่ ด้ เช่น ต้นเศรษฐีเรือนนอก สตรอเบอรี่ บัวบางชนิด ฯลฯ ภาพที่ 6.5.9 ลาตน้ ของสตรอเบอรี่ ท่มี า : เบญจพร ทองแถม. ผู้ถ่ายภาพ, 2560 8. การสืบพันธ์ุด้วยการขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation) เป็นการสืบพันธุ์โดยการหักหรือขาด ออกเปน็ ท่อน ๆ แลว้ แตล่ ะท่อนจะเจริญเติบโตเป็นตวั ใหม่ เชน่ สาหรา่ ยทะเล ภาพท่ี 6.5.10 การขาดออกเปน็ ท่อนของสาหร่าย 99..กากราสรบื สพืบันพธันุ์ดธ้วุ์ดย้วกยากราเพรเาพะาเละ้ียเลงเี้ยนง้ือเนเยื้อื่อเย(่ือTis(sTuisesuceultcuurelt)uเrปeน็) วเธิปีก็นาวริธขีกยาารยขพยนั าธยพุ์ พชื ันทธี่มุ์ทกี ี่มาีกราปรฏปบิ ฏัติบิ ัติ ภายใตส้ ภาพที่ควบคุม เรือ่ งความสะะออาาดด ออุณุณหหภูมิ แแลละแสง ดด้วว้ ยยการน�ำาชน้ิ สว่ นของพืชที่ยงั มีชชวี วี ิตติ เช่น ลา�ำตน้ ยยออดด ตตาาขขา้้างง กก้าา้ นนชช่ออ่ ดดออกก กก้า้านนใใบบ ออับบั ลละะอออองงเเกกสสรรเเปปน็ ็นตตน้ ้นมมาาเเพพาาะะเลเล้ียย้ี งงบบนนออาาหหาารรสสังเงั คเคราระาหะห์ แ์ แลละชะนิ้ชิ้นส่วสน่วนนั้นนัน้ สสาามมาารรถถเเจจรรญิิญแแลละะพพัฒัฒนนาาเเปป็น็นตต้น้นพพืชืชทท่สี ี่สมมบบรู ณูรณ์ ม์ ีทมัง้ีทสั้ง่วสน่วในบใบลาตลน้�ำตแ้นละแรลาะกรทา่สี กาทมี่สาารถมนาราถอนอก�ำอปอลกกู ปในลสูกภใานพสภาพ ธธรรรรมมชชาาตติไิไดด้้ เชเช่น่นกกลลว้ ้วยยไไมม้ ้เเบบญญจจมมาาศศ สสับปั ปปะะรรดด ภาพท่ี 6.5.11 การเพาะเลยี้ งเน้อื เย่ือของพืช

502 485 502 ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การสบื พันธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศของพืช หน่วยท่ี 6 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่ือง วธิ ีการสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศของพืช รายวริชาายววิทชิ ยาาศวาทิ สยตารศ์พาน้ืสฐตารน์ รหรหัสสัววิชิชาาว2ว121101101ภภาคาคเรเยีรยีนนทท่ี 1ี่ 1ชน้ั มธั ชย้ันมมศธั กึ ยษมาศปึกทีษี่าป1ที ่ี 1 คาช้แี จง : ใหน้ กั เรียนเขียนคาตอบลงในช่องวา่ งท่ีกาหนดให้ดว้ ยตนเอง 1.วธิ ีการสืบพนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชมีก่วี ธิ ี…………..……………………………………………………………………… 2. การสบื พนั ธ์แุ บบไมอ่ าศยั เพศของพืชมีอะไรบา้ ง……………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ........................................... 3.ให้นักเรยี นบอกตวั อย่างพชื ที่มีการสืบพันธ์ดุ ้วยลาต้น………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. .......................................... 4.ใหน้ ักเรยี นบอกตัวอยา่ งพืชท่ีมีการสบื พนั ธดุ์ ้วยการสรา้ งสปอร์…………………………………………………………… ............................................................................................................................... ........................................ 5.ใหน้ ักเรียนบอกตวั อยา่ งพชื ทีม่ ีการสบื พนั ธ์ุด้วยการแตกหน่อ…………………………………………………………….. ................................................................................................................................ .....................................

503 486 503 ใบกจิ กรรมที่ 2 เร่อื ง การสบื พนั ธ์ุแบบไมอ่ าศยั เพศของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 5 เรื่อง วธิ กี ารสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช รายวริชายาวิทชยาาวศิทายสาตศร์พาสื้นตฐรา์ นรหรัสหวสั ิชวาิชาว2ว121101101ภาภคาเรคียเรนยี ทน่ี ท1ี่ 1ช้ันชมั้นธั มยัธมยศมกึ ศษึกาษปาที ป่ี ที 1่ี 1 คาชี้แจง ใหน้ ักเรียนอา่ นข้อความแต่ละขอ้ แล้วพิจารณาว่าข้อความนั้นถูกหรอื ผิด ถา้ ถูกให้ทา เครือ่ งหมาย √ ลงในขอ้ ที่เห็นวา่ ถกู ถา้ ผดิ ใหท้ าเครื่องหมาย X ลงในข้อท่เี ห็นว่าผิด ……..…..1.การขยายพนั ธ์ุพืชเป็นการที่ทาใหเ้ กิดการเพม่ิ ปริมาณของตน้ พืชใหม้ ากขนึ้ และดารงสายพันธพ์ุ ชื ……..…..2.การขยายพนั ธุ์พืชแบบอาศัยเพศทาให้ปรับปรุงพันธุ์พชื สายพนั ธ์ใุ หมๆ่ ……..…..3.พชื ทีม่ ีขยายพันธุ์โดยใชล้ าต้น ไดแ้ ก่ สตรอเบอร่ี ผกั กาดขาว กล้วยไม้ ……..…...4.พืชทนี่ ยิ มใชว้ ิธกี ารขยายพันธ์ดุ ้วยกิ่งโดยการปกั ชา ได้แก่ ชบา มะม่วง ดาวเรอื ง ……..…..5.พืชทม่ี ีการสบื พนั ธโ์ุ ดยไหล เจริญไปเปน็ ต้นใหมไ่ ด้ ไดแ้ ก่ ขิง ข่า กลว้ ย หนอ่ ไม้ พืชตระกลู ปาลม์ ……..…...6.พืชทมี่ ีการสบื พันธ์ุโดยการหักหรือขาดออกเป็นทอ่ น ๆ แลว้ แต่ละท่อนจะเจริญเติบโตเปน็ ตวั ใหม่ ไดแ้ ก่ สาหรา่ ยทะเล ……..…..7.การปลกู ผักชเี ปน็ การขยายพันธ์ุพืชแบบไม่อาศัยเพศเพราะใชเ้ มลด็ ไปเพาะให้เกิดเป็นตน้ ใหม่ ……..…...8.พชื ท่ีมีการสบื พนั ธุ์ด้วยใบ ไดแ้ ก่ ต้นคว่าตายหงายเป็น ตน้ ทองสามยา่ น ต้นโคมญป่ี ุ่น ……..…...9.การเพาะเล้ยี งเนอื้ เยื่อของพืช เปน็ วธิ กี ารขยายพันธ์ุพชื ทม่ี ีการปฏบิ ัตภิ ายใต้สภาพท่คี วบคมุ โดยนาช้นื สว่ นพชื มาเพาะเลย้ี งบนอาหารสงั เคราะห์ ……..…..10.พนั ธ์พุ ืชที่นิยมทาการเพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่ ไดแ้ ก่ กลว้ ย โกสน ยางพารา

504 487 504 ใบกิจกรรมท่ี 3 เรือ่ ง การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศยั เพศของพืช หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เรื่อง วิธีการสบื พนั ธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพืช รายวริชาายววิทิชยาาศวาทิ สยตารศ์พาืน้สฐตารน์ รรหหัสสั ววชิ ิชาาว2ว12101101ภาภคาเรคียเรนยี ทนี่ ท1ี่ 1ชั้นมชธั ัน้ ยมมัธศยึกมษศาึกปษที าป่ี ีท1่ี 1 1.เขียนผังความคิดการสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพืชพร้อมยกตัวอยา่ งพืช การสืบพนั ธด์ุ ้วยลาตน้

505 488 505 - แนวคาตอบ - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การสืบพนั ธุ์ของพืช หน่วยท่ี 6 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 5 เรือ่ ง การสืบพันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพชื รายวิชราาวยิทวยิชาาศวาสิทตยราพ์ศาน้ื สฐตานร์ รหัสวชิ า วว2211110011 ภาคภเารคยี เนรยีทนี่ 1ท่ี ช1ั้นมัธยชมัน้ ศมึกธั ษยามปศที กึ ี่ษ1าปีที่ 1 คาช้แี จง : ให้นกั เรียนเขียนคาตอบลงในชอ่ งว่างที่กาหนดให้ดว้ ยตนเอง 1.วิธีการสบื พันธแ์ุ บบไม่อาศัยเพศของพชื มกี ่วี ธิ ี 9 วิธี 2. การสบื พันธแุ์ บบไม่อาศัยเพศของพชื มอี ะไรบ้าง การสืบพันธุ์ดว้ ยลาต้น ,การสบื พันธ์ดุ ้วยกง่ิ โดย การปกั ชา ตอนก่งิ ติดตา ทาบกิ่ง หรือเสยี บยอด ,การสบื พนั ธด์ุ ้วยราก,การสืบพันธ์ุด้วยใบ,การสืบพนั ธ์ุด้วย การแตกหน่อ,การสืบพันธุด์ ว้ ยการสรา้ งสปอร์,การสืบพนั ธุโ์ ดยใช้สโตลอน,การสบื พนั ธุ์ดว้ ยการขาดออกเป็น ทอ่ น,การสบื พันธ์ดุ ้วยการเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือ 3.ใหน้ ักเรยี นบอกตวั อยา่ งพชื ที่มีการสืบพันธ์ุดว้ ยลาต้น ขงิ ขา่ ขมิ้น แห้ว เผือก หอม กระเทยี ม มันฝรั่ง ว่านส่ที ิศ 4.ให้นักเรยี นบอกตัวอยา่ งพชื ที่มีการสบื พันธุ์ด้วยการสรา้ งสปอร์ เฟริ น์ สาหร่าย เหด็ รา ยีสต์ 5.ใหน้ ักเรียนบอกตัวอยา่ งพืชท่ีมีการสืบพนั ธุ์ดว้ ยการแตกหน่อ ขิง ข่า กลว้ ย หนอ่ ไม้ พืชตระกูลปาล์ม

506 489 506 - แนวคาตอบ - ใบกิจกรรมท่ี 2 เรือ่ ง การสบื พนั ธ์ุของพืช หน่วยที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 5 เรื่อง การสืบพันธุแ์ บบไมอ่ าศัยเพศของพืช รายวชิรายววิทิชยาศวาทิ สยตารศ์พาน้ื สฐตารน์ รรหหสั สั ววิชิชาาวว221110011 ภาคภเราียคนเรทยี ่ีน1ท่ี ช1ัน้ มัธยชม้นัศมกึ ัธษยามปศีทกึ ่ี ษ1าปีที่ 1 คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นอ่านข้อความแต่ละข้อแล้วพิจารณาว่าขอ้ ความนัน้ ถูกหรือผดิ ถา้ ถูกใหท้ า เครือ่ งหมาย √ ลงในขอ้ ที่เห็นวา่ ถกู ถา้ ผิดใหท้ าเครื่องหมาย X ลงในข้อทเ่ี หน็ ว่าผิด ……√…..1.การขยายพนั ธุพ์ ชื เป็นการท่ีทาให้เกิดการเพ่ิมปริมาณของตน้ พืชให้มากขน้ึ และดารงสายพนั ธุ์พชื ……√…..2.การขยายพันธุ์พชื แบบอาศัยเพศทาใหป้ รับปรงุ พันธุ์พชื สายพนั ธ์ุใหมๆ่ ……X…..3.พืชท่มี ีขยายพันธโุ์ ดยใชล้ าต้น ไดแ้ ก่ สตรอเบอร่ี ผกั กาดขาว กล้วยไม้ ……√…..4.พชื ที่นิยมใช้วธิ ีการขยายพนั ธุ์ดว้ ยกงิ่ โดยการปักชา ได้แก่ ชบา มะม่วง ดาวเรือง ……X…..5.พชื ที่มีการสืบพนั ธโ์ุ ดยไหล เจริญไปเป็นต้นใหม่ได้ ไดแ้ ก่ ขิง ข่า กล้วย หนอ่ ไม้ พชื ตระกูลปาลม์ ……√…..6.พืชท่มี ีการสืบพนั ธุ์โดยการหกั หรือขาดออกเปน็ ท่อน ๆ แลว้ แต่ละท่อนจะเจรญิ เติบโตเป็นตัวใหม่ ไดแ้ ก่ สาหร่ายทะเล ……X…..7.การปลกู ผักชีเปน็ การขยายพันธพ์ุ ืชแบบไม่อาศยั เพศเพราะใช้เมล็ดไปเพาะให้เกิดเปน็ ต้นใหม่ ……√…..8.พืชท่ีมีการสืบพันธุ์ดว้ ยใบ ได้แก่ ตน้ ควา่ ตายหงายเป็น ต้นทองสามย่าน ตน้ โคมญป่ี ุ่น ……√…..9.การเพาะเล้ยี งเนื้อเยื่อของพืช เป็นวิธีการขยายพันธ์ุพืชทีม่ ีการปฏบิ ตั ิภายใต้สภาพท่คี วบคุม โดยนาชน้ื สว่ นพืชมาเพาะเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ ……X…..10.พันธพุ์ ชื ท่นี ยิ มทาการเพาะเลยี้ งเน้ือเยือ่ ได้แก่ กล้วย โกสน ยางพารา

507 490 507 - แนวคาตอบ - ใบกิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง การสืบพนั ธขุ์ องพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 เร่ือง การสืบพันธ์ุแบบไมอ่ าศัยเพศของพืช รายวชิ ราาวยิทวยชิ าาศาวสิทตยรา์พศ้ืนาสฐาตนร์ รหัสวิชา วว2211110011 ภาภคเารคยี เนรยี ทนี่ 1ท่ี ช1้ันมธั ยชม้นั ศมึกธั ษยามปศทีึกษ่ี า1ปที ี่ 1 ขิง ขา่ ขมิน้ แหว้ เผือก ชบา พ่รู ะหง โกสน กหุ ลาบ มนั เทศ มนั มอื เสือมนั ฝร่ัง การสืบพันธ์ดุ ว้ ยกิง่ การสกบื าพรนัสธบื ดุ์ พ้วนั ยธลุด์ าว้ตยน้ ลาตน้ การสืบพนั ธุ์ด้วยราก ควา่ ตายหงายเป็น กล้วยไม,้ ขนุน,สกั ต้นโคมญ่ปี ุน่ การเพาะเลยี้ งเนื้อเยอ่ื การสืบพนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศ การสบื พนั ธ์ุด้วยใบ การสืบพนั ธุ์ดว้ ย การสืบพนั ธ์ุดว้ ยการแตกหนอ่ การขาดออกเป็น ท่อน การสบื พันธ์ุโดยใชส้ โตลอน การสืบพนั ธ์ุด้วย ขิง ขา่ กลว้ ย การสร้างสปอร์ ปาล์ม สาหร่ายทะเล ต้นเศรษฐเี รือนนอก สตรอเบอร่ี บัว สปอร์ เฟริ น์ สาหรา่ ย เหด็ รา ยีสต์

508 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี 6 เร่อื ง การขยายพนั ธุ์ของพืช หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรือ่ ง การสืบพนั ธข์ุ องพชื ดอก เวลา 2 ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ขอบเขตเนอ้ื หา 1. รูปแบบการขยายพนั ธข์ุ องพชื ชนิดตา่ ง ๆ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 2. ขั้นตอนการทาเทคโนโลยีการเพาะเลยี้ ง ข้ันนา 1.VVDDOOกการาขรขยายยาพยพันธนั ุ์พธชืุพ์ ชื 2.ใบใบคคววาามมร้กูรู้ากราขรยขายาพยันพธนัุ์พธชื ์ุพชื จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชวี้ ดั ด้านความรู้ 2. ครทู บทวนความรู้ทไ่ี ด้เรียนมาแล้วเก่ียวกับวิธีการสบื พันธุแ์ บบไม่อาศยั 3. ใบกจิ กรรมกกาารรขขยยาายยพพันนัธพ์ุธพ์ุชื ชื 1. อธบิ ายความหมายของการขยายพันธ์ุพชื 2. จาแนกประเภทของการขยายพันธพุ์ ชื ได้ เพศของพืชโดยใช้คาถาม 4. สาลี ดา้ นทกั ษะกระบวนการ 1. เขียนขั้นตอนการขยายพันธุ์พืชได้ - การสบื พันธุแ์ บบไม่อาศยั เพศของพืช คืออะไร (เป็นการสืบพนั ธุ์ที่พืชตน้ 5. กาบมะพร้าว 2. ขยายพนั ธพุ์ ืช โดยเลอื กวธิ กี ารขยายพนั ธพ์ุ ืช อยา่ งน้อย 1 วธิ ไี ด้ ใหม่ไม่ได้เกดิ จากการปฏิสนธิระหว่างสเปิร์ม กบั เซลล์ไข่ แตเ่ กิดจากสว่ นต่าง ๆ 6. เชือกฟาง ของพืช เชน่ ราก ลาต้น ใบ มีการเจริญเตบิ โตและพฒั นาข้ึนมา เป็นต้นใหม่ได้) ภาระงาน/ชิ้นงาน - การขยายพนั ธ์ุ โดยใชก้ ารสืบพนั ธุแ์ บบไมอ่ าศยั เพศ มีอะไรบา้ ง (การตอ่ 1.ใบกจิ กรรมการขยายพันธพุ์ ืช ตก่อิงกก่งิารกตาอรนตอกนารกทาารบทกางิ่ บกกา่ิงรตกิดารตตาดิ กตาารเกพาาระเเพลายี้ ะงเลนีย้ืองเยเน่ือ้ือกเยาร่อื แกตากรหแนต่อกกหานรอ่ กขาดรขเปาน็ดทเป่อ็นนทฯอ่ ลนฯ)ฯลฯ) ขน้ั สอน 1. ครูใหน้ ักเรียนดู VDO การขยายพันธุ์พชื และศึกษา ใบความรเู้ รอื่ งการ ขยายพนั ธพุ์ ืช 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบกจิ กรรมที่ 1 ปริศนาอักษรไขว้ เรื่องการขยายพันธ์ุของ พชื 3. ครใู ห้นกั เรียนทาใบกิจกรรมที่ 2 จบั คู่ เรื่อง การขยายพันธข์ุ องพชื โดยให้ นักเรยี นนาตัวอักษรหน้าข้อความดา้ นขวามือ ใสล่ งในชอ่ งว่างด้านซ้าย ให้มี 491 508

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เร่อื ง การขยายพนั ธ์ุของพชื 509 กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง การสบื พันธุ์ของพชื ดอก รายวิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ช่ัวโมง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ความสัมพนั ธ์กัน 4. ครใู ห้นักเรยี นทาใบกิจกรรมท่ี 3 จับคภู่ าพ โดยใหน้ กั เรียนจับค่ภู าพ ขั้นตอนการขยายพนั ธุ์พชื ให้ตรงกบั วธิ กี ารขยายพันธุ์พชื 5. นักเรียนฝกึ ปฏิบตั ิ โดยนาพืชท่ีเตรยี มมาจากการนัดหมายคาบท่ีแลว้ เลอื ก วิธีการขยายพันธุพ์ ชื ท่สี นใจ โดยอาจทากล่มุ ละ 1 ชน้ิ งาน ค่ลู ะ 1 ช้ินงาน หรอื คนละ 1 ชิ้นงานตามความเหมาะสมตามบรบิ ท 6. ถา้ นักเรยี นทาชนิ้ งานเดี่ยว (คนละ 1 ชิน้ งาน) หรอื ช้นิ งานคู่ (2 คนต่อ 1 ชิ้นงาน) ใหน้ กั เรียนน่ังกลมุ่ ใหม่ตามวิธีการขยายพนั ธ์ุ จากนั้นรว่ มแลกเปลยี่ น เรยี นรู้ เทคนิคและวธิ กี ารท่ีนามาซ่งึ ความสาเร็จในการทาช้นิ งานของแต่ละคน จากน้นั นาเสนอหน้าชน้ั เรยี นกลุ่มละ3 นาที ขน้ั สรุป 1. นักเรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรุปจากการทาใบกิจกรรมการ กขยาราขยยพาันยธพพุ์ ันืชธโ์ุพดืชยใโชดแ้ ยนใชวคแ้ านถวาคม�ำตถอ่ าไมปตนอ่ ้ี ไปนี้ - การขยายพันธุ์ทีน่ าต้นพชื 2 ตน้ ทีเ่ ป็นชนดิ เดียวกัน โดยมีตน้ ตอและตน้ พนั ธ์ดุ ีมาเช่ือมต่อกนั เม่ือเนอ้ื เยื่อบรเิ วณที่ติดกนั เชื่อมตอ่ กันดแี ลว้ จงึ ตัดรากต้น ทนี่ ามาเช่อื มออก (ทาบก่ิง) - การขยายพนั ธทุ์ ีเ่ ชือ่ มประสานสว่ นของตน้ พืชกบั ตาพืชพันธุ์ดีเข้าดว้ ยกนั เพ่อื ให้เจริญเปน็ พชื ต้นเดยี วกัน (การตดิ ตา) 492 509

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 6 เรือ่ ง การขยายพนั ธุ์ของพชื 510 กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง การสบื พนั ธขุ์ องพชื ดอก รายวิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 2 ชั่วโมง ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 - การขยายพันธทุ์ ท่ี าใหก้ ิ่งหรือตน้ พชื เกิดรากขณะตดิ อยกู่ บั ต้นแม่ (การ ตอนกง่ิ ) - การขยายพันธุ์ท่เี กิดจากการผสมเกสรระหว่างเกสรเพศผแู้ ละเกสรเพศ เมยี (การเพาะเมล็ด) - การขยายพันธุท์ ่ีนาสว่ นต่าง ๆ ของพืชพันธ์ุดี มาตัดใสล่ งในวสั ดเุ พาะชา เพ่ือใหไ้ ด้พชื ต้นใหม่ (การปกั ชา) - การขยายพนั ธุ์ที่เชือ่ มประสานเนอื้ เย่ือของตน้ พชื 2 สว่ นคือ ต้น กับยอด เขา้ ด้วยกนั เพื่อให้เจริญเติบโต (การเสยี บยอด) - การขยายพนั ธ์ุที่นาสว่ นหนึ่งส่วนใดของพืช แล้วนามาเลยี้ ง ในอาหาร สังเคราะหแ์ ละสภาพปลอดเชื้อ (การเพาะเล้ยี งเน้อื เยอื่ ) 493 510

511 494 511 เกณฑ์การประเมิน การวดั ผลและประเมินผล ทาใบกจิ กรรมได้คะแนน รอ้ ยละ 60 ข้นึ ไป ประเด็นการประเมิน วิธกี ารวดั เคร่ืองมือวดั - ใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง 1. อธบิ ายความหมายของการ - ทาใบกจิ กรรม การขยายพันธุข์ องพชื - ใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง กขายราขยยพานั ยธพุ์พันชื ธ์ุพืชได้ การขยายพันธ์ขุ องพชื - ใบกจิ กรรมท่ี 3 เรือ่ ง 2. จาแนกประเภทของการ การขยายพันธข์ุ องพืช - แบบบันทกึ คะแนน กขายราขยยพานั ยธพ์พุ นั ชื ธได์ุพ้ชื ได้ - ทาใบกจิ กรรม 3. เขียนข้นั ตอนการขยายพนั ธ์ุ พชื ได้ 4. ขยายพนั ธุ์พืช โดยเลอื กวธิ ีการ - ผลงานจากการ ขยายพนั ธ์พุ ืช อย่างนอ้ ย 1 วิธีได้ ปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมนิ การประเมนิ ดีมาก (ผา่ น) ดี (ผา่ น) พอใช้ (ไมผ่ า่ น) ปรบั ปรุง (ไมผ่ ่าน) คะแนนจากใบกิจกรรม 8-10 6-7 1-5 0

512 495 512 ใบความรูท้ ่ี 2 เร่อื ง การสืบพันธ์แุ บบไมอ่ าศยั เพศของพืช หน่วยที่ 6 การสบื พนั ธข์ องพืชดอก แผนการจดั การเรียแนผรนทู้ กี่ 6ารเจรือ่ดั งกากรเารรียขนยรา้ทูย่ีพ6ันเธรข์ุือ่ องงกพาืชรขยายพันธข์ุ องพชื รายวรชิ าายววิทิชยาาวศิทาสยตารศ์พาสื้นตฐรา์นรหรัสหวัสิชวิชาาว2ว121101101ภาคเภรายี คนเทรยี่ 1นทช่ี น้ั 1มธัชย้ันมมศัธึกยษมาศปึกทีษี่าป1ีที่ 1 วธิ กี ารขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ 1. การตอนกิ่ง (marcotting) การตอนกงิ่ คอื การทาใหก้ ่ิงหรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอย่กู ับต้นแม่ จะทาให้ได้ต้นพืชใหม่ที่มีลกั ษณะ ทางสายพนั ธ์ุ เหมือนกบั ต้นแม่ทกุ ประการ โดยมีขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. เลอื กกิ่งก่ึงแกก่ งึ่ อ่อนท่ีสมบูรณ์ปราศจากโรคและแมลง 2. คว่ันกง่ิ ลอกเอาเปลอื กออก แลว้ ขูดเยอ่ื เจรญิ ทีเ่ ปน็ เมือกล่ืน ๆ ออก 3. นาตุ้มตอน (ขุยมะพร้าวทแ่ี ช่น้า แล้วบีบหมาด ๆ อัดลงในถุงพลาสติก ผูกปากถุงให้แน่น) มาผา่ ตมาาม คผา่วตามามยคาวาแมลย้วานวแำ� ไลป้วหนมุ้าไบปนหรุ้มอบยนแรผอลยขแอผงลกขง่ิ อตงอกน่งิ ตมอัดนด้วมยัดเดชว้อื ยกเทชือ้งั บกนทแ้ังบลนะลแา่ลงะรลอ่ายงรแอผยลแผล 4. เมื่อก่ิงตอนมีรากงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มแก่เป็นสีเหลือง สีน้าตาล ปลายรากมีสีขาว และมี จานวนมากพอจึงตัดก่งิ ตอนได้ 5. นากง่ิ ตอนไปชาในภาชนะ กระถางหรอื ถุงพลาสติก เพือ่ รอการปลูกตอ่ ไป ภาพท่ี 6.6.1 แสดงขนั้ ตอนการตอนกง่ิ พืช 2. การทาบก่ิง (layering หรือ layerage) การทาบก่ิง คือ การนาต้นพืช 2 ต้นที่เป็นชนิดเดียวกัน โดยส่วน ของต้นตอทนี่ ามาทาบก่งิ จะทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ระบบรากอาหารใหก้ ับตน้ พันธุ์ดี โดยมขี ้นั ตอนการปฏบิ ัติ ดังนี้ 1. เลือกกิ่งกึ่งแก่กง่ึ อ่อนท่ีสมบรู ณ์เพศปราศจากโรคและแมลง 2. เฉือนกงิ่ พนั ธุ์ดใี ห้เปน็ รูปโลย่ าวประมาณ 1 - 2 นิ้ว 3. เฉอื นตน้ ตอเปน็ รปู ปากฉลาม 4. ประกบแผลต้นตอเขา้ กบั ก่ิงพนั ธด์ุ ี พันพลาสติกให้แน่น แล้วมดั ต้นตอกับกิ่งพันธดุ์ ้วยเชอื ก 5. ประมาณ 6 - 7 สัปดาห์ แผลจะติดกันดี รากตุ้มต้นตอจะงอกแทงผ่านวัสดุ และเริ่มมีสีน้าตาล ปลายรากมีสขี าว และมจี านวนมากพอ จึงจะตดั ได้ 6. นาลงถุงเพาะชา พรอ้ มปกั หลังคา้ ยนั ต้นเพือ่ ป้องกนั ต้นลม้

496 513 513 ภาพที่ 6.6.2 แสดงข้ันตอนการทาบกิ่งพืช 3. การติดตา (budding) การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เจริญเป็นพืชต้น เดยี วกัน โดยการ นาแผ่นตาจากก่ิงพันธ์ุดี ไปติดบนต้นตอ การติดตาจะมีวิธีการทา 2 วิธี คือ วิธีการติดตาแบบลอกเน้ือไม้ และ แบบไม่ลอกเน้ือไม้ ซึ่งในทนี ้จี ะแนะนาเฉพาะข้ันตอน การติดตาแบบลอกเนื้อไม้ ดังนี้ ภาพท่ี 6.6.3 แสดงขั้นตอนการตดิ ตาพชื 1. เลือกต้นตอในส่วนท่เี ปน็ สีเขียวปนนา้ ตาล แลว้ กรีดต้นตอจากบนลงล่าง 2 รอย ห่างกันประมาณ 1 ใน 3 ของเส้นรอบวงของต้นตอ ความยาวประมาณ 6 - 7 เซนตเิ มตร 2. ตัดขวางรอยกรีดด้านบน แล้วลอกเปลือกออกจากด้านบนลงด้านล่าง ตัดเปลือก ท่ีลอกออกให้ เหลอื ดา้ นล่างยาวประมาณ 1 เซนติเมตร 3. เฉือนแผ่นตายาวประมาณ 7 - 10 เซนติเมตร ลอกเน้อื ไม้ออกแล้วตัดแผน่ ตา ด้านลา่ งทิ้ง 4. สอดแผน่ ตาลงไปในเปลือกต้นตอ โดยใหต้ าตงั้ ขนึ้ แลว้ พันดว้ ยพลาสติกให้แนน่ 5. ประมาณ 7 - 10 วัน จึงเปิดพลาสติกออก แล้วพันใหม่ โดยเว้นช่องให้ตาโผล่ ออกมา ท้ิงไว้ ประมาณ 2 - 3 สัปดาห์ จงึ ตดั ยอดต้นเดิมแลว้ กรีดพลาสติกออก

514 497 514 4.การเสียบยอด (grafting) การเสียบยอด คือ การเช่ือมประสานเนื้อเยื่อของต้นพืช 2 ต้นเข้าด้วยกัน เพ่ือให้เจริญเติบโต เป็นต้น เดียวกัน โดยมีขนั้ ตอนการปฏิบัติ ดงั น้ี ภาพที่ 6.6.4 แสดงขน้ั ตอนการเสยี บยอดพชื 1. ตัดยอดต้นตอให้สูงจากพ้ืนดิน ประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วผ่ากลางลาต้นของ ต้นตอให้ลึก ประมาณ 3 - 4 เซนตเิ มตร 2. เฉือนยอดพนั ธ์ุดเี ป็นรปู ลมิ่ ยาวประมาณ 3 - 4 เซนติเมตร 3. เสียบยอดพันธุ์ดีลงในแผลของต้นตอ ให้รอยแผลตรงกัน แล้วใช้เชือกมัดด้านบน และล่างรอยแผล ต้นตอให้แนน่ 4. คลุมตน้ ทเ่ี สียบยอดแล้วดว้ ยถุงพลาสตกิ หรอื นาไปเกบ็ ไวใ้ นโรงอบพลาสตกิ 5. ประมาณ 5 - 7 สปั ดาห์ รอยแผลจะประสานกันดี และนาออกมาพักไว้ในโรง เรือนเพือ่ รอการปลูก ต่อไป 5. การตัดชาหรือปกั ชา (cutting หรอื cottage) การตดั ชา คอื การนาสว่ นต่าง ๆ ของพชื พนั ธุด์ ี เชน่ ใบ และ ราก มาตัดและปักชาในวสั ดุเพาะชา เพอื่ ให้ได้พชื ต้นใหม่จากสวนที่นามาตัดชา แต่ในที่นจ้ี ะขอแนะนาขั้นตอนการตดั ชากงิ่ ซึ่ง มขี ้นั ตอน ดังนี้ 1. ตัดโคนก่ิงให้ชิดข้อยาวประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร โดยตัดเฉียงเป็นรูปปากฉลาม และตัดปลาย บนใหเ้ หนอื ตาประมาณ 1 เซนตเิ มตร 2. ใชม้ ดี ปลายแหลมกรีดบริเวณรอบโคนยาว 1 - 1.5 เซนตเิ มตร ประมาณ 2 - 3 รอย 3. ปกั กง่ิ ชาลงในวสั ดุเพาะชา ลกึ ประมาณ 2.5 - 5 เซนติเมตร

515 498 515 4. นาเขา้ โรงอบพลาสตกิ หรือถุงพลาสตกิ ขนาดใหญ่ 5. ประมาณ 25 - 30 วัน กิ่งตัดชาจะแตกยอกอ่อน พร้อมออกราก เมื่อมีจานวนมากพอ จึงย้ายปลูก ตอ่ ไป ภาพท่ี 6.6.5 แสดงข้ันตอนการปกั ชาพืช

516 499 516 ใบกิจกรรมที่ 1 เรือ่ ง การสบื พนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรอ่ื ง การขยายพันธขุ์ องพืช รายวชิชาาววิททิยยาศาศาสาตสรตพ์ร์้นื รฐหานัสวิชรหาสั วว2ิช1า10ว121ภ1า0ค1เรภยี นาคทเี่ร1ยี นชท้ันี่ ม1ัธชยนั้มมศธักึ ยษมาศปกึ ีทษ่ี า1ปีที่ 1 ปรศิ นาอักษรไขว้ เรอ่ื ง วธิ ีการขยายพนั ธ์พุ ืช 7 5 23 1 46

500 517 517 ปริศนาอกั ษรไขว้ เรอ่ื ง วิธีการขยายพนั ธ์ุพชื แนวต้ัง แนวนอน 1.การขยายพันธ์ุท่ีนาต้นพชื 2 ต้นเปน็ ตน้ เดียวกนั 2.การขยายพนั ธท์ุ ีเ่ ชอื่ มประสานส่วนของตน้ พชื โดยมตี ้นตอและตน้ พันธุด์ ี เขา้ ด้วยกนั เพื่อใหเ้ จริญเป็นพชื ตน้ เดยี วกัน 3.การขยายพนั ธุท์ ีท่ าให้กง่ิ หรือต้นพืชเกดิ รากขณะ 4.การขยายพนั ธทุ์ ่ีเกิดจากการผสมเกสรระหว่าง ตดิ อยูก่ ับต้นแม่ เกสรเพศผ้แู ละเกสรเพศเมยี 5. การขยายพนั ธุท์ ่ีนาสว่ นตา่ งๆของพชื พันธุด์ ี 6.การขยายพนั ธ์ุทเ่ี ชอื่ มประสานเนือ้ เย่ือของ มาตัดใสล่ งในวสั ดุเพาะชา เพื่อใหไ้ ด้พชื ตน้ ใหม่ ตน้ พชื 2 ตน้ เขา้ ด้วยกัน เพื่อใหเ้ จริญเตบิ โต 7.การขยายพนั ธทุ์ นี่ าสว่ นหน่ึงส่วนใดของพชื แล้วนามาเลยี้ ง ในอาหารสงั เคราะห์และสภาพปลอดเชื้อ

518 501 518 ใบกจิ กรรมที่ 2 เรื่อง การสบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศของพืช หน่วยท่ี 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 6 เรอื่ ง การขยายพันธุข์ องพชื รายวรชิายาวิทชยาาวศิทายสาตศรา์พสนื้ ตฐรา์ นรหรัสหวสั ชิ วาิชาว2ว121101101ภาภคาเรคยีเรนยี ทนี่ ท1ี่ 1ชัน้ ชม้นัธมยธัมยศมึกศษึกาษปาีทปี่ ที 1ี่ 1 คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นนาตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความด้านขวามือ ใสล่ งในชอ่ งวา่ งด้านซ้าย ให้มีความสมั พนั ธ์กนั A เพาะเมลด็ B ตอนกิ่ง C ทาบก่ิง D ตดิ ตา E เสยี บยอด F ปกั ชา G เพาะเลีย้ งเน้ือเยอ่ื ……....…1. การขยายพันธ์ทุ นี่ าต้นพชื 2 ตน้ เปน็ ต้นเดยี วกัน โดยมีต้นตอและต้นพนั ธุด์ ี ……....…2. การขยายพันธุ์ที่เช่ือมประสานส่วนของตน้ พืชเข้าด้วยกัน เพอื่ ใหเ้ จริญเป็นพืชต้นเดียวกนั ……....…3. การขยายพนั ธ์ทุ ี่ทาใหก้ ิ่งหรอื ต้นพืชเกิดรากขณะติดอยกู่ บั ตน้ แม่ ……....…4. การขยายพันธทุ์ เี่ กิดจากการผสมเกสรระหว่างเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ……....…5. การขยายพนั ธุท์ ่ีนาส่วนตา่ งๆของพืชพันธุ์ดี มาตัดใสล่ งในวสั ดเุ พาะชา เพอื่ ให้ไดพ้ ืชตน้ ใหม่ ……....…6. การขยายพนั ธ์ุทเ่ี ช่ือมประสานเนอื้ เยื่อของตน้ พืช 2 ตน้ เข้าดว้ ยกัน เพ่ือให้เจริญเตบิ โต ……....…7. การขยายพนั ธ์ุท่ีนาสว่ นหนึง่ สว่ นใดของพืช แล้วนามาเลย้ี ง ในอาหารสังเคราะห์ และสภาพปลอดเช้ือ

519 502 519 ใบกิจกรรมท่ี 3 เรือ่ ง การสืบพันธ์แุ บบไม่อาศยั เพศของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจัดการเนียนรทู้ ี่ 6 เรื่อง การขยายพนั ธขุ์ องพชื รายวริชายาวิทชยาาวศทิ ายสาตศราพ์ สื้นตฐรา์ นรหรัสหวสั ิชวาิชาว2ว121101101ภาภคาเรคยีเรนยี ทนี่ ท1่ี 1ชัน้ ชมน้ัธมยธัมยศมกึ ศษึกาษปาที ป่ี ีท1่ี 1 1.ใหน้ ักเรยี นจับคู่ภาพข้นั ตอนการขยายพนั ธพ์ุ ืชให้ตรงกบั วิธีการขยายพนั ธพ์ุ ชื ภาพขน้ั ตอนการขยายพันธุ์ วิธกี ารขยายพนั ธพ์ุ ืช การตดิ ตา การเสยี บยอด การปักชา การทาบกิ่ง การตอนกง่ิ

520 503 520 แนวคาตอบ ใบกจิ กรรมที่ 1 เรอ่ื ง การสบื พันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศของพืช หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 6 เรอื่ ง การขยายพนั ธ์ุของพืช รายวชิ ราวยิทวยชิ าศวาิทสยตารศพ์ า้ืนสฐตารน์ รรหหัสสั ววชิ า วว2211110011 ภภาาคคเรเรียยี นนทที่ ่ี11ชชั้นั้นมมัธัธยยมมศศกึ ึกษษาาปปที ีที่ ี่ 11 ปรศิ นาอักษรไขว้ เรื่อง วิธีการขยายพันธ์พุ ืช 7 เ สี ย ย อ ด 5ปั ติ ด 3ต า พ 2ก า ร ต อ า ช น ะ ชา กิ่ เ ง ล้ี ด ยอ งย เ 1ท า บ ก่ิ ง นื้ ย อ สี 4เ พ า ะ 6 เ ม ล็ ด ยื่ อ

521 504 521 แนวคาตอบ ใบกิจกรรมที่ 2 เรอื่ ง การสืบพนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 6 เร่ือง การขยายพนั ธุ์ของพืช รายวรชิ าายววิทชิ ยาาศวาิทสยตารศ์พา้นืสฐตารน์ รหรหัสสัววชิ ิชาาว2ว121101101ภาภคาเครเยี รนยี นทที่ 1ี่ 1ช้ันชมั้นัธมยธั มยศมกึ ศษกึ าษปาทีปี่ท1ี่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนนาตัวอกั ษรหนา้ ข้อความด้านขวามอื ใสล่ งในช่องว่างด้านซา้ ย ให้มีความสมั พันธ์กัน A เพาะเมลด็ B ตอนก่ิง C ทาบก่ิง D ตดิ ตา E เสยี บยอด F ปักชา G เพาะเล้ียงเน้ือเยอื่ ……C…1.การขยายพันธท์ุ ี่นาต้นพืช 2 ตน้ เปน็ ตน้ เดียวกัน โดยมตี น้ ตอและตน้ พันธุ์ดี ……D…2.การขยายพนั ธุ์ท่ีเชอ่ื มประสานสว่ นของต้นพืชเข้าดว้ ยกัน เพื่อให้เจรญิ เปน็ พชื ต้นเดยี วกัน ……B…3.การขยายพนั ธุ์ทีท่ าให้ก่งิ หรือตน้ พืชเกิดรากขณะติดอยู่กับตน้ แม่ ……A…….4.การขยายพันธท์ุ ีเ่ กิดจากการผสมเกสรระหวา่ งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ……F…5.การขยายพันธท์ุ ่ีนาส่วนตา่ งๆของพชื พันธ์ุดี มาตดั ใส่ลงในวสั ดุเพาะชา เพ่ือให้ได้พชื ตน้ ใหม่ ……E…6.การขยายพนั ธ์ุทีเ่ ชือ่ มประสานเน้ือเยือ่ ของตน้ พืช 2 ตน้ เขา้ ด้วยกัน เพอื่ ใหเ้ จริญเติบโต ……G…7.การขยายพนั ธทุ์ ี่นาส่วนหนึ่งสว่ นใดของพืช แลว้ นามาเลย้ี ง ในอาหารสังเคราะห์และสภาพปลอดเช้ือ

522 505 522 แนวคาตอบ ใบกิจกรรมที่ 3 เรอื่ ง การสืบพันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศของพืช หน่วยที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 เรอ่ื ง การขยายพันธ์ขุ องพชื รายวรชิ าายววิทชิ ยาาศวาิทสยตารศพ์ า้ืนสตฐารน์ รหรหสั ัสววิชิชาาว2ว121101101ภาภคาเครเียรนยี ทนท่ี 1ี่ 1ช้นั ชมนั้ ธั มยัธมยศมึกศษกึ าษปาีทป่ีท1่ี 1 ภาพข้นั ตอนการขยายพันธุ์ วธิ กี ารขยายพนั ธพ์ุ ชื การติดตา การเสียบยอด การปักชา การทาบกง่ิ การตอนกิ่ง

523 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 เร่อื ง ความสาคญั ของเทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเน้อื เย่ือ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เร่ือง การสืบพนั ธ์ุของพืชดอก เวลา 1 ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ รายวชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ขอบเขตเน้อื หา กิจกรรมการเรยี นรู้ ส่อื /แหล่งเรยี นรู้ 1. Power point ความสาคัญของเทคโนโลยี 1. รปู แบบการขยายพนั ธขุ์ องพืชชนิดต่าง ๆ ข้ันนา 2. ข้ันตอนการทาเทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ ง 1. ครูแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวชี้วดั การเพาะเล้ียงเน้ือเยอื่ 2. ครทู บทวนความรู้ทไ่ี ดเ้ รียนมาแลว้ เก่ยี วกับการขยายพันธพ์ุ ชื โดยใช้ 2.ใบกิจกรรมความสาคัญของเทคโนโลยกี าร จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ คาถาม เพาะเลยี้ งเน้อื เยื่อ ดา้ นความรู้ - การขยายพนั ธพ์ุ ืชแบบไม่อาศยั เพศ พชื ท่เี กดิ มามลี กั ษณะใด(พชื ที่ 1. ความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ ง เจรญิ จากการการขยายพนั ธุ์พืชแบบไม่อาศยั เพศจะมลี ักษณะเหมือนกับ ภาระงาน/ชิ้นงาานน เน้อื เยื่อ ตน้ เดิมทกุ ประการ) 1.ใบกิจกรรมความสาคญั ของเทคโนโลยีการ ด้านทกั ษะกระบวนการ - นักเรียนบอกได้หรอื ไม่ว่าเพราะเหตุใด (การสบื พนั ธ์ุทีใ่ ชส้ ่วนตา่ ง ๆ เพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือ 1. เขียนขนั้ ตอนการขยายพันธ์ุพืชได้ ของรา่ งกายโดยไมใ่ ช้เซลลส์ บื พันธ์ุ ลกู ท่เี กดิ จะมลี ักษณะทางพันธุกรรม 2. เขียนผังความคิดการเพาะเลี้ยงเน้อื เย่ือ เหมอื นพอ่ แม่ทุกประการ) ขน้ั สอน 1. ครูใหน้ ักเรียนดู Power point ความสาคัญของเทคโนโลยกี าร เพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือและศึกษา ใบความร้เู ร่ืองความสาคญั ของเทคโนโลยี การเพาะเลยี้ งเน้ือเยือ่ 2. ครใู ห้นักเรยี นทาใบกจิ กรรมที่ 1 เร่อื ง ความสาคัญของเทคโนโลยี การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยใหน้ กั เรยี นอา่ นขอ้ ความแต่ละข้อแล้วพิจารณา วา่ ข้อความนน้ั ถูกหรือผิด ถ้าถูกให้ 506 523

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 เรือ่ ง ความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยอ่ื 524 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่ือง การสืบพนั ธ์ขุ องพืชดอก รายวิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 1 ช่วั โมง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในขอ้ ท่ีเหน็ ว่าถกู ถา้ ผดิ ใหท้ าเครอื่ งหมาย X ลง ในขอ้ ที่เห็นวา่ ผิดและให้นักเรียนเขยี นคาตอบลงในช่องว่างท่กี าหนดให้ ด้วยตนเอง 3. ครูใหน้ กั เรยี นทาใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง ความสาคัญของเทคโนโลยี การเพาะเล้ียงเนื้อเยือ่ โดยใหน้ ักเรยี นเขียนผังความคดิ เทคโนโลยีการ เพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อของพืช ข้ันสรปุ 1. นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการทาใบ กจิ กรรมความสาคัญของเทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเน้ือเย่ือโดยใชแ้ นว คาถามตอ่ ไปน้ี - การนาช้ินส่วนของพืชไปเลี้ยงในสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชในสภาพปลอดเชอื้ จุลินทรีย์ ควบคมุ สภาพแวดลอ้ มและนาชน้ิ ส่วนของ พืชทีน่ ามาเพาะเลีย้ งในอาหารสงั เคราะห์(ก(กาารรเพเพาาะะเลเลยี้ ีย้งเงนเน้ือ้อืเยเย่อื ่ือ) ) 2. ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั สรุปบอกประโยชน์ของการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่ือ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การขยายพนั ธุพ์ ืช เพ่ือใหไ้ ด้ต้นพชื จานวนมากอย่างรวดเรว็ 2) การผลติ พชื ทีป่ ราศจากโรค เนื่องจากการเพาะเลีย้ งเน้อื เย่ือพืช จะต้องอยู่ในสภาวะปลอดเช้อื ดงั น้นั พืชท่ีไดจ้ ึงเปน็ พชื ที่ปราศจากเชื้อใดๆ 507 524

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 เรอ่ื ง ความสาคญั ของเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื 525 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เร่ือง การสืบพันธ์ขุ องพืชดอก รายวชิ าวิทยาศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 3) การปรบั ปรงุ พันธพ์ุ ืช ประโยชนม์ หาศาลท่ีได้จากการเพาะเล้ียง เนอ้ื เย่อื พืช คอื การปรบั ปรงุ พันธ์พุ ชื สามารถสรา้ งพนั ธุ์พืชต่าง ๆ ไดต้ าม ความประสงค์ 4) การผลิตสารทตุ ยิ ภมู ิ การเพาะเลีย้ งเน้ือเยือ่ พืชสมุนไพรตา่ งๆ แบบเซลลแ์ ขวนลอย สามารถผลติ สารตา่ ง ๆ ได้ เช่น ผลิตสารใช้เป็นยา ฆ่าแมลงท่ีใช้ทางด้านการเกษตร ผลติ ยารักษาโรคใช้ทางด้านการแพทย์ และผลิตสารทท่ี าให้กุง้ ลอกคราบทใี่ ช้ทางการประมง 5) การศึกษาทางชีวเคมี สรีรวทิ ยา และพันธศุ าสตร์ เนื่องจากการ เลย้ี งพืชในอาหารสงั เคราะหส์ ามารถสังเกตการเปลย่ี นแปลงไดง้ ่ายและ ชดั เจน 6) การอนรุ ักษ์เช้อื พนั ธุ์พชื ) เป็นการเกบ็ รักษาพันธุพ์ ชื คือ เก็บแคลลสั ของพืชท่ีอุณหภมู ิ -196 องศาเซลเซียส ควบคมุ โดยใช้ไนโตรเจนเหลว สามารถเกบ็ ไวไ้ ดเ้ ปน็ เวลานาน และไม่มีการกลายพันธุ์ 508 525

526 509 526 การวดั ผลและประเมนิ ผล เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ประเดน็ การประเมิน วธิ ีการวดั 1. ความสาคัญของ - ทาใบกิจกรรม - ใบกิจกรรมท่ี 1 เรอื่ ง ทาใบกจิ กรรมได้คะแนน เทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ ง เนื้อเยื่อ ความสาคญั ของ ร้อยละ 60 ขน้ึ ไป 2. เขียนขน้ั ตอนการ - ทาใบกิจกรรม ขยายพนั ธุ์พืชได้ เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยง 3. เขียนผังความคิดการ เพาะเลี้ยงเนอื้ เย่ือ เนอ้ื เยอื่ - ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรื่อง ความสาคญั ของ เทคโนโลยีการเพาะเลย้ี ง เนอ้ื เยอ่ื เกณฑก์ ารประเมิน ผลการประเมิน การประเมนิ ดมี าก (ผ่าน) ดี (ผา่ น) พอใช้ (ไม่ผา่ น) ปรบั ปรุง (ไมผ่ า่ น) คะแนนจากใบกิจกรรม 8-10 6-7 1-5 0

510 527 527 ใบความรทู้ ี่ 3 เร่ือง การสืบพันธ์ขุ องพชื หนว่ ยที่ 6 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 7 เรือ่ ง ความสาคัญของเทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งเน้ือเย่ือ รายวิชาวิทยาศาสตรพ์ น้ื ฐาน รหสั วชิ า ว21101 ภาคเรยี นที่ 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ประวตั ิความเป็นมาของการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อพืช ภาพท่ี 6.7.1 แคลลสั ของพชื ท่ใี ช้วิธกี ารเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยื่อ GGootttlileiebbHHabaebrelarlnadntdtชาชวาเยวเอยรอมรันมันเป็นเปค็นนคแนรแกรทก่ีเทร่ิมี่เรท่มิ าทก�ำากราทรดทลำ� อดงลเลอี้ยงเงลเนี้ย้ืองเนย้ือ่ เพยืชือ่ พทชื่านทไดา่ น้รับไดกร้ าบั ร ยกการยย่อกงยว่อ่าเงปว็น่าเบปิดน็ าขบอิดงาเทขอคงนเิคทกคานริคเลกี้ยารงเเลนี้ย้ืองเยเนื่ออ้ื พเืชย่อื Hพaชื beHralabnedrtla(n1d89t 8()1ไ8ด9้ท8า) กไดาท้รท�ำกดาลรอทงดโดลยอแงโยดกยเอแายเกซเลอลา์ จเแจสเเซลลบะาูตี้ล้ยียกแ่งรลงงตใบอเเบจ์ วัซซา่งาพแตลหลกลืชวัลลาใะแมพ์ร์บพเลทาพืชืจชะเี่ใใรใชืลชเหหญิ จม้ีย้เ้เ้เรลาเงปปตญิเใี้ยน็็ลนนิบงเตยี้ตอโตยตงน้้นาิบังใไพหไพนโปมตาชือืชเ่เรไปทาทหปส็หนสี่่ีสมเังาพมปมเารคบืชน็ะบสรตรูสพูรงัาณ้นมณเืชะคใต์ไห์ไหรอดด้น์ามยต้แ้ตใะ่ท่าาหลาหงม่ีสมะม์ไแสมตท่สรลมบั้กงมสี่ ะมสูร็ดมมตณมตีุตบง้ัใฐิม์ิฐรูสนทาุตณามปนกุิฐนมท์ีปาต1เเนุกรนน9ฐิะปว่อืา่ื0อก่ารงน2งเาะจซจวรกาเา่ลาไขกาดกลเราเซ้เ์พซไเกซลชดลืช็สลล่น้เลเาชลพ์พเ์ทมด่น์ทชืียน่ีาียเ่ีนเงดรำ�พวาเถยีมกซยีมวเาับลงลากทเลพท้ียซับ�ำ์เืชางลดกพกเตลียานชืา้นเ์รว้ือเดรเทดทดทเยี ยดิมี่นิมวดื่อลาทลแแพอมน่ีอตตงืาช�งำเ่น่เเขไนขมลดีแ้ าา้ีาแี้ยก้สยยเกงลเ่�ำังังสก่เยไี้เไกรมนิมางิน็จม่สส่สไไปาาาาปแมรมมแลแถาาาละลจรรรมะถถถะะี สคตูวารมอาเชหอ่ื ามรทนั่ ี่ใวชา่ ้เจละี้ยตงอ้ยงังมไวี มธิ ่เกีหามราทะำ�สใมหเ้อซยล่าลงท์ไรเ่ี ลกย้ี็ดงีในอยปนู่ี 1น้ั 9ส0า2มเาขราถกก็สลาบั มกาลรถายเลเป้ียน็งเพนชื้อื ทเยง้ั ื่อตพน้ ืชไดไดใ้ นส้ ารเะรย็จะแ3ล0ะปมตีีคอ่วามมา เหชลื่องั มจ่ันากวส่าจมะยั ตข้องมHีวaิธrีกbาeรrทlaาnใdหt้เซงลานลด์ทา้่ีเนล้ียกงาอรเยพู่นาั้นะเสลา้ยี มงาเนรถื้อกเยลอ่ื ับพกืชลพาัฒยเนปา็นไปพนืชอ้ ทย้ังมตา้นกไดแ้ใตน่กรม็ ะีนยักะวิท30ยาปศีตา่อสตมรา์ หลัางจยาทกา่ สนมทัยำ� ขกอารงศHกึ aษbาeคrน้laคnวdา้ tเกงยี่านวกดบั้านกากราเรลเย้ีลงี้ยเงนเนอื้ เื้อยเอื่ยพื่อพชื ืชจพนัฒกรนะาทไปงั่ นW้อhยitมeาก(19แ3ต4่ก)็มไีนดักท้ ว�ำิทงายนาดศา้ นสกตารร์หเลายี้ ยง ทเน่าอื้ นเยทอ่ื าขกอางรรศาึกกษเปาน็คผ้นลคสวำ� ้าเเรกจ็ ่ียโวดกยับทกดาลรอเงลใี้ยขอ้งาเหนา้ือรเทยปี่่ือรพะืชกจอนบกดรว้ ะยทสั่งารWอนhนิitทeร(ยี1์9น3ำ้� 4ส)กไดั ดย้ทสี าตง์ แานละดน้าำ�้นตกาาลรทเลร้ีายยง ตเนบยทตนออ่่ักอท่ีศอ้ื มดวึกมบเาิทไยษาาดใ่อืยทนาใ้อนขาเขปกยศอปอี่าี่ย1างีงง9วรสส1ด3กาต9าีก7ับรร3เ์ทกเเป7ขคาี่ศ็นามเรึกคขผเี ษนล้้ลาโดี้ยาพสคเยงาบ้นกเเเวนี่ยรฉพา่็จวื้อพกบกเาลโยวับดะมุ่ื่อ่ายกพวขกทาติวอลรดกางุ่เมมลวลรนิิวตอาี้ยิบตกางงใมเพมีาชนินมคีืช้อ้ือตวินอาเา่ายหีกบมง่ือกาีสมรขลๆ�ำีคทอุ่มคว่ปีงหตญั ราร่อนาตมะกึ่งกอ่กสาพกอคาราืชบคสือรอดัรกญเจีก้้าวลรตกงยุ่มญิร่ลสอขาุ่เามกกอตรหาบงิอนรแโนSตเ่ึงลินจtขะคrทรอeคือิญรงeวกียเาtนเล์ตมนอ้ื ุ่มงิสบเ้าาขยัมสนโออ่ื ตพกขรงัดขันอายSกอธงีสtก์ขงกrตลเอeลน์ุ่มeงมุ่แื้กอtนนลาเี้จงกัะยราะนว่ืเอนชกทิ้ารข่วิดยตาอยราากงอาศลกกธาทกลิบแสรลุ่มลตาาุ่มนยะยร์ี้ จะช่วยอธิบายบทบาทของสารเคมีโดยเฉพาะพวกวิตามินต่าง ๆ ต่อการสร้างราก และความสัมพันธ์ของการ เกิดรากและยอดไดอ้ ยา่ งดี

528 511 528 Winkler ได้ค้นพบว่าออกซิน คือ IAA (indol acetic acid) เป็นสารช่วยกระตุ้น การเจริญเติบโต ดังนั้น Gautheret (1937, 1938) จึงทดลองเล้ียงเน้ือเย่ือแคมเบียมของต้นหลิว (Salix cambium) ใน Knop’s solution โดยใส่น้าตาลกลูโคสรส วิตามินบี 1 cysteine hydrochloride และ IAA ลงไปด้วย พบว่า เน้ือเยื่อของหลิวมีการแบ่งตัวและเจริญต่อไปได้ ระยะหน่ึงในอาหารท่ีใช้เล้ียง จนกระทั่งในปี 1939 เขาจึง ประสบความสาเร็จในการเลี้ยง ส่วนแคมเบียมของแครอทอย่างแท้จรงิ ซึ่งแต่นั้นมา การเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพืช ได้ประสบผลสาเร็จอย่างแท้จริงเป็นคร้ังแรก นอกจากนี้ White ซ่ึงเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือทูเมอร์ (tumors) ของ ยาสูบที่ได้มาจากลูกผสมระหว่าง Nicotiana glauca x N. langsdorffii ต่างรายงานความสาเร็จ พบว่ามีกลุ่ม เซลล์พองฟูออกกมมาาจจาากกเเนน้อื ื้อเยเยื่อื่อเดเดิมิมเรเรยี ียกกกลลุ่มุ่มเซเลซล์ทล่เี์ทกี่เดิกใิดหใมห่วม่า่วแ่าคลแลคสัลลซัส่ึงแซค่ึงลแลคสั ลทลี่ไัสดท้นี่ไส้ ดา้นม้ีสาราถมเาลรยี้ ถงเไลป้ียไงดไเ้ ปรอื่ไดย้ เๆรอ่ื เยม่ือๆมเีกมาอ่ื รมยกี ้าายรยไปา้ ยไังปอยางั หอารหใาหรใมห่ มส่าสเาหเตหุทตทุ่ีกกี่าารรเพเพาาะะเเลลี้ย้ี งเนอื้ เยยอ่ื อพพชื ืชปปรระะสสบบผลผสลำ�สเราจ็เรเ็จนอื่เนงจื่อางกจกาากรคค้นพบสาารร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช โดยสารควบคุมการเจริญเ-ตเติบิบโตโตชนิดแรกท่ีค้นพบคือ IAA ซึ่งเป็นออกซิน (auxin) ชนิดหนึ่งท่ีทาให้การเพาะเล้ียง เนื้อเย่ือพืชในหลอดทดลองได้ผล ต่อมาภายหลังมีการค้นพบไคเนทิน (kinetin) ซึ่งเป็นไซโตไคนิน (cytokinin) ชนิดหน่ึงท่ีช่วยกระตุ้นการเจริญได้ดีย่ิงข้ึน นับจากน้ันมา ความก้าวหน้าทางการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือพืชก็ได้แพร่หลายไปยังประเทศอื่น ๆ อีกทั้งยังมีการเอาหลักการ เพาะเลยี้ งงเเนนอื้ ้ือเยเยอ่ื ่ือพพชื ืชไไปปปปรระะยยกุ ุตกใ์ตช์ใท้ชา้ทงาดงา้ ดน้ากนารกเากรษเกตรษกตารรกขายรพขยนั าธยพ์ุ พชื ันกธา์ุรพปืชรบั ปรกงุ พารนั ปธรพ์ุ ับชื ปทราุงงพพันฤกธุ์พษืศชาทสตางร์ ชพีวฤเกคษมศี โารสคตพรืช์ ชตีวเลคอมดี โจรนคทพาืชงดต้าลนอพดนัจนธวุทิศาวงกด้ารนรมพนั ธุวศิ วกรรม การเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อพืช โดยใช้ช้ินส่วนของพืช เช่น ตายอดหรือตาข้างของพืชจากต้นพืชพันธ์ุดีท่ี คัดเลือกไว้ มาเล้ียงบนอาหารสังเคราะห์ ภายใต้สภาพปลอดเชื้อ ทาให้ส่วนประกอบของพืชเจริญเติบโตและ พัฒนาเกิดเป็นต้นใหม่ที่มีลักษณะเหมือนต้นเดิมทุกประการ ทาให้ได้พืชจานวนมากที่มีคุณภาพสม่าเสมอ นอกจากน้ัน พืชที่ได้ยังปลอดจากจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรีย รา ท่ีอาจเป็นสาเหตุ ของโรคพืช จึงเหมาะแก่การ นาไปปลกู เพื่อให้ไดต้ ้นทส่ี มบูรณ์ และมผี ลผลิตสูงตอ่ ไป พืชท่ีนิยมเพาเะลเล้ียงี้ยเงนเนื้อเอ้ื ยเอ่ืยื่อไดไแ้ดกแ้ ่กก้ ลกว้ ลยว้ ยหนห่อนไ่อมไ้ฝมรฝ้ ่ังรไ่ังผ่ ไเยผอ่ เบยรีอ่าบหรี ่านา้หวนวั า้ เวบวั ญเจบมญาจศมการศะกเจรยี ะวเจบียอวนบสอี กนุหสลี กาบุหลสาตบรอสเตบรออรเร์ บี่ อขนรร์ุนี่ ขไนม้สนุ กั ไมส้ กั ภาพที่ 6.7.2 การเลีย้ งเน้ือเยื่อ

529529 512 529529 ชนิดของอาาหหาารรเเพพาาะะเเลลยี้ ีย้ งงเนเนอ้ื ้ือเยเยื่อ่ือพพชื ืช อาหหาารรเเพพาาะะเเลลี้ยี้ยงงเนเน้ือื้อเยเยื่อ่ือมมี 2ี 2รรูปูปแแบบบภภายาใยตใ้สตูต้สรูตเรดเียดวียกวันกันแลแ้วลแ้วตแ่ผตู้ป่ผฏู้ปิบฏัติบิเหัต็นิเหว็น่าใวน่ารในะยระไยหะนไหคนวรคใวชร้ ใช้ อาหารรปู แบบบบใใดดแแลลว้ ว้ สสง่ ง่ ผผลลดดตี ตี ่อ่อกกาารรพพัฒฒั นนาขาขอองชงชนิ้ ้ินพพืชไืชดไ้ดีกด้ วีก่าวา่ไดไแ้ ดก้แ่ ก่ 1. อาหารแขข็ง็ง (( SSoollididmmeeddiuiumm))เปเป็น็นเพเพียียงกงการาผรผสมสวมุ้นวุ้ลนงลใงนใอนาอหาาหรารปรปะรมะามณาณ0.70.-71-%1 %หรหือ7รือ-170-1ก0รัมกรตัม่อต่อ อาหาร 1 ลติตรร เเพพ่อื ื่อชช่ว่วยยพพยยงุ ุงชชิ้น้นิ พพืชืชใหให้สส้าามมาราถรถเจเรจญิรญิ เตเบิติบโตโอตยอบู่ยนบู่ อนาอหาาหราไรดไ้ ด้ 2. อาาหหาารรเเหหลลวว(((LLLiqiqiquuuidididmmmeedediduiumiumm))เ)ปเป็นเป็นอ็นอาอหาหาหราทราทร่ีไมท่ีไ่มีไมีส่ ่มวีสนีสว่ ่วผนนสผผมสสขมมอขงขอวองุ้นงววุ้นชุ้น้ินชพช้ินืชิ้นพทพืช่ีเืชทลท้ยี่เล่ีเงลยี้ในี้ยงงอในใานอหอาาหรหเาหารลรเหเวหมลลักววจมมะกั ักมจจีกะะามมรีกี าร กเจาริญเจเรตญิ ิบเโตตตบิ ททโี่ดตี่ดีที แแดี่ ลลี ะแะคลค่อะ่อคนนอ่ขขน้า้างขงรา้ รวงวดรดวเรเดร็วเ็วรแว็ แตแต่ ต่ต้อต่ ้องอ้ รงงะรรวะะังววเังรงั เื่อรง่ือกงากราถร่าถยา่ เยทเทอทาออกาากากศาาศขศขอของอชงงชิ้นชน้ิพิ้นพืชพชื ถืชถ้าา้ถเเล้าล้ียเย้ี ลงงเ้ียเนนง้ือเอื้ นเเยย้ือ่ืออื่เใยในนื่อออในาาหหอารหาร เหลว จา�ำเป็นนตต้อ้องงเเลลี้ยี้ยงงบบนนเคเครร่อื ื่องงเขเขยยา่ ่า(S(Shhaakeker)r)คคคววบวบบคคู่กคูก่ ันู่กันไันไปปไเปเสสเมสอมอทท้ังทั้งนน้ังี้เนีเ้คคี้เรรค่ือ่อืรงงื่อเเขงขยเยข่า่ายจจ่าะะจเเคะคลเลคื่อ่อื ลนน่ือไไหนหวไวหดด้ว้วยดก้วายรกหามรุหนมุน ในแนวขขนนาานนกกับับพพื้น้ืนโโลลกกออัตัตรราา110000--112200รอรรอบอบตบต่อต่อน่อนานทาาีททกี ากกราาเรขรเยเขข่ายยต่า่าลตตอลลดออเดวดลเวาลจาะจชะ่วชย่วใหย้ใอหอ้อกอซกิเจซนิเจลนะละาลยลายงยใลลนงงใน ใอนาอหาาหราสร่งสผ่งลลผดดลีตีตด่อ่อีตก่กอาการราเเรจจเรจริญริญิญเตเตเิบติบโิบตโโตขตขอขององเงนเเน้ืนอ้ือเยเยื่อื่อพพืชืชบบนนออาอาหาหาหารารเรหเเหลหลวลวเวปเปเ็นป็นเ็นวเวลเลวาลานนาานานนาพพนืชืชพออืชาาอจจามมจีกีกมาีกรฉา่าร�ำนฉ้่า�ำนหห้าาากหกพาพกบบพบ อาการดดังังกกลล่า่าวว คคววรรหหยยุดุดกกาารรใใชช้อ้อาาหหาารรเหเหลลววแแแลลละะเะเปปเปลล่ียลี่ยนี่ยนไนไปปไใปใชชใ้อช้อา้อาหหาาหารราแแรขขแ็ง็งขจจ็งะะจสสะาาสมมาามราถรลลถดลอดาอการกฉา่าร�ำนฉน้่า้�ำขนขอ้าองขงพพอืชงืชพืช ลดลงได้ ช้ินสส่ว่วนนพพืชืชทท่ีผี่ผ่า่านนกกาารรฟฟออกกฆฆ่า่เาชเช้ือื้อแลแะลเะลเ้ียลง้ียบงนบอนาอหาาาหรราววรุ้นวจจุ้นะะจมมะีกีกมาาีกรรพาพรัฒัฒพนนัฒาานเเปปา็น็เนปหห็นนห่อ่อเนเลล่อ็ก็กเๆลๆ็กภๆายภใานยใ1น-21-2 เดือนแแรรกก เมเมม่ือื่อื่อทททาา�กำกกาารารตรตัตดัดัดยย้าย้าย้ายอยอาอาหาหาหารารเรปเปเลปลี่ยลี่ยน่ียนอนอาอหาาหาหราารเรนเื้นอเเนื้อย้ือเื่อยเเื่อยหื่เอลหเ่าหลน่าล้ีจน่าะ้ีจนเะจ้ี เระจิญเรจเิญรติญเบตโเิบตโแิบตลโแตะลมแะีกลมาะีกรมพาีกรัฒาพรนัฒพาัฒเนปาน็นเาปหเ็นปห่อ็นน่อ เหลน็ก่อๆเลภก็ าๆยใภนนายใ11น––122–เเด2ดือือเนดนแอื แรนรกแกรเมกเม่ือเื่อมมอื่ีกีกมาารีกรเาปเรปลเปลี่ยลี่ยนี่ยนอนาออหาาหาหราารเรนเื้อนเ้ือยเ่ือยเ่ือหเลห่าลลน่า่า้ีนจนะ้ีจ้ีจเะจะเจรเจิญรริญเิญตเติบเตบิ โิบตโตแโแตลลแะะลมมะีกีกมาารีกรพาพรัฒัฒพนนัฒาาจนจนาจน สามารถเพ่ิมมปปรริมิมาาณณโโดดยยเฉเฉลลี่ย่ีย33-5-5เทเท่า่าภภายายในใน330300ววันวันันเเมมเื่อมอ่ื ไื่อไดดไ้ปด้ปร้ปริมิมราิมาณณาณตต้นตน้ ต้นตาาตมมาตตม้ออ้ตงง้อกกงาากรรจาจรึงึงเจเปปึงลเลปี่ยี่ยลนนี่ยสนูตสรอูตารหอารหวาุ้นรวุ้น เพ่ือชักนา�ำกาารรเเกกิดิดรราากกจจนนกกรระะทท่ังั่งไไดด้ต้ต้น้นพพพืชืชืชททที่สี่ส่ีสมมมบบบูรูรณูรณณ์ ์ม์ มีทมีทั้ีงทสั้ง้ังส่วส่นว่วนลนลาลต�ำาต้นต้น้นใบใบแลแะลระารกากสาสมามราถรยถ้าย้าอยออกอปกกลปปูกลใลนูกูกใน สในภสาภพาธพรรธมรรชชมาาตชตไิาไิ ดตด้ ไิ้ ด้ วิธกี ารเตรียยมมออาาหหาารรเเพพาาะะเลเลี้ย้ยี งงเนเนือ้ ้ือเยเย่ือ่ือพพชื ืช 1. นนาาสสาารรลละะลลาายยเขเขม้ ้มขขน้ น้ ชชนนดิ ิดตต่า่างงๆๆมมาผาผสมสกมนักันค่อคย่อยๆๆกวกนวในหใเ้ หขเ้าขก้านั กจนั นจหนมหดมคดรคบรทบุกทชุกนชดิ นดิ 2. เเตติมิมนน้าา้ ตตาาลลแแลล้วว้ เตเตมิ มิ นน้า้ากกลลั่น่ันใหให้ได้ได้ป้ปรมิรมิาตารตทรทีต่ ้อตี่ ง้อกงากรารปรปับรับpHpH5.65.–6 5–.75.7 3. นนาาววุน้ นุ้ ผผสสมมกกบั ับออาาหหาารรทท่เี ต่ีเตรรียียมมหหลลออมมวนุ้วุ้นใหให้ละล้ ละาลยาย 4. บบรรรรจจลุ ุลงงใในนขขววดดออาาหหาารรในในปปรริมิมาตาตรเรทเท่าา่ ๆๆกันกนั ปดิปฝดิ าฝใาหใ้สหน้สทิ นทิ การฆ่าเชือ้ จจลุ ลุ ินนิ ททรรยี ยี ์ ์ การรฆฆ่า่าเเชช้ือ้ือจจุลุลินินททรรียีย์ใ์ในนออาาหหาารรนนาขาขวดวดทที่บี่บรรจรุอจาุอหาาหราแรลแ้วลไ้วปไนป่ึงนฆึ่ง่าฆเช่า้ืเอชด้ือ้วดย้วหยมห้อมน้อึ่งนค่ึวงคามวดามันดไอันนไอ้าน้า ที่ ที่ อทณุ ี่อุณหภหมู ภิ มู1ิ2211121อองงอศศงาาศเเซาซลเลซเเซลซียเียซสสียคสคววคาามวมาดดมนั ันด1ัน1551ป5ปอปอนนอดนด์ /์ด/ต์ /าตรตาารางารนงาิ้วนงน้ิวเปว้ิ เ็นปเเป็นว็นเลวเาลวล1า5า11–552–0-22น00านทนาี าทที ี การฆา่ เชอื้ จจลุ ลุ นิ นิ ททรรียยี ์บ์บรรเิ เิววณณภภาายยนนออกกชช้นิ ้นิ สส่วว่นนพพชื ชื เป็นนสส่ิง่ิงจจาาเเปป็น็นแแลละะสสาาคคัญัญทที่จ่ีจะะตต้อ้องฆงฆ่าเ่าชเช้ือ้ือจุลจินุลินททรียร์ทีย่ีต์ทิด่ีตมิดามกาับกบับรบิเวรณิเวผณิวผนิวอนกอขกอขงอชิ้นงชสิ้น่วสน่วพนืชพเืชน่ือเนงจื่อางกจาก อาหารที่ใช้เพพาาะะเเลลี้ยี้ยงงเเนน้ือื้อเยเย่ือ่ือพพืชืชมมีธธีาาตตอุ ุอาาหหาราแรแลละไะวไตวาตมานิมนิ ทีจ่ทุลจ่ี ินุลทินรทยี ร์ตยี ่า์ตง่าๆง ๆเจรเจญิ รไญิ ด้ดไดีแ้ดลแีะลรวะดรวเรด็วเกรว็ ่ากเวน่าื้อเเนยื้อ่ือเย่ือ พชื การฆ่าเชช้ือ้ือจจุลุลินินททรรียีย์ท์ท่ีที่ทาาไไดด้ส้สะะดดววกกแแลละะไดได้ผ้ผลลดดี โีดโยดกยากราใรชใส้ชาส้ ราเรคเมคีชมนีชิดนทิด่ีสทาี่สมาามราถรฆถ่าฆเช่า้ือเชจ้ือุลจนิ ุลทินรีทย์ไรดียห้ ไ์ ดมห้ดทมุกดทุก

530 513 530 ชทนุกิชดนแดิ ลแะละ้างลอ้างออกอไดก้ไงด่าย้ง่ายเพเรพาระาถะ้าถล้า้าลงา้ องอกอไกดไ้ยดา้ยกากสสาราเรคเคมมีเหเี หลล่า่านนี้จี้จะะมมีผีผลลททา�ำใใหห้เ้เนน้ือื้ เย่ือพืชตาย หรอื มีกาารร เจริญเติบโตไม่ดีเท่าที่ควรการเติมน้ายาซักฟอกลงไปในสารเคมีที่ใช้ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ จะทาให้ประสิทธิภาพ สารเคมเี หล่านั้นดีขึ้น เน่ืองจากจะทาให้ลดแรงตึงผิวบริเวณผิวนอกของช้ินส่วนพืช สารเคมจี ะแทรกซมึ เขา้ ไป ทาลายจุลินทรีย์ตามซอกต่าง ๆ ได้ดีขึ้น การเตรียมสารเคมีฆ่าเช้ือจุลินทรีย์ทาโดยตวงสารให้ได้ปริมาณตามที่ ต้องการ แล้วเตมิ น้ากลั่นท่ีนึ่งฆ่าเช้ือและน้ายาซักฟอกลงไป เขย่าให้เข้ากัน การเตรยี มนี้ควรเตรียมใหมท่ ุกคร้ัง ท่ีใช้ วิธกี ารเล้ยี งเน้อื เย่ือ 1. นาช้นิ สว่ นพชื ทต่ี ้องการมาล้างนา้ ให้สะอาด 2. ตกแต่งชิ้นสว่ นพืช ตัดส่วนทไี่ มต่ ้องการออก 3. นาชิน้ ส่วนพชื จุ่มในแอลกอฮอล์ 95 % เพ่อื ลดแรงตึงผวิ บริเวณนอกชน้ิ สว่ นพชื 4. นาชิ้นส่วนพืชมาเขย่าในสารฆ่าเช้อื จลุ ินทรยี ์ท่ีเตรยี มไว้นาน 10 – 15 นาที 5. ใชป้ ากคีบคีบชน้ิ ส่วนพชื ล้างในนา้ กลนั่ ท่นี ่ึงฆ่าเชื้อ 3 คร้ัง 6. ตดั ชนิ้ สว่ นพืชตามขนาดท่ีตอ้ งการแล้ววางบนอาหารสงั เคราะห์ 7. ลงรายละเอียด เช่น ชนดิ พืช วันเดือนปี หรอื รหสั ในการทาการฆ่าเชอ้ื ท่ตี ิดมากับผวิ พืช และการ นาไปเลยี้ งบนอาหารทาในตูถ้ ่ายเนือ้ เยอื่ โดยตลอด ภาพท่ี 6.7.3 ข้นั ตอนการขยายพนั ธุ์โดยเทคนคิ การเพาะเล้ียงเน้อื เย่ือพชื การดแู ลเน้ือเย่อื ระหวา่ งการเล้ียง 11.. นนำ� าขขววดดเลเลย้ี ย้ี งงเนเนอ้ื อ้ื เยเยอื่ ื่อไปไปววาางงบบนนชชน้ั ้นั ในในหหอ้ ้องงเลเลย้ี ี้ยงงเนเนอื้ ื้อเยเยอื่ ่ือโดโดยยปปรรบั ับสสภภาาพพแแววดดลลอ้ ้อมมใหใหเ้ หเ้ หมมาะาะสสมมโดยทวั่ ไปปรบั อณุ หภมู ภิ ายในโดหยอ้ ทงว่ัปไรปะปมราบัณ 25 องศาเซลเซยี ส ระยะเวลาทใ่ี หแ้ สงประมาณ 12 – 16 ชว่ั โมง / วนั ความเขม้ ของแสง อ1,ุณ00ห0ภูม–ิภ3า,0ย0ใน0หl้อuงxประมาณ 25 องศาเซลเซยี ส ระยะเวลาท่ใี ห้แสงประมาณ 12 – 16 ชวั่ โมง / วัน ความเข้ม ของแสง 12,.0เ0น0อ้ื –เย3่อื ,พ00ชื 0ที่เlลuย้ีxงควรเปลีย่ นอาหารใหมท่ ุก 2 สัปดาห์ ระหว่างการเล้ียงตรวจดู 23.. เกนา้อื รเเยจื่อรพิญืชเตทบิี่เลโยี้ตงคสวงั เรกเปตลกยี่ารนเอปาลห่ยี านรแใหปมล่ทงุกบ2นั ทสึกปั รดาายหง์ ารนะไหวว้เา่พง่อื กเาปรน็เลขี้ยอ้ งมตูลรวจดู 3. การเจรญิ เตบิ โต สังเกตการเปลีย่ นแปลง บนั ทึกรายงานไวเ้ พือ่ เปน็ ข้อมูล

531 514 531 4. การยา้ ยพชื ออกจากขวดเลย้ี งเน้ือเย่ือเพื่อลงปลกู ในกระถาง เม่อื พืชเจรญิ เติบโตเป็นต้นที่สมบูรณแ์ ล้ว ก็นาลงปลกู ในกระถางดังน้ี 1. เตรยี มทราย : ถ่านแกลบ หรอื ทราย : ขุยมะพร้าว อัตราส่วน 1 : 1 ใส่กระถางหรือกะบะพลาสตกิ 2. ใช้ปากคีบ คบี ตน้ พืชออกจากขวดอย่างระมัดระวงั 3. ล้างเศษวนุ้ ท่ตี ดิ อย่บู รเิ วณรากออกใหห้ มด 4. จุ่มยากันรา ตามอตั ราส่วนท่ีกาหนดในสลากยา ปลกู ในกระถางหรือกระบะ นาไปไวใ้ นตู้ควบคมุ ความชืน้ แสง อุณหภมู ิ หรือนาไว้ในกระบะพน่ หมอก เม่ือพืชเจรญิ ต้ังตวั ดีแล้วจงึ ย้ายลงแปลงปลูกต่อไป ประโยชนข์ องการเพาะเล้ียงเน้อื เยอื่ 1. การขยายพันธุ์พชื (Micropropagation) เพอื่ ใหไ้ ด้ตน้ พืชจานวนมากอยา่ งรวดเรว็ (rapid asexual propagation) ภาพท่ี 6.7.4 การขยายพันธุ์พืชโดยเพาะเลี้ยงเน้ือเย่อื 2 . การผลติ พืชทป่ี ราศจากโรค เนือ่ งจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยอ่ื พชื จะตอ้ งอยใู่ นสภาวะปลอดเช้ือ ดงั นัน้ พืชที่ได้จึงเป็นพืชท่ีปราศจากเชอ้ื ใดๆ ภาพท่ี 6.7.5 การเพาะเลี้ยงเนอื้ เย่อื ในสภาวะปลอดเชอ้ื 3. การปรับปรุงพันธ์ุพืช (Plant provement) ประโยชน์มหาศาลที่ได้จากการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือพืช คอื การปรบั ปรุงพนั ธุ์พืช สามารถสร้างพนั ธุพ์ ชื ตา่ ง ๆ ไดต้ ามความประสงค์

515 532 532 ภาพที่ 6.7.6 การปรบั ปรุงพชื โดยการเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื 4. การผลิตสารทุติยภูมิ (Secondary metabolite) การเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพรต่างๆ แบบ เซลล์แขวนลอย (suspension culture) สามารถผลิตสารต่างๆ ได้ เช่น ผลิตสารใช้เป็นยาฆ่าแมลงท่ีใช้ ทางด้านการเกษตร ผลิตยารักษาโรคใช้ทางด้านการแพทย์ และผลิตสารที่ทาให้กุ้งลอกคราบท่ีใช้ทางการ ประมง ภาพที่ 6.7.7 การผลิตสารทุติยภมู ิโดยการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือพชื สมนุ ไพร 5. การศกึ ษาทางชวี เคมี สรีรวทิ ยา และพนั ธุศาสตร์ เนอื่ งจากการเลย้ี งพชื ในอาหารสังเคราะห์ สามารถสังเกตการเปลยี่ นแปลงได้ง่ายและชัดเจน ภาพท่ี 6.7.8 การศึกษาทางชีวเคมี สรรี วทิ ยาและพันธุศาสตร์โดยการเพาะเล้ยี งเน้ือเย่อื 6. การอนรุ กั ษ์เชื้อพันธุ์พชื (Germplasm conservation, gene bank) เป็นการเกบ็ รกั ษาพันธพ์ุ ืช คือ เก็บแคลลสั ของพืชที่อุณหภมู ิ -196 องศาเซลเซยี ส (cryopreservation) ควบคุมโดยใช้ไนโตรเจนเหลว สามารถเก็บไว้ไดเ้ ปน็ เวลานาน และไม่มกี ารกลายพันธ์ุ ภาพท่ี 6.7.9 การอนุรักษ์พันธ์ุพชื โดยการเพาะเล้ยี งเนื้อเยอ่ื ท่มี า : http://www.ku.ac.th

533 516 533 ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง การสบื พันธุแ์ บบไม่อาศยั ของพืช หนว่ ยที่ 6 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 เรื่องเรือ่ควงามคสวาาคมญั สข�ำอคงญั เทขคอโนงเโทลคยีกโนารโเลพยาีกะาเลรย้ีเพงเานะ้ือเเลย้ีย่ืองเรนา้ือยเวยชิ ือ่ าวริทายยาวศชิาสาตวริทพ์ ยื้นาฐศาานสตร์ รหสั วชิ า ว21101 ภาคเรียนที่ 1 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ตอนท่ี 1 คาช้แี จง ใหน้ กั เรยี นอ่านข้อความแต่ละขอ้ แลว้ พิจารณาวา่ ข้อความนั้นถูกหรอื ผดิ ถ้าถูกให้ ทาเคร่ืองหมาย √ ลงในข้อทีเ่ ห็นว่าถกู ถา้ ผิดใหท้ าเครือ่ งหมาย X ลงในขอ้ ที่เหน็ ว่าผิด ……………………11.ก.กาารรนนำ� าชชน้ิ ้ินสสว่ ่วนนขขอองงพพชื ืชไปไปเลเลย้ี ย้ีงงในในสสาารรคคววบบคคมุ มุ กกาารรเจเจรรญิ ญิ เตเตบิ ิบโตโตขขอองพงพชื ชืในในสสภภาพาพปปลลออดดเชเชอ้ื ือ้จจลุ ุลนิ ินททรยรี ยีค์ ์วบคมุ สคภวาบพคแมุ วสดภลาอ้ พมแแวลดะลน้อำ� มชแ้ินลสะ่วนนาขชอน้ิ งสพว่ ชืนทข่ีนอง�ำพมชืาเทพน่ี าาะมเลาเ้ยี พงาใะนเอลาี้ยหงใานรสอาังเหคารราสะังหเค์ ราะห์ ……………………22.ฮ.ฮาารร์เ์เบบอร์แลนด์น�าำเอาเซลล์พพชื ืชเเพพียียงงเเซซลลลลเ์ ด์เดียียววมมาาเลเล้ยี ี้ยงสงสามามาราถรจถะจแะบแ่งบต่งวัตแัวลแะลเะจเรจญิ รเิญตเิบตโิบตโไตปไเปน็เปพ็นืชพืช ตต้น้นใใหหมมท่ ่ ีส่ มบูรณ์และสามารถเลีย้ งเซลลพ์ ชื ใหเ้ ป็นตน้ พืชท่ีสมบรู ณไ์ ด้ …………3ท.ี่สสมาบรอรู ณอกแ์ ซลินะเสปา็นมสาราถรตเลวั ีย้ เดงเยี ซวลทลชี่ ์พ่วชื ยใกหร้เปะต็นุน้ตน้กาพรืชเทจรีส่ ิญมบเตูริบณโไ์ตดไ้ปเป็นพชื ตน้ ใหม่ ……………………43..กสาารรเอพอากะซเลิน้ียเปงเน็ นส้ือาเรยต่ือวั พเดืชียเปวท็นช่ีก่วายรกขรยะาตยนุ้พกันาธรุ์พเจืชรทิญ่ีมเีคตบิวาโตมไสป�ำเคปัญน็ ใพนืชกตาน้ รใหชม้พ่ ื้นที่ขยายพันธุ์น้อย ท�ำให้ ก…าร…บ…ร…หิ 4า.รกจาดัรกเพาาระดเ้าลนี้ยวงาเนงแื้อผเยน่ือกพาชืรเผปลน็ ติ กพาันรขธยุ์พาืชยแพลนั ะธก์พุ าชืรจทัด่ีมจีคำ� วหานมสา่ ยาคปญัระในสิทกาธรภิ ใาชพ้พนื้ ที่ขยายพนั ธุน์ อ้ ย …………5.ทกาใรหเพ้การะบเลรีย้หิ งาเรนจอ้ื ัดเกยา่อื รพดืช้าชน่ววยาผงแลผิตนตก้นาพรชืผใลนิตสพภันาธพ์ุพทืชี่มแีเลชะ้ือกแาบรคจัดทจราีเรหียนา่ ไยวปรรัสะสิทธภิ าพ ……………………65.ก.กาารรเเพพาาะะเเลลย้ี ย้ี งงเนอื้ เยอื่ พชื เชป่วน็ ยกผาลริตขตย้นาพยืชพในั นธสพ์ุ ภชื าทพชี่ทว่มี ยเี ชใน้ือกแาบรคเทกบ็รเีรรกัียษาไเวชรอ้ืัสพนั ธก์ุ รรมของพชื เพราะไม่ เป…ล…อื …ง…พ6ื้น.ทกี่แารลเะพชาว่ะยเลใน้ยี งกเานรื้อปเยรับ่ือพปืชรงุเปพ็นั กธา์พุ รืชขยายพนั ธุพ์ ชื ทชี่ ่วยในการเก็บรกั ษาเช้อื พันธุก์ รรมของพืชเพราะ …………7.ไพมืชเ่ ปทลี่ทือ�ำงกพา้นื รทเพี่แาละะเชลว่ี้ยยงใเนก้ือาเยรปื่อรไดับ้ปครือุงพันกธลุพ์ ้วชื ย หน่อไม้ฝร่ัง ไผ่ เบญจมาศ กระเจียว กุหลาบ ข…น…ุน……ฯล7ฯ.พชื ท่ีทาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อได้ คือ กล้วย หนอ่ ไม้ฝรงั่ ไผ่ เบญจมาศ กระเจยี ว กุหลาบ ขนนุ ฯลฯ ตอนที่ 2 คาชี้แจง : ให้นกั เรียนเขียนคาตอบลงในช่องวา่ งทก่ี าหนดใหด้ ว้ ยตนเอง 1.ให้นักเรยี นบอกประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่อื ............................................................................................................................. ......................................... ............................................................................................................................. .......................................... ...................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......................................... ............................................................................................................................. ......................................... ........................................................................................ ...............................................................................

534 517 534 ใบกิจกรรมท่ี 2 เร่อื ง การสบื พันธแุ์ บบไมอ่ าศัยของพืช หน่วยท่ี 6 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 เรื่อง ความสาคญั ของเทคโนโลยกี ารเพาะเลีย้ งเน้ือเย่อื รายรวาิชยาววชิ ิทายวาศทิ ายสาตศรา์พส้นืตฐร์านรหรสั หวัสชิ วาิชวา21ว1201110ภ1าคภเารคียเนรยีทน่ี 1ท่ี ช1้ันมชัธั้นยมมธั ศยึกมษศากึ ปษที าปี่ ที1่ี 1 คาชแ้ี จง 1.ใหน้ ักเรียนเขยี นผังความคิดเทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อของพืช การสืบพนั ธด์ุ ว้ ยลาต้น

518 535 535 535 535 แนวคาตแอนบวคาตอบ ใบกจิ กรใรบมกทจิ่ี 1กรเรมอ่ื ทง่ี ก1าเรรสื่อบื งพกนั าธร์แุสบื บพไันมธ่อุแ์ าบศบัยขไมออ่ งาพศืชัยขหอนงพว่ ยืชที่ ห6นว่ ยที่ 6 แผนการแจผดั นกกาารเรรจียดั นกราทู้ รี่เ7รยี นเรรอื่ ้ทู ง่ี 7ควเราือ่มงสาควญั าขมอสงาเคทญั คโขนอโงลเยทีกคาโนรเโพลายะีกเาลร้ยี เงพเานะ้ือเเลย้ยี ่ืองเนอื้ เยื่อ รายรวาิชยาวริชาทยายวาวชิศทิ ายวสาิทตศยราพ์ สศนื้ ตาฐสรา์ตนรพ์หสั้นืรวหฐชิาัสนาวิชวา2ร1หว1สั 20ว11ชิ 1า0ภ1าวค2ภเ1รา1ยีค0นเ1รทยี ่ีนภ1ทาค่ี ชเ1ั้นรยี มชนัธัน้ทยม่ีมธั1ศยกึ มษชศ้นัากึ ปมษธัที าย่ี ปม1ีทศี่ ึก1ษาปีท่ี 1 ตอนที่ 1ตคอานชที้แ่ี จ1งคาใชห้แีนจักงเรยี ในหอน้ า่กั นเรขีย้อนคอว่านมขแ้อตค่ลวะาขมอ้ แตล่ลว้ ะพขิจอ้ าแรณลว้ าพวิจ่าขารอ้ ณควาาวมา่ ขน้อันคถวูกาหมรนอื นั้ ผถดิ ูกถห้ารถอื กู ผใดิ ห้ถ้าถกู ให้ ทาเครือ่ งทหามเคายรือ่ ง√หมลางยในข√้อทลี่เงหใน็ ขวอ้่าถทูกีเ่ หน็ ถว้า่ ผถิดกู ให้ทถา้ เผคดิ รใอื่ หง้ทหามเคายร่ืองXหมลางยในขXอ้ ทลีเ่งหใน็ ขวอ้่าผทดิ ีเ่ ห็นว่าผดิ ……√…1.…ก…าร√น…า1ช.ิน้กสาร่วนาขชอิ้นงสพ่วืชนไปขเอลงีย้ พงืชในไปสเาลรยี้ คงวใบนคสมุารกคาวรบเจครมุ ญิ กเาตรบิ เจโตรขญิ อเตงพิบืชโตในขสอภงพาพืชใปนลสอภดาเพช้อืปจลลุอินดทเชรือ้ ียจ์ ุลินทรยี ์ ควบคุมสคภวาบพคแมุ วสดภลา้อพมแวลดะลน้อามชแน้ิ ลสะ่วนาขชอ้นิ งสพว่ชื นทข่ีนอางมพาชืเพทาี่นะาเมลาี้ยเงพในาะอเาลห้ียางรใสนงัอเาคหราระสหงั ์ เคราะห์ ……X…2….ฮ…ารX์เ…บอ2ร.ฮแ์ าลรนเ์ บดอ์นรา์แเอลานเดซน์ลาลเพ์ อชืาเพซลียลงเพ์ ซชืลเลพ์เยีดงียเวซมลาลเเ์ลดย้ี ยี งวสมาามเาลรี้ยถงจสะาแมบาร่งถตจัวแะแลบะเ่งจตรวั ิญแเลตะิบเจโตรไิญปเเตปบิ น็ โพตืชไปเปน็ พชื ต้นใหมท่ ตี่สน้ มใบหูรมณท่ แ์ สี่ ลมะบสรู าณม์แารลถะเสลาย้ี มงาเซรถลเลล์พ้ียชื งใเซหล้เปลน็พ์ ตชื น้ใหพ้เชืปทน็ ส่ี ตม้นบพูรืชณท์ไส่ี ดม้ บรู ณ์ได้ ……X…3….ส…ารXอ…อ3ก.ซสนิารเปออ็นกสซารินตเปวั เ็นดสยี าวรทตชี่ ัวว่เดยียกวรทะตช่ี นุ้่วยกการเะจตรนุ้ ิญกเาตรบิ เจโตรไิญปเเตปิบ็นโพตืชไปตเน้ ปใ็นหพมืช่ ต้นใหม่ ……√…4.…ก…าร√เ…พา4ะ.กเลาร้ยี เงพเนาะ้ือเลยย้ี่ืองพเนชื เื้อปเยน็ ่ือกพารชื ขเปยน็ายกพารันขธยุ์พาืชยทพ่ีมันีคธวุ์พาืชมทส่ีมาคี ัญวาใมนสกาครญัใชใพ้ นื้นกทาร่ขี ใยชาพ้ ยน้ื พทนั ีข่ ธยนุ์ า้อยยพันธนุ์ อ้ ย ทาให้การทบารใหิ ้การาจรดับกริหาราดร้าจนัดวกางรแดผา้ นกวารงแผผลนิตพกานั รธผ์ุพลืชิตแพลนั ะธก์ุพาืชรจแัดลจะากหารนจ่าดัยจปารหะนสิทา่ ยธปภิ ราะพสิทธภิ าพ ……X…5….ก…ารXเ…พ5าะ.กเลารี้ยเงพเนาะ้ือเลยย้ี่ืองพเนชื ชื้อว่เยยื่อผพลืชิตชต่ว้นยพผืชลใิตนตสน้ภพาพืชใทน่มี สีเภชอื้าพแบทคี่มทีเชรือ้ ีเรแียบคไทวรเีัสรยี ไวรัส ……√…6.…ก…าร√เ…พา6ะ.กเลารย้ี เงพเนาะื้อเลยี้ย่ืองพเนืชเ้ือปเยน็ ื่อกพารืชขเปย็นายกพารนั ขธยพ์ุ าืชยทพช่ี ัน่วธย์พุ ในชื กทาีช่ ร่วเยกใบ็ นรกกั าษราเกเชบ็ อื้ รพกั ันษธาก์ุเชร้ือรพมขันอธุก์งพรรืชมเพขรอางะพชื เพราะ ไม่เปลืองไพมน้ืเ่ ปทล่ีแือลงะพชนื้ ่วทย่แีในลกะาชร่วปยรในบั กปารรุงปพรนั บั ธปพ์ุ รืชงุ พันธพ์ุ ืช ……√…7.…พ…ชื ท√…ที่ 7าก.พาืชรทเพ่ที าาะกเลารีย้ เงพเนาะอื้ เลยยี้ื่องไเดน้คื้อือเย่ือกไลดว้ ้คยือ หกนลอ่ ้วไยมฝ้ หรั่งนอ่ ไมไ้ฝผร่ ง่ั เบญไจผม่ าเศบญกจรมะาเจศียวกรฯะลเจฯียว ฯลฯ ตอนท่ี 2ตคอานชท้แี ่ี จ2งค:าใชห้ีแน้ จกั งเร:ียในหเ้นขักยี เนรคียานตเขอียบนลคงาในตชออ่บงลวง่าใงนทชก่ี อ่ างหวนา่ งดทใหกี่ าด้ หว้ นยตดนใหเอ้ดง้วยตนเอง 1.ใหน้ กั เ1รยี.ในหบ้นอักกเรปยี รนะบโยอชกนป์ขรอะงโยกชารนเข์พอางะกเลารี้ยเงพเนาะื้อเลยี้ยือ่ งเนื้อเยื่อ 1. การขย1า. ยกพารันขธยุ์พาชื ยพเพนั อ่ื ธใุ์พหชื ไ้ ดเ้ตพ้นอื่ พใหืชไ้จดาต้ นน้ วพนืชมจาากนอวยนา่ งมราวกดอเยรา่ว็ งรวดเรว็ 2 . การผ2ลิต. พกาชื รทผีป่ ลรติ าพศชืจทากป่ี โรราคศจเนาือ่กโงรจคากเกนาอ่ื รงเจพาากะกเลาร้ยี เงพเนาะื้อเลยย้ีือ่ งพเนชื จ้อื ะเยต่อื อ้ พงอืชยจใู่ะนตสอ้ ภงอาวยะใู่ นปสลภอาดวเชะ้อืปลดอังดนเน้ัชอ้ื พืชดทงั นี่ ้ัน พชื ที่ ไดจ้ งึ เปน็ ไพดืช้จทงึ เี่ปรน็ าพศชืจทากี่ปเรชาือ้ ศใจดาๆกเชือ้ ใดๆ 3. การป3รับ. กปารรุงปพรันบั ธปุ์พรชื ุงพปันระธโุ์พยชื ชนป์มรหะโายศชานล์มทหไ่ี ดาจ้ศากลกทาีไ่ รดเจ้ พาากะกเลารี้ยเงพเนาะ้ือเลยยี้่ืองพเนืช้อื คเยือ่ือกพาชื รปครอื ับกปารรงุ ปพรนั ับธปุ์พรืชุงพันธพ์ุ ืช สามารถสรา้ามงาพรนัถธส์ุพร้าืชงตพ่านั งธๆุ์พชืไดต้ตา่ างมๆควไดาม้ตปามรคะสวางคม์ประสงค์ 4. การผล4ติ. สการทผลุติตยสภาูมริ ทกุตาริยเภพูมาิะกเลารยี้ เงพเนาะ้ือเลยี้ยื่องพเนืชส้ือมเยนุ ่ือไพชืรสตมา่ งุนๆไพแรบตบ่าเงซๆลแลบแ์ ขบวเซนลลอแ์ยขสวานมลาอรยถผสลาติมสาราถรตผา่ลงติ ๆสารตา่ งๆ ได้ เช่น ผไดล้ติ เสชาน่ รใผชล้เติปสน็ ายราใฆชา่้เปแ็นมลยางทฆ่าใี ชแท้มาลงดท้าใี่ นชกท้ ารงเดก้าษนตกรารผเลกิตษยตารรักผษลิตาโยราครใักชษ้ทาาโงรดคา้ ในชกท้ ารงแดพา้ นทกยา์ แรแลพะผทลยติ์ แสลาะรผลติ สาร ทท่ี าใหก้ ทุ้งล่ีทอากใหค้กราุ้งบลอทก่ีใชค้ทราบงกทา่ีใรชป้ทราะงมกงารประมง 5. การศึก5ษ. กาทาราศงชึกีวษเาคทมาี งสชรีวรเวคทิ มยี าสรแรี ลวะิทพยันาธแุศลาะสพตนัร์ธเุศนาื่อสงตจรา์กเกนาอื่ รงเจลาย้ี กงกพาืชรใเนลอ้ียางหพาืชรใสนงัอเาคหราระสหงั ส์ เคามราะรถหส์ ังาเมกาตรถสงั เกต การเปลีย่ กนาแรปเปลลง่ียไดนง้แ่าปยลแงลไะดช้งัด่ายเจแนละชดั เจน 6. การอน6.รุ ักษารเ์ ชอื้อนพุรกันษธุพ์เชืชอื้ )พเนัปธ็นพุ์กืชาร)เเกปบ็ น็ รกักาษราเกพ็บันรธักพุ์ ษชื าพคันอื ธเพ์ุกชื็บแคคอื ลลเกัส็บขแอคงลพลชื สัทขี่ออุณงหพภืชทมู ิ่ีอ-ุณ19ห6ภอมู งิ -ศ1า9เซ6ลอเซงศียาสเซลเซยี ส ควบคุมโดคยวบใชค้ไุมนโดตยรใเชจน้ไนเหโตลรวเจสนาเมหาลรวถเสกา็บมไาวร้ไถดเ้ กป็บนไเวไ้ลดา้เนปาน็ นเวแลลาะนไามน่มีกแาลระกไมล่มายีกพารันกธลุ์ ายพนั ธุ์

536 536 519 536 534 536 536 536 แนวคาแตนอวบคาตอบ 534 ใบกจิ กใรบรกใมบจิ ทกี่ ริจ2รกเมรทรอื่ มี่ง2ทกี่เา2รรือ่ เสงรแืบอื่ กนพงาวนัรกคสธาาืบุ์แรตสบพอบื นับพไธมแุ์ันอ่ บธา์แุบศบไยั มบข่อไอมางศอ่ พัยาืชขศยัอหขงพอนงืช่วพยืทชห่ีน6หว่ นยท่วย่ี 6ที่ 6 รายแแวผชิผรนานาวกกยริทาาแวารยใริชผยบจจาแานวัดศกัดผวชิกิจกากนิทาาสกาากวยรรตรจิาทาเเรรรรรศัดยม์พยียีจากทน้ืนัดสศา่ี ฐรกรตร2าูท้าทู้เาสรรนเรี่์พี่ตรยี77เรอื่ื้นรนเเรพ์รียงฐรเอห่ือ่ืนรื้นาทู้ กงงัสื่อนรฐี่า7วทู้งารคคเิชี่นสรร7ววาคหืบอ่ื าาวเงัสพรมมรวาหว่อืันสส2มคิชัสงาธา1สวาวคค์ุแ1�ำาิชคัญบัญ0คมวาวบ1ขัญขส2าไอาอ1วมมขภคงง12สอ่อเเัญา01ทาทางค1คศขเคคเท0ัญรัยอโโคน1นยีภขงขโนเโาอทอนลลคทภงงคยโยเพา่ีเลรีกโีกทคืชน1ยียาาคเนีกโรรรโลเยเีทาชหนพพยรน้นัี่นโีกาาเลทม1่วพะะาย่ียธัเเราลลีกยท1เชะพย้ีาย้ีมเี่น้ั รลง6งาศชมเเเ้ียะพึกนนน้ัธเงษลอื้ือ้ายมเนะเีย้าเมัธยยเปงื้อศยลอ่ือ่ืเีทเมึกนีย้ ยี่ษศง้ือ่ือเกึ1าเนยปษอ้ื่ ีทาเปย่ี ่ือีท1ี่ 1 รายรวาิชยาววิชิทายวาศิทายสาตศราพ์สน้ืตฐร์านรหัสรหวสัิชวาิชวา21ว1201110ภ1าคภเารคยี เนรทยี น่ี 1ที่ ช1ั้นมชธั น้ั ยมมัธศยกึ มษศากึ ปษที าี่ปีท1ี่ 1 คคาาชช้ีแแี้ คจจคางงาช1ช1้แี ..ีแ้จใใหหจง้นงน้ 1กักั 1.ใเเ.หรรใหียยี้นนน้นักเเกัเขขรเยีียียรียนนนนผผเขเังังขยีคคียนววนาผามผมังคัคงคควิดิดวาเเททมามคคคคิดโโนนิดเทโโเลทลคยยคโนกีีกโนาาโลรรโลเยเพพยกี าาีกาะะราเเเรลล1พเ.ี้ยี้ยพานงงะาาเเสะเนนลาเรื้อือ้ล1ีย้ ล.เเ้ยีงะยยนลเงา่ือื่อนาเสยนขข้อืาเรอ้ืออขเลย้มงเงะยขื่อพพลน้่อืขาชืชืชยขอนเอขิดงม้ตพงข่าพชืน้งชืชๆนมิดาตผา่ สงมๆกันมาคผ่อสยมกๆันกควอ่นยใหๆ้เขก้าวกนันให้เขา้ กนั 1จ.นนหามสดาครจรลนบะหทลมกุาดยชเคนขริด้มบขทน้ กุ ชชนนดิ ิดตา่ 5ง 3ๆ6มาผสมกนั ค่อย5ๆ36กวนให้เขา้ กัน อาหารแอขา็งหแาลระแอขา็งหแาลระเอหาลหวารเหลว จ2น.หเตมมิดนครา้ 2บต.าทเลตุกมิ ชแนนลา้ิดว้ ตเตามิลนแา้ ลกว้ ลเตัน่ มิใหน้ไ้าดกป้ ลรั่นมิ ใาหต้ไรดท้ป่ตี ร้อมิ งากตารรทปี่ตร้อับงกpาHรป5ร.6บั –pH5.75.6 – 5.7 อาหารแขง็ และอาหารเหลว แนวคาตอบ 23.. เนตามิ วนุ้นา้ ผ3ตส.ามนลกาแวบั นุ้ลอว้ผาเสหตมาิมรกนทบั า้ ่เีอกตาลรหีย่ันามใรหทห้ไดเี่ลต้ปอรรมียมิวมาุ้นตหใหรลท้ลอ่ีตะม้อลวงานุ้ กยใาหร้ลปะรลับายpH 5.6 – 5.7 ใบกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง การสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศยั ของพืช หน่ว34ย..ทนบี่าร6วรุ้นจุลผ4งส.ใมบนกรขบัรวจอดลุาองหาใาหนราขทรวีเ่ใดตนอรปียารหมิมาาหรตใลรนอเปทมร่าวิมนุ้ ๆาใตหกร้ลันเะทลปา่ าดิ ๆยฝากใันห้สปนดิ ิทฝาให้สนทิ คาชแี้ จงร1า.ยใหแว้นิชผกัานเวกริทียายรนจาเขศัดชชยีกกานกนนาสาาิดดิ รรผตรขขสสเังรออรืบชกบืคพ์ งงียกนาพวพออน้ืนราาดิันาันาฐสรรมขหหธธสาทู้ืบคอด์ุาุ์ดาืบนพี่ดิรงรว้ว้7พอเเันเยยเพทพันารรธลลคาาหหอ่ืธด์ุาาะะโุ์ดงาัสต้วตนเเร้วยลลน้น้ โเยคล้ีิช้ียลพลาวงงยาาเตาเากีะนนตน้มเาวอื้้อืลนรส2เเี้ยเยยา1พงคือ่ือ่1เานพัญพ0ะอื้ชืชื1เขลเยอย้ี ภือ่งงเาพเทนคืชคื้อเรโเยนยี ือ่นโลขทยอ่ี กีง1พารืชเชพ้ันามะ4ธัเ.ลยบีย้มรงรศเวเวจเพพึกิธธินลุ าางีกีกษ้ือใะะนาาาเเเขยรรปลลววเเเ่ือพด้ยี้ยีตทีตธิ องงราร่ีีกาเเยียีะหาน1นเามมรล้ืออ้ืรเออใเย้ีเตนยายาปงรหหื่อื่อรเยี นิมพาพามาร้อืรืชตชือเรยาเทห่ือ่าพาๆรืชกนั ปดิ ฝาให้สนิท คาช้แี จง 1.ใหน้ ักเรราียยนวเขิชแียาผนวนผิทกังยาคารวศจาาใัดมสบกคตกาิดรจิรเพ์ทเกรรืน้คียรโฐนนมารโทน้ทูล่ี ยี่27รกี เหาเรรรัสอื่ เอื่ วงพงิชากาะาคเรลววสยี้า2บืงม1เพสน1านั้อื0คธเ1ยัญแ์ุ ่อื บขภขบอาอคไงงมเเพทรอ่ ชืยีคานโศนทัยโขี่ ลอ1ยงกี พชาืชรนั้ เมพหัธายนะมเ่วลศยยี้ ทึกงษี่เ6นาือ้ปเที ยี่ื่อ1 534 534 รแขง็ และอาหารเหลวประโยชปนรข์ ะอโงยกชานรข์ องการ 1. นาสารละลายเขม้ ข้นชนดิ ต่าง ๆ มาผสมกัน ค่อย ๆ กวนให้เข้ากนั การสืบพนั ธุด์ ว้ ยลาตน้ ปเพราะะโยเลชีย้ เนพง์ขเานอะื้องเลกเยย้ี าอื่ งรเนื้อเยอ่ื เพาะเล้ียงเนือ้ เยอื่ จ23น..หกกเนตมาาาิมดวรรนคุน้ เเา้รผพพตบสาทกาามลกุะกะาชแบัเเรลนลลอเว้ิดาพ้ยีี้ยเหตงงาาิมเเระนนนทเา้ ่เีลอ้ื้อื กตเ้ยีลเรยยยี่นั งมื่อื่ใอเหนพพห้ไดลอ้ื ืชืชป้อเมรยมิว่ือาุน้ ตพใหรืชทล้ ตี่ะลอ้ างยการปรับ pH 5.6 – 5วว.7ิธิธกีีกาารรวเเลลิธ้ยี้ยีีกงงาเเรนนเล้อื้อื เ้ียเยยง่ือื่อเน้ือเย่ือ 4. บรรจุลงในขวดอาหารในปรมิ าตรเทา่ ๆ กนั ปิดฝาให้สนิท คา ้ชีแรแจางผยน1ใิว.กใบชาห้าิกรวิจนััจกกทดเรยกีรราายมรศนเา่ีทเรีสขีย2ยตนเร์น ู้รร่ืผัื้พที่องนงค7ฐวกาเาาร่ืนมรอ ิคืสงรดบเัหคัพทสวคนิวโาธ์ุชนมแาโสบลาวยีคั2กา1ญร1ขเ0อพ1งาเะเภ ้ีลายคงเเ ีรนื้ยอเน ่ยือของ ืพช การ ืสบ ัพนธ์ุ ้ดวยลา ้ตน ขยลลรลยชับติติ้ยี ชนางพสปกยข์นเานืชรอาพดิ รอ้ืุงรทงันขทพกเสีป่ยอธาุตนับื่ือรร์ุพงิยธพาอืชภุ์พศนัามูจชืหธิา์ุดา1524แ351แ324กรว้.....ล.....ลกกกกกกกโกเยกะพกะราาาาาาาาลคพาพาารรรรรรรรารระผศปผนัผศผปันต25แ143ขขเลลึกลลกึธรธรล.....้นลยยกกกกับุศติิตับษศุติติษี้ยกะาาาาาาพาสปพาสปายงพยารรรรสสทาทาเืชรืชรรพพผศปผันนตรตรงุงุาขทาทันลลันกึธรทท้อืพรพรงงยี่ป่ปีับุศิติตษธธ์ชเ์ชุตุตนันัายรอ1โร์ุรพ์ุพพาสปีวาีวยิยิยด.ธะธาณุื่อานสทาเชืเชืืชรภยภพยุ์พ์ุพศคศคพาตรหุงาปทะมูมูขนัจชืมจืชมทพรืชภงเร่ีปวิิาวาธี์ชีตุบัมูนัดสลสกรกุ์พีวสภยิิเกธากรารโโลเืชภาภทุ์พรารีรศครีาีย้ยาคครใ่ีวูมวรจชืมงพใหดทิทิเนเิาีน้แแพสแูกหยยสวื้อารล้อาโาดงเรีรยะงปเลคนปวื่อเรอ้ ลิทไระ้ือมปเย้ีะมยเลใวมงยหาาีย้าาเณเ้่อืรร14อโเ32รกรรอ4โ1เ32กรงนณหงขขดด........ะะาบะะารรุณนรุณนมือ้้มกกเ1้มเกกยยยยยหะยหะะนนนาา22หาหาาขาาปขเงปงะถะถวหวข5ชขอื้ือ้ยะรรารรา–ภอภอเรเ่าาร่าาว้ันวเสเยวอเนวยเวนื่องบังงงบมูังง1ยมูจยจดดลใลรร14อโเ32กรา้มงา้แไก่าแไ6กพอ่ืรสภขิือ่รนสภิดเก....เกศวยะะาวยาารณุโนสงาสลาลญิญิชภพม้กเกภพายหยด้เาทเ้ยหทพาชืะาพารนรงกางพี้ยพ้ียว่ัหยยาาขาปงเืชายเืชะ้อเถรี่ใวเรใ่ีืชขืชเว้อืซงตโงาตรรลื่อาพใล1ือ่หพใ1ภอหทเททรพา่างดมดอเวอเนนเ,ลยเวิบน,ิธรบิี้ยเ้ยีเน0เงบน0ัแ้งงแูมแ้แยจ่ีเั่วเ่ีดปงอปอูแลลแูห้าเาห0ลแีกไ0กงโลงโสวอ้ืสวไ่ือร้อืสภิซเกตกว0ยน็ตก0ี้ยา็นตะล้อ/สี้ยลปอ้า้ยีลดาญิดงเงเภพยีา้เทจพาจงยรข–รยรขเ–งงงปงงพปีย้เปลเรลวสยสสาเลืชเาวาเรวีใ่นปคอื่นป้อคชื่ือ้อน3งตนั3รเ้อรรลอ้ื่อังพใ1งัหกทกจจี้ยดวม,ตไอวรเม,ไรนะเอ้ืะ,ับเอื้บิ0ือ้ม0มีย้เน0ปขแ้แดปขกดเกร่เีเะระคปูลอง0ูลมูแ0มรห0เลเลใงโเลใสววเอ้ืวูเตวู0มตว0มยวเยหตก0ยน็หายีปตาปลอ้้ยีดด้ียดนงาี้ยเากกาาื่อาณlณจlเ้อ่ืยรข้เอื่–ลมงงลปuuงเเงลเสณหมงณหางาื้อาวลนปคลอื่อ้xบxยบรี่ยร่ี3รอ้อรังรมกมจ11ีย้เี้ยวม,ไรนะนนะะเือ้นเเ0ม22ยา2ปขาดกาเปรงปะงูล0มหอห5ชอ5ชเลใะะหเวื่เอ–เูต–ว0มลลยหานปานัน้า้ันสอวสอวดี้ยากพาาย1่ีย1ี่ณlหห้เือ่อื้อลใ้ืใuมงมงงเ่า6า่ณห6งานรนนนลาศาxบเศชืยเรี่โโงรงยมชยชแร1แรหด้ยีหดาานะนเ9ชล1ตกก22อ่ืั่วใ่อืาว่ัใ32ปปปเงยเย้อ5.้อหอ5้นิหา้ช้อหซ..ซะโาโาเเเ–นลทลลทงงงมพนม%พานต้ันงสมลสอมวลรรเเนยงา1่ีงว่ัหก่วังวงอก้ืลอื่ใา่วล่อืเมท่งเ่ทา่6ชเนไซไนา้ซาาชศบนเแบ้ยีลธิยี้ลพโ/ปุก/งปกุิ้นยใชรยีแรยีหดิน้าตงงันพงงันีกหกือ่ปปอวือ่สั่วใวสปสเเปย2เปอ้2สง่ทหืชทส้ลาซนันนโานัรอเว่รชลทงล่วลสมพสะกึดมรับลกึับนื้อรอื้กเนิ้งนูก่ัวูกคปังคปัลอ่ือเแเท่เเพไซสลใยพใยววบดยี้ดาลร/ปุกนนชืยี่วาือ่า่ือดย้ีืชงางงานั ปทวนมมสตเปห2หจงทนนัรี่ตพงึุ่มล์์เสกึับือ้ผ้อนชืกูใคัปเิวนงอ้ืใยวดตบกนแาื่อเาัดารอยมหริเสลื่วอม์ ว่ส9ชล1ตตนเ119ชสลตนตเ1กณ3246532465ชชา5.5น.55้ินา้ัง้อ้อน้ิง้าั้อ้อา้้า..........นือ้นอื้นเงเทง%นกนตนตใ%นกงงในนตตสงงฮสคคจนจชานชาอกกกกลไ่ีดัลากัดาาว่าอาา่วรรชุลชุล้ปเม้ปเา้้ากาาทาาชชทนั่นชชแ่ันชนแชพลาพา้ินนิ้นิใินใรร่ารรานิ้นิ้น้ิิ้นีะตนิ้ทีพะติ้นท์พหลช9ตส1ตนเ1หือ่ื่อแอกสแอทกส32465ทชห.55สสห่งสส่งสนี่น้ิสั้งา้อ้อชืี่น้สา้ชืล้สล.....ลอ่วลคอว่คนรอื้รชชเ่่ววง์่ว่วว่%น์กนตนใตว่งงงึะสดึ่งะดน้วนคกว้ยีบีกยีบีจ้นินชาน้ินนนนกกนฆนฆลักดอาาา่วอแวแวพรท์พท์ชลุคคป้เส้าสพพาาพพท่าชชพั่นน่าพแชาาราาพรา้นิีเ่ืชินใีบ่ีเืชบีรรว่าเว่เดงิน้้นิดงชืืชงีะตตชืืชิ้นงทพตชืชืหอื่ชทแอกสทนทบนชบตชตจมหสสมจ่งรตรสตี่นืช้อื้สลื้อลอ่วคี่ตนิ้พตี่น้ิรพงึนชึงนียมุ่ยีมุ่าวว่่า์าว่า่งึะดนว้กผยีบีผอ้้อสน้ิเส3ืชมอนนเม3ืชมอใมนใฆอแขวขวิพ์ทนวินงคง่วว่าสไาขไพพขคค่าพาารยตบกยตบกวนวแ่เีหนชืีบแห่วเนนดรงรืชชืงตชื่าา่ดัาน้ชัดารน้รอทพอนพาบชางั้ต้ังาจมใใรรตรเิเิส้ือสาารลรลน่ีตน้ินพดวชืดึงนวชืียมุ่มมาานว่นว่กผกณอ้ณสทสสทเ3ืชมอมใาานนลลขอิวอนงาา่ว่ีา่ีไขนคนทา้ท้าย1ตบก1ฮรวฮรนแหนรงอ0งอ0่า่ไีฆ่ไีัดาฆ้นอรออพาใง้ัใมามกใกร–ิเ–า่สลนา่าลนรลนดวชื่ม่ น่ว์์กณสทานลอา่ีนทา้1รฮงอ0่ไีฆอใมก–า่ลน่ ์ 4. นาชิ้นสว่ นพืชมาเขยา่ ในสารฆา่ กษาทางชวี เคมี สรรี วทิ ยา เขม้ ของแสง 1,000 – 3,000 lux เชือ้ จุลนิ ทรียท์ ีเ่ ตรียมไว้นาน 10 – ธศุ าสตร์ 2. เนื้อเยือ่ พชื ท่ีเลีย้ งควรเปลย่ี นอาหารใหม่ทกุ 2 สัปดาห์

537 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 8 เรอื่ ง ประโยชนข์ องการขยายพันธ์ุพืช เวลา 1 ชัว่ โมง กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง การสบื พนั ธ์ขุ องพืชดอก ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1 ขอบเขตเนอ้ื หา รายวิชาวิทยาศาสตร์ ส่ือ/แหลง่ เรยี นรู้ 1. ความสาคัญของการขยายพนั ธุ์พชื ต่อ กิจกรรมการเรียนรู้ 1. Power point ประโยชน์ของการ การดารงชีวิตของมนษุ ย์ ข้ันนา ขยายพันธุพ์ ืช จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตัวช้วี ดั 2. ใบกิจกรรมปปรระะโยโยชชนน์ขข์ อองงกกาารรขขยยายายพพันันธธุ์ ์ุ ดา้ นความรู้ 2. ครูนาเขา้ สู่บทเรียนโดยการนาเสนอครโู ดยใช้รปู ภาพและครูใช้คาถาม ต่อไปน้ี พืช 1. บอกประโยชน์ของการขยายพนั ธุใ์ นการ ภาระงาน/ชิน้ งาน นาความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ภาพที่ 6.8.1 ปจั จัยส่ี ด้านคณุ ลกั ษณะ - ภาพท่ีนักเรยี นเห็นของพชื ความสาคญั ของการขยายพันธุพ์ ชื ดา้ นใด 1. ใบกจิ กรรมปปรระะโยโยชชนน์ข์ขอองงกกาารรขขยยายายพพันันธธ์ุ ุ์ (ปัจจัย 4 สาหรบั มนษุ ยโ์ ดยทางตรง และทางอ้อมทาใหม้ นุษยม์ อี าหาร ท่อี ยู่ พชื 1. ตะหนกั ถึงประโยชนข์ องการขยายพนั ธ์ุ อาศยั เครื่องน่งุ ห่มและยารักษาโรค) พืชเพ่ือนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน - ความสาคัญของการขยายพันธ์พุ ืชมีอะไรบ้าง(การขยายพันธ์พุ ชื ทมี่ ตี ่อ ตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม,การขยายพนั ธุ์พชื ที่มีต่ออาชีพเกษตรกรรม, การขยายพนั ธ์พุ ชื ที่มีต่อต่อประเทศ 520 537

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 8 เรือ่ ง ประโยชน์ของการขยายพนั ธพุ์ ืช 538 กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง การสบื พันธ์ุของพืชดอก รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ช่วั โมง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ขน้ั สอน ครอู าจสอนโดยให้ทากจิ กรรมจากสถานการณ์ทคี่ รูกาหนดให้เชเช่น่น (1) ถ้าตอ้ งการปลูกมะมว่ งเขียวเสวย อกรอ่ ง นา้ ดอกไม้ ที่มรี สชาติ เหมือนเดิม แต่มพี ื้นทจ่ี ากัดที่สามารถปลกุู ไดเ้ พียงตน้ เดดียยี วว นกั เรยี นจะมีการขยายพนั ธด์ ้วยวิธีใด (การสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ) (2) นักจะสรา้ งต้นไม้แฟนซี เชน่ ต้นเฟ่อื งฟา้ หลากสี ได้จากวธิ กี าร ใดบ้าง (การสบื พนั ธุ์แบบไม่อาศัยเพศ) (3) ถ้าตอ้ งการปรับปรุงพนั ธสุ์ ม้ โอใหม้ ีเน้อื สีแดง ผลขนาดกลาง แต่ พนั ธท์ุ ี่นักเรียนมีคอื พันธุส์ ีขาว ผลขนาดเลก็ นกั เรียนจะมแี นวคดิ ในการปรับปรุงพันธอ์ุ ยา่ งไร (การสบื พันธ์ุแบบอาศยั เพศ) 1. ครใู ห้นกั เรียนดู Power point ประโยชนข์ องการขยายพนั ธุพ์ ืช และศึกษา ใบความรู้เร่ืองประโยชน์ของการขยายพันธพ์ุ ืช 2. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบกิจกรรมที่ 1 เรอ่ื ง ประโยชนข์ องการขยายพนั ธพุ์ ืช โดยให้นักเรียนเขียนคาตอบลงในชอ่ งวา่ งที่กาหนดใหด้ ว้ ยตนเอง 3. ครูให้นักเรียนทาใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื ง ประโยชนข์ องการขยายพันธ์พุ ืช โดยให้นักเรยี นเติมข้อความลงในเวนนไ์ ดอแะกแรกมรมตาตมาคมวคาวมาคมิดคขิดอขงอนงกั นเรกั ียเรนียน 521 538

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 8 เรือ่ ง ประโยชนข์ องการขยายพันธ์ุพชื 539 กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ เร่อื ง การสบื พันธ์ขุ องพืชดอก รายวิชาวิทยาศาสตร์ เวลา 1 ช่ัวโมง ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 4. ครใู หน้ กั เรียนทาใบกิจกรรมที่ 3 เรอื่ ง ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พชื โดยให้นกั เรียนอ่านข้อความแต่ละข้อแลว้ พจิ ารณาว่าขอ้ ความนัน้ ถูกหรือผิด ถ้าถูกให้ทาเครอื่ งหมาย √ ลงในข้อท่ีเห็นว่าถูก ถ้าผิดใหท้ า เครือ่ งหมาย X ลงในข้อทเ่ี ห็นวา่ ผดิ ข้ันสรุป 1. นักเรียนและครรู ว่ มกนั อภิปรายและหาข้อสรปุ จากการทาใบกิจกรรม ประโยชน์ของการขยายพันธุ์พชื โดยใช้แนวคาถามต่อไปน้ี 1.1 ความสาคัญของการขยายพนั ธพ์ุ ืชที่มตี ่อมนุษย์ (การเพิ่มจานวน ต้นไม้ เป็นการเพิ่มแหลง่ ปัจจัย 4 สาหรบั มนุษย์โดยทางตรง และทางอ้อมทา ให้มนุษย์มีอาหาร ท่ีอย่อู าศยั เครือ่ งนุ่งห่มและยารักษาโรค) 1.2 ความสาคญั ของการขยายพนั ธ์ุพชื ที่มีตอ่ ตอ่ ประเทศ (กกาารรเเพพิ่มมิ่ จานวนตน้ ไม้ ทาใหเ้ กิดอาชีพต่าง ๆ มากมาย เกดิ สนิ ค้าทที่ า รายไดใ้ หแ้ ก่ ประเทศ ทาให้เศรษฐกิจของประเทศมั่นคง เชน่ การขยายพนั ธ์ลุ าไย ปลูก เปน็ สวนลาไยจานวนมากมีผลผลิตออกจาหน่าย กจ็ ะเกดิ อาชีพตอ่ เน่ือง เชน่ คนงานเก็บลาไย โรงงานทากล่องบรรจุ รถขนส่ง โรงงานอบลาไยแหง้ บรษิ ัท จัดสง่ ออกจาหน่ายตา่ งประเทศ ฯลฯ) 1.3 ความสาคัญของการขยายพนั ธ์ุพืชท่ีมตี ่ออาชพี เกษตรกรรม (การ เพม่ิ จานวนต้นไม้ ทาให้เกิดรายได้ทั้งทางด้านผลผลติ และรายไดจ้ ากพันธไุ์ ม้ท่ี 522 539

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 6 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 8 เรือ่ ง ประโยชนข์ องการขยายพนั ธพ์ุ ืช 540 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ เรื่อง การสืบพันธข์ุ องพืชดอก รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ เวลา 1 ชัว่ โมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 จาหน่ายโดยตรง นอกจากนนั้ ยังเปน็ การเพมิ่ ปริมาณอาหารสตั ว์ใหเ้ พียงพอ กบั การเล้ยี งสตั ว์ เปน็ การเพ่ิมรายได้อีกประการหนึ่ง ) 1.4 ความสาคัญของการขยายพนั ธุ์พืชที่มีต่อตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม (การเพิ่ม จานวนต้นไม้ ย่อมทาใหเ้ กดิ ความร่มรนื่ ต้นไม้ช่วย ยดึ เกาะดนิ ไม่ใหเ้ กดิ การ พังทลายของหนา้ ดนิ เป็นแหล่งทรพั ยากรอันมีคา่ ทาให้อากาศบรสิ ทุ ธ์ิ ฯลฯ) 1.5 ความสาคญั ของการขยายพันธ์ุพชื ท่ีมตี ่อทรัพยากรธรรมชาติ (ทาใหท้ รัพยากรธรรมชาติทมี่ ีอยูอ่ ย่างจากดั เกิดคุณค่า มากย่งิ ข้ึน เชน่ ทด่ี ิน วา่ งเปล่า เม่ือปลูกพชื ก็ทาให้ท่ีดินนนั้ มีคุณคา่ มากย่ิงกวา่ ปล่อย ทิ้งไว้เปล่า ๆ) 2. ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปเร่ืองประโยชน์ของการขยายพันธ์พุ ชื 523 540

541 524 541 การวดั ผลและประเมนิ ผล ประเด็นการประเมนิ วิธีการวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ - ใบกจิ กรรมที่ 1 เร่ือง ทาใบกิจกรรมไดค้ ะแนน 1. บอกประโยชน์ของ - ทาใบกจิ กรรม ประโยชน์ของการ ร้อยละ 60 ข้ึนไป ขยายพันธุพ์ ชื การขยายพนั ธใุ์ นการนา - ใบกิจกรรมที่ 2 เรอ่ื ง ประโยชนข์ องการ ความรู้ไปใชใ้ น ขยายพันธพ์ุ ชื - ใบกจิ กรรมท่ี 3 เรอ่ื ง ชีวิตประจาวัน -ทาใบกจิ กรรม ประโยชน์ของการ ขยายพนั ธ์พุ ืช 2. ตะหนกั ถงึ ประโยชน์ ของการขยายพนั ธพ์ุ ชื เพ่อื นาความรูไ้ ปใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการประเมิน การประเมนิ ดีมาก (ผ่าน) ดี (ผ่าน) พอใช้ (ไม่ผ่าน) ปรบั ปรุง (ไมผ่ ่าน) คะแนนจากใบกจิ กรรม 8-10 6-7 1-5 0


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook