Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-06-คู่มือครู การงานอาชีพ ป.5

64-08-06-คู่มือครู การงานอาชีพ ป.5

Published by elibraryraja33, 2021-08-06 03:05:38

Description: 64-08-06-คู่มือครู การงานอาชีพ ป.5

Search

Read the Text Version

คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู (สาํ หรับครูผูส อน) เพื่อการจดั การเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชพี ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ (ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู (สาํ หรับครูผูส อน) เพื่อการจดั การเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชพี ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ (ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนธิ ิการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ก คาํ นาํ ดวยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รชั กาลที่ ๑๐ ทรงมงุ หมายใหการศึกษาบมเพาะ สมรรถนะใหแกผูเรียน เพ่ือสรางคุณลักษณะสําคัญ ๔ ประการใหกับคนไทย อันไดแก ๑) มีทัศนคติที่ดี และถูกตอง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่ม่ันคงเขมแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทํา ๔) เปนพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และ พระราชปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาตอยอด โครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดาน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อแกปญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรางโอกาส การเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนทุกเพศ ทุกวัย ผานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมจํานวน ๑๕ ชองสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตาง ๆ และผูสนใจทั่วประเทศ เพื่อใหประเทศไทยเปนสังคมแหงปญญา มีจติ อาสาในการสรรคส รา งและพฒั นาประเทศใหมนั่ คง การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา เปนการสอนออกอากาศในแนวใหม บันทึกเทปการสอนจากหองเรียนตนทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผานทางเว็บไซต www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมีคูมือครูและแผนการจัดการเรียนรูรายช่ัวโมงครบ ทั้ง ๘ กลุมสาระการเรียนรู ซึ่งครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรียนรูใหเหมาะสมกับชุมชน ทองถ่ิน วฒั นธรรมและบริบทของแตละโรงเรยี น คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ ฉบับน้ี เปนการปรับปรุงคร้ังที่ ๒ ซ่ึงดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ โดยความรวมมือจากคณะทํางาน ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจ ากมหาวทิ ยาลยั ศึกษานิเทศก และครูผเู ชย่ี วชาญ ท้งั ๘ กลมุ สาระ การเรยี นรูเพื่อใหครูปลายทางใชใ นการเตรยี มการสอนลวงหนา รวมทัง้ สามารถจดั เตรยี มเอกสาร ไดแก ใบงาน ใบความรู แบบฝกหัด เพ่อื ใหก ารจัดการเรียนการสอนเกดิ ประสิทธผิ ล นําไปสูก ารพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็กตอ ไป นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาท่ีสุดมิได ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงมั่นพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เพ่ือพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทย ใหเขม แขง็ สมดงั พระราชปณิธาน “...การศึกษาคือความมัน่ คงของประเทศ...” ขอพระองคท รงพระเจรญิ มลู นิธิการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ



สารบัญ ค คํานาํ หนา หนังสือรบั รองความรวมมอื การพฒั นาคูมือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ก เพอ่ื การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ข สารบญั ค คําช้แี จงการรับชมรายการออกอากาศดว ยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม จ คาํ ช้แี จงรายวชิ า กลุมสาระการเรยี นรู การงานอาชีพ ช ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ฑ คําอธบิ ายรายวชิ า กลมุ สาระการเรยี นรู การงานอาชพี ฒ ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ณ มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ช้วี ดั โครงสรางรายวชิ าการ งานอาชีพ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ ๖ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ งานบานนา รู ๑๙ ๓๓ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑ เร่อื ง งานบานและมารยาทในการทาํ งานบา น ๔๖ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เร่ือง เคร่ืองมือท่ีใชในงานบา น ๕๘ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๓ เร่อื ง การจัดการงานบานอยางเปน ระบบ ๗๐ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๔ เรื่อง การทําความสะอาดหองน้ําและหองสวม ๗๑ แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรอ่ื ง การใชพลังงานและทรัพยากรอยางประหยดั และคุมคา ๗๖ แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูท่ี ๑ ๙๐ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๒ เส้ือผาของฉนั ๑๐๓ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๖ เรอื่ ง การจัดเกบ็ ของใชส ว นตัวและการดูแลรักษาเส้ือผา ๑๑๗ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๗ เร่อื ง การซอมแซมเสื้อผาประเภทการดน ๑๓๐ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๘ เร่ือง การซักและตากเสื้อผา ๑๓๑ แผนการจัดการเรียนรูท่ี ๙ เร่อื ง การรีดและเก็บเสื้อผา ๑๓๒ แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรูท่ี ๒ ๑๓๗ บนั ทึกการเรียนรู (Learning Logs) ๑๕๒ หนวยการเรยี นรูที่ ๓ ชา งคดิ ซอ มแซม ๑๖๔ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑๐ เรอื่ ง งานชางและเคร่ืองมือที่ใชในงานชาง ๑๗๗ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑๑ เรอ่ื ง การซอ มแซมอุปกรณของใชใ นบาน แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เร่ือง ประโยชนและความปลอดภยั ในการซอมแซม อุปกรณของใชในบา น แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๓ เรอื่ ง การฝก ปฏิบตั ิซอมแซมอปุ กรณข องใชในบา น

ง หนา ๑๘๙ แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๑๔ เรอ่ื ง คณุ ธรรมในการทาํ งานชา ง ๒๐๐ แบบประเมนิ ตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๓ ๒๐๑ หนวยการเรยี นรทู ่ี ๔ หนนู อ ยนกั ประดิษฐ ๒๐๖ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๕ เรือ่ ง งานประดิษฐประเภทของใช ของตกแตง ๒๒๐ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑๖ เรอื่ ง สรางสรรคค วามคดิ ประดษิ ฐผ ลงาน ๒๓๓ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑๗ เรอื่ ง การประดษิ ฐกรอบรูป ๒๔๕ แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๑๘ เรื่อง การประดิษฐกลองใสด นิ สอ ๒๕๗ แผนการจดั การเรยี นรูที่ ๑๙ เรอื่ ง วสั ดใุ นงานประดษิ ฐท ี่มีในทอ งถ่นิ และภมู ภิ าคตา ง ๆ ๒๗๓ แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒๐ เรอ่ื ง งานประดษิ ฐท่เี ปนเอกลักษณไทย ๒๘๗ แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรทู ่ี ๔ ๒๘๘ บันทกึ การเรยี นรู (Learning Logs) ๒๘๙ บรรณานกุ รม ๒๙๐ ภาคผนวก ๒๙๘ ภาคผนวก ก แบบประเมนิ รวม ๓๐๗ ภาคผนวก ข แผนผงั ความคิด (Graphic Organizers) ๓๑๓ ภาคผนวก ค แบบบนั ทกึ การเรียนรู (Learning Logs) คณะผจู ดั ทาํ คมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู กลุม สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี ระดบั ประถมศกึ ษา

จ คําชีแ้ จง การรบั ชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ ใหบริการการจัดการเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จํานวน ๑๕ ชองรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการยอนหลงั (On demand) สามารถรบั ชมผา นชอ งทาง ตอ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา ท่ี Play Store/Google Play พมิ พคาํ วา DLTV - ระบบ iOS เขา ที่ App Store พมิ พคาํ วา DLTV หมายเลขชองออกอากาศสถานีวทิ ยโุ ทรทัศนการศึกษาทางไกลผา นดาวเทียม ๑๕ ชอ งรายการ รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา ชอง (DLTV) ชอ ง (TRUE) (ชว งเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๔.๓๐ น.) (ชวงเวลา ๑๔.๓๐ น. – ๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ชอง ๑๘๖ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ สถาบันพระมหากษัตริย DLTV ๒ ชอ ง ๑๘๗ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๒ ความรูรอบตัว DLTV ๓ ชอ ง ๑๘๘ รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๓ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ชอง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๔ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอม DLTV ๕ ชอง ๑๙๐ รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ ศลิ ปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ ชอง ๑๙๑ รายการสอนช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๖ หนาทพ่ี ลเมือง DLTV ๗ ชอง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร DLTV ๘ ชอ ง ๑๙๓ รายการสอนชนั้ มัธยมศึกษาปที่ ๒ ภาษาตางประเทศ DLTV ๙ ชอ ง ๑๙๔ รายการสอนชนั้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอง ๑๙๕ รายการสอนช้นั อนบุ าลปท ี่ ๑ รายการสาํ หรบั เด็ก-การเลยี้ งดลู ูก DLTV ๑๑ ชอ ง ๑๙๖ รายการสอนช้ันอนุบาลปที่ ๒ สขุ ภาพ การแพทย DLTV ๑๒ ชอ ง ๑๙๗ รายการสอนชัน้ อนุบาลปท ่ี ๓ รายการสําหรบั ผูสูงวัย DLTV ๑๓ ชอ ง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วังไกลกังวล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล DLTV ๑๔ ชอง ๑๙๙ รายการของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช DLTV ๑๕ ชอ ง ๒๐๐ รายการพัฒนาวิชาชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรียนระดับชั้นปฐมวัย ชวงเวลา ๐๘.๓๐ น. – ๑๑.๓๐ น.

ฉ การตดิ ตอ รับขอ มูลขาวสาร ๑. มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถมั ภ เลขที่ ๒๑๔ ถนนนครสวรรค แขวงวดั โสมนัส เขตปอ มปราบศัตรูพา ย กรุงเทพมหานคร โทร. ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานีวทิ ยุโทรทัศนการศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม ซอยหัวหิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตาํ บลหัวหนิ อําเภอหัวหิน จงั หวัดประจวบครี ีขันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗ – ๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอเรื่องเวบ็ ไซต) [email protected] (ติดตอ เร่ืองทวั่ ไป) ๓. โรงเรียนวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ อําเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ ๗๗๑๑๐ โทร. ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรยี นวังไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ งทางการตดิ ตามขาวสาร Facebook : มูลนธิ กิ ารศึกษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ช คาํ ช้ีแจง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชพี ๑. แนวคดิ หลัก หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาํ หนดสาระการเรียนรู จํานวน ๘ กลมุ สาระการเรียนรู ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนําความรูดานเนื้อหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝกทักษะใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๘ประการ ดังนี้ สมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสื่อสารเปน ความสามารถในการรบั สารและสอ่ื สารมวี ฒั นธรรมในการใชภ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพ่ือนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพ่ือใชใ นการตัดสนิ ใจ เกยี่ วกับตนเอง สงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญ ไดอยางถูกตอง เหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปล่ยี นแปลงของเหตุการณตา ง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูอยา งตอเนอ่ื ง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตา ง ๆ อยา งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือกและใชเทคโนโลยีการแกปญหา อยางสรางสรรคถูกตองเหมาะสม มีคุณธรรมดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อ การพัฒนาตนเอง สังคมในดา นการเรยี นรู การสือ่ สาร การทาํ งาน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพ่ือใหสามารถอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคมอยางมีความสุข ในฐานะเปน พลเมอื งไทยและพลโลก ดังน้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๒) ซอื่ สตั ย สุจริต ๓) มวี นิ ยั ๔) ใฝเ รียนรู ๕) อยอู ยา งพอเพียง ๖) มุงม่ันในการทํางาน ๗) รักความเปน ไทย ๘) มีจติ สาธารณะ กลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพ เปนกลมุ สาระที่ชว ยพฒั นาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะ พ้ืนฐานท่ีจําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพมาใชประโยชนในการทํางานอยางมีความริเร่ิมคิดสรางสรรค และแขงขันในสังคมไทยและสากล

ซ เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และมีเจตคติท่ีดีตอการทํางานในชีวิตประจําวัน ชวยเหลือ ตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจท่ีพอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิด ความมั่นใจและภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพ่ือใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง และสามารถดํารงชีวิตอยใู นสังคมไดอยา งพอเพียงและมีความสขุ หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการดานคุณลักษณะในแผนการจัดการเรียนรู ท่ีคํานึงถึง คุณลักษณะที่มุงเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีทักษะดานภาษาหลังการเรียนรู สอดคลองตามเปาหมายของ หนวยการเรียนรู มีเจตคติท่ีดีตอสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย และมีจิตอาสา ครูผูสอนควรปลกู ฝง คุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู เพ่ือใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค และเปนคนดขี องสังคม ๒. กระบวนการจัดการเรียนรู แนวคิดสําคัญของการจัดศึกษาท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีเปดโอกาสให ผูเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตาม ศักยภาพ การประเมินการเรียนรูจงึ มีความสําคญั และจําเปนอยา งยง่ิ ตอการจัดกิจกรรมการเรยี นรูในหองเรียน เพราะสามารถทําใหผูส อนประเมินระดบั พัฒนาการเรียนรูของผเู รียน การจัดการศึกษาตองยึดหลักวา ผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ ใหความสําคัญของการบูรณาการความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสม ของระดับการศกึ ษา ไดร ะบใุ หผ ูทเี่ กย่ี วของดําเนนิ การ ดังน้ี ๑) สถานศึกษาและหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดยคาํ นึงถงึ ความแตกตางระหวางบคุ คล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณและการประยุกตความรูมาใช เพ่ือปองกันและแกไขปญ หา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทําไดคิดเปนทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝร ูอยางตอ เนื่อง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมท้ัง ปลูกฝง คณุ ธรรม คานิยมท่ดี ีงามและ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคไวในทุกวชิ า (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และอํานวย ความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและ มีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหน่ึงของ กระบวนการเรียนรู ท้งั นีผ้ ูสอนและผเู รียนอาจเรียนรูไปพรอ มกนั จากส่ือการเรียน การสอนและแหลงวทิ ยาการ ประเภทตา ง ๆ (๖) จดั การเรียนรูใ หเ กดิ ขึน้ ไดทุกเวลา ทกุ สถานท่ี มีการประสานความรว มมือกับพอแม ผปู กครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา ย เพือ่ รวมกนั พฒั นาผเู รยี นตามศกั ยภาพ ๒) การจดั สภาพแวดลอ มสงเสรมิ การเรียนรู (๑) จดั สภาพแวดลอ ม หองเรยี น หรือภายนอกหอ งเรียน ใหเ อื้อตอการเรียนรู สะอาด มคี วามเปน ระเบียบ ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรียน มีที่เก็บวัสดุอุปกรณ และงายตอการนํามาใช

ฌ มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืนและเหมาะกับกิจกรรม การเรยี นรู ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย (๒) จัดสภาพแวดลอ ม หรอื หอ งใหผ เู รียนไดฝก ปฏิบตั กิ าร (๓) จัดสอ่ื อุปกรณ ที่เกยี่ วกับการเรยี นรูอยา งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู หรือ ชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพ่ือใหผูเรียนไดรับรูขอมูล ขา วสารทีท่ นั สมัยปจจุบันอยเู สมอ ๓) ครูผสู อน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้งของ ผูเรียนและผูสอน กลาวคือลดบทบาทของครูผูสอน จากการเปนผูบอกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผน จดั กิจกรรมใหน ักเรียนเกิดการเรียนรู กจิ กรรมตาง ๆ จะตอ งเนน ท่ีบทบาทของผเู รียนต้งั แตเริ่ม คอื รว มวางแผน การเรียน การวัดผล ประเมินผล และตองคํานึงวากิจกรรมการเรียนนั้น เนนการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน การสรางคําอธิบายเกี่ยวกับขอมูลที่สืบคนได เพื่อนําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ท้ังนี้กิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ีตอง พัฒนาผูเรียนใหม พี ฒั นาการเหมาะสมตามวัย ทงั้ ทางรางกาย อารมณสังคม และสตปิ ญ ญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพระดับชั้นประถมศึกษา มุงเนน ใหผูเรียน เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัย ในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอมเพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัวเขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดี ตอ อาชีพ ดังน้ี ๑) ควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวย การกระตุนใหนักเรียน ลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล โดยใชเทคนิคตาง ๆ ของการสอน เชน การนําเขาสูบทเรียน การใชคําถาม การเสรมิ พลงั มาใชใ หเ ปน ประโยชน ที่จะทําใหก ารเรยี นการสอนนาสนใจและมีชีวิตชวี า ๒) ครูควรมีการวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนํานักเรียนเขาสูบทเรียนและ ลงขอสรุปไดโดยท่ีไมใชเวลานานเกินไป ครูควรเลือกใชคําถามท่ีมีความยากงายพอเหมาะกับความสามารถ ของนักเรยี น ๓) เมื่อนักเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําที่จะชวยใหนักเรียนหาคําตอบไดเอง ครูควรใหความสนใจตอคําถามของนักเรียนทุก ๆ คน แมวาคําถามน้ันอาจจะไมเก่ียวกับเร่ืองท่ีกําลังเรียนอยู กต็ าม ครคู วรจะชแ้ี จงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรยี นกลบั มาสูเ ร่ืองท่ีกาํ ลังอภิปรายอยู สําหรับปญหา ที่นักเรยี นถามมานั้น ควรจะไดห ยบิ ยกมาอภปิ รายในภายหลงั ๔) การสํารวจตรวจสอบซ้ํา เปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ดังนั้น ในการจัดการเรียนรู ครคู วรย้ําใหน ักเรยี นไดสํารวจตรวจสอบซาํ้ เพ่ือนาํ ไปสูขอ สรุปทถ่ี กู ตอ งและเช่อื ถอื ได

ญ กระบวนการเรยี นรูกลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี การเรยี นรจู ากแหลง เรียนรโู ดยผเู รียนลงมือปฏบิ ตั ิ ไดแก ๑) การทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสวนรวม เชน บทบาทและหนาที่ของสมาชิก ในบาน การแตงกายการเก็บของใช การหยิบจับและใชของใชสวนตัว การจัดโตะ/ตู/ ชั้น การจัดเตรียม อุปกรณการเรียน การทําความสะอาดรองเทา กระเปานักเรียน การกวาด ถู ปดกวาด เช็ดถู บานเรือน การทาํ ความสะอาดหองเรยี น ๒) การใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมืองาย ๆ ในการทํางานอยางปลอดภัย เชน การทําความคุนเคย การใชเคร่ืองมือ การปลูกผักสวนครัว การปลูกไมดอกหรือไมประดับ การรดนํ้าตนไม การถอนและเก็บวัชพืช การขยายพันธุพืช การดูแลพันธุพืช การเลือกเลี้ยงสัตวเลี้ยง การประยุกตวัสดุสิ่งของเปนของใชของตกแตง การบํารุงรักษาของเลน การซอมแซมของใชสวนตัว การประดิษฐของใชในโอกาสตาง ๆ โดยใชวัสดุในทองถิน่ การซอ มแซมวัสดุอุปกรณแ ละเครือ่ งมอื ๓) มารยาทตาง ๆ ในการใชชีวติ รว มกับผอู ื่น เชน การตอนรบั ในโอกาสตาง ๆ การรับประทานอาหาร การใชห องเรียน/หองน้ํา/หองสวม ๔) การจัดการในการทาํ งาน และทกั ษะการทาํ งาน อยา งเปนระบบ ประณีต ๕) มีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคาสามารถนําไปประกอบอาชี พทีส่ จุ ริตเลย้ี งตนเองและครอบครวั ได ๓. สื่อการจัดการเรยี นร/ู แหลงเรียนรู สื่อการจัดการเรียนรู เปนเคร่ืองมือสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรูใหนักเรียนไดรับ ความรู ทักษะกระบวนการไดงายในระยะเวลาส้ันและชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็ว สอ่ื ทีป่ รากฏในแผนการจัดการเรียนรมู ดี งั น้ี ๑) ใบความรู ใบงาน แผนภาพนําเสนอขอมลู ๒) คลปิ /วดี ทิ ัศน/ภาพขา วสถานการณป จ จุบนั ๓) สถานการณส มมตุ ิ ๔) สื่อบุคคล แหลงเรยี นรู เปนเคร่อื งมือสรา งคุณลักษณะการใฝเรยี นรูท ่ีทุกคนตองใฝร ตู ลอดชวี ติ ดังนี้ ๑) แหลง เรียนรูภายในโรงเรียน ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถ่ิน พิพิธภัณฑ หนวยงานที่เกี่ยวของ หอ งสมดุ ประชาชน หอ งสมดุ แหงชาติ หองสมุดเปนแหลงเรียนรทู ี่สําคัญและเปน หวั ใจสาํ คัญของผูเรียนในการศึกษาคนควา โรงเรียนควรจัด หองสมุดกลาง หองสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในหองเรียน หองสมุดเคลื่อนที่ รถเคลื่อนท่ี หองสมุดประชาชน ลว นเปน แหลง เรยี นรูจะทําใหผเู รียนไดเรยี นรูและปลกู ฝง ลกั ษณะนสิ ัยทีด่ ใี นการสงเสรมิ นิสัยรักการอาน ๓) แหลงเรียนรอู อนไลน - สาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน - สาํ นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยตา ง ๆ - กระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ

ฎ ๔. การวัด และประเมนิ ผลการเรียนรู จุดประสงคสําคัญของการประเมินการเรียนรูคือการชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงคที่ ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาที่พบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมาก ยังใหความสําคัญการเรียนรูแบบทองจําเพื่อสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขัน ซึ่งถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผิน มากกวา การประเมินการเรียนรรู ะหวางเรยี นการเรียนรเู พื่อพฒั นาตนเองซงึ่ ผลลัพธข องการเรียนรูจะยงั่ ยืนกวา (กศุ ลิน มุสิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,์ิ เพญ็ จันทรและวรรณทิพา รอดแรงคา , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพ่ือพัฒนาสมรรถนะดานตา ง ๆ ของผูเรียนนั้นจําเปนตอ งมีการประเมินการเรียนรู อยางตอเน่ืองต้ังแตเริ่มตน ระหวาง และส้ินสุดกระบวนการเรยี นรู โดยใชการประเมินในรูปแบบท่ีหลากหลาย สอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรูรูปแบบการประเมินการเรียนรู ไดแก การประเมินการเรียนรู ระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู และการประเมินตามสภาพจริงน้ัน ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมินใหผูเรียนรับทราบเพ่ือปรับปรุงและ พัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัดการเรียนรูเพ่ือให สามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพ่ือชวยใหผูเ รยี นแตละคนเกิดการเรียนรูและพัฒนา ตนเองไดตามแตล ะจดุ ประสงคการเรยี นรหู รือเปาหมายของตัวชว้ี ดั ตาง ๆ (กุศลนิ มุสกิ ุล, ๒๕๕๕) การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลกั การพ้ืนฐานสองประการ คือ การประเมิน เพ่ือพัฒนาผูเรียนและเพื่อการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนใหประสบ ความสําเร็จน้ัน ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวช้ีวัด เพื่อใหบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซ่ึงเปนเปาหมายหลักในการวัดและ ประเมนิ การเรยี นรูในทุกระดบั (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรูที่ปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏิบัติ ดงั น้ี ๑) วธิ ีการประเมนิ (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอม และความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกจิ กรรมการเรียนรขู นั้ นํา) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจช้ินงาน การนําเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรูขนั้ สอน) จดุ มงุ หมายของการประเมนิ ระหวางเรยี นมีดงั น้ี (๒.๑) เพื่อคน หาและวินจิ ฉยั วา ผเู รียนมีความรคู วามเขาใจเน้ือหา มที กั ษะความชาํ นาญรวมถึง มีเจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพ่ือเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัดกิจกรรม การเรยี นรูไ ดอยางเหมาะสมเพื่อพัฒนาการเรียนรขู องผเู รยี นไดอยางเต็มศักยภาพ (๒.๒) เพื่อใชเปน ขอมลู ปอ นกลับใหก บั ผเู รยี นวา มผี ลการเรยี นรูอยา งไร (๒.๓) เพ่ือใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดาน การเรียนรขู องผเู รียนแตล ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียนเพ่ือตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดที่ผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคล่ือนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และ เพื่อตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทนี้ ใชป ระกอบการตดั สนิ ผลการจัดการเรียนการสอน หรอื ตดั สนิ ใจวา ผูเ รียนคนใดควรจะไดรบั ระดบั คะแนนใด

ฏ (๔) ประเมนิ รวบยอดเมอ่ื สิ้นสดุ หนว ยการเรยี นรู ดาํ เนนิ การดงั น้ี การประเมินโดยครูผูสอน เพ่ือตรวจสอบคุณภาพผูเรียนวาบรรลุเปาหมายของหนวย การเรียนรูตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะและ เจตคติ หรือไม เชน การทําโครงงาน การนํา ความรูไ ปใชเพ่อื พัฒนาสงั คมในรูปแบบตา ง ๆ การประเมินโดยผูเรียนแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรให ผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพ่ือเปดโอกาสไดสะทอนคิดส่ิงที่เรียนรูทั้งท่ีทําไดดีและยังตองพัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบการเรียนรู แตละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ เลือกใชชุดคําถามและจํานวนขอใหเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน ชวงเวลาและธรรมชาติของแตละวิชา ทั้งนี้ ในคร้ังแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพื่อแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานส่ิงที่นักเรียนบันทึก พรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมท้ังใชประโยชนจากขอมูลในแบบบันทึก เพอ่ื พัฒนาการสอนของตวั เองและชวยเหลอื นักเรียนเปน รายบคุ คลตอไป ๒) ผูประเมิน ไดแก เพ่ือนประเมินเพื่อน ครูประเมินผูเรียน ผูเรียนประเมินตนเอง และผูปกครอง รวมประเมนิ การวัดและประเมินผลการเรียนรูดานการปฏิบัติงาน ในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ เปน การประเมินเพ่ือพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทัน การเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเก่ียวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ เพ่ือใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง และสามารถดาํ รงชีวติ อยูในสงั คมไดอ ยางพอเพยี งและมีความสุข ดงั นี้ ๑. อธิบายเหตผุ ลการทาํ งานแตละขนั้ ตอนถูกตอ งตามกระบวนการทํางานใหบ รรลุเปา หมาย ๒. ใชทักษะการจัดการในการทํางานเปน ข้ันตอน อยางเปนระบบ ประณีต และมีความคิดสรางสรรค ดว ยความขยนั อดทนรับผิดชอบและซอ่ื สัตย ๓. ปฏบิ ัติตนอยา งมีมารยาทในการทาํ งานกับสมาชกิ ในครอบครัว ๔. มจี ิตสํานึกในการใชพ ลงั งานและทรพั ยากรอยางประหยัดและคมุ คา ๕. คําแนะนาํ บทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนในทุก ขัน้ ตอนการสอน ดงั นี้ ๑) ขนั้ เตรยี มตวั กอนสอน (๑) ศกึ ษาทาํ ความเขาใจคําชี้แจงและทําความเขา ใจเชือ่ มโยง ท้งั เปา หมาย กจิ กรรมและการวดั ผล และประเมินผลระหวางหนวยการเรยี นรกู บั แผนการจัดการเรียนรรู ายช่วั โมง (๒) ศึกษาคนควาความรูเพ่ิมเติม จากแหลงเรียนรู หนวยงาน องคกรท่ีใหความรูที่เช่ือถือได รวมท้งั เทคนิคการจดั การเรยี นรูเพ่อื พัฒนาความสามารถของผูเ รยี นอยางรอบดา น (๓) ปรับ/ประยุกตหรือเพ่ิม เปาหมายท้ังเน้ือหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะที่เปนจุดเนน และที่เปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู ตามศกั ยภาพของผูเรยี น และตามสภาพจรงิ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัพโหลดลวงหนาเพ่ือทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และส่อื ตาง ๆ ที่ครูใชประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจดั กิจกรรมในขน้ั ตอนชว งการปฏบิ ัติ ทง้ั ดา นวิธีการ สื่อที่ใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรมเพ่ือนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียมนักเรียน/ชวยเหลือ สงเสริม/อํานวยความสะดวกนักเรียนตามบรบิ ทของหองเรยี นของตนใหส ามารถเรยี นรูไดอยางมีประสทิ ธิภาพ และเตม็ ตามศกั ยภาพ

ฐ (๕) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมท้ังการเตรยี มอุปกรณต ามระบุในแผนฯและ/หรือทปี่ รากฏในคลปิ (ในกรณีมีการปรับเปลย่ี นเพ่ิมเตมิ ) (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชว งการปฏิบัติตามกําหนดการสอนที่มีรายละเอียด ของส่ือการสอน ใบงาน ใบความรู บนเว็บไซต www.dltv.ac.th ๒) ขั้นการจดั การเรียนรู (๑) สรางการมีสว นรว มของนักเรียนในการทาํ กจิ กรรม เชน กระตุนใหน กั เรียนคดิ ตอบคําถามของ ครตู นทาง ฟงเฉลยและชวยเสรมิ /อธบิ าย/ในสิ่งท่ีนักเรียนยงั ไมเขาใจ ชมเชย/ใหกาํ ลังใจหากนกั เรยี นทาํ ไดด ี (๒) ใหความชวยเหลอื นกั เรยี นทีต่ ามไมทนั เชนอธบิ ายเพมิ่ เติมเพอื่ ใหน ักเรยี นสามารถเรยี นรูตอไป อยางมีประสทิ ธิภาพ (๓) กาํ กับดูแลใหม วี นิ ัยในการเรียนเชน ไมเลน หรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําสง่ั ในการทํากิจกรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรยี นรู เชน จัดเตรยี มส่ือการเรยี นร/ู อปุ กรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียนเชน คุณลักษณะผูเรียน, สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัดการเรียนรู/ การปฏิบัติงาน ความรูในบทเรียน และบันทึกขอมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนําไวในแผนการจัดการเรียนรู เพอ่ื นาํ ขอ มูลไปพัฒนานักเรยี นและใหความชวยเหลือนักเรยี นทั้งชัน้ /กลุม/รายบุคคลตามกรณี ๓) ขนั้ การปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนข้ันตอนการทํากิจกรรมตามที่ครูตนทางแนะนํา และตามขอแนะนําการปฏิบัติท่ีระบุ ใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา ใจ และเตรียมนกั เรียนกอนทาํ กจิ กรรม (การแบงกลมุ ฯลฯ) (๒) กาํ กับใหการทาํ กิจกรรมเปน ไปตามลําดบั เวลาตามแนวทางท่ีระบบุ น PowerPoint (๓) ใหความชว ยเหลอื นกั เรียนในระหวางการทาํ กจิ กรรม (๔) เตรียมพรอ มนักเรยี นสําหรับกจิ กรรมในขั้นตอนสรุปการเรยี น (ถามี) เชน การสรปุ ผลปฏิบตั งิ าน เพอื่ เทยี บเคยี งกับผลงานท่นี ักเรียนตนทางจะนําเสนอ เปน ตน ๔) ข้ันสรปุ (๑) กํากบั นักเรยี นใหม สี ว นรวมในการเฉลยใบงาน/สรุปผลการทํากิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสําคัญที่มีการสรุปทายช่ัวโมง และงาน/ใบงานที่ครูตนทางมอบหมายใหทํา เปนการบาน/หรอื ใบงานทค่ี รูปลายทางไดเ ลอื กมาใชก บั ช้นั เรยี นของตน (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะ หลงั จบแตล ะหนวยการเรียนรูและครง่ึ /ปลายภาคเรียน) ๕) การบนั ทกึ ผลหลังสอน (๑) บันทึกการจัดการเรยี นรูของตนเอง โดยใชขอ มลู จากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมผเู รยี นระหวา งเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรูของนักเรียนเพื่อวิเคราะหเทคนิค หรือวิธีการใด ท่ีทําใหผูเรียน มีสวนรว ม มคี วามรู มที ักษะ และคุณลกั ษณะตามจดุ ประสงค (๒) บันทึกสาเหตุของความสําเรจ็ อุปสรรค และ/หรอื ขอจาํ กัดที่เกิดข้นึ เชน เทคนคิ หรอื วธิ ีการใด การบริหารจัดการช้ันเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดลอมอยางไร ฯลฯ ที่ทําใหผูเรียนมีสวนรวม มีความรู มีทกั ษะ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ ประสงค โดยใชค าํ ถามทีใ่ หไวใ น “คาํ ถามบันทึกผลหลังสอนสําหรับครปู ลายทาง” (ดูภาคผนวก ค) เปน แนวทางในการยอนคดิ ไตรตรองส่งิ ทเ่ี กิดข้นึ และนาํ ไปบนั ทกึ ผลหลังสอนของชว่ั โมงน้ัน ๆ (๓) วเิ คราะหและสรปุ ผลจากขอมลู ตามปญหา/ความสําเร็จท่ีเกิดขึ้น และเสนอแนวทางการปรับปรุง เพื่อนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในครั้งตอไป รวมท้ัง นําไปใชเ ปนขอมลู เพ่ือพฒั นาเปนงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นตอ ไป

ฑ รหัสวชิ า ง๑๕๑๐๑ คําอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าการงานอาชีพ กลุม สาระการเรียนรูก ารงานอาชพี ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๕ เวลา ๔๐ ช่วั โมง ศึกษากระบวนการทํางานบานแตละขั้นตอนอยางถูกตองตามกระบวนการทํางาน รูหลักการจัดเก็บ ของใชสวนตัวและการดูแลรักษาเส้ือผา อธิบายหลักการเลือกอาหารตางประเภทตาง ๆ ตามหลักโภชนาการ อาหาร เขาใจลักษณะของงานชางและเครื่องมือท่ีใชในงานชางสามารถออกแบบงานประดิษฐตาง ๆ งานเกษตรและเคร่ืองมือ การขยายพันธุพืช การเก็บเก่ียวผลผลิต สาํ รวจอาชีพของผูปกครองและอาชีพตาง ๆ ในชมุ ชน เขา ใจความแตกตางของงานอาชีพ ฝกทักษะการจัดเก็บของใชสวนตัวโดยการพับเส้ือผาลักษณะตาง ๆ การซอมแซมเส้ือผา การฝก ปฏิบตั ิการซกั ผา ฝกทักษะมารยาทในการรับประทานอาหาร การฝกปฏิบัติประกอบอาหาร การประดิษฐกรอบรูป กลองใสดนิ สอ การปลูกพชื ผกั สวนครวั การทําบญั ชี รายรับ-รายจาย ภายในครอบครวั และการทาํ โครงงาน เพื่อใหผูเ รียนรักความเปนไทย ใฝเรียนใฝรู อยูอยางพอเพียง มุงม่นั ในการทํางาน มคี วามรับผดิ ชอบ ซอื่ สัตย มีความคิดสรา งสรรค มเี หตุผล มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน มีจติ สาธารณะและเห็นคุณคา ของการนํา ความรไู ปใชประโยชนใ นชีวิตประจําวัน มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ , ป.๕/๓, ป.๕/๔ ง ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๖ ตัวช้ีวัด

ฒ รหัสวิชา ง ๑๕๑๐๑ มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชวี้ ดั รายวิชา การงานอาชพี ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ รวมเวลา ๒๐ ชั่วโมง สาระท่ี ๑ การดาํ รงชวี ติ และครอบครัว มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และส่ิงแวดลอม เพ่ือการดํารงชีวิตและ ครอบครัว ตัวช้ีวัด ป.๕/๑ อธิบายเหตผุ ลการทํางานแตละขั้นตอนถูกตอ งตามกระบวนการทาํ งาน ป.๕/๒ ใชท ักษะการจดั การในการทํางาน อยา งเปน ระบบ ประณตี และมีความคิดสรา งสรรค ป.๕/๓ ปฏบิ ัติตนอยา งมีมารยาทในการทาํ งานกบั สมาชิกในครอบครัว ป.๕/๔ มจี ิตสาํ นึกในการใชพลงั งานและทรพั ยากรอยา งประหยดั และคุมคา

ณ โครงสรางรายวชิ า รหัสวชิ า ง๑๕๑๐๑ รายวชิ า การงานอาชีพ ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ รวมเวลา ๒๐ ชว่ั โมง หนวยท่ี ชอื่ หนว ยการเรยี นรู มาตรฐานการเรยี นรู สาระสําคัญ/ความคิดรวมยอด เวลา นํ้าหนกั ๑ งานบา นนา รู /ตัวชีว้ ัด (ชว่ั โมง) คะแนน ๒ เสอื้ ผาของฉัน ง ๑.๑ ป.๕/๑ การทํางานบานรวมกันกับสมาชิกใน ๕ ๑๒ ๓ ชา งคิดซอมแซม ง ๑.๑ ป.๕/๒ ครอบครัว ดว ยการจัดการงานบา น ง ๑.๑ ป.๕/๓ อยา งเปน ระบบ จัดเปนการทํางานทีม่ ี ๔ หนนู อยนักประดิษฐ ง ๑.๑ ป.๕/๔ คุณคาและทาํ ใหบ า นสะอาดนาอยู ง ๑.๑ ป.๕/๑ การดูแลรกั ษาเสือ้ ผา การซอมแซม ๔ ๑๑ ง ๑.๑ ป.๕/๒ เส้อื ผา การซกั และตากเส้อื ผา การรีด ง ๑.๑ ป.๕/๓ และเกบ็ เสื้อผา และเปนพืน้ ฐานที่ดี ง ๑.๑ ป.๕/๔ ในการดํารงชวี ติ อยางมคี ุณภาพอยา ง เปนระบบจะทําใหเสื้อผา มีความ สะดวกในการใช คงทนตอการใชสอย ง ๑.๑ ป.๕/๑ การเลือกใชเครอื่ งมืองานชาง ๕ ๑๒ ง ๑.๑ ป.๕/๒ อยา งถูกตองตามกระบวนการทาํ งาน ง ๑.๑ ป.๕/๓ จะทําใหเ กิดความปลอดภยั ในการ ง ๑.๑ ป.๕/๔ ทํางานและทาํ ใหสามารถซอมแซม อุปกรณใ นบา นไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ง ๑.๑ ป.๕/๑ การนาํ วสั ดเุ หลือใชตาง ๆ มาประดิษฐ ๖ ๑๕ ง ๑.๑ ป.๕/๒ ของใช ของตกแตง ประเภทกรอบรปู ง ๑.๑ ป.๕/๓ กลองใสดนิ สอ โดยการใชค วามคดิ ง ๑.๑ ป.๕/๔ สรางสรรคป ระดิษฐผลงาน และ คํานงึ ถงึ การเลอื กวัสดใุ นงานประดษิ ฐ ทีม่ ีในทองถิน่ และภมู ิภาคตา ง ๆ เพอื่ ใหทาํ งานสาํ เรจ็ ตามเปาหมาย อยางมปี ระสิทธภิ าพ การใชท รพั ยากร อยางประหยัด คุมคาในการทํางาน และสง เสริมใหมีคุณนิสัยประหยดั รวมตลอดภาคเรียน ๒๐ ๕๐

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรื่อง งานบานนารู ช้ันประถมศกึ ษาปท่ี ๕ ๑ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๑ งานบา นนารู

๒ คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) รหัสวิชา ง๑๕๑๐๑ หนวยการเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๕ ชอื่ หนวยการเรียนรู งานบานนา รู รายวชิ าการงานอาชีพ กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๕ ช่ัวโมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู/ ตวั ช้ีวัด กลุม สาระการเรยี นรู การงานอาชพี สาระท่ี ๑ การดํารงชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกันและทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอมเพ่ือ การดาํ รงชวี ติ และครอบครวั ตวั ชว้ี ดั ง ป ๕/๑ อธบิ ายเหตผุ ลการทํางานแตล ะขั้นตอนถูกตอ งตามกระบวนการทํางาน ง ป.๕/๒ ใชทักษะการจดั การในการทาํ งานอยา งเปนระบบ ประณีตและมคี วามคิดสรา งสรรค ง ป.๕/๓ ปฏิบตั ิตนอยา งมมี ารยาทในการทาํ งานกับสมาชิกในครอบครวั ง ป.๕/๔ มีจิตสํานกึ ในการใชพลังงานและทรพั ยากรอยา งประหยดั และคมุ คา ๒. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด การทํางานบานรว มกนั กบั สมาชิกในครอบครวั ดว ยการจดั การงานบานอยางเปน ระบบเปนการทํางาน ท่ีมีคณุ คา และทาํ ใหบ า นสะอาดนา อยู ๓. สาระการเรียนรู ๑) การทํางานบานและมารยาทในการทาํ งานบา นรว มกบั สมาชิกในครอบครัว ๒) เคร่ืองมอื ที่ใชในการทาํ งานบาน ๓) การทาํ งานบานอยางเปนระบบ ๔) การทาํ ความสะอาดหองนํ้าและหอ งสว ม ๕) การใชพลงั งานและทรพั ยากรอยา งประหยดั คมุ คาในงานบา น ๔. จุดประสงคก ารเรียนรู ความรู ๑) สามารถอธิบายลักษณะของงานบา นและมารยาทในการทาํ งานบา นได ๒) สามารถอธบิ ายลกั ษณะเครอ่ื งมอื ที่ใชในงานบานได ๓) สามารถอธิบายเหตผุ ลในการจัดการงานบานอยางเปนระบบได ๔) สามารถอธิบายวิธีการทาํ ความสะอาดหอ งนํ้าและหอ งสวมได ๕) สามารถอธิบายแนวทางการมีสวนรวมในการใชพลังงานและทรัพยากรท่ีมีอยูอยางประหยัดและ คุม คาในงานบา นได

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรอ่ื ง งานบานนา รู ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ ๓ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑) สามารถฝก ปฏบิ ัตกิ ารทํางานบานได ๒) สามารถเขียนประเภทเคร่ืองมือที่ใชใ นงานบา นได ๓) สามารถฝก ปฏิบัติจัดโตะ อาหารได ๔) สามารถเขียนประโยชนข องการทาํ ความสะอาดหองนาํ้ และหองสวมได ๕) สามารถสํารวจการใชพ ลงั งานและทรพั ยากรของตนเองได เจตคติ ๑) เหน็ ประโยชนข องงานบานและมารยาทในการทํางานบาน ๒) เหน็ คณุ คาของเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ นงานบาน ๓) เอาใจใสงานบา นอยา งเปนระบบ ๔) เหน็ ความสําคญั ของการทาํ ความสะอาดหองนํ้าและหอ งสวม ๕) เหน็ คณุ คาของการใชพลังงานและทรัพยากรอยา งประหยัด คุม คา ในงานบา น ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน ๑) ความสามารถในการคิด ๒) ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๑) มีวินยั ๒) ใฝเ รียนรู ๓) อยูอยางพอเพียง ๔) มุงม่ันในการทํางาน ๕) รกั ความเปนไทย ๖) มีจิตสาธารณะ ๗. การประเมนิ ผลรวบยอด ๑) การประเมินผลงานฝก ปฏบิ ตั ิการทาํ งานบา น เชน ลา งพัดลม ๒) ใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง เคร่ืองมือท่ีใชในงานบา น ๓) การประเมินผลงานการจดั โตะ อาหาร ๔) ใบงานท่ี ๒ เร่อื ง การทําความสะอาดหองน้ําและหอ งสวม ๕) ใบงานท่ี ๓ เร่ือง การใชพลังงานและทรัพยากรอยา งประหยดั คมุ คา ในงานบาน

๔ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) เกณฑการประเมินผลงาน/ใบงาน ประเด็น ระดับคณุ ภาพ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ๓ ( ดี ) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง) ผลงาน/ความรู ผลงานดมี าก ผลงานดีมากอธิบาย ผลงานพอใช อธบิ าย ผลงานตองปรบั ปรงุ อธบิ ายเหตุผลได เหตุผลได เหตุผลการทํางาน การอธบิ ายเหตผุ ล ชดั เจน มคี วามคิด มีความคิดริเร่ิม ไมช ดั เจน การทาํ งาน สรางสรรครเิ ริม่ ดี สรางสรรคด ี ขาดความชดั เจน ทักษะการ การทํางานเปน มขี ้ันตอนการทํางาน มีขั้นตอนการทาํ งาน ขั้นตอนการทาํ งาน ปฏิบตั ิงาน ขน้ั ตอนดีมาก ดี มกี ารอภิปราย การอภปิ ราย ควรปรบั ปรุง การปฏบิ ตั ิการ ปฏบิ ัติงานเปน กลมุ การปฏิบตั ิงาน การอภิปราย ทาํ งานเปน กลุมดี ไมช ัดเจน การปฏบิ ตั งิ านเปน มีการอภิปราย กลมุ ตอ งปรับปรุง การนําไปประยุกตใ ช สามารถนาํ ไป สามารถนําไป สามารถนาํ ไปปรับใช ไมส ามารถไปปรับ ในชวี ิตประจาํ วัน ประยุกตใ ชใน ประยุกตใ ชใ น ในชวี ติ ประจําวันได ใชไ ด การเรยี นการสอน การเรยี นการสอนได และในชีวติ ประจําวัน การสง งานตรงตอ สงงานตรงเวลา รับผดิ ชอบในงานท่ี ทํางานท่ีไดรบั ทํางานที่ไดรบั เวลาและเหมาะสม มีความรบั ผิดชอบ ไดร บั มอบหมาย มอบหมายไดเพียง มอบหมายไมครบ ในงานทีไ่ ดร ับ สงงานตรงเวลา เล็กนอ ย บางสว น ทกุ สวน และสง งาน มอบหมาย บางครัง้ แตง านมี ไมต รงตอเวลาเปน ไมต รงเวลาเปน สรางสรรคงานได ความเหมาะสมกับ บางครงั้ ประจาํ อยางถูกตอง เวลาทีส่ ง การทาํ งาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน มคี วามสะอาด มีความสะอาด มคี วามสะอาด มคี วามสะอาด มีความสะอาด เรียบรอ ย เรยี บรอ ย สวยงาม เรยี บรอย สวยงาม เรียบรอ ย สวยงาม เรยี บรอ ยนอ ยมาก ถูกตองตามทีก่ าํ หนด ถกู ตองตามท่ีกาํ หนด ถูกตองเปนบางสว น มีรอยลบและ ในระดบั ดีมาก ในระดับดี ในระดบั พอใช ความสกปรกของงาน เกณฑก ารใหคะแนน ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก (๔) ๑๑-๑๕ ดี (๓) ๖-๑๐ พอใช (๒) ๑-๕ ปรบั ปรุง (๑)

หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เร่อื ง งานบา นนารู ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๕ ๕ เกณฑการประเมินการสังเกต ประเดน็ ระดบั คณุ ภาพ การประเมนิ ความตัง้ ใจ ๔ (ดีมาก) ๓ ( ดี ) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) ในการเรยี น สนใจในการเรียน การตอบคาํ ถาม ไมคุยหรือเลน กัน สนใจในการเรียนคุยกัน สนใจในการเรยี นคุยกัน ไมสนใจในการเรยี น ตรงประเด็น ในขณะเรียน เลก็ นอยในขณะเรยี น และเลนกนั ในขณะ คุยและเลนกัน รว มตอบคําถาม เหน็ ประโยชนของ ในเรอื่ งท่ีครถู าม เรียนเปนบางครัง้ ในขณะเรียน การทาํ งานบาน และตอบอยางตรง การมสี ว นรว ม ประเดน็ คําถาม รว มตอบคําถามในเรื่อง รว มตอบคําถามในเรื่อง ไมต อบคําถามตาม ในกจิ กรรม ถูกทุกขอ ทีค่ รูถามและตอบ ท่คี รูถามเปนบางคร้งั ประเดน็ ที่กําหนดให เห็นประโยชนข อง คาํ ถามสวนมากถูกตอง และตอบคาํ ถามถูกเปน ความสําเรจ็ การทาํ งานบาน บางครงั้ ของผลงาน อยางสมํ่าเสมอ รวมมอื และ เห็นประโยชนของ เหน็ ประโยชนของ ไมเ หน็ ประโยชนของ ชวยเหลอื เพื่อน การทาํ งานบานเปน การทาํ งานบานเปน การทาํ งานบาน ในการทํากิจกรรม สวนใหญ บางครง้ั ไมม ีความรว มมือ เปน อยางดี รวมมือและชว ยเหลอื รวมมือและชวยเหลือ ในขณะทํากจิ กรรม ผลงานมีคุณภาพ เพือ่ นเปนสว นใหญ เพือ่ นในการทํา และเสร็จตาม ในการทาํ กจิ กรรม กจิ กรรมเปนบางครงั้ กําหนดเวลา ผลงานมคี ุณภาพ ผลงานมีคุณภาพ ผลงานไมมีคุณภาพ เสร็จชา กวา เวลาที่ เสรจ็ ไมท ันตาม เสร็จไมทนั ตาม กําหนดเลก็ นอย กําหนดเวลา กําหนดเวลา เกณฑก ารใหค ะแนน ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก (๔) ๑๑-๑๕ ดี (๓) ๖-๑๐ พอใช (๒) ๑-๕ ปรบั ปรุง (๑)

๖ คมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) แผนการจดั การเรยี นรูท ่ี ๑ เร่อื ง งานบา นและมารยาทในการทาํ งานบา น หนว ยการเรยี นรูท ี่ ๑ เร่ือง งานบา นนารู เวลา ๑ ช่ัวโมง กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ รายวชิ าการงานอาชีพ ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/ ตวั ช้ีวดั สาระท่ี ๑ การดาํ รงชวี ติ และครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกันและทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพือ่ การดาํ รงชวี ติ และครอบครัว ตวั ช้วี ัด ง ป ๕/๑ อธบิ ายเหตุผลการทํางานแตละขัน้ ตอนถูกตองตามกระบวนการทาํ งาน ง ป.๕/๒ ใชทกั ษะการจดั การในการทาํ งานอยางเปน ระบบ ประณตี และมคี วามคดิ สรางสรรค ง ป.๕/๓ ปฏบิ ตั ิตนอยางมมี ารยาทในการทาํ งานกับสมาชิกในครอบครวั ๒. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอด การทํางานบานรวมกันของสมาชิกในครอบครัว ทําใหบานสะอาดเรียบรอย นาอยูอาศัย สงผลให สมาชิกทุกคนในครอบครวั อยูร วมกันอยางมีความสุข ๓. จดุ ประสงคการเรยี นรู ๓.๑ ดานความรู ความเขา ใจ (K) สามารถอธิบายลักษณะของงานบา นและมารยาทในการทาํ งานบา นได ๓.๒ ดา นทกั ษะ/กระบวนการ (P) สามารถฝก ปฏบิ ตั ิการทาํ งานบานได ๓.๓ ดา นคุณลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) เหน็ ประโยชนของงานบา นและมารยาทในการทาํ งานบาน ๔. สาระการเรยี นรู งานบานและมารยาทในการทํางานบา น ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รยี น ๕.๑ ความสามารถในการคิด ๕.๒ ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๖.๑ มีวินัย ๖.๒ มงุ ม่ันในการทาํ งาน ๗. กจิ กรรมการเรียนรู

หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ เรือ่ ง งานบานนารู ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๕ ลําดบั ท่ี จุดประสงค ขน้ั ตอนการจัด การจัดกิจกรรมการเรียนร ๑. การเรียนรู การเรียนรู แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เรื่อง งาน รายวชิ า การงานอาชพี หนว ยการเรยี นรทู ข้นั นํา เวลา แน ท่ใี ช กจิ กรรมครู ๑๐ ๑. ครูแจง จุดประสงคการเรียนรู นาที ๒. ครูแสดงภาพสมาชิกในครอบครวั ทาํ กจิ กรรมการทํางานบานรว มกัน ๓. ครตู ้งั คาํ ถามวา ภาพที่นกั เรยี นเห เครือ่ งมอื อะไรบาง ๒. ๑. สามารถ ขัน้ สอน ๒๐ ๑. ครแู สดงส่อื สไลดหรอื ใบความรูท อธบิ าย นาที งานบานและมารยาทในการทํางานบ ลักษณะของ งานบา นและ ๒. ครอู ธิบายความหมาย และประเภ มารยาทใน งานบา น การทํางาน ๓. ครซู ักถามนักเรียน วานักเรียนมวี บานได จดั การงานบานอยา งไร ๒. สามารถ ๔. ครูอธิบายเพมิ่ เติมเร่ืองการใชทกั ษ ฝก ปฏบิ ัติ การจดั การในการทํางานบาน การทาํ งาน ๕. ครูสาธติ การลางพดั ลม บา นได

๗ รู ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ นบา นและมารยาทในการทาํ งานบา น ที่ ๑ เร่ือง งานบา นนารู จาํ นวน ๑ ชั่วโมง นวการจัดการเรียนรู สื่อการเรยี นรู การประเมนิ กิจกรรมนักเรียน การเรียนรู ๑. นกั เรยี นรับทราบจุดประสงคการเรยี นรู ๑. สอ่ื สไลด เรือ่ ง ว ๒. นักเรยี นดภู าพท่คี รนู ํามาแสดง งานบา นและ ๓. นกั เรียนรว มกนั แสดงความคดิ เหน็ มารยาทในการ ทํางานบาน หน็ วา ใช ตอบคาํ ถามเกีย่ วกับภาพวา ใชเครอ่ื งมือ อะไรบา ง (ไมกวาด ไมถู ถุงมือ) ที่ ๑ ๑. นกั เรยี นดูส่ือสไลดห รือใบความรูที่ ๑ ๑. ส่ือสไลด เรือ่ ง ๑. แบบ บาน งานบา นและมารยาทในการทํางานบา น งานบานและ ประเมนิ ภทของ ๒. นกั เรียนฟง ครูอธิบายความหมาย มารยาทใน ผลงาน การทาํ งานบาน และประเภทของงานบาน วธิ กี าร ๓. นกั เรยี นตอบคําถามครู วานักเรยี น ๒. ใบความรทู ่ี ๑ ๒. แบบ มวี ธิ ีการจัดการงานบา นอยา งไร (กวาด เช็ด งานบา นและ สงั เกตทกั ษะ ถู ปด เกบ็ ลา ง ) มารยาทใน กระบวนการ ษะ ๔. นักเรยี นฟง ครูอธบิ ายเพ่ิมเติมการใช การทาํ งานบาน ทํางาน ทักษะการจัดการในการทํางานบาน ๓. ส่อื การสอน ๕. นักเรยี นดคู รูสาธิตการลา งพัดลม ระบุ ประกอบดว ย สื่อจรงิ พดั ลม

๘ ลําดบั ที่ จดุ ประสงค ขน้ั ตอนการจดั เวลา แน การเรยี นรู การเรียนรู ท่ใี ช กิจกรรมครู ๖. ครเู นนย้าํ เร่ืองความปลอดภยั ความสะอาด ความเปนระเบยี บของ และแบงกลุม ๆ ละ ๔ คน ใหนกั เรีย ปฏบิ ตั ิการลา งพัดลม และใหคําแนะ เพม่ิ เติมขณะดนู ักเรยี นปฏิบัติงาน ๓. ขั้นปฏิบตั ิ ๑๕ ๗. ครูใหน กั เรยี นเขียนใบงานท่ี ๑ งา นาที และมารยาทในการทาํ งานบาน ๘. ครูอธบิ ายเพม่ิ เติมใหเ ขาใจถงึ มาร ในการทํางานบา น ๔. ๑. เหน็ ขน้ั สรปุ ๕ ๑. ครูและนักเรียนรวมกนั สรุปความ ประโยชน นาที จากการเรียนและการฝกปฏิบตั ิดังนี้ ของงานบา น และมารยาท - งานบานคอื อะไร ในการทาํ งาน - งานบานมอี ะไรบา ง บาน - เราควรมมี ารยาททด่ี ีอยา งไรบ

คูมือครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) นวการจัดการเรยี นรู สอื่ การเรยี นรู การประเมนิ กิจกรรมนกั เรยี น ๔. ใบงานที่ ๑ การเรียนรู งานบานและ ๖. นกั เรียนแบงกลุม ๆ ละ ๔ คน ลงมอื มารยาทใน งสถานท่ี ปฏิบตั ิการลางพดั ลม ดว ยความระมัดระวงั การทาํ งานบาน ยนลงมือ และเกบ็ สถานทใี่ หเปนระเบียบเรยี บรอย ะนํา านบา น ๗. นกั เรียนเขยี นใบงานท่ี ๑ งานบา นและ รยาท มารยาทในการทํางานบา น มรูทไี่ ด ๘. นกั เรยี นตอบคําถามครวู า มีมารยาท ในการทาํ งานบานอยางไร นกั เรยี นรวมกันสรปุ ความรูทีไ่ ดจาก การเรียนและการฝกปฏบิ ตั ิ บาง

หนว ยการเรยี นรูที่ ๑ เรอ่ื ง งานบานนา รู ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ ๙ ๘. สือ่ การเรยี นร/ู แหลง เรยี นรู ๘.๑ สอื่ สไลด งานบา นและมารยาทในการทํางานบาน ๘.๒ ใบความรูท ่ี ๑ งานบานและมารยาทในการทํางานบาน ๘.๓ ส่อื การสอน ระบุ ประกอบดวย ส่อื จริงพดั ลม ภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ งานบานและมารยาทในการทาํ งานบา น ๙. การประเมินผลรวบยอด ส่งิ ท่ีตองการวดั / ประเมนิ วธิ กี าร เครื่องมือทใี่ ช เกณฑค ุณภาพ ดา นความรู สามารถอธบิ ายลักษณะของงานบานและ การประเมินผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน ผานระดับ ๒ ขนึ้ ไป มารยาทในการทาํ งานบานได ดา นทกั ษะและกระบวนการ การประเมนิ ผลงาน แบบประเมินผลงาน ผา นระดับ ๒ ขนึ้ ไป สามารถฝก ปฏิบตั กิ ารทํางานบานได ดานเจตคติ การสังเกต แบบการสังเกต ผา นระดบั ๒ ขึน้ ไป เห็นประโยชนของงานบานและมารยาท ในการทาํ งานบาน

๑๐ คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) แบบประเมินผลงาน/ใบงาน เรอ่ื ง งานบา นและมารยาทในการทํางานบา น คาํ ชแ้ี จง : ครผู ูสอนประเมนิ ผลงาน/ใบงานของนักเรยี นและใหค ะแนนลงในชองทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน รายการประเมนิ รวม ระดบั เลขท่ี อธิบายลักษณะ ฝก ปฏิบัตกิ าร การนําไป การสง งาน การทํางานมี คะแนน คุณภาพ ของงานบา นและ ทาํ งานบา นได ประยกุ ตใชใน ตรงตอเวลา ความสะอาด (๒๐) มารยาทในการ ชวี ติ ประจาํ วัน และเหมาะสม เรียบรอย ทํางานบานได ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑก ารใหค ะแนน ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๘-๒๐ ดมี าก (๔) ๑๔-๑๗ ดี (๓) ๑๐-๑๓ พอใช (๒) ตาํ่ กวา ๑๐ ปรบั ปรุง (๑) เกณฑการสรุปผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ พอใช ขึน้ ไป ถอื วา ผานเกณฑการประเมิน ลงชอื่ ......................................................ผสู อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่อื ง งานบานนา รู ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี ๕ ๑๑ เกณฑก ารประเมนิ ผลงาน/ใบงาน ประเด็นที่ประเมิน เกณฑการใหคะแนน อธบิ ายลกั ษณะของ งานบานและ ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรับปรุง (๑) มารยาทใน อธิบายลกั ษณะของ อธบิ ายลักษณะ การทาํ งานบานได งานบา นและ อธิบายลกั ษณะ อธิบายลักษณะ ของงานบานและ ฝกปฏบิ ตั กิ ารทาํ งาน มารยาทใน ของงานบา นและ ของงานบา นและ มารยาทใน บานได การทํางานบานได มารยาทใน มารยาทใน การทาํ งานบานได การนาํ ไปประยุกตใช ถกู ตองครบถวน การทาํ งานบานได การทํางานบานได นอยหรอื ไมไดและ ในชีวิตประจาํ วัน ชัดเจน ดเี ย่ียม ถูกตอง ถูกตองแตย ังไม ไมเกิดความเขาใจ การสง งานตรงตอ ฝกปฏบิ ตั กิ าร ครอบคลุมบางสวน ฝกปฏิบตั กิ าร เวลาและเหมาะสม ทาํ งานบา นได ทาํ งานบา นไดนอย อยา งถูกตอง ฝก ปฏบิ ัตกิ าร ฝก ปฏบิ ตั กิ าร หรอื ไมไดเลย การทํางาน ครบถวน ดีเยี่ยม ทาํ งานบา นไดด ี ทาํ งานบานได มีความสะอาด สามารถนําไป บางสวน ไมสามารถไป เรียบรอ ย ประยุกตใชใน ปรบั ใชได การเรียนการสอน สามารถนาํ ไป สามารถนําไปปรบั และในชีวิตประจําวัน ประยุกตใชใ น ใชในชวี ิตประจาํ วนั ทํางานที่ไดรบั สง งานตรงเวลา การเรยี นการสอนได ได มอบหมายไมครบ มคี วามรับผิดชอบ ทุกสวน และสงงาน ในงานท่ีไดรบั รบั ผิดชอบในงาน ทาํ งานท่ีไดรับ ไมต รงเวลาเปน มอบหมาย ท่ไี ดร ับมอบหมาย มอบหมายไดเ พยี ง ประจํา สรางสรรคง านได สง งานตรงเวลา เล็กนอ ย บางสวน อยางถูกตอง บางครง้ั แตงานมี ไมตรงตอเวลาเปน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ความเหมาะสมกับ บางคร้งั มคี วามสะอาด มคี วามสะอาด เวลาท่สี ง เรยี บรอ ยนอ ยมาก เรยี บรอย สวยงาม มรี อยลบและ ถกู ตองตามที่กําหนด ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ความสกปรกของงาน ในระดบั ดีมาก มีความสะอาด มคี วามสะอาด เรยี บรอย สวยงาม เรียบรอ ย สวยงาม ถกู ตองตามทก่ี ําหนด ถกู ตองเปนบางสว น ในระดบั ดี ในระดบั พอใช

๑๒ คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน (กลมุ ) คาํ ชแี้ จง : ครผู ูสอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนแตละกลมุ และใหค ะแนนลงในชอ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน รายการประเมนิ รวม ระดบั เลขที่ พฤติกรรม ความรบั ผดิ ชอบ การแสดง การรว มงาน ความสาํ เรจ็ คะแนน คณุ ภาพ การทํางานกลมุ ตอ หนา ที่ ความคดิ เห็น กลมุ อยางมี ของผลงาน (๒๐) ความสขุ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑการใหคะแนน ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดีมาก (๔) ๑๑-๑๕ ดี (๓) ๖-๑๐ พอใช (๒) ๑-๕ ปรับปรงุ (๑) เกณฑการสรปุ ผลการประเมนิ ระดบั คุณภาพ พอใช ขนึ้ ไป ถือวา ผา นเกณฑการประเมนิ ลงชื่อ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

หนว ยการเรียนรูท่ี ๑ เรือ่ ง งานบานนารู ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ ๑๓ เกณฑการสังเกตพฤติกรรมนักเรียน (กลุม) ประเด็นทป่ี ระเมิน เกณฑก ารใหค ะแนน พฤติกรรม การทาํ งานกลมุ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรบั ปรุง (๑) ความรับผิดชอบ ตอหนาที่ มกี ารวางแผนอยา ง มีการวางแผนอยาง มกี ารวางแผนอยา ง ไมม ีการวางแผน เห็นประโยชนข อง เปนระบบ และแบง เปน ระบบ และแบง เปนระบบ และแบง อยางเปน ระบบและ งานบา นและ หนาท่ีของสมาชกิ หนา ท่ขี องสมาชิก หนาทขี่ องสมาชกิ ไมม ีการแบงหนา ท่ี มารยาทใน ในกลุม ในกลมุ เปนสว นใหญ ในกลมุ เปน บางคร้ัง ของสมาชิกในกลุม การทํางานบาน ทกุ คนทําหนา ที่ มีผมู ีหนา ที่แตไม มีผมู หี นา ท่ีแตไม มีผมู หี นา ทีแ่ ตไม การรว มงานกลุม ของตนเอง รบั ผดิ ชอบ ๑ คน รับผดิ ชอบ ๒ คน รับผิดชอบ ๓ คน อยา งมีความสุข อยางรบั ผดิ ชอบ ขึน้ ไป ข้นึ ไป ความสาํ เร็จ เต็มความสามารถ ของผลงาน สมาชิกทกุ คน สมาชิกสวนใหญ สมาชิกมากกวา สมาชกิ ไมให รว มแสดงความ รว มแสดงความ คร่งึ รวมแสดง ความรวมมอื คิดเหน็ ประโยชน คิดเห็นประโยชน ความคิดเห็น ในการแสดงความ ของงานบานและ ของงานบา นและ ประโยชนข อง คดิ เหน็ ประโยชน มารยาทใน มารยาทใน งานบา นและ ของงานบานและ การทาํ งานบาน การทํางานบาน มารยาทใน มารยาทใน การทํางานบาน การทาํ งานบาน ทุกคนรวมกิจกรรม รอยละ ๘๐ ของ รอ ยละ ๖๐ ของ รอยละ ๕๐ ของ กลมุ อยา งมคี วามสุข กลุมรวมกจิ กรรม กลุมรวมกิจกรรม กลมุ รวมกจิ กรรม กลุมอยา งมคี วามสุข กลุมอยา งมีความสุข กลมุ อยา งมีความสุข ผลงานมคี ุณภาพ ผลงานมีคุณภาพ ผลงานมีคุณภาพ ผลงานไมมีคณุ ภาพ และเสร็จตาม เสรจ็ ชา กวาเวลาท่ี เสร็จไมท ันตาม เสรจ็ ไมท นั ตาม กําหนดเวลา กาํ หนดเล็กนอย กาํ หนดเวลา กาํ หนดเวลา

๑๔ คมู อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) แบบสรปุ ผลการวดั และประเมนิ ผล รายวชิ า การงานอาชีพ ง๑๕๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เรอ่ื ง งานบานและมารยาทในการทํางานบาน ผลการประเมนิ ผลงาน/ใบงาน ผลการสังเกตพฤติกรรม สรปุ เลขที่ คะแนน รอยละ ระดบั คณุ ภาพ คะแนน รอยละ ระดับคุณภาพ ผา น ไมผาน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ สรปุ ผลการประเมิน นักเรียนผา นเกณฑการประเมิน จํานวน....................คน คิดเปนรอ ยละ................... นกั เรียนไมผา นเกณฑการประเมนิ จาํ นวน....................คน คิดเปนรอ ยละ................... ลงชือ่ ......................................................ผูสอน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

หนวยการเรียนรูท่ี ๑ เร่ือง งานบา นนารู ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๕ ๑๕ ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน จากการจดั การเรียนรู เรอ่ื ง งานบานและมารยาทในการทาํ งานบา น นักเรยี นมผี ลการเรยี นรูดงั น้ี ระดบั ดมี าก จาํ นวน............คน คดิ เปน รอ ยละ......................... ระดบั ดี จํานวน............คน คิดเปนรอ ยละ......................... ระดับพอใช จํานวน............คน คิดเปน รอยละ......................... ระดบั ปรับปรงุ จํานวน............คน คิดเปน รอยละ......................... ความสําเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอจาํ กดั การใชแผนการจัดการเรียนรู และขอเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผสู อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เหน็ /ขอ เสนอแนะของผูบริหารหรือผทู ่ีไดรับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๑๖ คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) ใบความรูท่ี ๑ เร่ือง งานบานและมารยาทในการทํางานบาน หนว ยการเรียนรทู ่ี ๑ เรื่อง งานบา นนารู แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๑ เร่ือง งานบานและมารยาทในการทาํ งานบา น รายวชิ า การงานอาชีพ รหสั วชิ า ง๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ ความหมายของบาน กิจกรรมตาง ๆ ที่เก่ียวกับการดํารงชีวิตประจําวันของสมาชิกในครอบครัว ซึ่งทุกคนในครอบครัว ปฏิบัติอยูเปน ประจํา ประเภทของงานบา น ๑. การดูแลรักษาความสะอาดบา น ๒. การดูแลรักษาเครื่องเรือนเครื่องใชใ นบาน ๓. การจดั ตกแตง บา นและบรเิ วณบาน ๔. การประกอบอาหาร ๕. การซักผา ๖. การรีดผา ๗. การตัดเยบ็ ๘. การซอมแซมเสอื้ ผา ๙. การดูแลรักษาเสือ้ ผา การดแู ลรกั ษาหองตา ง ๆ หอ งรบั แขกหรอื หองนั่งเลน ๑. จัดวางสงิ่ ของตา ง ๆ เชน แจกันดอกไม หมอนอิง หนงั สอื ใหเปนระเบียบสวยงามไมกีดขวางทางเดิน ๒. ทําความสะอาดเคร่อื งเรอื น เชน โตะ โซฟา ตู ใหสะอาด ๓. ทําความสะอาดพน้ื หองรับแขกโดยการกวาดและถูพื้นทกุ วนั ๔. ทาํ ความสะอาดผนงั หอ งและเพดานหอ ง สปั ดาหล ะ ๑ ครง้ั หองครัว ๑. ทําความสะอาดเคร่ืองครัวตาง ๆ เชน จาน ชาม กระทะ ทุกครั้งเมื่อใชเสร็จและจัดเก็บเขาท่ีให เรยี บรอย ๒. ทําความสะอาดเตาทกุ ครั้งหลงั ใชงานเสรจ็ โดยทําความสะอาดเมื่อเตาคลายความรอ นแลว ๓. ทําความสะอาดพนื้ ของหองครวั โดยการกวาดและถู และเชด็ ถูช้นั วางของและอุปกรณตา ง ๆ ทุกวนั ๔. ทําความสะอาดเพดาน และฝาผนังหองครัวอยางนอยสัปดาหละ ๑ คร้ัง เพื่อขจัดคราบนํ้ามัน จากการประกอบอาหารท่เี กาะติดอยู

หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง งานบา นนารู ชน้ั ประถมศึกษาปที่ ๕ ๑๗ หองนอน ๑. เมื่อต่ืนนอนแลว ควรจัดท่นี อนและเกบ็ เครอื่ งนอน เชน หมอน ผา หม ใหเ รยี บรอย ๒. จดั เกบ็ ของใชต าง ๆ ใหเ ปน ระเบียบและหมน่ั ทําความสะอาดอยเู สมอ ๓. กวาดและถพู น้ื หองนอนทกุ วัน ๔. ทาํ ความสะอาดเครือ่ งนอน เชน นําไปผง่ึ แดด และซกั ทําความสะอาด ประมาณอาทติ ยล ะ ๑ ครัง้ ๕. หม่นั ทาํ ความสะอาดผนังหอ ง เพดานหอง หนา ตาง และประตอู ยูเ สมอ หอ งน้ํา ๑. ทําความสะอาดเครื่องสุขภัณฑ เชน อางลางมือ โถสวมใหสะอาดโดยใชน้ํายาลางหองน้ําลาง และขัดทําความสะอาดทุกวนั ๒. จัดวางเครื่องใชในหองน้ํา เชน สบู แชมพู แปรงสีฟน ใหเปนระเบียบเรียบรอย เพื่อใหหยิบใชได สะดวก ๓. ทําความสะอาดฝาผนังและพื้นหองน้ํา โดยราดนํ้าลางหองน้ําตามสัดสวนแลวใชแผนขัด ขัดที่พ้ืน และฝาผนัง และใชแปรงพลาสตกิ ขัดพ้ืนหองนํ้าใหสะอาด มารยาทในการทํางานบา น ๑. เปนคนตรงตอ เวลา ๒. มคี วามรับผิดชอบตอ งานท่ไี ดร ับมอบหมาย ๓. ทํางานดว ยความตง้ั ใจ ใสใจในรายละเอยี ดตา ง ๆ ๔. ทํางานอยางมีระเบียบเรยี บรอ ย ๕. มีมนุษยสมั พนั ธท ี่ดตี อเพอื่ นรวมงาน ๖. มคี วามกระตือรอื รนในการทาํ งาน ๗. ยอมรับในขอบกพรอ งของตนเองและของเพ่ือนรวมงาน ๘. กลาวชมเชยเพ่อื นรว มงานตามความเหมาะสม ๙. รับฟง ความคิดเหน็ ของผอู นื่ ๑๐. กลาวคํา “ขอบคณุ หรอื ขอบใจ” ทกุ คร้งั เม่อื มสี มาชิกชว ยเหลืองานของตนเอง

๑๘ คมู ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) ใบงานที่ ๑ เร่ือง งานบานและมารยาทในการทํางานบา น หนวยการเรยี นรูท่ี ๑ เร่อื ง งานบานนา รู แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑ เรื่อง งานบา นและมารยาทในการทาํ งานบา น รายวิชา การงานอาชีพ รหสั วิชา ง๑๕๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ คําชี้แจง : ใหนักเรียนเขยี นขอมูลงานบานและมารยาทในการทาํ งานบานทีน่ กั เรียนเคยปฏบิ ัติมาใหถูกตอ ง งานบานทน่ี กั เรยี นเคยปฏิบตั ิ มารยาททน่ี ักเรยี นเคยปฏิบตั ิ

หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ เร่ือง งานบานนารู ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๕ ๑๙ แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๒ เรื่อง เครือ่ งมอื ทใ่ี ชในงานบา น หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เรอ่ื ง งานบานนา รู เวลา ๑ ช่วั โมง กลุมสาระการเรียนรกู ารงานอาชีพ รายวชิ า การงานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปท ี่ ๕ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ช้วี ัด สาระท่ี ๑ การดํารงชวี ติ และครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกันและทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพอื่ การดํารงชวี ิตและครอบครัว ตวั ชี้วดั ง ป ๕/๑ อธบิ ายเหตผุ ลการทาํ งานแตล ะข้นั ตอนถกู ตอ งตามกระบวนการทาํ งาน ง ป.๕/๒ ใชทกั ษะการจัดการในการทํางานอยา งเปน ระบบ ประณตี และมีความคดิ สรา งสรรค ๒. สาระสําคัญ/ความคดิ รวบยอด การรูจักเลือกใชอุปกรณอํานวยความสะดวกในการทําความสะอาดบานใหเหมาะสมกับงานบาน จะทําใหก ารทําความสะอาดบา นสาํ เรจ็ อยางรวดเรว็ มีประสิทธภิ าพบรรลเุ ปาหมายท่ีกาํ หนดไว ๓. จดุ ประสงคการเรียนรู ๓.๑ ดา นความรู ความเขา ใจ (K) สามารถแยกแยะความแตกตา งของเครอื่ งมือที่ใชใ นงานบานได ๓.๒ ดานทักษะ/กระบวนการ (P) สามารถเขยี นประเภทเครอื่ งมอื ท่ีใชในงานบานไดอ ยา งถูกตอ ง ๓.๓ ดา นคุณลักษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) เหน็ คุณคา ของเครื่องมอื ทใี่ ชในงานบา น ๔. สาระการเรียนรู การรจู ักเลอื กใชอ ุปกรณอาํ นวยความสะดวกในการทาํ ความสะอาดบา นใหเ หมาะสมกบั งาน ๕. สมรรถนะสําคญั ของผเู รยี น ๕.๑ ความสามารถในการแกไขปญหา ๕.๒ ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ ๖. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ๖.๑ ใฝเรยี นรู ๖.๒ มุงมัน่ ในการทํางาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู

๒๐ การจดั กิจกรรมการเรียนร แผนการจัดการเรียนรูท ่ี ๒ เร รายวชิ า การงานอาชีพ หนว ยการเรียนรทู ลาํ ดบั จุดประสงคการเรียนรู ข้นั ตอนการ เวลา แ ที่ จดั การเรยี นรู ที่ใช ๑. กิจกรรมครู ๒. ๑. สามารถแยกแยะ ขน้ั นาํ ๕ ๑. ครูแจงจดุ ประสงคการเรยี น ความแตกตางของ นาที นกั เรียนทราบ เครือ่ งมอื ท่ีใชใ นงานบาน ๒. ครแู สดงภาพไมกวาด จากน ได นักเรยี นรว มกนั แสดงความคดิ ๒. สามารถเขียนประเภท เก่ียวกับภาพ วาเกีย่ วกับภาพอ เครื่องมอื ที่ใชใ นงานบาน ใชสาํ หรับทาํ อะไร และถาไมม ไดอยา งถกู ตอง จะใชอ ะไรทดแทนไดบา ง ข้นั สอน ๒๐ ๑. ครูแสดงสอื่ สไลดหรือใบคว นาที เคร่ืองมือที่ใชใ นงานบาน ๒. ครูอธิบายใหความรูเกี่ยวกับ เครอ่ื งมือที่ใชในงานบาน ประ ปดกวาด ๓. ครูถามนักเรยี นวา เคร่ืองม เช็ดถมู อี ะไรบาง ๔. ครอู ธิบายเพ่ิมเติมใหนักเรีย ถงึ ประเภทเช็ดถู ประเภทขัด

คมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) รู ช้ันประถมศกึ ษาปที่ ๕ สื่อการเรยี นรู การประเมิน ร่ือง เครื่องมอื ที่ใชในงานบา น ๑. สือ่ สไลด การเรียนรู ที่ ๑ เร่ือง งานบา นนารู จํานวน ๑ ชั่วโมง เรื่อง เครื่องมือ ทีใ่ ชในงานบา น แนวการจัดการเรยี นรู กิจกรรมนกั เรยี น นรูใ ห ๑. นักเรยี นรับทราบจุดประสงค การเรียนรู นัน้ ให ๒. นกั เรยี นรวมกนั แสดงความคดิ เหน็ ดเห็น เกี่ยวกบั ภาพไมกวาด วา เก่ียวกับภาพ อะไร อะไร ใชส ําหรบั ทาํ อะไร และถา ไมมี มีส่งิ น้ี สง่ิ นี้ จะใชอะไรทดแทนไดบา ง วามรทู ี่ ๒ ๑. นกั เรียนดสู ่ือสไลดหรือใบความรู ๑. ส่ือสไลด ๑. แบบประเมนิ ท่ี ๒ เครอ่ื งมือท่ีใชใ นงานบาน เร่ือง เคร่ืองมือ ผลงาน ทใ่ี ชใ นงานบาน บ ๒. นักเรียนฟงครูอธบิ ายใหความรู ๒. ใบความรู ๒. แบบสงั เกต ะเภท เกี่ยวกบั เครื่องมือที่ใชใ นงานบาน ท่ี ๒ เคร่อื งมือ พฤติกรรม ที่ใชในงานบาน ประเภทปด กวาด มือประเภท ๓. นกั เรยี นตอบคาํ ถามของครวู า เครอื่ งมอื ประเภทเชด็ ถมู ีอะไรบา ง ยนเขา ใจ ๔. นกั เรียนฟงครูอธิบายเพม่ิ เติม ใหนักเรียนเขา ใจถึงประเภทเช็ดถู ประเภทขดั

หนว ยการเรียนรูท ี่ ๑ เรือ่ ง งานบานนา รู ช้นั ประถมศึกษาปท่ี ๕ ลาํ ดับ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ขนั้ ตอนการ เวลา แ ท่ี จัดการเรียนรู ท่ใี ช กิจกรรมครู ๕. ครูถามนักเรียนวา นกั เรยี น สารทาํ ความสะอาดอะไรบาง ๓. ข้นั ปฏบิ ัติ ๒๐ ๖. ครูอธบิ ายเพิม่ เติมถึงสารทํา ๔. ๑. เห็นคณุ คาของ ข้ันสรุป นาที ความสะอาด และเครื่องใชในง เครอื่ งมอื ท่ีใชในงานบาน ประเภทอ่ืน ๆ ๗. ครใู หน กั เรยี นเขียนใบงานท แผนความคิดเกยี่ วกบั เคร่ืองมือ งานบานแตละประเภท ๕ ๑. ครแู ละนักเรียนรวมกันสรุป นาที ที่ไดร ับในวันนี้ พรอมสง ใบงาน

แนวการจัดการเรียนรู สือ่ การเรยี นรู ๒๑ กิจกรรมนักเรียน ๓. ใบงานท่ี ๒ การประเมนิ เร่อื ง เคร่ืองมือ การเรียนรู นเคยใช ๕. นักเรยี นตอบคําถามของครวู า ทีใ่ ชในงานบา น นักเรยี นเคยใชสารทําความสะอาด อะไรบา ง า ๖. นกั เรยี นฟงครูอธิบายเพมิ่ เติมถึง งานบา น สารทําความสะอาด และเคร่ืองใชใน งานบานประเภทอน่ื ๆ ท่ี ๒ ๗. นกั เรยี นเขียนใบงานท่ี ๒ อทใี่ ชใน แผนความคดิ เก่ยี วกับเครื่องมือทใี่ ชใน งานบานแตละประเภท ปความรู นกั เรียนรวมกนั สรุปความรูทไ่ี ดร ับ น ในวันนี้ พรอมสงใบงาน

๒๒ คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) ๘. สื่อการเรียนรู/แหลงเรยี นรู ๘.๑ สื่อสไลด เครื่องมือทใ่ี ชใ นงานบาน ๘.๒ ใบความรูท ี่ ๒ เคร่อื งมือทใี่ ชใ นงานบา น ภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง เคร่ืองมือที่ใชใ นงานบาน ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ส่ิงที่ตองการวัด / ประเมิน วธิ ีการ เครอ่ื งมือท่ีใช เกณฑค ุณภาพ ดานความรู สามารถแยกแยะความแตกตางของ การประเมินผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน ผา นระดับ ๒ ขน้ึ ไป เครอ่ื งมือท่ีใชใ นงานบานได ดา นทกั ษะและกระบวนการ การประเมนิ ผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน ผา นระดับ ๒ ขน้ึ ไป สามารถเขยี นประเภทเคร่ืองมือทใ่ี ชใน งานบา นไดอยางถูกตอง การสังเกต แบบการสงั เกต ผานระดับ ๒ ขึ้นไป ดานเจตคติ เหน็ คณุ คา ของเคร่ืองมือที่ใชในงานบาน

หนว ยการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง งานบา นนารู ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ ๒๓ แบบประเมินผลงาน/ใบงาน เรอื่ ง เครอื่ งมอื ที่ใชใ นงานบาน คาํ ชีแ้ จง : ครูผูสอนประเมินผลงาน/ใบงานของนักเรียนและใหคะแนนลงในชองทต่ี รงกบั ระดบั คะแนน รายการประเมนิ การสงงาน การทํางานมี รวม ระดบั เลขท่ี แยกแยะ เขียนประเภท การนําไป ตรงตอเวลา ความสะอาด คะแนน คณุ ภาพ และเหมาะสม เรยี บรอย (๒๐) ความแตกตาง เครอ่ื งมือท่ีใช ประยุกตใชใ น ของเครอื่ งมือที่ใช ในงานบา นได ชวี ติ ประจําวัน ในงานบา นได อยา งถูกตอง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑก ารใหค ะแนน ชวงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ๑๘-๒๐ ดีมาก (๔) ๑๔-๑๗ ดี (๓) ๑๐-๑๓ พอใช (๒) ต่ํากวา ๑๐ ปรบั ปรงุ (๑) เกณฑการสรปุ ผลการประเมินระดบั คุณภาพ พอใช ข้นึ ไป ถอื วา ผานเกณฑการประเมิน ลงช่ือ......................................................ผูส อน (..........................................................) วันท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๒๔ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) เกณฑการประเมนิ ผลงาน/ใบงาน ประเด็นท่ีประเมนิ เกณฑก ารใหค ะแนน แยกแยะ ความแตกตา งของ ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรับปรงุ (๑) เครื่องมือที่ใชใน แยกแยะ แยกแยะ งานบา นได ความแตกตา งของ แยกแยะ แยกแยะ ความแตกตา งของ เคร่ืองมอื ท่ีใชใน ความแตกตางของ ความแตกตา งของ เครอ่ื งมอื ท่ีใชใน เขยี นประเภท งานบา นไดถูกตอง เครื่องมือที่ใชใ น เคร่ืองมือท่ีใชใน งานบานไดน อย เครื่องมอื ที่ใชใน ครบถว น ชดั เจน งานบา นไดถกู ตอง งานบา นไดถกู ตอง หรอื ไมไดแ ละไมเ กิด งานบา นได ดีเย่ยี ม แตยงั ไมครอบคลมุ ความเขาใจ อยา งถูกตอง บางสวน เขียนประเภท เขียนประเภท เครื่องมอื ที่ใชใ น เขียนประเภท เขยี นประเภท เครือ่ งมือท่ีใชใ น งานบานได เคร่ืองมอื ที่ใชใ น เคร่ืองมอื ท่ีใชใ น งานบา นได อยางถูกตอง งานบา นได งานบา นได อยา งถูกตองนอ ย ครบถว น ดีเย่ียม อยางถูกตองดี อยา งถูกตอง หรือไมไดเลย บางสวน การนาํ ไปประยกุ ตใช สามารถนาํ ไป สามารถนําไป สามารถนาํ ไปปรับ ไมสามารถไปปรับ ในชวี ิตประจําวัน ประยกุ ตใชใน ประยกุ ตใ ชใน ใชในชีวิตประจําวัน ใชได การเรียนการสอน การเรียนการสอนได ได และในชีวิต ประจําวนั การสง งานตรงตอ สง งานตรงเวลา รับผิดชอบในงาน ทํางานที่ไดร บั ทํางานท่ีไดร ับ เวลาและเหมาะสม มีความรบั ผดิ ชอบ ทีไ่ ดรบั มอบหมาย มอบหมายไดเ พยี ง มอบหมายไมครบ ในงานที่ไดรบั สงงานตรงเวลา เล็กนอย บางสวน ทุกสวน และสง งาน มอบหมาย บางครัง้ แตง านมี ไมต รงตอเวลาเปน ไมตรงเวลาเปน สรางสรรคงานได ความเหมาะสมกับ บางคร้งั ประจาํ อยางถูกตอง เวลาที่สง การทาํ งาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน ใบงาน/ผลงาน มคี วามสะอาด มคี วามสะอาด มีความสะอาด มคี วามสะอาด มคี วามสะอาด เรียบรอ ย เรยี บรอย สวยงาม เรยี บรอย สวยงาม เรยี บรอย สวยงาม เรยี บรอ ยนอ ยมาก ถกู ตองตามที่ ถูกตองตามทีก่ ําหนด ถกู ตองเปน บางสวน มีรอยลบและ กําหนดในระดบั ในระดบั ดี ในระดบั พอใช ความสกปรกของงาน ดีมาก

หนวยการเรียนรูที่ ๑ เรือ่ ง งานบา นนา รู ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๕ ๒๕ แบบสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี น (รายบุคคล) เรื่อง เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ นงานบา น คําช้ีแจง : ครูผูส อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนแตละกลุม และใหค ะแนนลงในชองท่ีตรงกบั ระดับคะแนน รายการประเมิน การรว มงาน รวม ระดบั เลขท่ี พฤติกรรม ความรบั ผิดชอบ การแสดง กลมุ อยางมี ความสําเร็จ คะแนน คณุ ภาพ ความสุข ของผลงาน (๒๐) การทาํ งานกลุม ตอหนา ท่ี ความคดิ เหน็ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ เกณฑก ารใหค ะแนน ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ ๑๖-๒๐ ดมี าก (๔) ๑๑-๑๕ ดี (๓) ๖-๑๐ พอใช (๒) ๑-๕ ปรับปรุง (๑) เกณฑการสรปุ ผลการประเมินระดบั คุณภาพ พอใช ข้นึ ไป ถือวา ผานเกณฑการประเมนิ ลงชื่อ......................................................ผสู อน (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

๒๖ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชพี ป.๕) เกณฑการสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน (รายบคุ คล) ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ เกณฑก ารใหคะแนน ความต้งั ใจ ในการเรยี น ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช (๒) ปรบั ปรงุ (๑) สนใจในการเรียน ไมส นใจในการเรยี น ไมค ยุ หรือเลน กัน สนใจในการเรียน สนใจในการเรียน คุยและเลน กัน ในขณะเรยี น คุยกันเลก็ นอย คุยกนั และเลน กัน ในขณะเรียน ในขณะเรยี น ในขณะเรยี นเปน บางครั้ง ไมม ีความรบั ผดิ ชอบ ตอหนาท่ี ความรับผดิ ชอบ ความรบั ผิดชอบ ความรบั ผิดชอบ ความรบั ผดิ ชอบ ตอหนาที่ ตอหนาที่ ตอหนา ท่ีเปน ตอ หนาทเ่ี ปน ไมเ หน็ คุณคา ของ เห็นคณุ คาของ อยางสมาํ่ เสมอ สว นใหญ บางครัง้ เคร่ืองมือท่ีใชใน เครอ่ื งมอื ที่ใชใน เห็นคุณคาของ งานบาน งานบาน เครอื่ งมอื ท่ีใชใ น เห็นคุณคาของ เหน็ คณุ คา ของ ทํางาน งานบาน เครอื่ งมือที่ใชใ น เครื่องมอื ท่ีใชใ น ทํางานอยางไมมี อยา งมีความสขุ อยางสมํา่ เสมอ งานบาน งานบาน ความสขุ ความสาํ เร็จ ทาํ งานอยางมี เปน สว นใหญ เปน บางคร้งั ของผลงาน ความสุข ผลงานไมมีคณุ ภาพ อยางสมาํ่ เสมอ ทํางาน ทาํ งาน เสรจ็ ไมท ันตาม ผลงานมีคณุ ภาพ อยางมีความสขุ อยางมีความสขุ กําหนดเวลา และเสรจ็ ตาม เปนสว นใหญ เปน บางครงั้ กาํ หนดเวลา ผลงานมคี ณุ ภาพ ผลงานมคี ณุ ภาพ เสร็จชากวาเวลา เสรจ็ ไมท ันตาม ทกี่ าํ หนดเลก็ นอย กาํ หนดเวลา

หนว ยการเรยี นรูที่ ๑ เรื่อง งานบา นนารู ชั้นประถมศกึ ษาปที่ ๕ ๒๗ แบบสรปุ ผลการวดั และประเมนิ ผล รายวิชา การงานอาชีพ ง๑๕๑๐๑ ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เรอื่ ง เครอ่ื งมือท่ใี ชในงานบา น ผลการประเมนิ ผลงาน/ใบงาน ผลการสงั เกตพฤตกิ รรม สรุป เลขท่ี คะแนน รอ ยละ ระดบั คุณภาพ คะแนน รอ ยละ ระดบั คุณภาพ ผา น ไมผ า น ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ สรุปผลการประเมนิ นกั เรียนผา นเกณฑการประเมิน จาํ นวน....................คน คดิ เปนรอยละ................... นกั เรยี นไมผ า นเกณฑก ารประเมิน จํานวน....................คน คิดเปนรอยละ................... ลงชอ่ื ......................................................ผูสอน (..........................................................) วันที่ .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............

๒๘ คูมอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา (การงานอาชีพ ป.๕) ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน จากการจดั การเรยี นรู เรอื่ ง เคร่ืองมือที่ใชใ นงานบา น นกั เรียนมีผลการเรียนรูดงั น้ี ระดบั ดมี าก จาํ นวน............คน คดิ เปนรอยละ......................... ระดับดี จาํ นวน............คน คิดเปนรอ ยละ......................... ระดับพอใช จาํ นวน............คน คดิ เปน รอ ยละ......................... ระดบั ปรับปรุง จาํ นวน............คน คดิ เปน รอ ยละ......................... ความสําเร็จ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จํากดั การใชแ ผนการจัดการเรยี นรู และขอเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแกไ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผสู อน (..........................................................) วนั ที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เหน็ /ขอเสนอแนะของผูบริหารหรือผูท ่ไี ดร บั มอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วนั ท่ี .......... เดอื น ..................... พ.ศ. .............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook