การจดั การศึกษา ฐานสมรรถนะ • Why สมรรถนะ • What สมรรถนะ • CBE..หลกั การ โดย รองศาสตราจารย- ดร.ทศิ นา แขมมณี
Why ? ทำไมตอ9 งปฏิรปู หลักสูตร การเรยี นการสอนและการวัด ประเมินผลสูฐE านสมรรถนะ 1 การเปล่ียนแปลงของโลกและสังคม 2 การเกิดปญ7 หาสำคัญที่รุนแรง 1 เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
โลกในศตวรรษที่ 21 (ค.ศ. 2019 -2099 : พ.ศ. 2562-2642) โลกในศตวรรษท่ี 21 : VUCA World Volatility : มคี วามผนั ผวน แปรปรวน Uncertainty : ไม;มีความแนน; อน Complexity : มีความซับซอC น Ambiguity : มีความคลมุ เครอื ไมช; ัดเจน เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 2
ความร9ชู ดุ ใหมE ทกั ษะชุดใหมE คณุ ลักษณะแบบใหมE • 3Rs ทักษะแหNงศตวรรษที่ 21 ; 8Cs • ใฝrเรียนรู8 ส8ยู ่ิงยาก • เศรษฐกิจ ธุรกจิ และการเป4น • Critical thinking & problem • พึ่งตนเอง สร8างอาชพี ได8 ผู8ประกอบการ solving • มีสนุ ทรียภาพ มวี ินัย ขยัน อดทน ซ่อื สัตยw • สุขภาพ • Creativity & Innovation • ไมNเปราะบาง (fragile) ล8มแล8วลกุ ได8 มี growth mindset มีความยืดหยนNุ • สง่ิ แวดล8อม • Cross-cultural understanding • สามารถปรบั ตวั ฟ}~นคนื สูNสภาพเดมิ ได8 • การเรียนรู8ข8ามวฒั นธรรม • Communication, Information • (resiliency) • สื่อสารสนเทศ เทคโนโลยี & Media Literacy ใชว8 ิกฤตใหเ8 ปน4 โอกาส สร8างความ • การปกครองและหนา8 ทพ่ี ลเมือง • Computing & Media Literacy เข8มแข็ง และความสำเรจ็ ทมี่ ากกวNาเดิม ฯลฯ • Career& Learning Self- ได8 Reliance • ทำงานเกงN มสี มรรถนะหลากหลายที่ ชวN ยใหท8 ำงานได8สำเร็จ • Change ฯลฯ • เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 3
ผลที่คาดหวงั ความร2ู (K) ทกั ษะ (P/S) คุณลักษณะ (A) ผลสมั ฤทธิ์ ผลลพั ธสF งู ผลท่เี กิด - ร?ูแบบทAองจำ - ทำอะไรไม&ค&อย - เฉอื่ ยชา ข้นึ จริง - รผ?ู ิวเผนิ - ไมใ& ฝรL ู# ผลสมั ฤทธ์ิ / - รไ?ู มAจรงิ เป9น - ไม&ส#ูสิ่งยาก ผลลัพธตO ่ำกวาA - รไ?ู มAถึงแกนA - คดิ ไมเ& ปน9 - ไม&เหน็ คณุ ค&า เกณฑO / คาA เฉลย่ี จับหลักไมไA ด? - แก#ป=ญหาไมไ& ด# ทง้ั ในระดบั ชาติ - รู?ไมถA กู ถว? น - นำทักษะไปใช# ของการเรยี นรู# และนานาชาติ - รู?แบบเปHด เรียนเพื่อสอบ - ร#ูแตป& ระยุกตใ, ช# ในงาน/ - ไม&มวี นิ ยั 4 สถานการณ, ไมข& ยัน ความร#ูไมไ& ด# ใหม&ไมไ& ด# ไม&อดทน - ไม&เชี่ยวชาญ ไมเ& ขม# แข็ง อะไรสกั อยา& ง - ความรทู# &วมหวั เอาตวั ไม&รอด เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
Why ? การเกิดปญ( หาสำคัญทีร่ ุนแรง 1) ปญ= หาคณุ ภาพของผ#เู รยี นในภาพรวม ผลการทดสอบO-NET ของผเBู รยี นต่ำมาก คุณภาพการศึกษาไทยตำ่ มาก ผลการสอบ O – NET ชนั้ มัธยมศึกษาป^ท่ี 6 พ.ศ. 2562 ผลการสอบ O – NET ตำ่ มาก ผเู? ขา? สอบกวาA 362,900 คน คะแนนเฉล่ีย คณิตศาสตรO 25.40% ภาษาอังกฤษ 29.20 % วิทยาศาสตรO 29.20 % สังคมศาสตรO 35.70 % ภาษาไทย 42.21 % สNวนใหญคN ะแนนต่ำกวาN ปƒกNอน ผลคะแนนผ?ูจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน สวA นใหญAตกเกณฑO เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 5
2. ปญ7 หาคุณภาพของผเ?ู รียนในภาพรวม การเกดิ ป(ญหาสำคัญที่รนุ แรง ผลการทดสอบ PISA ต่ำมาก อยTางตTอเนอ่ื งตลอดเวลา 15 ปX ไมไT ดม2 าตรฐานสากล วิทยาศาสตร2 คNาเฉลีย่ ไทย (OECD) คณิตศาสตร2 การอ=าน ป\" 2015 ป\" 2018 421 (493) 426 (489) 415 (490) 419 (489) 409 (493) 393 (487) ทม่ี า: moe360.blog/2019/12/04/pisa2018/ 6 เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
Why ? การเกดิ ป7ญหาสำคัญทีร่ ุนแรง 3) ปญ7 หาคุณภาพของผ?ูเรียนในภาพรวม ระดบั ความสามารถของ นกั เรียนไทยเม่อื เทยี บกับชาติตาA ง ๆ อยูAในระดบั ตำ่ มาก เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 7
ขาดสมรรถนะ ป[ญหาผู2เรียนด2อยคุณภาพ สาเหตุสำคญั ผ9เู รยี นขาด Ø ขาดกระบวนการเรยี นรูท? สี่ งA เสริมใหผ? ูเ? รยี นเกิดสมรรถนะท่สี ำคัญ ความสามารถใน - ขาดกระบวนการคดิ การสรา? งความร?ู ความเขา? ใจ ในส่ิงที่ การนำความรู9 ทักษะ เรียน ใหม? คี วามหมายตอA ตน - ขาดการคิดวิเคราะหเO จาะลกึ ในเรือ่ งท่ีเรียนร?ู - ขาดการเชอื่ มโยงส่ิงทเี่ รยี นร?ูกบั ชีวติ จริง และคุณลกั ษณะ - ขาดการปฏบิ ตั ิ การฝrกฝน การลงมอื ทำด?วยตนเอง ตาE งๆ ท่ไี ดเ9 รียนร9ไู ป - ขาดการฝrกทกั ษะที่จำเปนH ตAางๆ อยาA งเพยี งพอ เชนA ทกั ษะการ สืบเสาะ ทกั ษะการส่อื สาร ทกั ษะการนำเสนอ ประยุกตใ- ชใ9 น - ขาดการเรียนรต?ู ามความแตกตAางระหวAางบคุ คล การทำงานให9 - ขาดการได?รบั การพฒั นาเจตคติ คAานิยม และคณุ ลักษณะอยาA ง ประสบผลสำเรจ็ ตAอเนื่อง - ขาดการประเมนิ เพ่อื พฒั นา (formative Assessment) - การประเมินรวมยอด มงAุ วดั แตAความรู?เปHนสำคญั 8 เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
เน่อื งจากหลักสตู ร การสอนและ การวัดประเมนิ ผล แบบเดิม ยังไมZสามารถสงZ ผล กระทบตZอกระบวนการเรียนร\\ู และคุณภาพ ผ\\ูเรียน ตามที่พึงปรารถนา จงึ จำเปbนตอ\\ งท่ี จะตอ\\ งแสวงหาแนวคดิ แนวทาง และวธิ กี ารอนื่ ทจ่ี ะสามารถชวZ ยให\\ผู\\เรยี นเกิดสมรรถนะท่ีตอ\\ งการ เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 9
การศึกษาขอ( มลู ในระดบั นานาชาตพิ บวา8 .... -หลายประเทศมีปUญหาคลCายคลึงกับประเทศไทย และเลือกใชCแนวคิดการศึกษาฐานสมรรถนะใน การพัฒนาผCเู รียน -ประเทศต;าง ๆ ทั่วโลกต;างใหCความสำคัญกับ การพัฒนาทักษะที่จำเปhนต;อการดำรงชีวิตในโลก แห;งศตวรรษท่ี 21 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 10
ขอ? มูลสนบั สนนุ การนำหลกั สตู รฐานสมรรถนะมาใช?ในการปฏริ ูปการเรียนรู?ของไทย ประเทศท่ปี รับหลักสูตรเดิมไปสห&ู ลกั สูตรฐานสมรรถนะ รฐั New York รฐั Alberta ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ประเทศแคนาดา สาธารณรัฐเคนยา สาธารณรัฐรวันดา รฐั คเู วต สหรฐั เมก็ ซโิ ก สาธารณรฐั โปรตุเกส สาธารณรัฐเอสโตเนีย เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 11
ประเทศในทวีปเอเชยี ตะวันออกท่ใี หค? วามสำคัญ กับการพัฒนาสมรรถนะ เขตบรหิ ารพิเศษฮอA งกง แหAงสาธารณรฐั ประชาชนจนี • ความสามารถในการใช#ภาษา 2 - 3 ภาษา (Trilingual and bilingual Competency) • ความสามารถในการนำความรไู# ปใช#ในบรบิ ทต&าง ๆ (T-shaped knowledge) • ความรใู# นการควบคมุ เทคโนโลยี (Knowledge to master and go Beyond Technologies) • ความร#ดู า# นภูมิศาสตร,เศรษฐกจิ ประวัติศาสตรแ, ละวฒั นธรรมของสังคมประเทศชาติและโลก (Knowledge of the Geography, Economy, History, and Culture of Society, The Nation, and The World) เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 12
ประเทศในทวีปเอเชียตะวนั ออกท่ใี ห?ความสำคญั กับการพัฒนาสมรรถนะ สาธารณรัฐสงิ คโปรO • การตระหนักรต,ู นเอง (Self- Awareness) • การจดั การตนเอง (Self- Management) • การตระหนกั รู,ทางสงั คม (Social Awareness) • การจัดการดา, นความสมั พันธM (Relationship Management) • การตดั สนิ ใจที่มีความรับผดิ ชอบ (Responsible Decision - Making) เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 13
ประเทศในทวปี เอเชยี ตะวันออกที่ให?ความสำคญั กบั การพัฒนาสมรรถนะ ญป่ี น‰ุ • การรู(ขน้ั พ้ืนฐาน (Basic Literacy) • ความสามารถในการคิด (Thinking Ability) • ความสามารถเชงิ ปฏบิ ตั ใิ นการกระทำเพือ่ โลก (Practical ability to act for The World) เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 14
ประเทศในทวปี เอเชียตะวนั ออกท่ใี หค? วามสำคญั กับการพัฒนาสมรรถนะ สาธารณรฐั เกาหลีใต? • ความสามารถในการจดั การตนเอง (Self-Management Competency) • ความสามารถในการประมวลความรู\\และข\\อมลู สารสนเทศ (Knowledge/Information Processing Competency) • ความสามารถในการคดิ สรา\\ งสรรค2 (Creative Thinking Competency) • ความสามารถดา\\ นสนุ ทรียศาสตรท2 างอารมณ2 (Aesthetic - Emotional Competency) • ความสามารถในการสอ่ื สาร (Communication Skills) • ความสามารถในการเปsนพลเมือง (Civic Competency) เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 15
ประเทศในทวปี ยโุ รป อเมรกิ าเหนอื ออสเตรเลยี และแอฟรกิ าใต? ท่ใี หค? วามสำคญั กับการพฒั นาสมรรถนะ แคนาดา • การคิดอย=างมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) • การคิดแกป\\ vญหา (Problem solving) • การจัดการข\\อมูลสารสนเทศ (Managing Information) • การคดิ สรา\\ งสรรค2และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) • การส่ือสาร (Communication) • การร=วมมือ (Collaboration) • สมรรถนะทางวฒั นธรรมและการเปsนพลโลก (Cultural and Global Citizenship) • การเจรญิ เติบโตและมีความเปsนอยทู= ี่ดี (Personal Growth and Well-Being) เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 16
ประเทศในทวีปยโุ รป อเมริกาเหนือ ออสเตรเลยี และแอฟรกิ าใต? ท่ใี ห?ความสำคญั กบั การพฒั นาสมรรถนะ เครอื รัฐออสเตรเลีย • การรห\\ู นงั สือ (Literacy) • ทักษะการคิด (Thinking Skills) • ความคดิ สร\\างสรรค2 (Creativity) • การจดั การตนเอง (Self- Management) • การทำงานเปนs ทีม (Teamwork) • ความเข\\าใจระหว=างวัฒนธรรม (Intercultural Understanding) • คุณธรรม จรยิ ธรรมและความสามารถทางสงั คม (Ethical Behavior and Social Competence) • การรเ\\ู ร่ืองจำนวน (Numeracy) • เทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT) • ความคิดสร\\างสรรค2 (Creativity) เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 17
ประเทศในทวปี ยุโรป อเมรกิ าเหนือ ออสเตรเลยี และอฟั รกิ าใต? ท่ีใหค? วามสำคัญกับการพฒั นาสมรรถนะ นิวซีแลนดO • การใช(ภาษา สญั ลกั ษณcและขอ( ความ (Using language, symbols and text) • การจดั การตนเอง (Managing- Self) • ความสัมพันธcกบั ผู(อืน่ (Relating to Others) • การมสี rวนรวr มและจติ สาธารณะ(Participating and Contributing) • การคิด (Thinking) เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 18
ขอ9 เสนอจากการรายงานของ PISA “ จากการประเมนิ ความรแู. ละทักษะของผเู. รียนในเรอื่ ง การอ=าน คณติ ศาสตรC วิทยาศาสตรC และการแก.ปDญหา พบวา= ความสำเรจ็ ในชีวติ ของนกั เรียนขึน้ อยูEกับสมรรถนะทีห่ ลากหลายของผเู9 รยี น (students’ success in life depend on a much wider range of competencies) ในโลกยุคใหมท= ่ีมคี วามซบั ซ.อนมากข้ึน มคี วามท.าทายมากข้ึน ใน สภาพการณCเช=นนี้สมรรถนะของบคุ คลกจ็ ะมคี วามหลากหลายและซบั ซอ. น มากขนึ้ มใิ ชEเปนl เพยี งทักษะท่เี คยกำหนดไวแ. ต=เดิม เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 19
Model ภูเขาน้ำแข็ง (Iceberg Model) (David C. McClelland) บคุ คลเปรยี บเทยี บไดก# บั ภเู ขา น้ำแข็ง โดยมสี &วนทเี่ ห็นได#งา& ย พฒั นาได# คอื ส&วนท่ีลอยอย&ู เหนือนำ้ ซ่งึ ก็คอื องคค, วามรแู# ละ ทกั ษะตา& งๆ ทบ่ี คุ คลมอี ย&ู และ สว& นใหญ&ท่มี องเห็นได#ยาก อยู&ใต# ผิวนำ้ ได#แก& แรงจูงใจ อปุ นิสัย ภาพลกั ษณภ, ายใน และบทบาท ต&อสงั คม ซึ่งมีผลตอ& พฤติกรรม ในการทำงานของบคุ คล และ เปน9 ส&วนท่พี ฒั นาไดย# าก พฤตกิ รรมในการทำงานของบุคคลข้นึ อยก&ู บั ความรู# ทักษะ (สว& นทอ่ี ยูเ& หนอื นำ้ ) และคณุ ลักษณะอนื่ ๆ 20 (ส&วนท่อี ยใ&ู ตน# ำ้ ) ของบคุ คลน้ัน เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
แนวคิดเกีย่ วกบั สมรรถนะ ศาสตราจารยF เดวดิ แมคเคล็ลแลนดF (David McClelland , 1970) นกั จิตวิทยา แหงT มหาวทิ ยาลัยฮารFวารFด ได2ศกึ ษาคณุ สมบตั แิ ละคณุ ลกั ษณะของนักธุรกจิ และผบ2ู รหิ าร ระดบั สูงท่ีประสบความสำเรจ็ ในองคFกรชัน้ นำพบวาT ประวตั ิ และผลลัพธ.ทางการศึกษาท่ี ดเี ดน: ของบุคคลไม:ไดเC ปนD ปEจจัยทจี่ ะชี้วา: บคุ คลนั้นๆจะประสบความสำเรจ็ ในหนCาทก่ี ารงาน เสมอไป หากต-ค2อวงาปมรสะกามอาบรดถว2 ใยนแคกณุนารลทวกั ำษคงณาดินะรอเวT ืน่กมกๆี่ยบั เวผชู2อTนกน่ื บั สมรรถนะ -ความสามารถในการสอ่ื สาร -การมีปฏสิ มั พนั ธFกบั ผูอ2 น่ื “คณุ ลักษณะสTวนลึกภายในของคนนั้นเปzนป[จจัยท่ขี บั เคล่อื นบคุ คลสคTู วามสำเรจ็ มากกวาT การเรียนร2ทู ีไ่ ดร2 ับจากสถาบันการศกึ ษาทัว่ ๆ ไป” เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 21
องคป$ ระกอบของสมรรถนะ สมรรถนะบคุ คลตามแนวคดิ ของ เดวดิ แมคคลาเลน (David McCleland) เกดิ จาก องคOประกอบที่สำคญั 5 ประการดังน้ี 1.ทกั ษะ (Skill) หมายถึง ส่งิ ทบี่ ุคคลกระทำไดด? ี และฝกr ปฏิบตั ิจนชำนาญ เชAนทกั ษะการอาA น 2.ความร?ู(Knowledge) หมายถึง ความร?เู ฉพาะดา? นของบุคคล เชนA ความร?ดู า? นภาษาอังกฤษ ความรดู? า? นการบรหิ ารสถานศึกษา 3.ทศั นคติ คAานยิ ม และความคิดเห็นเกี่ยวกบั ภาพลกั ษณขO องตนเอง (Self- Concept) เชนA คนที่มคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง (Self-Confident) จะเชอ่ื วAาตนเองสามารถแกป? ญ7 หาตาA ง ๆ ได? แนวคดิ เกีย่ วกบั สมรรถนะ4.บคุ ลิกประจำตวั บคุ คล (Trait) เปนH สง่ิ ที่อธบิ ายถึงบคุ คลน้นั ๆ เชนA เปHนคนทน่ี าA เชือ่ ถอื ไวว? างใจได? มีคณุ ลกั ษณะเปHนผ?นู ำ 5.แรงจงู ใจ หรือแรงขบั ภายใน (Motive) ทำใหบ? ุคคลแสดงพฤติกรรมทมี่ งAุ ไปสูสA ง่ิ ทเ่ี ปHนเป”าหมาย เชAนบคุ คลท่ีมงุA ผลสำเร็จ (Achievement Orientation) จะพยายามทำงานให?สำเร็จตามเป”าหมาย และปรบั ปรงุ วธิ กี ารทำงานของตนเองตลอดเวลา องคปF ระกอบท้ัง 5 ประการท่รี วมกันเปนz 22 คุณลักษณะเฉพาะของบุคคลและกTอให2เกดิ สมรรถนะ เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
สมรรถนะเปนz ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ (ขInองteกlาlรigทeำnงcาeน)ทด่ีดังกี จวะTาเเหชน็าวไดน2วFปาT [ญผญ2ูเราียนที่ เรียนเกงT อาจไมปT ระสบความสำเร็จในการ ทำงานเสมอไป แตTผู2ท่มี สี มรรถนะสงู และ หลากหลาย สามารถประยกุ ตใF ช2หลักการ วธิ กี าร ทกั ษะ และคณุ ลักษณะตTาง ๆ ท่ี ตนมีอยTูให2เกดิ ประโยชนFตอT งานท่ีทำ มัก ประสบความสำเรจ็ ในการทำงาน ( David C. McClelland แหAงมหาวิทยาลยั ฮารOวารดO ) เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 23
เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 24
เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 25
สรปุ ได2วTา สมรรถนะเปHนความสามารถของ บคุ คลในการใช?ความร?ู ทักษะ เจตคติ และคณุ ลกั ษณะท่ตี นมีอยAใู นการทำงาน หรือการแก?ป7ญหาตาA ง ๆ จนประสบ ความสำเร็จในระดบั ใด ระดบั หนึง่ สมรรถนะ แสดงออกทาง พฤตกิ รรมการปฏบิ ัตทิ ี่สามารถวดั และ ประเมินผลได? สมรรถนะจงึ เปนH ผลลพั ธOของ สาํ เรจ็ สาํ เรจ็ การประสานความร?ู ทกั ษะ เจตคติ คณุ ลกั ษณะและความสามารถอ่ืน ๆที่ ชวA ยให?บุคคล หรอื กลุมA บคุ คลประสบ ความสำเร็จในการทำงาน 26 Criteria/Proficiency ตามเกณฑ์ท+กี าํ หนด เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
แนวคดิ และความหมายของสมรรถนะ สมรรถนะ คอื พฤติกรรมทแี่ สดงออกถึง ความสามารถของบคุ คลในการทำงาน การใช@ชีวติ และ การแก@ปญB หาในสถานการณหF ลากหลายไดส@ ำเร็จ โดย มกี ารนำความรู@ ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะตPาง ๆ มาประยกุ ตFใช@รวP มกนั อยPางบรู ณาการ และอยPาง เหมาะสมกบั บรบิ ทแวดลอ@ ม เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 27
แนวคิด และความหมายของสมรรถนะ 28 • สมรรถนะคอื พฤตกิ รรมในการทำงาน สมรรถนะจะเกิดขน้ึ ได< ก็ตอ< งมีการทำงาน ถ<าไม?มงี าน/ การทำงาน สมรรถนะจะไมเ? กิด สมรรถนะกับงานจึงเปนD คูแ? ฝดท่ีอยูร? ว? มกนั เสมอ • การทำงานใหเ< กดิ สมรรถนะ ตอ< งอาศัย KSA ในงาน KSA ในงาน คือ KSA ทจ่ี ำเปนD ในการปฏิบตั งิ านนน้ั การใช< KSA รว? มกันอย?างบูรณาการและเหมาะสมกบั บรบิ ท จะชว? ยใหบ< ุคคลทำงานไดส< ำเรจ็ เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
แนวคิด และความหมายของสมรรถนะ เคล็ดลับความสำเรจ็ ทฤษฎีภูเขาน้ำแข็ง (Iceberg Model) ของเดวิด ซี แมคเคลล็ แลนดD (David C. McClelland) กลNาววNา พฤติกรรมการทำงานของบุคคลขึ้นกับความรูW และทักษะ ซึ่งเปรียบเสมือน สNวนของภูเขาน้ำแข็งที่อยูNเหนือน้ำ รวมทั้งคุณลักษณะสNวนลึกภายในตNาง ๆ ของบุคคล เชNน เจตคติ แรงจูงใจ อปุ นสิ ยั และภาพลักษณภD ายใน ซ่งึ เปรียบเหมือนสวN นของภูเขาน้ำแขง็ ทีอ่ ยNูใตนW ำ้ จากการศึกษาวิจัย พบวNา สNวนที่อยูNใตWน้ำเปeนปfจจัยสำคัญที่ขับเคลื่อนบุคคลสูNความสำเร็จ ในการปฏบิ ัติงาน กลาN วสน้ั ๆ คอื ตวั A เปeนปfจจัยสำคัญในการขับเคลื่อนใหWบุคคลสามารถใชW K และ S ในการปฏิบตั งิ านไดWสำเร็จ ดWวยความสำคญั ดังกลNาว A จงึ เปeนองคปD ระกอบท่ีสำคญั มากในการพฒั นาสมรรถนะ สNงผลใหเW กดิ การเรยี งลำดบั K S A เปนe A S K เพือ่ แสดงความสำคญั ของ A ในฐานะท่เี ปeนปfจจัยสNูความสำเรจ็ เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 29
องค์ประกอบสาํ คัญ 0 ประการ ประยุกต์ใช้ (?)ความรู้ (*) ทกั ษะ (() คุณลักษณะ (.)ประ ุยก ์ตใ ้ช(?) ของสมรรถนะ ประยุกต์ใช้ (?) ระดบั / ..................................... ทาํ / ปฏบิ ตั ิ (@) เกณฑ์การ งาน ปฏบิ ตั ิ ๑) ความรู้ (Knowledge) ๒) ทกั ษะ (Skill) การแก้ปัญหา สถานการณ์ (6) ๓) คุณลักษณะ / เจตคติ ความสาํ เร็จ (-) (Attribute / Attitude) ๔) การประยุกต์ใช้ (Application) @) การกระทาํ / การปฏบิ ตั ิ (Performance) D) งานและสถานการณ์ต่างๆ (Tasks / Jobs / Situations) L) ผลสาํ เร็จ ตามเกณฑ์ทQกี าํ หนด (Success) เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 30
ความแตกตZางระหวZางทักษะและสมรรถนะ ทกั ษะเปนD ความสามารถในการทำสิง่ ใดสิ่งหนึ่งได< (ดีในระดับใดระดบั หนง่ึ ) สมรรถนะเปนD ความสามารถในการนำทกั ษะทีต่ นมอี ยไ?ู ปใช<ในการ ปฏิบัตงิ านใดๆ จนทำใหก< ารปฏบิ ตั ิงานนั้นประสบความสำเรจ็ ทักษะจงึ เปDนเพยี งองคปY ระกอบของสมรรถนะ หรือเปDนสมรรถนะในระดับ ตน< แนวคดิ เก่ียวกับ สมรรถนะ สมรรถนะจึงเปนD ทกั ษะ (และความรู<) ท่นี ำไปส?กู ารกระทำหรือการปฏบิ ตั ทิ ี่ ดกี วา? โดดเด?นกวา? ทกั ษะ Competencies refer to skills or knowledge that lead to superior performance. (https://talentguard.com) เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 31
ความเหมอื นระหวาZ งทกั ษะและสมรรถนะ ทกั ษะ (SKILLS) มีลักษณะเป,นพฤตกิ รรม/การกระทำ/การ ปฏิบตั ิ (ACTION) ทไี่ ด<จากการเรียนรู< ประสบการณA และการ ฝกD ฝน กระทสำ/มกรารรถปนฏแะิบน(ัตCวิO(คAMCิดPTEเITกOEN่ียN)วCทYก่ีไ)ับดก<จม็ สาีลกมกั กษราณรรเถระยีนเปนะน, รพู< ปฤรตะกิสรบรกมา/รกณารA และการฝDกฝน เชนH เดยี วกบั ทกั ษะ ทกั ษะ อาจถอื ไดว< าH เปน, สมรรถนะในระดบั ต<น หรอื เป,น องคAประกอบหนง่ึ ของสมรรถนะ เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 32
ประเภทของสมรรถนะ สมรรถนะสามารถจัดจำแนกได/เป2นหลายประเภท ขึ้นอยู>กับเกณฑB ที่กำหนด ประเภทของสมรรถนะที่ใช/เป2นฐานในการพัฒนาหลักสูตร มี 2 ประเภท ดังน้ี 1) สมรรถนะหลัก/สมรรถนะทั่วไป (Core Competency / Generic Competency) • สมรรถนะประเภทนี้ เป2นสมรรถนะที่จำเป2นสำหรับทุกคนเพื่อนำมาใช/ใน การทำงาน การดำเนินชีวิต การเผชิญสถานการณB และการแก/ปdญหา ต>าง ๆ เป2นสมรรถนะที่ใช/ได/กว/างขวาง ไม>จำกัดเฉพาะเรื่อง/สาระ/วิชา เช>น สมรรถนะการคิด สมรรถนะการสื่อสาร ใช/ได/กับทุกเรื่อง ทุกเนื้อหา ทุกวชิ า แตอ> าจมากนอ/ ยตา> งกันได/ เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 33
ประเภทของสมรรถนะ 2) สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency / Subject - Specific Competency) ในทางการศึกษา สมรรถนะเฉพาะ หมายถึง สมรรถนะที่เกิดจากการเรียนร2ู เฉพาะเรื่อง / สาระ / วิชา ซึ่งผู2เรียนควรรู2/จำเปzนต2องรู2 เข2าใจและนำไปใช2ได2 หาก ผู2เรียนสามารถประยุกตFใช2ความรู2 ทักษะ เจตคติ และคุณลักษณะ ที่ได2จากการเรียนร2ู ในเรื่องนั้น แสดงวTาผู2เรียนเกิดสมรรถนะเฉพาะในเรื่องนั้น ซึ่งอาจไมTสามารถนำเรื่อง นั้นไปใช2กับเรื่องอื่นๆ อีกจำนวนมากได2 สมรรถนะเฉพาะมีความจำกัดมากกวTา สมรรถนะหลัก แตTก็มีความสำคัญเพราะเปzนสมรรถนะที่ผู2เรียนจำเปzนต2องมี เพื่อเปzน พื้นฐานในการดำรงชีวิต และการเรียนรู2ที่สูงขึ้น รวมทั้งเพื่อตอบสนองความสนใจและ ความถนัดเฉพาะตนที่แตกตาT งกันของผ2ูเรยี น • เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 34
ระดับสมรรถนะ สมรรถนะหลัก หรือสมรรถนะเฉพาะ ตาE งกม็ รี ะดบั ต้งั แตงE าE ยไปยาก ซึ่งหลกั สตู รจะกำหนดใหผ9 9เู รียนได9เรยี นรู9แบบไตEระดบั ตามระดบั ความสามารถของตน ตัวอยาT ง 35 • สมรรถนะหลักด2านการคิดอยาT งมวี จิ ารณญาณ เปzนการคิดทมี่ กี ารใช2วจิ ารณญาณพจิ ารณาและประเมินข2อมลู อยาT งรอบด2าน กอT น การตัดสนิ ใจ การคิดอยาT งมีวิจารณญาณสำหรบั ผ2เู รียนในระดบั ประถมศึกษา จะเริม่ ต2น แตรT ะดบั งTาย คือ การสามารถคดิ จำแนกข2อมลู ที่เปzนข2อเท็จจริง และเปzนความคดิ เห็น กTอน ตTอๆไป จงึ เพ่มิ ระดับให2กวา2 งขึน้ ครอบคลุมมากขึ้น เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ
รายละเอียดของสมรรถนะ สมรรถนะหลกั ประกอบด(วย 1. สมรรถนะหลักดา9 นตEางๆ - คำบรรยายสมรรถนะ (Descriptor) - ระดับของสมรรถนะหลกั - พฤตกิ รรมบงE ชสี้ มรรถนะหลัก/ตวั ชีว้ ัด 2. ระดับการพัฒนา/ระดับความเชี่ยวชาญของผู9เรียนในแตEละ สมรรถนะหลกั เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 36
LITERACY AND COMPETENCY 37 37เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY LITERACY LITERACY 38 เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY LITERACY K P/S A 39 LITERACY เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY LITERACY K P/S A 40 LITERACY เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
LITERACY AND COMPETENCY LITERACY K P/S A 41 LITERACY เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
เอกสารชุดการศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 42
การศึกษาฐานสมรรถนะ (Competency-Based Education: CBE ) การจัดการศึกษาฐานสมรรถนะ มีเปMาหมายใหBการศึกษาเปOนกระบวนการสรBาง สมรรถนะ ใหBผูBเรียนสามารถพรBอมรับและเผชิญกับป(ญหา การเปลี่ยนแปลง และความ ทBาทายตSางๆ ไดBอยSางเหมาะสม รวมทั้งสามารถพัฒนาตนเองไดBอยSางเต็มศักยภาพ ตามความสนใจและความถนัดของตน ซึ่งการจัดการศึกษาดังกลSาวประกอบดBวย องค[ประกอบสำคัญ 3 สSวน ที่ตBองมีความสัมพันธ[และความสอดคลBองกันตลอดแนว (alignment) ไดแB กS 1. หลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum: CBC) 2. การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction: CBI) 3. การวดั และประเมนิ ฐานสมรรถนะ (Competency-Based Assessment: CBA) เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 43
หลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum: CBC) หลกั สตู รฐานสมรรถนะ ยดึ หลักการสำคัญ 1) เปนz หลกั สตู รที่ใช2ผลลพั ธFการเรยี นรเ2ู ปนz ฐาน (outcomes-based) 2) เปนz หลักสูตรที่มีสมรรถนะเปzนเป†าหมาย (competency outcomes) ในการพัฒนา ผู2เรียน เปzนหลักสูตรฐานปฏิบัติ (action - oriented) ทีม่ ุTงสูTการทำได2 (able to do) เพื่อเสรมิ สร2างสมรรถนะทส่ี ำคัญและจำเปนz ให2แกTผูเ2 รยี น 3) เปzนหลักสูตรที่ยึดผู2เรียนเปzนสำคัญ (learner centric) โดยเป‹ดโอกาสให2ผู2เรียนได2 เรียนรู2ตามความสนใจ ความถนัด และก2าวหน2าไปตามความสามารถ รวมทั้งพัฒนา ตนเองสูTความเชี่ยวชาญได2 เปzนหลักสูตรที่มุTงพัฒนาศักยภาพของผู2เรียนเปzน รายบุคคล (personalization) ให2ผู2เรียนทุกคนสามารถเกTงในแบบของตัวเองได2 ใช2 ความเกงT อยาT งเหมาะสมและเปzนประโยชนFตอT สงั คม เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 44
หลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Curriculum: CBC) หลักสตู รฐานสมรรถนะ ยดึ หลกั การสำคัญ 4) เปน& หลกั สูตรท่มี ีความเช่ือมโยงกบั ชวี ิตจรงิ (related to real life) ของผเLู รยี น มีความหมายตMอ ผLเู รยี น เพราะสามารถนำไปใชใL นชีวิตไดLจรงิ 5) เป&นหลกั สูตรที่ใหคL วามสำคัญกบั บรบิ ทแวดลLอม (contextualized) ที่แตกตาM งกนั ของผูเL รียน ซ่ึง สงM ผลตอM พฤติกรรม การดำเนินชวี ิต และการเรียนรLขู องผLูเรียน 6) เปน& หลกั สตู รที่สงM เสรมิ การบูรณาการความรขLู Lามศาสตรc (interdisciplinary/ multidisciplinary/ transdisciplinary) มMุงพฒั นาการเรยี นรูLอยาM งเปน& องคcรวม (holistic learning) ชMวยใหLผเLู รยี นสามารถ ใชคL วามรLู ใหLเป&นประโยชนcไดLมากขนึ้ 7) เป&นหลักสตู รทย่ี ืดหยนุM (adaptive) สามารถปรับเปลย่ี นไดLตามการเปล่ียนแปลงของสงั คม โลก และ ความกาL วหนาL ทางวิทยาการ ผเLู รียนและครูสามารถศกึ ษาตMอยอดความรLูไปไดเL ร่อื ยๆ เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ 45
การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction : CBI) หลักการและแนวทางของการจดั การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (ลักษณะสำคญั ) 1) มีการกำหนดสมรรถนะที่ตLองการพัฒนาอยMางชัดเจน ซึ่งเป&นเปtาหมายที่ทั้งผูLเรียนและผูLสอนรับรูLและ เขLาใจตรงกนั 2) มกี ารใหผL เLู รยี นมสี วM นรวM มในการวางแผนและเลอื กเสนL ทางการเรยี นรLู (learning pathway) ของตนไดL และมีการเสริมสรLาง A (attitude/ attribute/value) สรLางแรงจูงใจ แรงบันดาลใจ กระตุLนความ สนใจใฝzรูL สรLางความรูLสึกเป&นเจLาของการเรียนรูL เพื่อใหLผูLเรียนสามารถนำตนเองและกำกับการเรียนรLู ของตนเองไดL (self-directed learning) เนื่องจาก A เป&นป|จจัยสำคัญในการขับเคลื่อนกระบวนการ เรยี นรLูของผเLู รยี น 3) มีงาน/สถานการณc/โจทยc/ป|ญหา (task/job/situation) ที่สามารถใชLสรLางสมรรถนะผูLเรียนตามที่ กำหนด และมีสาระ KSA/ ชุดความรูLที่จำเป&นตLองใชLในการทำงานนั้นๆ ใหLสำเร็จ ซึ่งอาจมีความ แตกตาM งกันตามความเหมาะสมกับผูเL รยี น โรงเรียนและบรบิ ท 4) มีกิจกรรมการเรียนรูLเชิงลึก (deep learning) ที่ชMวยใหLผูLเรียนเกิดการเรียนรูLแบบรูLจริง (mastery learning) และสามารถประยกุ ตใc ชL KSA ในสถานการณcตาM งๆ ไดL เอกสารชดุ การศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 46
การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction : CBI) หลักการและแนวทางของการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (ลกั ษณะ สำคญั ) 5) มกี ารบรู ณาการในการเรยี นการสอน ทง้ั การบูรณาการ K S A การบรู ณา การสมรรถนะ การบรู ณาการสาระจากศาสตรJตาK งๆ และการบูรณาการ การประเมินในกระบวนการเรียนการสอน 6) มกี ารใหผP Pูเรียนลงมอื ปฏบิ ตั ิงานจรงิ ไดPเผชิญสถานการณJ ปVญหา อุปสรรค ทที่ าP ทาย และไดPมีโอกาสประยกุ ตใJ ชP K S A ในการทำงานจนประสบ ความสำเรจ็ (application of K S A) 7) มีการจัดการเรียนการสอนสนองความแตกตKาง (differentiated instruction) เพอ่ื ชKวยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ใหPผPเู รียนทกุ คน ไดรP บั การศึกษาทม่ี ีคุณภาพเชKนเดียวกนั เอกสารชุดการศกึ ษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 47
การเรียนการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction : CBI) หลกั การและแนวทางของการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (ลักษณะสำคญั ) 8) มีการให2ผู2เรียนใช2เวลาในการเรียนรู2/การทำงาน ตามความถนัดและความสามารถของตน สามารถกา2 วหน2าไปเรว็ ชา2 แตกตาT งกันได2 (self-pacing) 9) เน2นการประเมินเพื่อพัฒนา (formative assessment) ควบคูTไปกับกระบวนการเรียน การสอนตลอดเสน2 ทาง โดยให2ผู2เรียนใช2การประเมินเปzนการเรียนรู2ของตนเอง (assessment as learning) ระหวTางเรียน เพื่อการปรับปรุงวิธกี ารและผลการเรยี นร2ูของตน และครูสังเกต และเกบ็ ข2อมูลการเรียนรขู2 องผเ2ู รยี นและการสอนของตน (assessment for learning) เพือ่ นำไปใช2ในการปรับปรงุ พฒั นาการเรียนการสอน 10) ครูมีบทบาทสำคัญในการสังเกตพฤติกรรมและการเรียนรู2ของผู2เรียน โดยให2ข2อมูล ย2อนกลับ (feedback) ทันทีตามสถานการณFและดูแลให2ความชTวยเหลือตามความต2องการ ของผ2ูเรยี นเปนz รายบุคคล 48 เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทศิ นา แขมมณี และคณะ
การวัดและประเมนิ ฐานสมรรถนะ (Competency-Based Assessment: CBA) หลักการและแนวทางของการวัดและประเมินฐานสมรรถนะ 1) ใหBความสำคัญกับการประเมินเพื่อพฒั นา (formative assessment) โดยถอื วSาการประเมนิ เปOนกิจกรรมในกระบวนการเรยี นการสอนตามปกติ ผBูเรยี นมกี ารประเมินตนเองระหวSางเรยี น (assessment as learning) เพือ่ นำผลการประเมินมาใชใB นการปรบั ปรุงวิธกี ารเรียนรูBของตนใหBดี ยงิ่ ขึ้น กBาวหนาB ข้นึ ครูสังเกตและเก็บขอB มลู การเรียนรBขู องผูเB รยี น เพือ่ นำผลการประเมินมาใชใB นการ ปรบั ปรุงการสอนของตน และพฒั นาการเรียนรขูB องผBูเรยี นใหBดขี ้ึน (assessment for learning) 2) การประเมนิ เพอ่ื พัฒนาใชวB ิธกี ารประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) จากส่ิงท่ี ผBเู รียนไดปB ฏิบตั จิ รงิ เชนS การประเมนิ โดยใชแB ฟMมสะสมผลงาน (portfolio) การประเมนิ จาก ช้ินงาน จากการปฏิบตั งิ าน รวมไปถงึ การประเมินตนเองและการประเมินโดยเพอื่ น 3) การประเมินตัดสินผล (summative assessment) จะมุงS วัดสมรรถนะองคร[ วม ท่ีแสดงถงึ ความสามารถในการประยุกตใ[ ชB K S A ในการปฏิบตั งิ านในสถานการณ[ตSางๆ เอกสารชดุ การศึกษาฐานสมรรถนะ โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี และคณะ 49
Search