Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิธีการเรียบร้อยล่าสุด

พิธีการเรียบร้อยล่าสุด

Published by elibraryraja33, 2022-05-24 21:21:03

Description: พิธีการเรียบร้อยล่าสุด

Search

Read the Text Version

ก๒ คานา ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 ได้กาหนดพิธีการทางลูกเสือไว้ทุกประเภท ต้ังแต่ข้อ 280 ถึงข้อ 300 โดยเรียงลาดับตามประเภทลูกเสือ ต้ังแต่พิธีลูกเสือสารอง พิธีลูกเสือสามัญ พิธีลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และพิธีลูกเสือวิสามัญ ซ่ึงใช้เป็นแนวทาง ในการปฏบิ ัติพธิ กี ารทางลูกเสือตลอดมา คู่มือพิธีการทางลูกเสือเล่มนี้ ได้จัดเรียงลาดับพิธีการทางลูกเสือ โดยยึดกิจกรรมที่เข้าพวกเป็นกลุ่ม ในลักษณะที่คล้ายคลึงกัน ต่อเน่ืองกันให้เป็นหมวดหมู่ เพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ มองเห็นความเช่ือมโยง และความต่อเนอื่ งของพธิ กี ารของลูกเสือแต่ละประเภทตามลาดับ โดยมีวัตถุประสงค์ของพิธีการแต่ละประเภท ซ่ึงจะชว่ ยให้เกดิ ความเข้าใจแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และผู้สนใจศึกษาค้นคว้าทางด้านพิธีการลูกเสือ เริ่มต้ังแต่ การทาแกรนด์ฮาวล์ของลูกเสือสารอง พิธีเปิด - พิธีปิดประชุมกอง พิธีเข้าประจากอง พิธีประดับดาวลูกเสือ สารอง พิธีส่งและรับตัวลูกเสือ และพิธีมอบเครื่องหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน 3 ท่อน และ 4 ท่อน โดยนา ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. 2509 มาเป็น แนวทาง และได้มกี ารค้นควา้ เพมิ่ เตมิ จากคู่มือ และเอกสารอนื่ เพอ่ื นามาอ้างอิงจากแหล่งต่างๆ เช่น สารานุกรม ลูกเสือ คู่มือการฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือของคณะอนุกรรมการฝ่ายฝึกอบรม สานักงานคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติทุกประเภท คู่มือการฝึกระเบียบแถวลูกเสือ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฯลฯ นอกจากน้ัน ได้เพ่ิมเติมเน้ือหา เสนอแนะแนวทาง วิธีการปฏิบัติ ที่มิได้ระบุไว้ในข้อบังคับฯ และคู่มือ การฝึกอบรมฯ ดังกล่าว เพ่ือทาให้เกิดความชัดเจนและความสะดวกในการปฏิบัติ สอดคล้องกับโครงสร้างของ หลักสูตรการศึกษา และบริบทของการจัดกิจกรรมลูกเสือในปัจจุบัน ตลอดจนการใช้คาศัพท์ทางวิชาการ ตามคาแนะนาการเขียนคาทบั ศัพทจ์ ากสานักงานราชบณั ฑิตยสภา และการอ้างอิงจากเอกสารต้นฉบับ อย่างไร ก็ตาม ใคร่ขอความอนุเคราะห์จากผู้ที่นาเอกสารเล่มน้ีไปใช้ หากพบข้อบกพร่อง หรือ มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ประการใด ขอความกรุณาแจ้งให้สานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ได้ทราบเพื่อจะได้นาไป ปรบั ปรงุ แกไ้ ข ให้มีความถกู ต้อง ให้เกดิ การพัฒนาย่งิ ข้นึ ขอขอบคุณผู้อานวยการสานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ที่เป็นผู้ริเร่ิมแนวทาง การจัดทา ขอบคุณท่านท่ีปรึกษา คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้เก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีกรุณาเสียสละเวลา ท่ีนาประสบการณ์ตรงที่มีมาร่วมมือกันพัฒนา ให้แนวทางและจัดทาคู่มือทางพิธีการลูกเสือในคร้ังน้ี จนสาเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี หวังว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นนวัตกรรมทางการลูกเสือท่ีมีคุณค่า เป็นแนวทางสืบสานพระราช ปณิธานท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่ีทรงเป็นผู้ริเริ่มงานพิธีการลูกเสือไทย เกิดประโยชน์ แก่เด็กและเยาวชนใหเ้ ป็นทรพั ยากรทม่ี คี ุณค่าในสังคม สถานศึกษา องค์กรทางการศึกษาท้ังในและนอกระบบ ตลอดจนบคุ ลากรทางการลูกเสอื และผูเ้ กี่ยวข้องทุกท่าน ใหย้ งิ่ ๆ ข้ึนไป

ข๓ กิตตกิ รรมประกาศ การจัดทาคู่มือพิธีการทางลูกเสือเล่มนี้ สาเร็จลุล่วงลงได้ ด้วยความกรุณาจาก ดร.คงศักดิ์ เจริญรักษ์ นายโอฬาร เก่งรักษ์สัตว์ นายสมมาต สังขพันธ์ และว่าท่ีร้อยโทณัฏฐ์ ยุวยุทธ ที่ได้ให้ข้อเสนอแนะ แนวคิด ท่ีมา ความเช่ือมโยงของธรรมเนียมลูกเสือ และให้คาปรึกษา สนับสนุนในการจัดทา เพ่ือนามาจัดทา เป็นคู่มือทางพิธีการลูกเสือ จนสาเร็จเป็นรูปเล่ม ตามเจตนารมณ์ของสานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ นกั เรยี น คณะทางานจงึ ขอขอบพระคุณเป็นอยา่ งสงู ขอขอบคุณสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ ที่ให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้จัดทา นวัตกรรมทางการลูกเสือ เพ่ือให้สอดคล้องกับบริบทการจัดการศึกษาในปัจจุบัน อันจะส่งผลต่อไปในอนาคต อกี ยาวนาน ขอขอบคุณสานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ที่เป็นผู้ริเร่ิมในการจัดทา โครงการนี้ขึ้นมา อันจะเป็นแนวทางให้เกิดความชัดเจนในแนวทางการปฏิบัติท่ีสอดคล้องกับสภาวการณ์ใน ปจั จบุ ัน และเกิดประโยชนต์ ่อการจดั กิจกรรมทางพธิ ีการของลูกเสือมากย่ิงขึน้ ขอขอบคุณคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีเสียสละเวลา ทุ่มเท สติปัญญา ดาเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมกันจัดทาคู่มือเล่มน้ี ความดีของเอกสารเล่มนี้ ขอถวายเป็น ราชสกั การะแด่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระผู้พระราชทานกาเนิดลูกเสือไทย และประมุขของ คณะลกู เสือแหง่ ชาตทิ ุกพระองค์ คณะผ้จู ดั ทา

ค๔ สารบัญ หน้า คานา ................................................................................................................................. ก กิตตกิ รรมประกาศ …………………………………………………………………………………………………. ข สารบัญ ............................................................................................................................. ค คาชี้แจง ………………………………………………………………………………………………………………. 1 ความสาคัญของพิธกี าร .................................................................................................... 2 - ความหมาย ...................................................................................................... 2 - ประโยชน์ ……………………………………………………………………………………………… 2 1. แกรนดฮ์ าวล์ (Grand Howl) ……………………………………………………………………………. 3 2. พธิ ีประชุมกองลูกเสือสารอง .......................................................................................... 5 2.1 พิธเี ปดิ ประชุมกองลกู เสือสารอง …………………………………………………….……… 5 2.2 พิธีปิดประชมุ กองลูกเสอื สารอง ……………………………………………………………… 8 3. พธิ ีประชุมกองลูกเสือสามัญ สามญั รนุ่ ใหญ่ และวสิ ามญั .……………………………….…………. 9 3.1 พธิ เี ปิดกองลกู เสือสามญั สามญั รุ่นใหญ่ และวสิ ามัญ …………………………….….. 9 3.2 พธิ ปี ิดกองลกู เสือสามัญ สามญั รุน่ ใหญ่ และวสิ ามัญ ……………………………….... 11 4. พธิ ีเขา้ ประจากองลกู เสือ ………………………………………………………………………….………..… 13 4.1 พธิ ีเข้าประจากองลูกเสือสารอง ........................................................................ 15 4.2 พธิ เี ขา้ ประจากองลูกเสือสามญั ……………………………………………………………… 23 4.3 พิธีเข้าประจากองลกู เสือสามัญรุน่ ใหญ่ …………………………………………..……… 29 4.4 พิธีสารวจตวั เอง และพิธีเขา้ ประจากองลกู เสอื วิสามญั ................................... 34 5. พธิ ปี ระดบั ดาวลกู เสอื สารอง ………………………………………………………………………………. 48 5.1 พิธีประดับดาวดวงท่ี 1 ................................................................................... 49 5.2 พธิ ปี ระดบั ดาวดวงท่ี 2 ………………………………………………………………..………. 52 5.3 พธิ ปี ระดบั ดาวดวงที่ 3 ………………………………………………………………..………. 56 6. พิธสี ง่ ลกู เสือ ………………………………………………………………………………………………..……… 59 6.1 พธิ ีส่งลกู เสอื สารองไปเป็นลกู เสือสามัญ ………………………………………..……….. 59 6.2 พธิ สี ่งลูกเสือสามญั ไปเป็นลกู เสอื สามญั รุ่นใหญ่ ……………………………..………… 61 6.3 พิธีส่งลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ไปเปน็ เตรียมลูกเสอื วิสามญั ................................... 62

ง๑ สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 7. พธิ ีมอบเคร่ืองหมายวูดแบดจ์ ……………………………………………………………………….………….. 69 7.1 เคร่ืองหมายวูดแบดจ์ 2 ท่อน ……………………………………………………….………….. 70 7.2 เครอ่ื งหมายวูดแบดจ์ 3 ทอ่ น หรอื 4 ท่อน .......................................................... 71 - ตวั อยา่ งคากล่าวของประธานในการมอบพธิ ีมอบเครื่องหมายวดู แบดจ์ 2 ท่อน ….……….. 72 - ตวั อยา่ งคาโอวาทแก่ผบู้ ังคับบญั ชาลกู เสอื ที่ได้รบั เครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อน 4 ท่อน.... 72 บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………………………..……… 74 ภาคผนวก ................................................................................................................................ 76 รายชือ่ คณะกรรมการจัดทาคู่มอื พธิ ีการทางลูกเสอื ***********************

๑ คาชแ้ี จง ๑. พิธีการในคู่มือเล่มน้ี ได้ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของพิธีการทางลูกเสือแต่ละประเภท การจัดเตรียม สถานที่ การเตรียมอุปกรณ์ ความเป็นมา ตลอดจนคาแนะนาเพ่ิมเติม เพื่อให้เกิดความชัดเจน และเป็น ทางเลือกในการปฏิบัติ โดยยึดแนวทางตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และ วิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็นหลัก ส่วนวิธีการที่มิได้ระบุในข้อบังคับฯ คณะผู้จัดทาได้นาวิธีการปฏิบัติ จากคู่มือการฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น และขั้นความรู้ชั้นสูง ซึ่งจัดทาโดยคณะอนุกรรมการ ฝา่ ยฝกึ อบรมลกู เสอื แหง่ ชาติ สานกั งานคณะกรรมการบรหิ ารลกู เสอื แห่งชาติ และเอกสารอื่นท่ีเก่ียวข้องมาเป็น แนวทางปฏบิ ตั ิ ๒. การเรียงลาดับพิธีการทางลูกเสือในคู่มือเล่มนี้ ได้จัดกลุ่มของกิจกรรมที่เป็นพิธีการทางลูกเสือ ที่มีความคล้ายคลึงกันให้อยู่ในบทเดียวกัน เพ่ือผู้ปฏิบัติจะได้ทราบถึงความต่อเนื่อง เช่ือมโยง ของลูกเสือ ทกุ ประเภท ๓. เพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาตามหลักสูตรฯ ของสถานศึกษา คู่มือเล่มนี้ได้นาเสนอ ทางเลอื ก เพอื่ ให้การจัดกิจกรรมลูกเสือดาเนนิ ไปตามหลกั สูตรของลูกเสือแต่ละประเภท ๔. มาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ให้ความหมายของคาว่า “ลูกเสือ” หมายความว่า เด็กและเยาวชนท้ังชายและหญิง ท่ีสมัครเข้าเป็นลูกเสือทั้งในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา ส่วนลูกเสือที่เป็นหญิงให้เรียกว่า “เนตรนารี” คู่มือพิธีการทางลูกเสือเล่มน้ี จึงนาไปปรับใช้เป็นคู่มือใช้กับ กจิ กรรมทางพิธกี ารของเนตรนารี ได้ด้วย ๕. คู่มือเล่มน้ีมีคาอธิบายเพิ่มเติมไว้ในแต่ละเร่ืองและเชิงอรรถ เพ่ือสร้างความเข้าใจในแต่ละตอน แกผ่ ูป้ ฏบิ ัติ

๒ ความสาคัญของพธิ กี าร พิธีการทางลูกเสือเป็นกิจกรรมการเรียนรู้โดยการกระทาอย่างเป็นกระบวนการ ทั้งในภาคความรู้ และภาคปฏิบตั ิ การใช้ชีวิตกลางแจ้ง โดยมีคาปฏิญาณ กฎ คติพจน์ และพิธีการเป็นยุทธศาสตร์ของกิจกรรมท้ังปวง ส่งผลดตี อ่ ลูกเสอื นานาประการ สร้างวินัย ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างลูกเสือ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และบุคลากร จากทุกหน่วยงาน เกดิ ความภาคภูมิใจในความก้าวหน้า เป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้รักและศรัทธา ในกระบวนการ ลูกเสือ เป็นลูกเสือที่สมบูรณ์ด้วยวิธีการปฏิบัติที่สั้นๆ ง่ายๆ และจริงใจ ส่งผลให้ลูกเสือเกิดคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ ตามวตั ถุประสงค์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ ความหมาย พิธีการ คือ แนวทางสาหรับการปฏิบัติที่ได้กาหนดให้มีข้ึน เพื่อให้ผู้ท่ีเข้ามาร่วมในหมู่หรือคณะ ได้ปฏบิ ัตติ ามทกุ คน พธิ กี ารของลกู เสือแบง่ ออกเปน็ ๒ แบบ คอื ๑. พิธีการปกติ คือ พิธีการที่เป็นแบบธรรมเนียมที่ลูกเสือ ได้ปฏิบัติอยู่เป็นประจาทุกครั้งที่มี การฝึกอบรมและเป็นการปฏิบัติในทานองเดียวกัน เช่น การทาแกรนด์ฮาวล์ การเชิญธงชาติ การเปิดประชุม กองการปิดประชุมกอง การแสดงรหัส ฯลฯ ๒. พิธีการพิเศษ คือ พิธีที่ไม่ได้มีการปฏิบัติเป็นประจาแต่อาจปฏิบัติในโอกาสพิเศษเป็นคร้ังคราว เมอื่ ถึงกาหนดเวลา เช่น พธิ ีเขา้ ประจากอง พิธีประดับดาวของลูกเสือสารอง พิธีส่งลูกเสือ พิธีมอบเคร่ืองหมาย วดู แบดจ์ ฯลฯ ประโยชน์ท่ไี ด้รบั จากพธิ กี ารทางลกู เสอื มดี งั ตอ่ ไปนี้ คอื ๑. ทาให้มรี ะเบียบวนิ ัยในตัวเอง ๒. ทาใหเ้ กดิ ความรูส้ กึ และเขา้ ใจว่าเป็นพวกเดียวกนั ๓. กอ่ ใหเ้ กดิ ความรกั และสามัคคีข้นึ ในหม่คู ณะ ๔. มคี วามเคารพ และให้เกยี รติในความเป็นรุ่นพ่ี รุ่นนอ้ ง ตามอาวุโส ๕. เป็นการสบื ทอด รกั ษาธรรมเนยี มปฏิบัตทิ างพธิ กี ารท่ีดี มกี ารส่งผ่านจากรนุ่ สูร่ ุ่นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๖. ก่อใหเ้ กดิ ความภาคภมู ใิ จกับผทู้ ่ีได้ปฏิบตั พิ ธิ ีการนั้นๆ ๗. ลกู เสอื ไดม้ โี อกาสระลึกถึง และรกั ษาคาม่นั สัญญา (คาปฏิญาณ) กฎ คติพจน์ อยเู่ สมอ ๘. ทาให้เกดิ ความสัมพนั ธอ์ ย่างใกล้ชดิ ระหวา่ งลูกเสือและผูบ้ งั คับบญั ชาลกู เสือ และผปู้ กครอง ๙. ความกา้ วหน้าท่เี กิดจากพิธกี ารตา่ งๆ เปน็ แรงบนั ดาลใจให้ลกู เสอื มีจิตอาสาช่วยเหลือสังคม ๑๐. คตพิ จน์ ท่ลี ูกเสอื ได้พบเห็นอยูใ่ นพิธกี ารลูกเสือ เป็นเสมือนเคร่ืองเตือนใจให้ลูกเสือทุกประเภทได้ ระลกึ ถงึ หนา้ ท่อี ยา่ งต่อเน่อื งในการพัฒนาตนเองสูส่ ังคมตามวยั ต้ังแต่ลูกเสือสารอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญ ร่นุ ใหญ่ จนถึง ลูกเสอื วสิ ามญั

๓ ๑. แกรนดฮ์ าวล์ (Grand Howl) ความหมาย แกรนด์ฮาวล์๑ คือ การแสดงความเคารพเป็นหมขู่ องลกู เสือสารอง ความเป็นมา บี. – พี.๒ ผู้ให้กาเนิดลูกเสือโลก ได้แนวความคิดมาจากนิยายในหนังสือป่าดงพงพี ซ่ึงแต่งโดย รัดยาร์ด คิปลิ้ง นิยายเรื่องน้ีได้แสดงให้เห็นว่าแม้แต่ในป่าก็ยังมีกฎเกณฑ์ ให้สัตว์ต่างๆ ปฏิบัติ เพื่อความเป็น ระเบียบเรียบร้อย โดยกล่าวถึงการประชุมของฝูงหมาป่า เมื่อหัวหน้าฝูงหมาป่าท่ีช่ือ “อาเคลา๓” ได้เข้าประจาท่ี ฝงู หมาป่าจะน่งั ลง และเชิดหัวข้นึ เลก็ นอ้ ย แลว้ เห่าหอนพร้อมกนั เป็นการคารวะต่อหัวหน้า จึงเป็นที่มาของคาว่า แกรนด์ฮาวล์ ก็คือการเหา่ หอนคร้ังใหญน่ ่นั เอง ลูกเสอื สารอง เปรียบเสมอื นลูกหมาป่า มีหัวหน้า คือ ผู้กากับกองลูกเสือสารอง ซึ่งเรียกว่า “อาเคลา” เช่นเดียวกัน เม่ือลูกเสือสารองได้มารวมกันก็ต้องทาความเคารพร่วมกัน พร้อมๆ กัน คือ การทาแกรนด์ฮาวล์ เป็นการทาความเคารพและให้เกียรติแก่ผู้กากับฯ ของเขา ซึง่ เปรียบเสมือนหัวหนา้ ฝูงหมาป่า “อาเคลา” นัน่ เอง วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานของกองลูกเสือ เป็นบันไดทอง ที่จะพาลูกเสือไปสู่ความเป็น ผมู้ ีระเบียบวินัย ตลอดจนค้นพบสิง่ ท่ีดีงามและสิง่ ท่ีบกพร่องในตัวลกู เสือ ๒. เพื่อเสริมสร้างความเป็นผนู้ า ผตู้ ามที่ดี และความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งผู้กากับฯ กบั ลูกเสือ ๓. เพอื่ สร้างเจตคติทด่ี ีต่อกจิ การลูกเสอื การเตรียมสถานที่ ลานกวา้ งเปน็ ที่ร่มหรือกลางแจ้งเพยี งพอและเหมาะสมกบั จานวนสมาชกิ ของกองลูกเสือน้ัน ลาดบั ขั้นตอนการทาแกรนด์ฮาวล์ ผ้กู ากับกองลกู เสือสารอง จะต้องเลือกสถานท่ีให้เหมาะสมเสียก่อนและยืนอยู่ในท่าตรง แล้วจึงเรียก ลูกเสอื สารอง ให้ปฏบิ ัติดังน้ี ๑. ผกู้ ากบั กองลกู เสอื สารอง (เปรียบเสมอื น อาเคลา) เรยี ก “แพก็ - แพ็ก - แพ็ก” (แพ็ก๔ คาท้ายให้ เน้นเสียงให้หนัก) พร้อมกับทาสัญญาณมือแกว่งรอบตัวเป็นรูปวงกลม (มีรองผู้กากับกองลูกเสือสารอง เปรียบเสมือน บาลู๕ และบาเกียร่า๖) ยนื อยนู่ อกวงกลมและหลังผกู้ ากับฯ ๒. เม่ือลูกเสือสารอง ได้ยินเสียงเรียกของผู้กากับฯ ทุกคนจะต้องขานรับพร้อมกันทันทีว่า “แพ็ก” แล้ววิ่งมาเข้าแถวเป็นรูปวงกลมเล็กล้อมรอบผู้กากับฯ โดยนายหมู่ของหมู่บริการอยู่ตรงหน้าผู้กากับฯ จากน้ัน กเ็ รียงไปตามลาดบั ให้ไหลต่ อ่ ไหลช่ ิดกัน ๓. ผกู้ ากับฯ ผายมอื ทั้งสองออกไปข้างๆ เลก็ น้อย น้ิวทงั้ ห้าชิดกัน ฝ่ามือแบหงาย แล้วลดมือลง เพ่ือ ตรวจดูความเรียบรอ้ ย ๑ ขอ้ บงั คับคณะลกู เสอื แห่งชาติ วา่ ดว้ ยการปกครองหลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลกู เสอื พ.ศ. ๒๕๐๙ ขอ้ ๒๘๒ ๒ คู่มือลูกเสือสารอง แปลและเรยี บเรียงโดย นายอภยั จนั ทวิมล พมิ พ์ทโ่ี รงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว พ.ศ. ๒๕๔๔ ๓ คู่มอื ลกู เสอื สารอง แปลและเรยี บเรยี งโดย นายอภยั จนั ทวมิ ล พมิ พ์ทโ่ี รงพมิ พค์ รุ สุ ภาลาดพรา้ ว พ.ศ. ๒๕๔๔ อา่ นว่า อาเคลา่ ๔ ราชบัณฑติ ยสภา กาหนด PACK ทับศัพทว์ ่า แพก็ ๕ บาลู ทีม่ า : เมาคลลี กู หมาปา่ ฉบบั สมบรู ณ์ สว่าง วจิ กั ขณะ ผูแ้ ปล หนังสอื ทร่ี ะลึกงานพระราชทานเพลิงศพ นายสวา่ ง วจิ กั ขณะ วนั ท่ี ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙ (รองอธิบดกี รมพลศึกษา) ๖ บาเกยี รา่ ทีม่ า : เมาคลีลกู หมาปา่ ฉบบั สมบรู ณ์ สวา่ ง วจิ กั ขณะ ผแู้ ปล หนังสือท่รี ะลกึ งานพระราชทานเพลิงศพ นายสว่าง วิจกั ขณะ วันท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๑๙ (รองอธบิ ดกี รมพลศกึ ษา)

๔ ๔. เม่อื ลูกเสือสารองเห็นสัญญาณน้ีทุกคนจับมือกันขยายออกเป็นรูปวงกลมใหญ่ จนแขนตึง จึงปล่อยมือ และจัดวงกลมใหเ้ รียบรอ้ ย ๕. ผูก้ ากับฯ ตรวจดเู หน็ ว่าวงกลมเรียบร้อยดีแล้ว ให้กางแขนท้ังสองออกไปข้างๆ เสมอไหล่ ขนานกับพื้น น้วิ ทั้งหา้ ชดิ กนั ฝ่ามือแบหงาย แล้วพลิกฝ่ามือคว่าลงและงองมุ้ เปน็ สัญญาณให้ลกู เสอื นง่ั ลง ๖. ลูกเสอื สารองทุกคนน่ังลงบนสน้ เท้าทั้งสองทันที แขนท้ังสองเหยียดตรงอยู่ระหว่างเข่า มือท้ังสอง ห่างกันพอควร แบะเข่าออกเล็กน้อย น้ิวช้ีและน้ิวกลางทั้งสองมือเหยียดชิดกันและแตะพ้ืน น้ิวอื่นๆ งอไว้ในองุ้ มือ ให้นวิ้ หัวแมม่ อื กดนิ้วนางกบั นิ้วก้อยไว้ ๗. ผู้กากับฯ พลกิ ฝ่ามอื ท้ังสอง หงายขึ้น เป็นสัญญาณให้ลกู เสอื รอ้ ง ๘. ลูกเสือสารองทุกคนแหงนหน้าร้องขึ้นพร้อมกันว่า “อา - เค - ล่า เรา - จะ - ทา - ดี - ท่ี - สุด” พอขาดคาว่า “สุด” ให้ลูกเสือทุกคนกระโดดยืนข้ึน เท้าทั้งสองชิดติดกัน พร้อมกับยกมือท้ังสองที่อยู่ในท่านั่ง ไปไว้เหนอื หูและชิดหู ๙. นายหมู่ลูกเสือ ซึ่งทาหน้าท่ีเป็นหมู่บริการในวันน้ัน (ที่อยู่ตรงหน้ากับผู้กากับฯ) จะร้องข้ึนว่า “จงทาดี - จงทาดี - จงทาดี” การร้องให้หันหน้าไปทางซ้ายก่อน - ตรงหน้า - ขวา ทีละครั้ง (เวลาร้องไม่ต้อง ผงกศีรษะ) ๑๐. เมื่อสิ้นคาที่สามแล้ว ให้ลูกเสือทุกคนลดมือซ้ายลงมาแนบลาตัวอย่างว่องไว (มือแบออก) สว่ นมอื ขวาลดลงมาทาท่าวนั ทยหัตถ์ แล้วร้องขน้ึ พร้อมกันวา่ “เราจะทาดี - จะทาดี - จะทาดี” ขณะท่ีลูกเสือร้องนี้ ให้ผู้กากับฯ ทาวันทยหัตถ์ตามแบบลูกเสือสารอง (สองนิ้ว) เป็นการรับ การเคารพของลูกเสือและอาจจะกลา่ วคาขอบใจ หรือคาอื่นใดที่สน้ั ๆ ก็ได้ รองผ้กู ากับฯ อ่นื ๆ ท่ีอย่นู อกวงกลมอยู่ในทา่ ตรง

๕ ๒. พธิ ีประชุมกองลูกเสือสารอง การฝึกอบรมลูกเสือสารอง ไม่ใช่เป็นการสอนแบบครู - นักเรียน อย่างในช้ันเรียนธรรมดา ผู้กากับ กองลูกเสือ ไม่ได้ทาตัวเป็นครูของเด็ก แต่ปฏิบัติเสมือนพ่ีเลี้ยงของเด็ก สามารถท่ีจะเล่นกับเด็ก และให้ ความเอ็นดูสนับสนุนเหมือนเป็นพี่น้องกัน เด็กๆ ท่ีเข้ามาอยู่ในกองลูกเสือ เขาหวังที่จะได้รับความสนุกสนาน หวังทจ่ี ะได้รับความตื่นเตน้ แต่ในเวลาเดยี วกันตอ้ งอยภู่ ายใตร้ ะเบยี บวนิ ัย วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพอ่ื ใหล้ กู เสอื ไดแ้ สดงความจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. เพ่ือเป็นการยกระดับมาตรฐานของกองลูกเสือ ท่ีจะพาลูกเสือไปสู่ความเป็นผู้มีระเบียบวินัย ตลอดจนคน้ พบส่งิ ท่ดี ีงาม และสง่ิ ทบ่ี กพรอ่ งในตัวลูกเสอื ๓. เพอ่ื เสรมิ สร้างความเป็นผนู้ า ผู้ตามทด่ี ี และความสมั พนั ธอ์ ันดรี ะหวา่ งผู้กากับฯ กับลกู เสือ ๔. เพอื่ สรา้ งเจตคติที่ดตี ่อกจิ การลกู เสอื การเตรียมสถานท่ีและอุปกรณ์ ๑. ลานกวา้ งเป็นท่ีร่มหรอื กลางแจ้ง เพยี งพอและเหมาะสมกบั จานวนสมาชกิ ของกองลูกเสอื ๒. เสาธงเด่ยี ว ไม่มแี ขนกางเขน เป็นเสาธงเฉพาะกจิ ๓. ธงชาติ มีขนาดพอเหมาะกับขนาดของเสาธง พิธีเปดิ ประชุมกองลกู เสอื สารอง ลาดับข้นั ตอนการเปิดประชุมกองลูกเสอื สารอง ใหป้ ฏบิ ัติดงั นี้ แกรนดฮ์ าวล์ - เชญิ ธงข้ึน - สวดมนต์ - สงบนิง่ - ตรวจ - แยก ๑. แกรนด์ฮาวล์ - ผกู้ ากบั กองลกู เสือสารอง ยืนอยู่หน้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควร เรียกลูกเสือ ทาแกรนด์ฮาวล์ มีรองผู้กากับฯ ยืนอยู่ด้านหลังผู้กากับฯ และนอกวงกลม หลังจากทาแกรนด์ฮาวล์ ลูกเสือ ทุกคนอย่ใู นทา่ ตรง ๒. เชิญธงข้ึน๗ - ให้จัดลูกเสือที่เป็นหมู่บริการหรือทาหน้าที่หมู่บริการสองคน เป็นผู้เชิญธง คือ ให้เดิน เข้าไป ห่างจากเสาธงประมาณ ๓ ก้าว ทั้งสองคน แสดงความเคารพท่าวันทยหัตถ์-ลดมือลง แล้วคนท่ีอยู่ขวามือ กา้ วไปขา้ งหนา้ ๒ กา้ ว ยืนเท้าชิด แก้เชือกท่ีผูกเสาธงออก ถอยหลังกลับมายืนที่เดิม แยกเชือกธงเส้นท่ีจะชักข้ึน ให้คนท่ีอยู่ทางซ้ายมือถือไว้ ส่วนธงชาติอยู่ที่คนทางขวาอย่าให้เส้นเชือกหย่อน ยืนเตรียมพร้อม ผู้กากับฯ สั่งทาความเคารพ โดยออกคาส่ัง “แพ็ก - วันทยหัตถ์” (คาส่ังวันทยหัตถ์น้ี ไม่ใช่คาบอกแบ่งว่า “วันทย - หัตถ์” แต่เป็นคาบอกรวดว่า “วันทยหัตถ์”) ลกู เสือในวงกลมท้ังหมดรวมท้ังผู้กากับฯ และรองผู้กากับฯ ทาวันทยหัตถ์ พร้อมกนั (ผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสือทาวันทยหตั ถ์ ๓ นวิ้ ) ผูแ้ ทนหมู่บริการนาร้องเพลงชาติ ลูกเสือทุกคนร้องเพลงชาติ พอเร่ิมร้องเพลงให้ผู้ชักธงค่อยๆ สาวสายเชือกให้ธงข้ึนสู่ยอดเสาช้าๆ ให้สายเชือกตึงเสมอกัน พอธงชาติ ขึ้นสู่ยอดเสาแล้ว คนที่อยู่ขวามือเดินเข้าไปผูกเชือกธงอีกคนหนึ่งคงยืนอยู่ในท่าตรง (ไม่ต้องทาวันทยหัตถ์) เมื่อคนทางขวาผูกเชือกธงเรียบร้อยแล้ว ให้ถอยหลัง ๒ ก้าวกลับมายืนท่ีเดิม ท้ังสองคนทาวันทยหัตถ์ – ลดมือลง ผู้กากับฯ และรองผู้กากับฯ ลดมือลงพร้อมกับลูกเสือสองคนท่ีเชิญธง (ลูกเสือในวงกลมทุกคนยังอยู่ในท่า วันทยหัตถ์) ผู้เชิญธงทั้งสองคน กลับหลังหันว่ิงกลับไปเข้าท่ีของตนแล้วทาวันทยหัตถ์เหมือนลูกเสือในแถว ผ้กู ากับฯ เดนิ กลบั มายืนหน้าเสาธงแล้วสัง่ “มือลง” ทุกคนจึงลดมอื ลงพร้อมกนั ๗ ระเบยี บสานักนายกรัฐมนตรี. ว่าดว้ ยการใช้ การชกั หรือการแสดงธงชาติ และธงของประเทศในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๙ และแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบับท่ี ๒ พ.ศ.๒๕๔๖ ฉบับท่ี ๓ พ.ศ.๒๕๔๗ ตามความในข้อ ๔ “การชักธง” หมายความวา่ การเชญิ ธงขน้ึ ส่ยู อดเสา หรือการเชิญธงลงจากยอดเสา ตามกาหนดเวลาหรอื ตามโอกาสทกี่ าหนดไว้ในระเบยี บน้ี

๖ ข้อเสนอแนะ ๑) ผู้กากับฯ ควรนัดหมายหมู่บริการทาหน้าที่ชักธงชาติ นาร้องเพลงชาติ นาสวดมนต์ เม่ือ นัดหมายเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับฯ ส่ัง “แพ็ก - ตรง” “หมู่บริการชักธง” แล้วก้าวถอยหลังเฉียงออกไปทางขวา หรือซา้ ยพอสมควรให้เป็นแนวเดียวกบั เสาธง ๒) การเปดิ ประชมุ กองระยะแรกอาจใช้คาส่ังบอกเป็นตอนๆ เพื่อความพร้อมเพรียง เมื่อลูกเสือ ปฏบิ ตั ไิ ดค้ ล่องแล้ว อาจงดใชค้ าบอกดงั กลา่ ว ๓. สวดมนต์ - พอลดมือลงแล้ว ทุกคนยังคงอยู่ในท่าตรง ถอดหมวกเตรียมตัวสวดมนต์ หมู่บริการ นาสวดมนต์ ๔. สงบนิง่ - เม่อื สวดมนต์จบแลว้ ทกุ คนสงบนิ่ง ๕. ตรวจ - การตรวจในตอนน้ีจะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน ความสะอาดอ่ืน ๆฯลฯ (ผู้กากับฯ เป็นผู้ส่ังก่อนจะให้ตรวจอะไร) แต่การตรวจในตอนปิดประชุมกองนั้น ให้ตรวจเคร่ืองแบบอย่างเดียว เพราะเหตุว่า ลูกเสือปฏิบัติกิจกรรมเคร่ืองแต่งกายอาจจะไม่เรียบร้อย ซ่ึงจะนาความเสื่อมเสียมาสู่กองลูกเสือ ของตนได้ วิธีตรวจ ตามปกติผู้กากับฯ จะให้รองผู้กากับฯ เป็นผู้ตรวจ แต่บางกรณีรองผู้กากับฯ ไม่อยู่หรือ มีน้อย ผู้กากับฯ จะให้นายหมู่ตรวจแทนก็ได้ ถ้ารองผู้กากับฯ ตรวจ รองผู้กากับฯ ที่จะไปตรวจน้ัน ต้องทา ความเคารพ (วันทยหัตถ์) ผู้กากับฯ เสียก่อน แล้วจึงไปตรวจหมู่ลูกเสือ พอไปถึงหน้าหมู่ลูกเสือที่จะรับตรวจ ยืนห่างจากหมู่ลูกเสือประมาณ ๓ ก้าว นายหมู่ส่ังลูกเสือในหมู่ของตนว่า “หมู่สี ... ตรง” ลูกเสือทุกคนตรง นายหมู่คนเดียวทาวันทยหัตถ์-ลดมือลง ก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าวเท้าชิด พร้อมกับทาวันทยหัตถ์แล้ว รายงานว่า “หมู่สี ... พร้อมท่ีจะรับตรวจแล้ว” เม่ือรายงานจบ ลดมือลงถอยหลังด้วยเท้าซ้ายเข้าท่ีเดิม ผู้ตรวจ กา้ วเทา้ ซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว แลว้ ตรวจนายหมกู่ ่อน จากนั้นก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าวเพ่ือตรวจสมาชิก หมคู่ นตอ่ ไป ขณะที่ตรวจลกู หมู่น้นั ใหน้ ายหมกู่ ้าวทางข้างไปด้านขวาตามไปด้วย เพ่ือจะได้ทราบถึงข้อบกพร่อง ของลกู หมู่ เมอ่ื ตรวจครบทุกคนแลว้ นายหมู่กลบั เขา้ ที่ ผู้ตรวจเดินมายืนตรงหน้านายหมู่ นายหมู่ทาวันทยหัตถ์ ผ้ตู รวจอีกครั้งหน่งึ (อาจกลา่ ว “ขอบคุณ” ผตู้ รวจ) แลว้ ลดมือลง จากนั้นนายหมู่จึงส่ังลูกหมู่ให้อยู่ในท่าพักตาม ระเบียบ รองผกู้ ากับฯ ท่ีไปตรวจจะรายงานผลการตรวจให้ผู้กากับฯ ทราบ คนไหนตรวจเสร็จก่อน ก็ให้รายงาน ก่อนโดยไมต่ อ้ งรอกนั ถ้านายหมู่ตรวจเม่ือได้ยินคาส่ังผู้กากับฯ ส่ังว่า “นายหมู่ตรวจ” ให้รองนายหมู่วิ่งอ้อมด้านหลังหมู่ ของตนไปยืนแทนทนี่ ายหมแู่ ละทาหนา้ ทเี่ สมือนนายหมู่ ส่วนนายหมู่ให้ก้าวเท้าซ้ายออกมาข้างหน้าแถวของตน และทาหนา้ ที่เสมอื นรองผู้กากับฯ (วิธีตรวจก็เช่นเดียวกับรองผู้กากับฯ ตรวจ) และเม่ือตรวจเสร็จแล้วให้ยืนรอ อยู่ก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจเรียบร้อยแล้ว จึงว่ิงไปเข้าแถวหน้ากระดานแถวเด่ียว หน้าผู้กากับฯ ให้นายหมู่ บริการอยู่หวั แถว เพอ่ื รายงานผลการตรวจ (การรายงานใหร้ ายงานทลี ะคนจากหัวแถวก่อน) คนไหนจะรายงาน ใหก้ ้าวเท้าซา้ ยออกไปข้างหนา้ ๑ ก้าว เทา้ ชิด พร้อมกบั ทาวันทยหัตถ์แล้วรายงานผลการตรวจ เสร็จแล้วลดมือ ลงถอยกลับเข้าท่ี จนครบทุกคน แล้วผู้กากับฯ จึงส่ังเข้าที่ เมื่อนายหมู่ว่ิงมาถึง ให้รองนายหมู่วิ่งอ้อมด้านหลัง กลบั เข้าทีต่ ามเดมิ จากน้ันผู้กากับฯ อาจจะกล่าวอะไรอีกเล็กน้อยก็ได้ แล้วส่ัง “แพ็ก - ตรง” “แพ็ก - แยก” ให้ลูกเสือ ทกุ คนทาขวาหัน แล้วแยกย้ายกนั ไป

๗ ขอ้ เสนอแนะ ๑) การตรวจในการเปิดประชุมกอง จะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน ความสะอาด หรืออปุ กรณ์อื่น ๆ จะตรวจเฉพาะดา้ นหนา้ จนครบทุกคนแล้ว ขอให้ขอ้ เสนอแนะดงั นี้ วิธีที่ ๑ กรณีการตรวจที่ไม่ใช่การตรวจเคร่ืองแบบ เม่ือตรวจถึงคนสุดท้ายให้นายหมู่กลับเข้าที่ โดยทาซา้ ยหนั และเดนิ นาหนา้ ผกู้ ากบั ฯ แล้วกลบั เขา้ ที่เดิม วิธีที่ ๒ กรณีการตรวจท่ีไม่ใช่การตรวจเครื่องแบบ เม่ือตรวจถึงคนสุดท้ายให้นายหมู่กลับเข้าที่ ด้วยการออ้ มหลังผกู้ ากบั ฯ ไปทางดา้ นหลงั ของหมู่แล้วกลับเขา้ ท่ีเดมิ ๒) การรายงานการตรวจของรองผกู้ ากับฯ รองผ้กู ากับฯ คนไหนตรวจเสรจ็ ก่อน ให้รายงานก่อน โดยไม่ต้องรอกนั ให้ยืนรายงานอยู่หน้าหมู่ ท่ีตนเองตรวจต่อผู้กากับฯ ในขณะท่ีรายงานผลการตรวจให้ทา “วันทยหัตถ์” จนเสร็จสิ้นการรายงาน แล้วให้ ลดมือลง กลับเขา้ ทีด่ า้ นหลงั ผกู้ ากับฯ ขอให้ขอ้ เสนอแนะดงั น้ี วธิ ที ี่ ๑ รองผู้กากับฯ ที่ตรวจหมู่แรกและหมู่สุดท้าย หลังจากรายงานเสร็จแล้ว เดินกลับไปเข้า แถวท่ีเดิมด้านหลังผู้กากับฯ ส่วนรองผู้กากับฯ ที่ตรวจหมู่ท่ีเหลือให้เดินกลับไปเข้าแถวท่ีเดิมโดยเดินออกไป ทางชอ่ งว่างระหวา่ งหมู่ วิธีท่ี ๒ เมอื่ รองผ้กู ากับฯ รายงานเสรจ็ ใหเ้ ดินกลบั เข้าที่ แตไ่ มค่ วรเดนิ ตัดหน้ารองผู้กากบั ฯ คนอ่ืน ๓) การรายงานการตรวจของนายหมู่ กรณีนายหมู่ตรวจ เมื่อตรวจเสร็จแล้ว ให้ยืนรอที่หน้าหมู่ตนเองก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจ เรียบร้อยแล้ว จึงว่ิงไปหาผู้กากับ ทาวันทยหัตถ์ - ลดมือลง แล้วเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวหน้าผู้กากับฯ (นายหมู่บริการ อยู่หัวแถว) เพื่อรายงานผลการตรวจต่อผู้กากับฯ ท้ังน้ี ให้รายงานทีละคนจากหัวแถว คนไหน จะรายงานให้ทาวันทยหัตถ์ - ลดมือลง ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้า ๑ ก้าว เท้าชิด พร้อมกับทาวันทยหัตถ์ แล้วรายงานผลการตรวจ เสร็จแล้วลดมือลง ถอยเท้าซ้ายกลับเข้าที่เดิมแล้วทาวันทยหัตถ์ ในขณะเดียวกันให้ นายหมู่ถัดไปทาวันทยหัตถ์ ลดมือลงพร้อมกันทั้งสองคน แล้วคนถัดไปก้าวออกไปรายงาน (ปฏิบัติในลักษณะ เช่นเดยี วกันนีจ้ นครบทุกหมู่) พิธปี ดิ ประชุมกองลูกเสือสารอง ลาดบั ขัน้ ตอนการปิดประชมุ กองลกู เสือสารอง ให้ปฏบิ ตั ิดังตอ่ ไปน้ี นัดหมาย - ตรวจ - แกรนดฮ์ าวล์ - ชักธงลง - เลกิ ๑. นดั หมาย - ผู้กากับฯ เรียก “แพ็ก - แพ็ก - แพก็ ” ลูกเสือสารองทุกคนขานรับพร้อมกันด้วยคาว่า “แพ็ก” แล้ววิ่งมาเข้าแถวเป็นรูปวงกลมเล็กล้อมรอบผู้กากับฯ ให้นายหมู่ของหมู่บริการอยู่ตรงหน้าผู้กากับฯ เรียงไปตามลาดับ ให้ไหล่ต่อไหล่ชิดกัน จากน้ันผู้กากับฯ จะนัดหมาย ส่ังการ หรือ แนะนา ตักเตือน เพ่ือให้ การฝกึ อบรมในครงั้ ต่อไปไดผ้ ลสมบูรณย์ ิง่ ข้ึน ๒. ตรวจ - ผู้กากับฯ ผายมือทั้งสองออกไปข้างๆ เล็กน้อย น้ิวทั้งห้าชิดกัน ฝ่ามือแบหงาย แล้วลดมือลง เม่ือลูกเสือสารองเห็นสัญญาณน้ี ทุกคนจับมือกันขยายออกเป็นรูปวงกลมใหญ่ จนแขนตึง จึงปล่อยมือและ จัดวงกลมให้เรียบร้อย จากน้ันสั่งให้ลูกเสืออยู่ในท่าพักตามระเบียบ การตรวจในตอนปิดประชุมกอง จะเป็น การตรวจความเรียบร้อยของเครื่องแบบเท่านั้น โดยให้ผู้ตรวจ ตรวจนายหมู่ก่อนทั้งด้านหน้าและด้านหลัง (ส่งั ให้นายหมู่กลับหลังหัน) เมื่อตรวจนายหมู่เสร็จแล้ว ให้ก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าวเพ่ือตรวจสมาชิกหมู่ คนต่อไป โดยมีนายหมู่ก้าวทางข้างไปด้านขวาตามไปด้วย เพ่ือจะได้ทราบถึงข้อบกพร่องของลูกหมู่ (รายละเอยี ดและวธิ กี ารไดก้ ลา่ วไว้แล้วในเรือ่ งของการตรวจตอนเปดิ ประชมุ กอง)

๘ ๓. แกรนด์ฮาวล์ - ปฏิบตั เิ ชน่ เดียวกับในตอนเปดิ ประชมุ กอง ๔. ชักธงลง - ปฏิบัติเชน่ เดยี วกับในตอนเปิดประชุมกอง ไม่ต้องร้องเพลงชาติและไม่ต้องเป่านกหวีด ๕. เลิก - เมื่อผู้ชักธงกลับเข้าประจาท่ีแล้ว ผู้กากับฯ สั่ง “มือลง” ลูกเสือทุกคนลดมือลง ผู้กากับฯ สั่ง “แพ็ก - เลิก” ลูกเสือทุกคนทาวันทยหัตถ์ผู้กากับฯ (ผู้กากับฯ ทาวันทยหัตถ์ตอบ) แล้วทาขวาหัน แยกยา้ ยกันกลับ ข้อเสนอแนะ ๑) กอ่ นการตรวจเครือ่ งแบบลกู เสือ ผู้ตรวจควรสารวจตนเองว่า แต่งเคร่ืองแบบถูกต้อง สะอาด เรยี บร้อย ไม่มขี อ้ บกพรอ่ งใดๆ ๒) การรายงานการตรวจของรองผ้กู ากบั ฯ รองผกู้ ากบั ฯ คนไหนตรวจเสรจ็ กอ่ น ใหร้ ายงานกอ่ น โดยไมต่ ้องรอกัน ใหย้ ืนรายงานอยู่หน้าหมู่ ท่ีตนเองตรวจต่อผู้กากับฯ ในขณะที่รายงานผลการตรวจให้ทา “วันทยหัตถ์” จนเสร็จสิ้นการรายงาน แล้วให้ ลดมือลง กลับเขา้ ที่ดา้ นหลังผู้กากบั ฯ ขอให้ข้อเสนอแนะดังน้ี วิธีที่ ๑ รองผู้กากับฯ ที่ตรวจหมู่แรกและหมู่สุดท้าย หลังจากรายงานเสร็จแล้ว เดินกลับไปเข้า แถวท่ีเดิมด้านหลังผู้กากับฯ ส่วนรองผู้กากับฯ ที่ตรวจหมู่ที่เหลือให้เดินกลับไปเข้าแถวท่ีเดิมโดยเดินออกไป ทางชอ่ งวา่ งระหว่างหมู่ วธิ ีที่ ๒ เมอ่ื รองผู้กากบั ฯ รายงานเสรจ็ ให้เดินกลับเข้าที่ แตไ่ ม่ควรเดนิ ตัดหน้ารองผู้กากับฯ คนอน่ื ๓) การรายงานการตรวจของนายหมู่ กรณีนายหมู่ตรวจ เม่ือตรวจเสร็จแล้วให้ยืนรอท่ีหน้าหมู่ตนเองก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจ เรียบร้อยแล้ว จึงวิ่งไปหาผู้กากับ ทาวันทยหัตถ์ - ลดมือลง แล้วเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยวหน้าผู้กากับฯ (นายหมู่บริการ อยู่หัวแถว) เพ่ือรายงานผลการตรวจต่อผู้กากับฯ ทั้งน้ี ให้รายงานทีละคนจากหัวแถว คนไหน จะรายงานใหท้ าวันทยหตั ถ์ - ลดมอื ลง กา้ วเทา้ ซ้ายออกไปข้างหน้า ๑ ก้าว เท้าชิด พร้อมกับทาวันทยหัตถ์แล้ว รายงานผลการตรวจ เสร็จแล้วลดมือลง ถอยเท้าซ้ายกลับเข้าที่เดิมแล้วทาวันทยหัตถ์ ในขณะเดียวกันให้ นายหมู่ถัดไปทาวันทยหัตถ์ – ลดมือลง พร้อมกันท้ังสองคน แล้วคนถัดไปก้าวออกไปรายงาน (ปฏิบัติใน ลักษณะเชน่ เดียวกนั นี้จนครบทุกหมู)่ ๔) พธิ ปี ิดประชมุ กอง เมื่อผู้กากับฯ สั่ง “แพ็ก - เลิก” ให้ลูกเสือทุกคนทาวันทยหัตถ์พร้อมกันและ กลา่ ววา่ “ขอบคณุ ครบั ๘” ลดมอื ลง แล้วทาขวาหันแยกยา้ ยกันไป ๕) ผ้กู ากับฯ ควรย้าเตือนหนา้ ทขี่ องหมบู่ ริการ เกบ็ ธง/เสาธง ดูแลความเรียบร้อยทกุ ครั้ง ๘ คู่มือการฝกึ อบรมวชิ าผกู้ ากบั ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ ข้ันความรเู้ บอ้ื งตน้ ***

๙ ๓. พธิ ีประชมุ กองลกู เสือสามญั สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามญั การประชุมกองลูกเสือเปน็ กิจกรรมกลางแจ้ง ที่มีความสาคัญต่อการฝึกอบรมลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามัญ ตามแผนการฝึกอบรมท่ีมีระดับสูงข้ึนตามวัยและสมรรถภาพของเด็ก เพื่อส่งเสริมการพัฒนา ทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ ศีลธรรม ให้เป็นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย มีความอดทน ช่วยสร้างสรรคส์ งั คมให้เกิดความสามคั คีและมคี วามเจรญิ ก้าวหนา้ วัตถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ให้ลูกเสอื ไดแ้ สดงความจงรักภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ๒. เพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานของกองลูกเสือ ที่จะพาลูกเสือไปสู่ความเป็นผู้มีระเบียบวินัย ตลอดจนค้นพบสงิ่ ที่ดงี าม และสงิ่ ที่บกพรอ่ งในตัวลกู เสือ ๓. เพื่อเสรมิ สร้างความเป็นผนู้ า ผตู้ ามทีด่ ี และความสมั พนั ธ์อันดรี ะหวา่ งผ้กู ากับลกู เสือกับลกู เสอื ๔. เพอ่ื สรา้ งเจตคติทีด่ ตี ่อกจิ การลูกเสือ การเตรยี มสถานที่และอปุ กรณ์ ๑. ลานกว้างเป็นทีร่ ม่ หรอื กลางแจ้ง เพยี งพอและเหมาะสมกับจานวนสมาชิกของกองลูกเสอื ๒. เสาธงเดีย่ ว ไมม่ แี ขนกางเขน เป็นเสาธงเฉพาะกจิ ๓. ธงชาติ มีขนาดพอเหมาะกับขนาดของเสาธง พธิ เี ปิดประชุมกองลูกเสอื สามญั สามัญร่นุ ใหญ่ และวิสามญั ลาดับขั้นตอนการเปดิ ประชุมกองลกู เสอื สามญั สามัญรนุ่ ใหญ่ และวิสามัญ ใหป้ ฏิบัติดังน้ี เปิด - เชญิ ธงข้นี - สวดมนต์ - สงบน่ิง - ตรวจ - แยก ๑. เปิด - ผู้กากับฯ ยนื อยหู่ น้าเสาธง ห่างจากเสาธงพอสมควร เรียกลูกเสือเข้าแถวรูปครงึ่ วงกลม ๒. เชิญธงขึ้น๙ - เม่ือลูกเสือเข้าแถวเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับฯ สั่งลูกเสือ “กอง - ตรง” ลูกเสือที่เป็น หม่บู รกิ ารหรอื ทาหน้าทหี่ มบู่ รกิ าร ๒ คนเข้าไปเชิญธง (ใหป้ ฏิบตั ดิ ังเช่นการเชญิ ธงเปิดกองลูกเสือสารอง) แต่ถ้า ลูกเสือมีอาวุธ๑๐ ก็ให้เปล่ียนจากคาส่ังที่ว่า “กอง - วันทยหัตถ์” เป็น “กอง - วันทยา - วุธ” และคาว่า “มือลง” เปน็ “เรยี บ - อาวุธ” ข้อเสนอแนะ ๑) ผ้กู ากบั ฯ ควรนัดหมายหมู่บริการปฏิบัติหน้าที่ชักธงชาติ นาร้องเพลงชาติ นาสวดมนต์ ให้เป็น ท่ีเรยี บรอ้ ยแลว้ ผู้กากับฯ ลกู เสอื สง่ั “กอง - ตรง”, “หมบู่ ริการชักธง” แลว้ ผกู้ ากับฯ ก้าวถอยหลังเฉียงออกไป ทางขวาหรือซา้ ยแนวเดยี วกบั เสาธง ๒) เชิญธงข้ึน ลูกเสือท่ีเป็นหมู่บริการหรือทาหน้าท่ีหมู่บริการ ๒ คน เป็นผู้ชักธง เม่ือได้ยิน ผู้กากับฯสั่ง “หมู่บริการชักธง” ให้ฝากอาวุธไว้กับลูกเสือที่อยู่ข้างเคียง แล้ววิ่งเข้าไปยังเสาธง ห่างประมาณ ๓ ก้าว ท้ัง ๒ คน แสดงความเคารพท่าวันทยหัตถ์ - ลดมือลง แล้วคนที่อยู่ขวามือก้าวไปข้างหน้า ๒ ก้าว ยืนเท้าชิด แก้เชือกที่ผูกเสาธงออก ถอยหลังด้วยเท้าซ้ายกลับมายืนที่เดิม แยกเชือกธงเส้นท่ีจะชักข้ึนให้คนท่ีอยู่ ทางซ้ายมือถอื ไว้ สว่ นธงชาตอิ ย่ทู ค่ี นทางขวา อย่าใหเ้ ส้นเชือกหยอ่ น ยนื เตรียมพร้อม ผู้กากับฯ ส่ังทาความเคารพ โดยออกคาสั่ง “กอง, วันทยา - วุธ” ลูกเสือในรูปครึ่งวงกลมทั้งหมดทาวันทยาวุธ ผู้กากับฯ และรองผู้กากับฯ ๙ ระเบยี บสานกั นายกรฐั มนตร.ี วา่ ด้วยการใช้ การชัก หรือการแสดงธงชาติ และธงของประเทศในราชอาณาจักร พ.ศ. 2529 และแก้ไขเพมิ่ เตมิ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2546 ฉบับท่ี 3 พ.ศ.2547 ตามความในข้อ 4 ไดร้ ะบวุ า่ “การชกั ธง” หมายความวา่ การเชญิ ธงขนึ้ สยู่ อดเสา หรอื การเชญิ ธงลงจากยอดเสา ตามกาหนดเวลา หรอื ตามโอกาสทก่ี าหนดไวใ้ นระเบยี บนี้ ๑๐ อาวุธของลกู เสอื สามญั ใชไ้ มพ้ ลองตามขอ้ บงั คับคณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ฯ พ.ศ. 2509 ขอ้ 293, อาวุธของลกู เสอื สามัญรุ่นใหญแ่ ละวสิ ามญั ใช้ไมง้ ่ามตามคูม่ อื การประกวดระเบยี บแถวลกู เสอื เนตรนารี ของสานกั การลกู เสอื ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

๑๐ ทาวันทยหัตถ์ ผู้แทนหมู่บริการนาร้องเพลงชาติ ลูกเสือทุกคนร้องเพลงชาติ พอเร่ิมร้องเพลงให้ผู้ชักธงค่อยๆ สาวสายเชือกให้ธงข้ึนสู่ยอดเสาช้าๆ ให้สายเชือกตึงเสมอกัน พอธงชาติขึ้นสู่ยอดเสาแล้ว คนที่อยู่ขวามือเดิน เข้าไปผูกเชือกธง อีกคนหน่ึงคงยืนอยู่ในท่าตรง (ไม่ต้องทาวันทยหัตถ์) เม่ือคนทางขวาผูกเชือกธงเรียบร้อยแล้ว ให้ถอยหลังด้วยเท้าซ้าย ๒ ก้าวกลับมายืนท่ีเดิม ทั้งสองคนทาวันทยหัตถ์ - ลดมือลง ผู้กากับฯ และรองผู้กากับฯ ลดมือลงพร้อมกับลูกเสือสองคนท่ีเชิญธง ลูกเสือในแถวทุกคนยังอยู่ในท่าวันทยาวุธ ผู้เชิญธงท้ังสองคน กลบั หลังหนั วงิ่ กลับไปเข้าทีข่ องตน รบั อาวธุ ที่ฝากไว้ แล้วทาท่าวันทยาวุธ เหมือนลูกเสือในแถว ผู้กากับฯ เดิน กลับมายนื หนา้ เสาธงแลว้ สั่ง “เรียบ - อาวุธ” ลกู เสอื ทกุ คนในแถวจึงทาทา่ เรียบอาวุธพร้อมกัน ๓. สวดมนต์ เม่ือลูกเสือทุกคนเรียบอาวุธ ยังคงอยู่ในท่าตรง แล้วยกอาวุธมาไว้ก่ึงกลางระหว่าง เท้าท้ังสอง ให้อาวุธส่วนบนพิงแขนซ้ายซึ่งงอเป็นมุมฉากรอรับอยู่ ถอดหมวกเตรียมตัวสวดมนต์ หมู่บริการ นาสวดมนต์ ๔. สงบนงิ่ เม่ือสวดมนตจ์ บแล้ว ทุกคนสงบนงิ่ ๕. ตรวจ การตรวจใหป้ ฏบิ ัตดิ ังนี้ วิธีตรวจ ตามปกติผู้กากับฯ จะให้รองผู้กากับฯ เป็นผู้ตรวจ แต่บางกรณีรองผู้กากับฯ ไม่อยู่หรือ มีน้อย ผู้กากับฯ จะให้นายหมู่ตรวจแทนก็ได้ ถ้ารองผู้กากับฯ ตรวจ รองผู้กากับฯ ท่ีจะไปตรวจน้ัน ต้องทา ความเคารพ (วันทยหัตถ์) ผู้กากับฯ เสียก่อน แล้วจึงไปตรวจหมู่ลูกเสือ พอไปถึงหน้าหมู่ลูกเสือท่ีจะรับตรวจ นายหมู่สั่งลูกเสือในหมู่ของตนว่า “หมู่ (ช่ือหมู่) ... ตรง” ลูกเสือทุกคนตรง นายหมู่ส่ัง “วันทยา - วุธ” ลูกเสือ ทกุ คนทาวันทยาวธุ จากน้นั นายหมู่คนเดียวทา เรียบอาวุธ แล้วก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว เท้าชิดทา วันทยาวุธ แล้วรายงานว่า “หมู่ (ชื่อหมู่) ... พร้อมที่จะรับการตรวจแล้ว” เม่ือรายงานจบ ทา เรียบอาวุธ ถอยหลังด้วย เท้าซ้ายเข้าที่เดิม ทาวันทยาวุธอีกคร้ังหน่ึง แล้วส่ัง “เรียบ - อาวุธ” ลูกเสือทุกคนทาเรียบอาวุธ แต่ยังอยู่ใน ท่าตรง ผู้ตรวจก้าวเท้าซ้ายไปข้างหน้า ๑ ก้าว ตรวจนายหมู่ก่อน แล้วก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าว เพื่อ ตรวจสมาชกิ หมู่คนตอ่ ไป ขณะท่ีตรวจลูกหมู่นั้นให้นายหมู่เดินก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าวตามผู้ตรวจ เพื่อ จะได้ทราบถึงข้อบกพรอ่ งของลูกหมู่ เม่ือตรวจครบทุกคนแล้ว นายหมู่กลับเข้าที่ ผู้ตรวจเดินมายืนหน้านายหมู่ นายหมู่ส่ัง ลูกหมู่ทาความเคารพผู้ตรวจว่า “หมู่ (ชื่อหมู่) ... วันทยา - วุธ”, “หมู่ (ชื่อหมู่) ... ขอบคุณครับ” แล้วส่ัง “เรียบ - อาวุธ”, “ตามระเบียบ, พัก” รองผู้กากับฯ ท่ีไปตรวจจะรายงานผลการตรวจให้ผู้กากับฯ ทราบ คนไหนตรวจเสร็จกอ่ น กใ็ หร้ ายงานก่อนโดยไมต่ ้องรอกนั กรณีนายหมู่ตรวจเม่ือได้ยินคาสั่งผู้กากับฯ สั่งว่า “นายหมู่ตรวจ” ให้รองนายหมู่ว่ิงอ้อมด้านหลัง หมู่ของตน ไปยืนแทนท่ีนายหมู่และทาหน้าท่ีเสมือนนายหมู่ ส่วนนายหมู่ให้ก้าวเท้าซ้ายออกมาข้างหน้าแถว ของตนเองประมาณ ๓ ก้าว และทาหน้าท่เี สมือนรองผ้กู ากบั ฯ (วิธตี รวจกเ็ ช่นเดียวกับรองผู้กากับฯ ตรวจ) และ เม่ือตรวจเสร็จแล้วให้ยืนรออยกู่ ่อน จนเห็นว่าทุกหมตู่ รวจเรียบร้อยแล้ว จึงวิ่งไปเข้าแถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว หน้าผู้กากับฯ ใหน้ ายหม่บู ริการอยูห่ ัวแถว เพื่อรายงานผลการตรวจ (การรายงานให้รายงานทีละคนจากหัวแถว ก่อน) คนไหนจะรายงานให้ทาวนั ทยาวุธ – เรียบอาวุธ ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหนา้ ๑ กา้ ว เทา้ ชิด ทาวันทยาวุธ แล้วรายงานผลการตรวจ เสร็จแล้ว ทาเรียบอาวุธ ถอยกลับเข้าท่ี แล้วทาวันทยาวุธอีกครั้ง ในขณะเดียวกันให้ นายหมู่ถัดไปทา วันทยาวุธ – เรียบอาวุธ พร้อมกันทั้งสองคน แล้วคนถัดไปก้าวออกไปรายงานในลักษณะ เดยี วกนั จนครบทกุ หมู่ ผ้กู ากบั ฯ จึงสั่งเขา้ ท่ี นายหมู่ทุกหมทู่ า วนั ทยาวุธ – เรียบอาวุธ ว่ิงกลับเข้าท่ี เม่ือนายหมู่ วิง่ มาถึงหมู่ ให้รองนายหมู่ว่ิงออ้ มด้านหลังกลับเขา้ ทต่ี ามเดิม จากน้ันผู้กากับฯ อาจจะกล่าวอะไรอีกเล็กน้อยก็ได้ แล้วส่ัง “กอง - ตรง” “กอง - แยก” ให้ลูกเสือ ทกุ คนทาขวาหนั แล้วแยกย้ายกันไป

๑๑ ข้อเสนอแนะ ๑) การตรวจในการเปิดประชุมกอง จะตรวจอะไรก็ได้ เช่น เครื่องแบบ เล็บ ฟัน ความสะอาด หรอื อุปกรณอ์ น่ื ๆ จะตรวจเฉพาะด้านหนา้ เม่ือตรวจครบทุกคนแล้ว ขอให้ข้อเสนอแนะดงั น้ี วิธีที่ ๑ กรณีการตรวจท่ีไม่ใช่การตรวจเคร่ืองแบบ เมื่อตรวจถึงคนสุดท้ายให้นายหมู่กลับเข้าท่ี โดยทาซา้ ยหนั และเดนิ นาหน้าผกู้ ากับฯ แลว้ กลบั เขา้ ทีเ่ ดิม วิธีท่ี ๒ กรณีการตรวจท่ีไม่ใช่การตรวจเครื่องแบบ เม่ือตรวจถึงคนสุดท้ายให้นายหมู่กลับเข้าท่ี ด้วยการอ้อมหลงั ผกู้ ากับฯ ไปทางดา้ นหลังของหมูแ่ ล้วกลับเข้าที่เดมิ ๒) การรายงานการตรวจของรองผกู้ ากับฯ รองผกู้ ากับฯ คนไหนตรวจเสร็จกอ่ น ใหร้ ายงานก่อน โดยไม่ตอ้ งรอกนั ให้ยืนรายงานอยู่หน้าหมู่ ที่ตนเองตรวจต่อผู้กากับฯ ในขณะท่ีรายงานผลการตรวจให้ทา “วันทยหัตถ์” จนเสร็จส้ินการรายงาน แล้วให้ ลดมอื ลง กลับเข้าทีด่ ้านหลังผูก้ ากบั ฯ ขอให้ขอ้ เสนอแนะดงั น้ี วิธที ี่ ๑ รองผู้กากับฯ ท่ีตรวจหมู่แรกและหมู่สุดท้าย หลังจากรายงานเสร็จแล้ว เดินกลับไปเข้า แถวที่เดิมด้านหลังผู้กากับฯ ส่วนรองผู้กากับฯ ท่ีตรวจหมู่ที่เหลือให้เดินกลับไปเข้าแถวท่ีเดิมโดยเดินออกไป ทางชอ่ งวา่ งระหว่างหมู่ วธิ ที ี่ ๒ เมื่อรองผ้กู ากับฯ รายงานเสร็จ ให้เดินกลับเข้าที่ แต่ไม่ควรเดินตัดหน้ารองผกู้ ากบั ฯ คนอื่น ๓) การรายงานการตรวจของนายหมู่ กรณีนายหมู่ตรวจ เม่ือตรวจเสร็จแล้วให้ยืนรอที่หน้าหมู่ตนเองก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจ เรยี บรอ้ ยแลว้ จึงว่งิ ไปหาผู้กากับ ทา วันทยาวุธ – เรียบอาวุธ แล้วเข้าแถวหน้ากระดานแถวเด่ียวหน้าผู้กากับฯ (นายหมู่บริการ อยู่หัวแถว) เพ่ือรายงานผลการตรวจต่อผู้กากับฯ ทั้งนี้ ให้รายงานทีละคนจากหัวแถว คนไหน จะรายงานให้ทา วันทยาวุธ – เรียบอาวุธ ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้า ๑ ก้าว เท้าชิด พร้อมกับทาวันทยาวุธ แล้วรายงานผลการตรวจ เสร็จแล้ว ทาเรยี บอาวธุ ถอยเท้าซ้ายกลับเข้าท่ีเดิมแล้วทาวันทยาวุธ ในขณะเดียวกัน ให้นายหมู่ถัดไปทา วันทยาวุธ – เรียบอาวุธ พร้อมกันทั้งสองคน แล้วคนถัดไปก้าวออกไปรายงาน (ปฏิบัติใน ลักษณะเชน่ เดยี วกนั นจ้ี นครบทกุ หมู่) พธิ ีปดิ ประชุมกองลกู เสือสามญั สามญั รุ่นใหญ่ และวสิ ามญั ลาดบั ขน้ั ตอนการปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวสิ ามัญ ให้ปฏบิ ัตดิ ังน้ี นัดหมาย - ตรวจ - ชกั ธงลง - เลิก ผู้กากับฯ ยนื อยหู่ น้าเสาธง หา่ งจากเสาธงพอสมควร เรียกลกู เสอื เขา้ แถวรปู ครึง่ วงกลม ๑. นัดหมาย - ผู้กากับฯ จะนัดหมายว่าในการเปิดประชุมกองลูกเสือคราวหน้า ลูกเสือแต่ละคน จะต้องเตรยี มอะไรมาบ้าง (ตามกาหนดการทว่ี างไว้) ๒. ตรวจ - การตรวจในตอนปิดประชุมกอง ให้ตรวจเคร่ืองแบบอย่างเดียว กระทาเช่นเดียวกับ ตอนเปิดประชุมกอง ต่างกันตรงที่ผู้ตรวจต้องตรวจนายหมู่ท้ังด้านหน้า และด้านหลังเสียก่อน (โดยการส่ังให้ นายหมู่กลับหลังหัน) จากนั้นจึงก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าว เพ่ือตรวจสมาชิกหมู่คนต่อไป ขณะที่ตรวจ ลูกหมู่น้ัน ให้นายหมู่เดินก้าวทางข้างไปด้านขวาทีละก้าวตามผู้ตรวจจนถึงคนสุดท้าย ผู้ตรวจนานายหมู่เดิน อ้อมหลัง เพ่ือตรวจความเรียบร้อยด้านหลังไปจนถึงหัวแถว นายหมู่กลับเข้าที่ ผู้ตรวจกลับไปยืนหน้านายหมู่ นายหมู่สั่งลูกหมู่ทาความเคารพผู้ตรวจว่า “หมู่ (ช่ือหมู่) ... วันทยา - วุธ”, “หมู่ (ชื่อหมู่) ... ขอบคุณครับ” แล้วส่ัง “เรียบ - อาวุธ”, “ตามระเบียบ, พัก” ผู้ตรวจรายงานผลการตรวจให้ผู้กากับฯ ทราบ (รายละเอียดและ วิธกี ารไดก้ ลา่ วไวแ้ ล้วในเรื่องของการตรวจตอนเปิดประชมุ กอง)

๑๒ ๓. ชักธงลง - ปฏิบัติเช่นเดียวกับในตอนเปิดการประชุมกอง แต่ไม่ต้องร้องเพลงชาติ และไม่ต้อง เปา่ นกหวีด ๔. เลิก - เมื่อผู้ชักธงกลับเข้าประจาที่แล้ว ผู้กากับฯ สั่ง “เรียบ - อาวุธ” ลูกเสือทุกคนทาเรียบอาวุธ ผู้กากับฯ ส่ัง “กอง - เลิก” ลูกเสือทุกคนทาวันทยาวุธ ผู้กากับฯ ทาวันทยหัตถ์ตอบ แล้วลูกเสือทาขวาหัน แยกยา้ ยกันกลบั ขอ้ เสนอแนะ ๑) กอ่ นการตรวจเครื่องแบบลกู เสอื ผูต้ รวจควรสารวจตนเองว่า แต่งเคร่ืองแบบถูกต้อง สะอาด เรียบรอ้ ย ไม่มขี อ้ บกพร่องใดๆ ๒) การรายงานการตรวจของรองผ้กู ากับฯ รองผู้กากบั ฯ คนไหนตรวจเสรจ็ ก่อน ใหร้ ายงานก่อน โดยไมต่ อ้ งรอกนั ใหย้ ืนรายงานอยู่หน้าหมู่ ท่ีตนเองตรวจต่อผู้กากับฯ ในขณะท่ีรายงานผลการตรวจให้ทา “วันทยหัตถ์” จนเสร็จส้ินการรายงาน แล้วให้ ลดมอื ลง กลบั เข้าท่ีด้านหลังผกู้ ากบั ฯ ขอใหข้ ้อเสนอแนะดงั นี้ วธิ ที ่ี ๑ รองผู้กากับฯ ท่ีตรวจหมู่แรกและหมู่สุดท้าย หลังจากรายงานเสร็จแล้ว เดินกลับไปเข้า แถวที่เดิมด้านหลังผู้กากับฯ ส่วนรองผู้กากับฯ ที่ตรวจหมู่ที่เหลือให้เดินกลับไปเข้าแถวที่เดิมโดยเดินออกไป ทางช่องว่างระหว่างหมู่ วิธที ่ี ๒ เมอ่ื รองผู้กากับฯ รายงานเสร็จ ใหเ้ ดินกลับเข้าที่ แตไ่ ม่ควรเดนิ ตัดหน้ารองผู้กากบั ฯ คนอื่น ๓) การรายงานการตรวจของนายหมู่ กรณีนายหมู่ตรวจ เม่ือตรวจเสร็จแล้วให้ยืนรอท่ีหน้าหมู่ตนเองก่อน จนเห็นว่าทุกหมู่ตรวจ เรียบร้อยแล้ว จึงวิ่งไปหาผู้กากับ ทาวันทยาวุธ – เรียบอาวุธ แล้วเข้าแถวหน้ากระดานแถวเด่ียวหน้าผู้กากับฯ (นายหมูบ่ รกิ าร อยูห่ วั แถว) เพ่อื รายงานผลการตรวจต่อผู้กากับฯ ท้ังน้ี ให้รายงานทีละคนจากหัวแถว คนไหน จะรายงานให้ทาวันทยาวุธ – เรียบอาวุธ ก้าวเท้าซ้ายออกไปข้างหน้า ๑ ก้าว เท้าชิด พร้อมกับทาวันทยาวุธ แลว้ รายงานผลการตรวจ เสรจ็ แล้ว ทาเรียบอาวุธ ถอยเท้าซา้ ยกลับเข้าทเี่ ดิมแล้วทาวันทยาวุธ ในขณะเดียวกัน ให้นายหมู่ถัดไป ทาวันทยาวุธ – เรียบอาวุธ พร้อมกันท้ังสองคน แล้วคนถัดไปก้าวออกไปรายงาน (ปฏิบัติใน ลักษณะเชน่ เดียวกันนจ้ี นครบทกุ หม)ู่ ๔) พิธีปิดประชุมกอง เม่ือผู้กากับฯ สั่ง “กอง - เลิก” ให้ลูกเสือทุกคนทาวันทยาวุธพร้อมกัน และกล่าวว่า “ขอบคณุ ครบั ” แลว้ ทาเรยี บอาวุธ ขวาหัน แยกยา้ ยกันไป ๕) ผู้กากบั ควรย้าเตือนหน้าท่ขี องหมบู่ รกิ าร เก็บธง/เสาธง ดูแลความเรียบรอ้ ยทุกครงั้

๑๓ ๔. พธิ ีเขา้ ประจากองลูกเสือ ความเปน็ มา๑๑* พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ลูกเสือหลวงท่ีสอบไล่ได้ กระทาพธิ เี ขา้ ประจากองให้แกก่ องลูกเสือกรงุ เทพฯ ท่ี ๑ เป็นครั้งแรก เม่ือวันที่ ๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๕๕ ณ พระท่ีนั่งอภิเษกดุสิต ด้วยพระองค์เอง ทรงโปรดฯ ให้ลูกเสือวิ่งมาต้ังแถวพร้อมกันเป็นหมู่ๆ ต่อหน้า พระพกั ตรห์ น้าพระที่นัง่ หา่ งไม่เกนิ ๔ เมตร กล่าวคาปฏิญาณถวาย ๓ ขอ้ ขอ้ ๑ ขา้ จะมใี จจงรักภักดีต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ข้อ ๒ ข้าจะต้ังใจประพฤตติ นใหส้ มควรเป็นลกู เสอื ผู้ชาย ข้อ ๓ ข้าจะประพฤตติ นตามข้อบังคับแลแบบแผนของลกู เสือ ความสาคญั ของพธิ เี ข้าประจากอง พิธีเข้าประจากอง หรือที่เรียกว่า พิธีปฏิญาณตน เป็นพิธีการสาคัญสาหรับลูกเสือทุกประเภท เป็น เรื่องของแต่ละกองลูกเสือ ต่างกองต่างทา โดยมีผู้กากับกองลูกเสือแต่ละกอง เป็นผู้ดาเนินการ มีรองผู้กากับ เปน็ ผู้ช่วย และอาจเชญิ บคุ ลากรจากภายนอกมารว่ มพิธีด้วยก็ได้ ลูกเสือท่ีผ่านพิธีเข้าประจากองแล้ว ถือว่าเป็น ลูกเสือที่สมบูรณ์ มีศักด์ิและสิทธิ์ในการพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าตามศักยภาพ ทั้งการเรียน การฝึกอบรมตาม หลักสูตรลูกเสือ การทดสอบเพ่ือรับเครื่องหมายวิชาพิเศษ เครื่องหมายสายยงยศ ฯลฯ ส่งผลให้เกิดความมี ระเบียบวินัย ระลึกและรักษาคามั่นสัญญาท่ีได้ให้ไว้อยู่เสมอ มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับผู้บังคับบัญชา ลูกเสอื เกิดความภาคภมู ใิ จในเกยี รตทิ ไี่ ดร้ บั ในพธิ ีนน้ั วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพื่อให้คาสัตย์ปฏิญาณ หรือให้คามั่นสัญญาต่อผู้กากับและกองลูกเสือว่าจะรับการฝึกอบรม กจิ กรรมลกู เสือดว้ ยจติ ใจของลกู เสืออยา่ งแท้จรงิ โดยไมล่ ะเมิดสทิ ธิของบคุ คลอ่ืน ๒. เพ่ือแสดงให้เห็นถึงการยอมรับว่าจะปฏิบัติตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ และยึดถือปฏิบัติ เปน็ กจิ วตั รประจาวัน ๓. เพื่อให้ลูกเสือที่ผ่านพิธีเข้าประจากอง เกิดความภาคภูมิใจในเกียรติท่ีตนได้รับ และความดี ที่ผู้อ่นื ยกย่อง ๔. เพื่อเผยแพร่กิจการลูกเสือและสนับสนุนกิจการลูกเสือให้เจริญก้าวหน้า โดยการประพฤติปฏิบัติ เป็นตวั อย่างที่ดแี ก่บุคคลอืน่ ๕. เพอ่ื ให้ลูกเสือเห็นความสมั ฤทธิ์ผล ในการเข้าเปน็ ลกู เสอื การเตรียมสถานท่ี สถานท่ีท่ใี ชใ้ นพิธีเข้าประจากอง สามารถเลอื กใช้สถานทท่ี อี่ ย่ใู นหอ้ งประชุม หรือสถานที่กลางแจ้งได้ แต่ควรคานงึ ถงึ พื้นทท่ี ีม่ ีความกว้างเพยี งพอ เหมาะสม มคี วามปลอดภยั ห่างไกลจากสภาพแวดล้อมท่ีอาจส่งผล รบกวน ต่อการประกอบพิธฯี เช่น สภาพการจราจร เสยี ง กล่ิน ฯลฯ ๑๑ หนงั สือ 100 ปี การลกู เสือไทย ปกแข็ง*

๑๔ การกระทาพธิ เี ข้าประจากอง กองลูกเสือสารอง จะทาไดเ้ มอ่ื ๑. ลกู เสอื ยน่ื ใบสมัคร (ลส.๓) ๒. ลงทะเบยี นในทะเบียนกองลกู เสือสารอง (ลส.๖) ๓. ผ่านหลักสูตรเตรียมลูกเสือสารอง (ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ เม่ือจบภาคเรียนท่ี ๑ หรือเร่ิมต้น ภาคเรียนท่ี ๒) ๔. ไดร้ บั อนญุ าตใหต้ ง้ั กอง (ไดร้ บั ลส. ๑๒) หมายเหตุ ลกู เสือสารองใหม่ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ท่ีกาลังเรียนหลักสูตรเตรียมลูกเสือสารอง จะประดับ เคร่อื งหมายลูกเสือสารองทห่ี น้าหมวก และเหนือกระเป๋าเส้อื ข้างซ้าย เม่ือผา่ นพิธเี ข้าประจากอง กองลกู เสือสามญั จะทาไดเ้ มือ่ ๑. ลกู เสอื ยื่นใบสมคั ร (ลส.๓) ๒. ลงทะเบียนในทะเบยี นกองลูกเสือสามญั (ลส.๗) ๓. ลูกเสือผา่ นหลักสตู รลูกเสือตรี (ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔ เมือ่ จบภาคเรียนท่ี ๑ หรือเริ่มต้นภาคเรียนท่ี ๒) ๔. ไดร้ ับอนญุ าตใหต้ ง้ั กอง (ไดร้ ับ ลส.๑๒) กองลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ จะทาได้เมอ่ื ๑. ลกู เสือยน่ื ใบสมัคร (ลส.๓) ๒. ลงทะเบียนในทะเบยี นกองลกู เสอื สามัญรนุ่ ใหญ่ (ลส.๘) ๓. ผา่ นหลักสตู รลูกเสือโลกแลว้ (ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เม่ือจบภาคเรยี นท่ี ๑ หรือเร่ิมต้นภาคเรียนท่ี ๒) ๔. ไดร้ ับอนญุ าตให้ต้ังกอง (ไดร้ ับ ลส.๑๒) หมายเหตุ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จะประดับอินทรธนูได้ เมื่อสอบวิชาเครื่องหมายลูกเสือโลกได้และผ่านพิธี เขา้ ประจากองแล้ว กองลูกเสอื วสิ ามญั จะทาได้เม่ือ ๑. ลูกเสอื ยื่นใบสมัคร (ลส.๓) ๒. ลงทะเบียนในทะเบียนกองลกู เสอื วิสามัญ (ลส.๙) ๓. ผ่านหลักสูตรเตรียมลูกเสือวิสามัญ (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ / ปวช.๑ จบภาคเรียนที่ ๑ หรือ เริ่มตน้ ภาคเรยี นที่ ๒) ๔. ได้รบั อนุญาตใหต้ ้งั กอง (ได้รบั ลส.๑๒) หมายเหตุ ลกู เสอื วสิ ามัญ จะประดบั แถบ ๓ สี ที่ไหล่ได้ เมือ่ ผ่านหลกั สตู รเตรยี มลูกเสือวสิ ามญั และผ่านพธิ เี ข้า ประจากองแลว้

๑๕ ๔.๑ พิธีเขา้ ประจากองลูกเสือสารอง ตามแนวทางข้อบังคบั คณะลูกเสือแหง่ ชาติ ว่าด้วยการปกครองหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ.๒๕๐๙ ขอ้ ๒88 วัสดุ/อปุ กรณ์ สาหรับใช้ประกอบพธิ ีเข้าประจากองลูกเสือสารอง ประกอบด้วย ๑. ธงประจากองลกู เสือสารอง (ถา้ มี) ๒. หมวกท่ีติดเครือ่ งหมายลกู เสือสารองแลว้ และพานใส่เครื่องหมายลูกเสือสารอง ๓. เกา้ อ้ี ชุดรับแขก ที่ใชต้ ้อนรับบคุ ลากรทางการลกู เสือ หรอื ประธานในพธิ ี และแขกผู้รับเชญิ ๑. หมวกลกู เสอื สารองทต่ี ิดเครอื่ งหมายลูกเสือสารอง และพานใสเ่ ครอ่ื งหมายลกู เสือสารอง ข้อเสนอแนะ กรณีใชพ้ านวางหมวก และ เครื่องหมายลูกเสือสารอง ให้พจิ ารณาใช้พานสีเงิน ข้ันตอนพธิ เี ข้าประจากองลกู เสอื สารอง พิธเี ขา้ ประจากองลกู เสือสารอง หรือ พธิ ปี ฏิญาณตน หรอื พธิ ตี อ้ นรับลูกเสือใหม่ มอี ยู่ ๒ วิธคี ือ วิธีท่ี ๑ มีกองลูกเสอื อยู่กอ่ นแลว้ วิธีท่ี ๒ ยงั ไม่มกี อง เปน็ การตั้งกองขน้ึ ใหม่ วิธีที่ ๑ มีกองลกู เสืออยู่กอ่ นแล้ว ใหป้ ฏบิ ตั ิดังนี้ ๑. กองลกู เสือสารอง ทารูปวงกลมใหญ่ โดยมขี น้ั ตอนดังต่อไปนี้ ๑) ผู้กากับฯ เรียก “แพ็ก แพ็ก แพ็ก” (แพ็ก คาท้ายให้เน้นให้หนัก) พร้อมกับทาสัญญาณมือ ทั้งสอง แกว่งรอบตวั เป็นรูปวงกลม ๒) ลูกเสือสารองทุกคนขานรับพร้อมกันทันทีว่า “แพ็ก” แล้วว่ิงเข้าแถวเป็นรูปวงกลมเล็กล้อมรอบ ผู้กากับฯ (นายหมูข่ องหมูบ่ รกิ ารอยู่ตรงหนา้ ผกู้ ากับฯ ใหไ้ หล่ต่อไหล่ชดิ กนั ) ๓) ผกู้ ากับฯ ผายมือทง้ั สองออกไปข้าง ๆ เล็กน้อย นิ้วทั้งห้าชิดกัน ฝ่ามือแบหงาย (แล้วลดมือลง เพอ่ื ตรวจดูความเรียบร้อย) ๔) ลูกเสือสารองเมื่อเห็นสัญญาณน้ี ทุกคนจับมือกันขยายออกเป็นวงกลมใหญ่ จนแขนตึง จึง ปล่อยมือและจดั วงกลมใหเ้ รยี บร้อย

๑๖ ถอื หมวก / ถือพาน ผงั ตัวอยา่ งกองลูกเสือสารอง ทารูปวงกลมใหญ่ ๒. หมวกที่ติดเคร่ืองหมายลูกเสือสารองแล้ว กับเครื่องหมายลูกเสือสารองท่ีจะติดเหนือกระเป๋าเส้ือ อยูท่ ผี่ ู้กากบั ฯ ขอ้ เสนอแนะ หมวกที่ติดเคร่ืองหมายลูกเสือสารองกับเคร่ืองหมายลูกเสือสารองที่จะติดเหนือกระเป๋าเส้ือ ควรให้รองผู้กากับฯ ถือไว้ ยนื อยดู่ า้ นหลังผกู้ ากบั ฯ นอกวงกลม เยื้องไปทางขวามอื หมวกที่ติดเคร่ืองหมายลกู เสอื สารองกับเครือ่ งหมายลูกเสือสารอง อยทู่ ีร่ องผ้กู ากบั ฯ ๓. ธงประจากอง (ถา้ ม)ี ใหร้ องผ้กู ากบั ฯ ถือไวใ้ นท่าตรงนอกวงกลม

๑๗ ข้อเสนอแนะ ธงประจากองและป้ายคติพจน์ (ถ้ามี) ให้รองผู้กากับฯ ถือไว้ในท่าตรงนอกวงกลม (อยู่ทางด้านหลัง เย้อื งไปทางซา้ ยมอื ของผูก้ ากบั ฯ) รองผกู้ ากบั ฯ ถือปา้ ยคติพจน์และธงประจากอง (ถ้ามี) ๔. ลูกเสือใหม่อยู่นอกวงกลม (แต่งเครื่องแบบครบ เว้นแต่เครื่องหมายลูกเสือสารองท่ีจะติดกระเป๋า เสอ้ื กบั หมวกอยูท่ ผ่ี ู้กากบั ฯ) ด้านหลงั ของหมทู่ ต่ี นจะเขา้ ไปอยู่ ขอ้ เสนอแนะ หมวกท่ีติดเคร่ืองหมายลูกเสือสารองกับเครื่องหมายลูกเสือสารองท่ีจะติดเหนือกระเป๋าเสื้อ ควรใหร้ องผู้กากบั ฯ ถือไว้ ลกู เสือใหม่อยนู่ อกวงกลม

๑๘ ๕. ผู้กากับฯ เรียกลูกเสือใหม่เข้ามาในวงกลมหน้าผู้กากับฯ (หากหลายคนให้เข้าแถวหน้ากระดาน แถวเดี่ยว) ลกู เสอื ใหม่ว่ิงเขา้ มาในวงกลมหนา้ ผกู้ ากับฯ หากหลายคนให้เขา้ แถวหน้ากระดานแถวเด่ียว ๖. ผ้กู ากบั ฯ สอบถามลูกเสอื ใหม่ ดงั น้ี ผู้กากบั ฯ “เจา้ ตอ้ งการเปน็ ลูกเสือสารองใช่ไหม” ลูกเสอื ใหม่ “ใช่ครับ” ผู้กากับฯ “เจา้ เข้าใจกฎ คาปฏิญาณ การทาความเคารพ และการทาแกรนดฮ์ าวล์ หรอื ไม”่ ลูกเสือใหม่ “ขา้ เขา้ ใจและปฏิบัติได”้ ผูก้ ากับฯ “กฎมวี ่าอย่างไร” ลูกเสอื ใหม่ “ข้อ ๑ ลูกเสอื สารองทาตามลูกเสอื รนุ่ พี่ ขอ้ ๒ ลูกเสอื สารองไมท่ าตามใจตนเอง” ผกู้ ากับฯ “ถ้าเช่นนัน้ จะให้เช่อื ไดห้ รือไม่วา่ ข้อ ๑ เจ้าจะจงรกั ภักดีตอ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ขอ้ ๒ เจา้ จะยดึ ม่นั ในกฎของลกู เสือสารองและบาเพญ็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อื่น ทุกวัน” ลูกเสอื ใหม่ ทาวนั ทยหตั ถ์ “ขา้ สัญญาวา่ ขอ้ ๑ ขา้ จะจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ข้อ ๒ ข้าจะยึดมนั่ ในกฎของลูกเสือสารองและบาเพญ็ ประโยชนต์ ่อผอู้ ่นื ทุกวัน” ผกู้ ากบั ฯ “เจา้ จงรกั ษาคามั่นสัญญาของเจ้าไวใ้ หม้ น่ั ตอ่ ไป บัดน้ี เจา้ ไดเ้ ข้าเป็นลูกเสอื สารองและเป็นสมาชกิ ผูห้ น่ึงของคณะพ่นี ้องลกู เสือแห่งโลกอันย่งิ ใหญ่แลว้ ” ลกู เสอื ลดมือลง

๑๙ ขอ้ เสนอแนะ ขณะที่ลูกเสือสารองกล่าวคาปฏิญาณ (วันทยหัตถ์ ๒ นิ้ว) ต่อหน้าผู้กากับฯ น้ัน ผู้กากับฯ ทาวันทยหัตถ์ รับ ๒ นว้ิ ดว้ ย สว่ นรองผกู้ ากับฯ หรอื ผู้บงั คับบัญชาลกู เสืออ่ืนๆ แสดงรหสั ลูกเสือ ๓ นวิ้ ๗. ผู้กากับฯ มอบเครื่องหมายลูกเสือสารองสาหรับติดเหนือกระเป๋าเสื้อ และมอบหมวกให้ลูกเสือ รบั มาสวมเอง ลูกเสือทาวนั ทยหตั ถ์พรอ้ มสัมผสั มอื กับผกู้ ากบั ฯ แลว้ ลดมือลงอยใู่ นทา่ ตรง ในกรณีท่ีผู้กากับกลุ่มเป็นประธาน หรือเชิญผู้อื่นเป็นประธาน ก็ควรให้ทาหน้าท่ีแทนผู้กากับฯ ตามขอ้ ๗ น้ี ขอ้ เสนอแนะ ๑) เครือ่ งหมายลกู เสือสารอง ใหต้ ิดเหนอื กระเปา๋ เสอ้ื ด้านซา้ ย ๒) ในกรณีท่ีผู้กากับฯ เชิญผู้อานวยการลูกเสือโรงเรียน หรือบุคลากรทางการลูกเสืออื่นเป็น ประธาน กค็ วรใหท้ าหน้าท่แี ทนผ้กู ากบั ฯ ตามขอ้ ๗ นี้ ๘. ผู้กากับฯ สงั่ “ลูกเสือใหม่กลับหลัง – หัน ทาความเคารพลูกเสือเก่า” ลูกเสือใหม่ทาความเคารพ ด้วยทา่ วนั ทยหตั ถ์ ลกู เสอื เกา่ รับการเคารพด้วยทา่ วนั ทยหัตถเ์ ชน่ กนั แล้วลดมอื ลงพร้อมกัน (โดยไม่ตอ้ งสง่ั ) ๙. ผู้กากับฯ ส่ังลูกเสือใหม่เข้าประจาหมู่ โดยสั่งว่า “ลูกเสือใหม่เข้าประจาหมู่ - ว่ิง” ลูกเสือใหม่ว่ิง เขา้ ประจาหมขู่ องตน (ซ่ึงจดั แบ่งไวเ้ รยี บรอ้ ยแลว้ ) ลูกเสือใหมว่ ง่ิ กลบั เขา้ ท่ีภายในหมขู่ องตนเอง ๑๐. เสรจ็ สน้ิ ดว้ ยการทาแกรนดฮ์ าวล์

๒๐ ข. ยงั ไม่มกี องลูกเสือ หรือเป็นลูกเสอื ใหม่ท้ังหมด ๑. ลูกเสือใหม่ทั้งหมดเข้าแถวเป็นแถวตอนหมู่ หน้าผู้กากับฯ แต่งเคร่ืองแบบครบ เว้นแต่ เคร่ืองหมายลกู เสอื สารองทจี่ ะติดกระเป๋าเสื้อกับหมวกอยู่ทผ่ี ู้กากับฯ ๒. หมวกท่ีติดเครื่องหมายลูกเสือสารองแล้ว กับเคร่ืองหมายลูกเสือสารองที่จะติดกระเป๋าเส้ือ อยู่ทีผ่ กู้ ากบั ฯ ขอ้ เสนอแนะ หมวกท่ีติดเครื่องหมายลูกเสือสารองกับเครื่องหมายลูกเสือสารองที่จะติดเหนือกระเป๋าเส้ือ ควรให้ รองผูก้ ากบั ฯ ถอื ไว้ ยืนอยู่ดา้ นหลงั ผูก้ ากับฯ เยอื้ งไปทางขวามือ ลูกเสือเข้าแถวเปน็ แถวตอนหมู่ ๓. ธงประจากอง (ถ้าม)ี ใหร้ องผู้กากบั ฯ ถือไว้ในท่าตรงนอกวงกลม ขอ้ เสนอแนะ ธงประจากองและปา้ ยคติพจน์ (ถ้าม)ี ให้รองผกู้ ากับฯ ถือไวใ้ นท่าตรง อยู่ด้านหลังเย้ืองไปทางซ้ายมือ ของผ้กู ากับฯ ๔. ผกู้ ากบั ฯ เรียกลกู เสอื ใหม่ออกมายนื หนา้ ผกู้ ากบั ฯ ครง้ั ละหมู่ โดยออกคาส่ังว่า “หมู่สี ...............” ใหห้ ม่สู ีนน้ั ออกมายนื เปน็ แถวหน้ากระดานแถวเดี่ยว

๒๑ ๕. ผ้กู ากบั ฯ สอบถามลกู เสอื ใหม่ (เหมอื นอยา่ งมกี องลูกเสืออยู่ก่อนแลว้ ) ๖. เมือ่ ผกู้ ากับฯ หรือประธาน มอบเครื่องหมายและหมวกและสัมผสั มอื กบั ลูกเสือใหม่ แล้วให้ลูกเสือ ใหม่ ไปเข้าแถวเตรียมเป็นรูปวงกลม (หมายความว่า เมื่อทุกหมู่เข้าแถวเรียบร้อยแล้ว จะเป็นรูปวงกลม ลอ้ มรอบผู้กากับฯ โดยออกคาสั่งว่า “ลูกเสือใหม่เข้าประจาที่ - วิ่ง” ลูกเสือใหม่ว่ิงไปเข้าที่ของตน ซึ่งผู้กากับฯ นัดหมายไวก้ ่อนแลว้ ) ขอ้ เสนอแนะ ๑) เม่อื ผกู้ ากับฯ มอบเครอ่ื งหมายลูกเสอื สารองและหมวกให้ลูกเสือ ลูกเสือรับหมวกมาสวมเอง แล้วทาวันทยหตั ถพ์ ร้อมสมั ผัสมือกบั ผู้กากบั ฯ (ผู้กากับฯ รับการเคารพท่าวันทยหัตถ์ ๒ นิ้ว) ลดมือลงพร้อมกัน อยู่ในทา่ ตรง หลงั จากน้ันใหล้ กู เสือใหมไ่ ปเข้าแถวเปน็ รูปวงกลมลอ้ มรอบผู้กากับฯ เมื่อทุกหมู่เข้าแถวเรียบร้อยแล้ว ผู้กากับฯ สัง่ “ลกู เสอื ใหม่เขา้ ประจาท่ี - ว่ิง” ลกู เสอื ใหม่วิ่งไปเขา้ ทขี่ องตน ๒) ในกรณีท่ีผู้กากับฯ เชิญผู้อานวยการลูกเสือโรงเรียน หรือบุคลากรทางการลูกเสืออ่ืนเป็น ประธาน ก็ควรให้ทาหน้าที่แทนผู้กากบั ฯ ตามขอ้ ๖ น้ี ๗. เสรจ็ สนิ้ ดว้ ยการทาแกรนดฮ์ าวล์ ข้อเสนอแนะ ๑) ขณะที่ลูกเสือกล่าวคาปฏิญาณต่อหน้าผู้กากับฯ น้ัน ผู้กากับทาวันทยหัตถ์รับ (๒ น้ิว) ส่วน รองผู้กากับฯ หรือผ้บู ังคบั บัญชาลูกเสอื อืน่ ๆ แสดงรหัสลกู เสือ (๓ นิว้ ) ๒) ลูกเสือผู้ใดได้กระทาพิธีปฏิญาณตนแล้ว ขณะที่ลูกเสือใหม่กล่าวคาปฏิญาณนั้น ต้องทา วนั ทยหัตถด์ ว้ ย ลกู เสือผู้ใดยังไม่ได้ปฏญิ าณตน ไม่ตอ้ งทาวนั ทยหัตถ์ คงยืนตรงเฉยๆ ๓) การสั่งให้แยกแถว หมายความว่า แยกไปเรียนวิชาอ่ืนก่อน ให้สั่งว่า “แพ็ก - แยก” ลูกเสือ ทาขวาหนั แล้วแยกไป ๔) การส่ังให้เลิกแถว หมายความว่า เลิกจากการเรียนแล้ว หรือ ปิดการประชุมกอง ให้สั่งว่า “แพ็ก - เลกิ ” ลูกเสอื ทาวนั ทยหตั ถ์แลว้ กลา่ ววา่ “ขอบคณุ ครบั ” แล้วขวาหนั เลิกแถวไป

๒๒ ขอ้ เสนอแนะ ๑) ธงประจากองลูกเสือสารอง 60 ซ.ม. กองลูกเสือสารอง โรงเรียน .................................. 90 ซ.ม. ตวั อย่างธงประจากองลูกเสือสารอง ผืนธงทาด้วยผ้าสีเหลือง ขนาด ๙๐ x ๖๐ ซ.ม. มีครุยสีเขียวยาว ๘ ซ.ม. สามด้าน ตรงกลาง มีตราคณะลูกเสือแห่งชาติสีเขียว ขนาด ๔๐ x ๒๕ ซ.ม. ใต้ตราบอกช่ือกลุ่มหรือกองลูกเสือ ตัวอักษรพิมพ์ ธรรมดา สีเขียวขนาดพองาม ด้ามธง ทาด้วยไม้ ขนาดยาว ๒ เมตร เส้นรอบวง ๑ น้ิว ยอดคันธงทาด้วยโลหะ เป็นรูปวชริ ะสเี งิน ๒) ป้ายคาขวญั (ปา้ ยคติพจน์) ถ้ามี ตวั ป้ายสีขาวทงั้ หมด ตัวอักษรสีนา้ เงินชนดิ หวั กลม สงู ๓ นว้ิ ๓) ในการประกอบพิธีเข้าประจากอง อาจมอบหมายให้รองผู้กากับฯ เป็นผู้ช่วยในการปฎิบัติ ภารกิจตามข้นั ตอนของพธิ กี าร ๔) จัดเตรยี มเกา้ อ้ี ชดุ รับแขก ที่ใช้ตอ้ นรบั บุคลากรทางการลูกเสือ หรือประธานในพธิ ี และแขก ผู้รบั เชิญ

๒๓ ๔.๒ พธิ เี ข้าประจากองลกู เสือสามญั ตามแนวทางขอ้ บังคบั คณะลูกเสอื แหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการปกครองหลกั สตู รและวชิ าพเิ ศษลูกเสอื พ.ศ.๒๕๐๙ ข้อ ๒๙๓ วัสดุ/อุปกรณใ์ นพิธีเขา้ ประจากองลูกเสือสามัญ ไมพ้ ลอง ขน้ั ตอนพิธีเข้าประจากองลูกเสอื สามัญ พิธีเข้าประจากองลูกเสือหรือเรียกว่าพิธีปฏิญาณตนนี้ ให้เป็นหน้าท่ีของกองลูกเสือ ต่างกอง ต่างจัดทาและใหป้ ฏบิ ตั ิดงั ต่อไปน้ี ๑. จัดลูกเสือเก่า (คือลูกเสือท่ีได้ปฏิญาณตนแล้ว) อย่างน้อย ๖ คน เป็นผู้แทนคณะลูกเสือแห่งชาติ เข้าแถวหน้ากระดานแถวเด่ียว และลูกเสือใหม่ (คือลูกเสือท่ีจะปฏิญาณตน) เข้าแถวหน้ากระดานหมู่ปิดระยะ อย่หู ลังลกู เสอื เกา่ (ลูกเสอื เก่าและลกู เสอื ใหมม่ พี ลอง) ลกู เสอื เกา่ อยา่ งน้อย ๖ คน เป็นผแู้ ทนคณะลกู เสือแห่งชาติ เขา้ แถวหนา้ กระดานแถวเดีย่ ว (ลูกเสือท่ีออกมาเปน็ ผู้แทนคณะลกู เสือแหง่ ชาติ ควรเปน็ นายหมู่ รองนายหมู่หรือลกู เสือรุ่นพ)่ี ๒. ผู้กากบั ฯ ยืนอยู่หน้าแถว มีรองผกู้ ากับฯ ยนื อยู่ด้านขวามอื ของผ้กู ากับ เพ่อื รบั ฝากพลองกับหมวก ของลกู เสือใหม่ ขอ้ เสนอแนะ รองผกู้ ากบั ฯ ยืนอยดู่ า้ นหลังเยอ้ื งไปทางขวามือของผู้กากับฯ เพ่ือรับฝากพลองและหมวกของลูกเสือ ใหม่ โดยมีรองผู้กากับฯ อีกหน่ึงคนยืนอยู่ด้านหลังเยื้องไปทางซ้ายมือของผู้กากับฯ เพื่อถือธงประจากองและ ป้ายคตพิ จน์

๒๔ ๓. ผกู้ ากบั ฯ เรยี กลกู เสอื ใหม่ (สมมตุ วิ ่าลูกเสือใหมช่ ่ือนายแดง รักไทย) ว่า “นายแดง รักไทย มาแล้ว หรือยัง” (ถ้านายแดง รักไทย เคยเป็นลูกเสือสารองมาก่อนก็ให้เรียกว่า “ลูกเสือแดง รักไทย”) นายหมู่ท่ี อยู่หัวแถวลูกเสือผู้น้ัน ก้าวออกมาข้างหน้า ๑ ก้าว ทาวันทยาวุธพร้อมกับขานว่า “มาแล้ว” นายหมู่เรียบอาวุธ และนายหมู่เรียกชื่อซ้าอีกว่า “นายแดง รักไทย” นายแดง รักไทย ขานรับว่า “อยู่” แล้วก้าวเท้าซ้ายออกมา ข้างหน้า ๑ ก้าว ทาซ้ายหัน คอนอาวุธ แล้วว่ิงไปทางด้านซ้ายของแถว ไปยืนหน้ารองผู้กากับฯ ในท่าตรง ทาความเคารพรองผู้กากับฯ มอบพลองและหมวกไว้ท่ีรองผู้กากับฯ แล้วว่ิงไปยืนหน้าผู้กากับฯ เป็น แถวหน้ากระดานแถวเด่ียวทีละคน จนหมดหมู่ (คร้ังหนึ่งๆ ไม่ควรเกิน ๘ คน) เมื่อครบทุกคนในหมู่แล้ว ใหน้ ายหมวู่ ่งิ ไปอยหู่ วั แถว ขอ้ เสนอแนะ นายหมู่ท่ีอยูห่ ัวแถวเวลาขานรบั ใหก้ ้าวเทา้ ซ้ายออกมาข้างหนา้ ๑ ก้าว เมอื่ ครบทกุ คนในหมู่แล้วให้นายหมู่วิ่งไปอยูห่ วั แถว

๒๕ ๔. ผกู้ ากบั ฯ ถามลกู เสือใหม่ว่า ผกู้ ากับฯ “เจ้าเขา้ ใจหรอื ไม่วา่ คามน่ั สัญญาของเจา้ คอื อะไร” ลกู เสอื ใหม่ “ขา้ เขา้ ใจแล้ว คือ ข้าสัญญาว่า จะทาอยา่ งไรแล้ว ตอ้ งทาเหมอื นปากพดู ทกุ อยา่ ง” ผกู้ ากบั ฯ “ถ้าเช่นนัน้ จะให้เช่ือไดห้ รอื ไมว่ ่า ขอ้ ๑ เจ้าจะจงรกั ภักดตี อ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ข้อ ๒ เจ้าจะช่วยเหลือผู้อื่นทุกเมอ่ื ขอ้ ๓ เจ้าจะปฏบิ ัติตามกฎของลกู เสือ” ลกู เสือใหมท่ ี่กาลังทาพธิ ฯี แสดงรหสั “ด้วยเกยี รติของข้า ขา้ สญั ญาว่า ขอ้ ๑ ข้าจะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ข้อ ๒ ขา้ จะช่วยเหลือผอู้ นื่ ทกุ เมือ่ ขอ้ ๓ ข้าจะปฏิบตั ิตามกฎของลูกเสือ” (ขณะที่ลูกเสอื ใหม่กล่าวคาปฏิญาณนี้ ลูกเสือเก่าและลูกเสือใหม่ที่ได้ปฏิญาณตนแล้ว ให้ยกพลองมา วางไว้กึ่งกลางระหว่างเท้าทั้งสอง พลองส่วนบนพิงแขนซ้ายซ่ึงงอเป็นมุมฉากรอรับอยู่ แล้วแสดงรหัส ผบู้ งั คบั บัญชาลูกเสอื และลูกเสอื ทีอ่ ยใู่ นบริเวณนน้ั แสดงรหสั ด้วย) ผ้กู ากบั ฯ “เจ้าจงรักษาคามั่นสัญญาของเจ้าไว้ให้ม่ันต่อไป บัดนี้เจ้าได้เข้าเป็นลูกเสือ สามัญ และเปน็ สมาชกิ ผหู้ น่งึ ของคณะพนี่ อ้ งลูกเสือแห่งโลกอนั ยง่ิ ใหญ่แลว้ ” ๕. เม่ือสิน้ คาผกู้ ากับฯ ในขอ้ ๔ ให้รองผูก้ ากับนาพลอง และหมวกไปมอบใหล้ กู เสอื ใหม่ ๖. เมื่อลูกเสือใหม่รับพลองและหมวกเรียบร้อยแล้ว นายหมู่สั่งว่า “ลูกเสือใหม่ กลับหลัง – หัน” ลูกเสือใหม่รวมทั้งนายหมู่ทากลับหลังหัน แล้วนายหมู่สั่งต่อ “ลูกเสือใหม่ ทาความเคารพลูกเสือเก่า วันทยา - วุธ” ท้งั ลกู เสือใหมแ่ ละลูกเสือเกา่ ทาวนั ทยาวุธพร้อมกัน นายหมู่สั่ง “เรียบ – อาวุธ” เมอื่ ทกุ คนเรียบอาวธุ แลว้ ลูกเสอื ใหม่และลกู เสือเก่าทาวันทยาวุธพร้อมกนั ๗. ผกู้ ากบั ฯ สง่ั วา่ “ลกู เสือใหม่ เขา้ ประจาหมู่ – วงิ่ ” ให้นายหมู่ลกู เสอื ใหม่ ว่ิงเข้าประจาที่ (ทเ่ี ดิม) ขอ้ เสนอแนะ ใหน้ ายหมลู่ ูกเสือนาลูกเสือใหม่ ว่ิงเข้าประจาที่ (ทเ่ี ดิม)

๒๖ นายหมนู่ าลูกเสือใหม่ ว่งิ เขา้ ประจาท่เี ดิม ๘. เมอื่ ทุกคนได้ทาพิธีปฏิญาณตนหมดแลว้ ผกู้ ากบั ฯ จดั ใหแ้ ถวหนั หนา้ ไปทางจังหวัดพระนคร ถ้าอยู่ ในจังหวัดพระนครและธนบุรี ให้หันหน้าไปทางพระบรมมหาราชวัง ผู้กากับฯ ว่ิงไปอยู่หน้าแถว แล้วสั่งว่า “ลูกเสือ ถวายความเคารพแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว วันทยา–วุธ” ลูกเสือทุกคนทาวันทยาวุธ ผู้กากับฯ กล่าวนา “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระเจริญ” ให้ลูกเสือทุกคนในท่ีน้ันรับ “ชโย๑๒” พร้อมกัน ๓ ครัง้ แล้วจึงส่งั “เรียบ – อาวุธ” และสง่ั แถวลกู เสอื กลบั ที่เดมิ แล้วจงึ สง่ั เลกิ แถว ข้อเสนอแนะ จังหวดั พระนครและธนบุรี หมายถึง กรงุ เทพมหานครในปจั จบุ นั ๑๒ คาวา่ “ชโย” จากข้อบงั คบั คณะลกู เสือแหง่ ชาตวิ ่าดว้ ยการปกครอง หลักสตู ร และวชิ าพิเศษลกู เสือ พ.ศ. 2509 ในราชกจิ จานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้า 269 เล่มท่ี 84 ตอนท่ี 6 ลงวนั ท่ี 27 มกราคม 2510

๒๗ ขอ้ เสนอแนะ ๑) ธงประจากองลูกเสือสามัญ (ถ้ามี) กองลูกเสือสามัญ โรงเรยี น………………………………………………….. ผนื ธงทาด้วยผ้าสีเขยี ว ขนาด ๑๒๐ x ๘๐ ซ.ม. มีครุยสีเหลืองยาว ๘ ซ.ม. สามด้าน ตรงกลางมี ตราคณะลูกเสือแห่งชาติสีเหลือง ขนาด ๔๐ x ๒๕ ซ.ม. ใต้ตราบอกช่ือกลุ่มหรือกองลูกเสือ ตัวอักษรพิมพ์ ธรรมดาสเี หลอื งขนาดพองาม ยอดคันธงทาดว้ ยโลหะเป็นรปู วชริ ะสเี งิน ๒) ปา้ ยคาขวญั /ป้ายคตพิ จน์ (ถา้ มี)

๒๘ ๓) ไมพ้ ลอง ไม้พลองให้มีลักษณะกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ๓ เซนติเมตร ยาว ๑๕๐ เซนติเมตร ใต้หัวพลองลงมา ๒๐ เซนติเมตร ให้เจาะรูร้อยเชือกสาหรับรวมกระโจมได้ ใต้รูเจาะร้อยเชือกลงมาอีก ๕ เซนติเมตร ใหข้ ดี เคร่อื งหมายเป็นเคร่อื งวัดตามมาตราเมตรกิ ให้อ่านไดท้ กุ เซนติเมตรจนถงึ ๗๕ เซนตเิ มตร

๒๙ ๔.๓ พิธเี ขา้ ประจากองลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ.๒๕๐๙ ข้อ ๒๙๕ รูปแบบการเข้าประจากองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มิได้กล่าวถึงกรณีที่ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ยังไม่มี กองไว้ จึงได้ค้นคว้าในคู่มือการฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ข้ันความรู้ชั้นสูง ซ่ึงได้แนะนาวิธีการ พร้อมแผนผังแสดง ประจากองแบบต้ังกองใหม่ ไว้แลว้ นอกจากน้ันรปู แบบการจดั การศกึ ษาตามหลักสูตรฯ ในปัจจุบัน แบ่งเป็นระดับช้ัน ไม่สามารถปฏิบัติ กิจกรรมร่วมกันได้ทั้งหมดทุกช้ัน จึงขอนาเสนอวิธีปรับเปล่ียนการปฏิบัติตามบริบทของการจัดการศึกษาใน ปัจจบุ ัน ไวเ้ ป็นทางเลอื ก วัสด/ุ อุปกรณใ์ นพธิ ีเขา้ ประจากองลกู เสือสามัญรุ่นใหญ่ ไมง้ า่ ม ข้ันตอนพธิ เี ขา้ ประจากองลูกเสือสามญั รุน่ ใหญ่ ก. มกี องลูกเสอื อยแู่ ลว้ ใหป้ ฏบิ ัตดิ ังตอ่ ไปนี้ ๑. กองลกู เสือสามัญรุ่นใหญจ่ ดั แถวเป็นรูปคร่ึงวงกลม ผู้กากบั ฯ ยืนอยู่ในคร่ึงวงกลม ส่วนลูกเสือใหม่ ยืนอยู่นอกครง่ึ วงกลมหลังหมู่ของตนทจี่ ะเข้าไปอยู่ ๒. รองผู้กากับฯ ถือป้ายคติพจน์ ถือธงประจากองหรือประดิษฐานไว้หลังผู้กากับฯ เยื้องไปทางซ้ายมือ และมีรองผกู้ ากบั ฯ ถือพานใสอ่ นิ ทรธนอู ยู่ดา้ นหลงั ผ้กู ากบั ฯ เย้ืองไปทางขวามือ

๓๐ ๓. ผู้กากับฯ เรียกลูกเสือใหม่ออกมายืนเข้าแถวหน้ากระดานทีละคน คร้ังละหนึ่งหมู่ หน้าผู้กากับฯ แล้วสอบถามลกู เสอื ใหม่ ๔. ผู้กากบั ฯ ถามลกู เสือใหมว่ ่า ผู้กากบั ฯ “... (ออกช่ือลกู เสอื ใหม่) ... เต็มใจท่ีจะปฏิญาณตนเปน็ ลูกเสอื สามัญรุ่นใหญ่หรือ” ลกู เสือใหม่ “ข้าเต็มใจ” ผู้กากบั ฯ “เจ้าเข้าใจหรือไมว่ า่ การที่เขา้ มาเป็นลูกเสอื สามญั รุน่ ใหญ่ จะต้องปฏิบตั ติ น ใหเ้ ปน็ ตวั อยา่ งที่ดีแกล่ กู เสือรนุ่ น้องในกลุ่มลูกเสือของเรา ต้องแสดงใหเ้ หน็ ความกา้ วหนา้ ในชวี ติ ลูกเสอื ของเจ้า และต้องปฏบิ ตั ติ นตามกฎและคาปฏิญาณ ของลกู เสือทกุ เมือ่ ” ลกู เสือใหม่ “ข้าทราบและปฏิบัตไิ ด้” ผกู้ ากับฯ “เจา้ พรอ้ มท่ีจะยืนยันและปฏิบัติตามคาปฏญิ าณแล้วหรอื ” ลกู เสือใหม่ “ขา้ พรอ้ มแล้ว” ผู้กากับฯ “ขอให้เจา้ ทบทวนคาปฏิญาณอีกครั้งหนึ่ง” ลกู เสือใหม่ “ดว้ ยเกียรติของข้า ขา้ สญั ญาวา่ ข้อ ๑ ขา้ จะจงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ข้อ ๒ ข้าจะชว่ ยเหลือผอู้ น่ื ทุกเมื่อ ข้อ ๓ ขา้ จะปฏิบัติตามกฎของลกู เสือ” (ลูกเสอื ทุกคนทอี่ ยู่ในพิธีต้องแสดงรหสั ของลูกเสือและจะลดมือลง ตอ่ เม่ือลกู เสอื กลา่ วจบ) ผู้กากบั ฯ “ขา้ เชื่อในเกียรตขิ องเจา้ ว่า เจา้ จะปฏบิ ัติตามคาสัญญาทเ่ี จ้าไดก้ ล่าวไว้”

๓๑ ๕. ผู้กากับฯ ติดอินทรธนูให้กับลูกเสือใหม่ แล้วกล่าวว่า “บัดนี้เจ้าได้เข้าเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และเป็นสมาชิกผู้หนึ่งของคณะพี่น้องลูกเสือแห่งโลกอันยิ่งใหญ่แล้ว ขอให้เจ้าปฏิบัติหน้าที่ของลูกเสือสามัญ ร่นุ ใหญ่ และมคี วามสุข ความเจรญิ ตลอดกาลนาน” ข้อเสนอแนะ ๑) รองผกู้ ากบั ฯ นาพาน(สีเงนิ ) ทใี่ สอ่ ินทรธนูไปให้ผกู้ ากับฯ เพ่อื ประดบั ใหแ้ กล่ กู เสือ ๒) ผ้กู ากบั ฯ อาจเชิญผูอ้ านวยการลูกเสอื โรงเรียน รองผู้อานวยการลกู เสอื โรงเรยี น ผู้กากับกลุ่ม ลกู เสือ หรอื บคุ ลากรอนื่ มาเปน็ ประธานในพธิ ี อาจมอบบัตรประจาตัวสามัญรุ่นใหญ่ (ลส.๑๗) หรือเคร่ืองหมาย อนื่ รวมท้งั แสดงความยินดีตอ่ ลกู เสอื ใหม่ดว้ ยกไ็ ด้ ผ้กู ากบั ลกู เสือสามญั รุ่นใหญ่ประดับอินทรธนใู ห้แก่ลูกเสือใหม่ ๖. ลูกเสอื ใหมก่ ลับหลงั หนั ไปแสดงความเคารพต่อกองลูกเสือด้วยท่าวันทยหัตถ์ แล้วกลับเข้าประจา หมู่ของตน ขอ้ เสนอแนะ ผู้กากับฯ อาจจะสั่ง“ลูกเสือใหม่ กลับหลัง - หัน” ไปแสดงความเคารพต่อกองลูกเสือด้วย ท่าวันทยหัตถ์ แลว้ ส่งั ว่า “ลูกเสอื ใหม่ เข้าประจาหมู่ - วงิ่ ” ลูกเสือใหมว่ ิ่งเข้าประจาหมู่ของตน

๓๒ ขอ้ เสนอแนะ ๑) ธงประจากองลกู เสือสามัญรนุ่ ใหญ่ (ถ้ามี) กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ โรงเรยี น …………………………………….. ผืนธงทาด้วยผ้าสีเลือดหมู ขนาด ๑๒๐ x ๘๐ ซ.ม. มีครุยสีเหลืองยาว ๘ ซ.ม. สามด้าน ตรง กลาง มีตราคณะลูกเสือแห่งชาติสีเหลือง ขนาด ๔๐ x ๒๕ ซ.ม. ใต้ตราบอกชื่อกลุ่มหรือกองลูกเสือ ตัวอักษร พมิ พ์ธรรมดา สีเหลืองขนาดพองาม ยอดคันธงทาดว้ ยโลหะเป็นรปู วชริ ะสเี งนิ ๒) ป้ายคาขวัญ/ป้ายคติพจน์ (ถ้ามี)

๓๓ ๓) ไมง้ ่าม๑๓ ไม้ง่าม อาวุธของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ทาด้วยไม้ (ที่มีความแกร่งและเหนียวพอสมควร) เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๓/๔ นิ้ว ปลายไม้ง่ามทั้ง ๒ ง่าม ยาวประมาณ ๒ – ๓ นิ้ว ลักษณะของไม้ง่าม ค่อนขา้ งตรง (ไมค่ ดงอมากเกนิ ไป) ความสงู ของไม้งา่ มใหร้ ่องง่ามอยู่พอดีกับรอ่ งไหล่ของผ้ถู ือโดยประมาณ ๔) ในโอกาสนี้ผู้กากับฯ อาจเชิญผู้อานวยการลูกเสือโรงเรียน รองผู้อานวยการลูกเสือโรงเรียน ผู้กากับกลุม่ ลูกเสือ หรือบุคลากรทางการลูกเสือมาเป็นประธานในพิธี ขั้นตอนพิธเี ขา้ ประจากองลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ แบบไม่มกี องลกู เสือสามญั ร่นุ ใหญ่๑๔ (ตัง้ กองข้นึ ใหม)่ ๑. ลูกเสือทั้งหมด เข้าแถวตอนหมู่หน้าผู้กากับฯ แต่งเคร่ืองแบบครบ ยกเว้นอินทรธนูอยู่ที่ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากบั ฯ ชว่ ยถือไว้ ๒. ธงประจากองลูกเสือ ให้รองผู้กากับฯ ถือไว้ในท่าตรง ด้านขวามือของผู้กากับฯ และห่างจาก ผู้กากับฯ พอสมควร ๓. ผกู้ ากับฯ เรียกลกู เสือใหม่ออกมายืนเป็นแถวหน้ากระดาน หน้าผู้กากับฯ คร้ังละหมู่ โดยเรียกช่ือ ทีละคน (เหมือนอย่างมกี องลูกเสอื อยู่ก่อนแลว้ ) ๔. ผ้กู ากบั ฯ สอบถามลกู เสอื ใหม่ (เหมอื นอย่างมกี องลกู เสอื อย่กู ่อนแลว้ ) ๕. ผู้กากับฯ ติดอินทรธนูให้ลูกเสือใหม่ แล้วให้ลูกเสือใหม่ไปเข้าแถวเตรียมเป็นรูปคร่ึงวงกลม (หมายความว่า เม่ือทุกหมู่เข้าแถวเรียบร้อยแล้วจะเป็นรูปครึ่งวงกลม ด้านหน้าผู้กากับฯ) โดยออกคาสั่งว่า “ลกู เสือใหม่ เข้าประจาท่ี - วิ่ง” ลกู เสอื ใหมว่ งิ่ ไปเขา้ ทข่ี องตน (ซึง่ ผ้กู ากบั ฯ นัดหมายไวก้ ่อนแลว้ ) ๑๓คู่มือการประกวดระเบียบแถวลกู เสือ เนตรนารี ๑๔ ค่มู ือการฝกึ อบรมวชิ าผ้กู ากบั ลูกเสอื สามญั รนุ่ ใหญ่ ขั้นความรชู้ ัน้ สูง พ.ศ.๒๕๕๐

๓๔ ๔.๔ พิธีสารวจตวั เอง และ พธิ เี ข้าประจากองลูกเสือวิสามัญ คาชีแ้ จง เนื่องจากการปฏิบัติพิธีการลูกเสือวิสามัญ ตามข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๒๙๗ และ ๒๙๙ และคู่มือการฝึกอบรมวิชาผู้กากับลูกเสือ วิสามัญ ข้ันความรู้เบ้ืองต้น และข้ันความรู้ข้ันสูง ของอนุกรรมการลูกเสือฝ่ายฝึกอบรม สานักงานคณะกรรมการ บรหิ ารลกู เสือแหง่ ชาติ ไดจ้ ดั ทาข้ึนเป็นระยะเวลานานมากแล้ว แต่ปัจจุบัน การประกอบพิธีการลูกเสือวิสามัญ ไดม้ ีการพฒั นาและปรบั เปลยี่ นให้เหมาะสมกบั สถานที่ และจานวนลูกเสือวสิ ามญั ทเ่ี ขา้ รว่ มพิธกี ารลกู เสือ เพื่อให้ผู้กากับลูกเสือวิสามัญสามารถประกอบพิธีการได้อย่างเหมาะสม และถูกต้องสอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา และหน่วยงานต่างๆ ในการประกอบพิธีการลูกเสือวิสามัญ พิธีสารวจตัวเอง และพิธี เข้าประจากองลกู เสอื วสิ ามัญ วัตถปุ ระสงค์ ๑. สามารถจดั สถานท่ี และอุปกรณ์ในการประกอบพธิ ีการลกู เสอื วสิ ามัญได้ ๒. ช้แี จงมอบหมายหน้าทใ่ี หผ้ ู้เกีย่ วข้องในการประกอบพธิ กี ารลกู เสอื วสิ ามญั ได้ ๓. ดาเนนิ การตามขั้นตอนพธิ ีการได้อยา่ งเหมาะสมและถูกตอ้ ง พิธีเขา้ ประจากองลูกเสอื วสิ ามัญ ประกอบด้วย ๑. การสารวจตัวเองของผูท้ ีจ่ ะเขา้ ประจากองลกู เสอื วสิ ามัญ ๒. พธิ ีเขา้ ประจากองลูกเสือวิสามญั วสั ด/ุ อุปกรณ์ในการสารวจตวั เองและพิธีเขา้ ประจากองลูกเสอื วสิ ามญั ๑. พระพุทธรปู ชุดโต๊ะหมบู่ ูชา (ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์) ๒. พระบรมรปู พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ ๖ ๓. เครื่องทองน้อย หรือ ธูป จานวน ๑ ดอก เทยี น จานวน ๑ เล่ม ๔. โต๊ะผ้กู ลา่ วปราศรยั (ปผู า้ ขาว) และเก้าอี้ ๕. เชงิ เทียนพรอ้ มเทียน ขนาดเหมาะสม (ต้งั ไวบ้ นโต๊ะกลา่ วปราศรัย) ๖. ข้อความกลา่ วปราศรัย (คาชี้แจง, คาปราศรยั เกาะแก่งแหง่ ชีวติ ) ๗. โคมไฟผ้นู าเดินกฎ พร้อมไฟฉาย ๘. ไฟฉาย / โคมไฟ / ตะเกียง / อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม ๙. แผ่นขอ้ ความกฎ - สรปุ ๑๐. ป้ายกฎขอ้ ๑ - ๑๐ และป้ายสรุปกฎ ๑๑. โคมไฟสาหรับวาง / แขวนใต้ป้าย ๑๑ จุด พร้อมเทยี นและไฟแช็ก ๑๒. โต๊ะพิธีสารวจตัวเอง ขนาดเหมาะสม (ปดู ว้ ยผ้าขาว) ๑๓. พานทองใหญ่ ใสแ่ บบสารวจตนเองตามจานวนผู้พจิ ารณา (ตง้ั ไว้บนโต๊ะสารวจฯ) ๑๔. พานทองเล็ก ใสเ่ ทยี นขาวหนัก ๑ บาท ตามจานวนผ้พู ิจารณา (ตงั้ ไว้บนโต๊ะสารวจฯ) ๑๕. เชงิ เทียนพรอ้ มเทยี นขาว (ตง้ั ไวบ้ นโตะ๊ สารวจฯ) ๑๖. โต๊ะพิธีประจากอง ขนาดเหมาะสมกบั จานวนลกู เสอื (ปดู ว้ ยผา้ ขาว) ๑๗. ธงชาติไทย ขนาดเหมาะสมกับจานวนลูกเสือ (ปโู ต๊ะพิธี) ๑๘. พานทองใหญ่ ใสแ่ ถบสามสีตามจานวนผ้เู ขา้ ประจากอง (ต้ังไวบ้ นโตะ๊ พิธี)

๓๕ ๑๙. ขันนา้ ใหญ่ ใสน่ า้ - หินหรอื กอ้ นกรวดสขี าว หรอื ลูกแกว้ ใส ขนาดเหมาะสม ตามจานวนผเู้ ข้า ประจากอง (ต้งั ไวบ้ นโตะ๊ พธิ ี) ๒๐. เชิงเทยี นสูง พรอ้ มเทยี น (ต้ังไว้บนโตะ๊ พธิ ี) ๒๑. เชงิ เทียนสงู พร้อมเทียนขนาดเหมาะสม (ตง้ั ไว้บนโตะ๊ พิธี) ๒๒. ผ้าขนหนูสีขาว ขนาดเหมาะสม สาหรับซบั มอื (ตัง้ ไว้บนโต๊ะพิธี) ๒๓. แทน่ กล่าวของประธาน ๒๔. โคมไฟ พรอ้ มเทยี น (ต้ังไว้บนแท่นกลา่ วฯ) ๒๕. ข้อความ ถาม – ตอบ พธิ ีประจากอง (ตง้ั ไวบ้ นแท่นกล่าวฯ) ๒๖. ข้อความกล่าวให้โอวาท ๒๗. ธงประจากองลกู เสือวิสามญั พร้อมคนั ธง ๒๘. ธงชาติไทย พร้อมคันธงสงู ๒ เมตร จานวน ๒ ชุด ตารางปฏิบัตหิ นา้ ที่พธิ เี ขา้ ประจากองลูกเสอื วสิ ามัญ ผู้ดาเนินการ/ผู้ชว่ ย สถานท่ี ลาดับ รายการ ๑ ผู้กล่าวชแ้ี จง ๒ ผ้กู ลา่ วปราศรัย นากลา่ วปราศรัย สุรา นารี ภาชี กีฬาบตั ร ยาเสพติด คนดแี ต่พดู ๓ ผู้เดินนา ๔ ผู้อ่านกฎ ขอ้ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ ข้อ ๔ ขอ้ ๕ ข้อ ๖ ขอ้ ๗ ขอ้ ๘ ข้อ ๙ ข้อ ๑๐ ๕ ผสู้ รปุ กฎ ๖ ผเู้ ตรียมสถานทส่ี ารวจตนเอง ๗ ผู้นาสารวจตวั เอง

ลาดับ รายการ ผ้ดู าเนินการ/ผู้ช่วย ๓๖ ๘ ผู้แจกใบสารวจตัวเอง สถานท่ี ๙ ผู้แจกเทยี น ๑๐ ผู้เตรยี มสถานท่ีเข้าประจากอง ๑๑ ผ้นู าเข้าพิธปี ระจากอง/พ่ีเลี้ยงคอยชว่ ยเหลอื ๑๒ ผทู้ าพธิ ีประจากอง ๑๓ ผู้ประดบั แถบ ๓ สี หม่/ู กอง ๑๔ ผูโ้ รยธง ๒ คน ๑๕ ผกู้ ล่าวใหโ้ อวาท ๑๖ ผู้สรปุ ลาดับข้ันตอนพิธเี ขา้ ประจากองลูกเสือวิสามัญ ผงั แสดงลาดับขั้นตอนพิธีเข้าประจากองลกู เสือวสิ ามัญ

๓๗ ในการสารวจตัวเองของลูกเสือวิสามัญน้ัน ส่วนมากจะกระทาก่อนทาพิธีเข้าประจากอง หรือจะเรียกว่าเป็นส่วนหน่ึงของพิธีเข้าประจากองก็ได้ เพราะในทางปฏิบัตินั้น เมื่อเตรียมลูกเสือวิสามัญ ได้ผ่านหลักสูตรเตรียมลูกเสือวิสามัญมาแล้ว และสมัครใจท่ีจะเป็นลูกเสือวิสามัญ ผู้กากับฯ ก็จะได้กระทา พิธีเข้าประจากองให้แก่ลูกเสือวิสามัญน้ันๆ ก่อนที่จะทาพิธีเข้าประจากองนั้น ผู้กากับฯ จะให้เตรียมลูกเสือ วิสามัญทาการสารวจตัวเองก่อน โดยผู้กากับฯ จะนัดหมายให้เตรียมลูกเสือวิสามัญมาพร้อมกัน ส่วนมาก จะกระทาในตอนกลางคืน ซึ่งมแี นวทางการปฏบิ ตั ิตามลาดับดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. การกล่าวช้ีแจง เม่ือเตรียมลูกเสือวิสามัญ ได้เข้าน่ังท่ีพร้อมกันแล้ว ผู้กากับฯ จะกล่าวช้ีแจงเป็นใจความว่า “พิธีการ สารวจตัวเองของผู้ท่ีจะเป็นลูกเสือวิสามัญ ก่อนท่ีจะถึงพิธีเข้าประจากอง ถือว่าเป็นพิธีการท่ีสาคัญยิ่งและมี ความหมายอย่างมาก โดยเฉพาะแก่ชีวิตในอนาคตของผู้ที่จะเป็นลูกเสือวิสามัญ จึงใคร่ขอร้องพี่น้องลูกเสือ โปรดให้ความร่วมมือ ให้ความสนใจ และช่วยทาให้พิธีน้ีเป็นพิธีที่สาคัญและมีความหมายอย่างจริงจังด้วย ขออย่าได้หัวเราะ อย่าพูดคุยหรือส่งเสียงล้อเลียนกันแต่ประการใด ใช้สติอยู่กับสมาชิกแน่วแน่ ม่ันคง คิดพจิ ารณา อยา่ งละเอยี ดรอบคอบขอให้ทา่ นเดนิ ทางไปสู่ความสาเรจ็ ดว้ ยความสงบเงียบ” ๒. การกล่าวปราศรัยก่อนออกเดินทางสู่การสารวจตวั เองและพิธีเขา้ ประจากอง ต่อจากนั้น ผู้กากับฯ กล่าวปราศรัย ช้ีให้ลูกเสือได้มองเห็นอบายมุขต่าง ๆ อันเป็นอุปสรรคต่อการ ดาเนนิ ชีวติ ท่ีมอี ยโู่ ดยรอบ โดยยกตวั อยา่ ง สุรา นารี ภาชี กฬี าบัตร ดงั แนวการกลา่ ว ตอ่ ไปน้ี “พ่ีน้องลูกเสือทั้งหลาย” “ท่านทราบอยู่แล้วเป็นอย่างดีว่าในการดาเนินชีวิตของคนเรานั้น วิถีแห่ง ชีวิตย่อมแตกต่างกัน และมิได้เป็นไปอย่างราบร่ืนประดุจดังหนึ่งเดินอยู่บนพรมสีแดงโรยด้วยกลีบกุหลาบ อนั สวยงามตลอดไป ชีวติ คนเราจะประสบดว้ ยอปุ สรรคนานาประการ มากบ้างน้อยบ้าง เสมือนเกาะแก่งที่มีอยู่ ในแมน่ ้าลาคลอง ขัดขวางมใิ ห้นา้ ไหลลงไปได้โดยสะดวก ในชวี ิตคนเรา อปุ สรรคบางอย่างจะบั่นทอนชักนาชีวิต บุคคลไปในทางที่ผิดท่ีชั่วร้าย ท่านเรียกอุปสรรค เช่นน้ีว่า อบายมุข อบายมุขที่สาคัญน้ันมี ๔ ประการด้วยกัน กล่าวคือ สรุ า นารี ภาชี กีฬาบตั ร แต่ปัจจบุ นั นเ้ี หตุการณข์ องโลกไดเ้ ปล่ยี นแปลงไปอย่างมากมาย ส่ิงที่จะทาให้ ชีวิตคนเรา โดยเฉพาะคนวัยรุ่นหนุ่มสาวก้าวลงไปสู่ความหายนะ ห้วงเหวที่ต่าน้ันมีเพิ่มข้ึนมากมาย อาทิ ยาเสพติด โรงบิลเลียด สถานเริงรมย์สาหรับเท่ียวกลางคืนมี บาร์ ไนต์คลับ คอฟฟ่ีช็อป สถานอาบอบนวด โรงแรมม่านรดู ผู้คนทีม่ จี ิตใจทรามเหน็ แกป่ ระโยชน์ส่วนตน เห็นแก่ได้ มีแต่คนเก่งแต่ปาก เก่งแต่พูด งานไม่ทา ฯลฯ ดงั นเ้ี ป็นตน้ ” “ใคร่จะกล่าวถึงโทษของอุปสรรคหรือเกาะแก่งแห่งชีวิตเหล่านี้ ให้พ่ีน้องลูกเสือได้ฟังเพื่อเป็นคติ เตอื นใจบ้าง ดงั ตอ่ ไปน้ี” สุรา “การด่ืมสุราได้มีมานานก่อนพุทธกาล บรรดาผู้นาของศาสนาท้ังหลายในโลกได้มองเห็นโทษของ การด่ืมสุรา จึงได้บัญญัติเป็นข้อห้าม ข้อเตือนใจ ให้ละเว้นการเสพสุราและเคร่ืองดองของเมา แต่ก็ยังมีการ ด่ืมสุรามาจนถึงทุกวันนี้ แม้แต่ในการเลี้ยงซ่ึงทางราชการเป็นผู้จัดก็มีการเลี้ยงสุรากันอยู่เสมอ เมื่อมิอาจห้าม ดื่มสุราได้ และบางคร้ังบางคนอาจจาใจดื่มสุรา ก็พึงสานึกถึงโทษของสุราไว้เสมอ โทษของการด่ืมสุราและ เครื่องดองของเมา ท่านบัญญัติไว้ดังต่อไปน้ี คือทาให้เสียทรัพย์ ก่อให้เกิดการวิวาท เกิดโรค ถูกตาหนิติเตียน หนา้ ดา้ น ไมร่ ูจ้ ักอาย บน่ั ทอนสขุ ภาพ กาลัง สตปิ ัญญา”

๓๘ นารี “ต่อไปจะได้กล่าวถึงนารี หรือความสาส่อนทางเพศ เร่ืองน้ีเป็นเร่ืองสาคัญสาหรับคนวัยหนุ่มสาว เกี่ยวกับเร่ืองเพศสัมพันธ์ เป็นความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนโดยธรรมชาติ เมื่อคนวัยรุ่นหนุ่มสาว ย่างเข้าสู่ภาวะการเป็น หนุ่มสาว ความรู้สึกท่ีเกิดขึ้นโดยธรรมชาติน้ีจะผลักดันให้หนุ่มสาววิ่งเข้าหากันเพ่ือประสบความพอใจ ในเพศสัมพันธ์ แต่ศีลธรรมและประเพณีบังคับมิให้มนุษย์กระทาเยี่ยงสัตว์ได้ ความต้องการทางเพศมิใช่ทุกสิ่ง ทุกอย่างในชีวิต การขาดความสัมพันธ์ทางเพศมิได้ทาให้คนถึงตาย เช่นเดียวกับคนที่อดข้าว คนวัยหนุ่มสาว ควรฝึกหัดข่มใจตนเอง มีความหนักแน่น อดทน หาทางระบายความรู้สึกน้ีไปใช้ในทางที่ดี มีประโยชน์แก่ชีวิต ของตน เช่น ในการทางาน การคิดสร้างสรรค์ งานศิลปะ และการกีฬาเป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้จะช่วยทาให้ ความรู้สึกทางเพศลดน้อยลง สมัยนี้ชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปมาก สถานเริงรมย์ สถาน อาบอบนวด โรงแรมม่านรดู ได้มใี นเมืองใหญ่ ๆ เมอื งละหลายแหง่ คนวยั รุ่นหนมุ่ พากันไปเที่ยวหาความสาราญ ในสถานที่เหล่านี้ การไปหาความสาราญในสถานท่ีเหล่าน้ีต้องใช้เงินทองมาก ปัญหามีว่าคนวัยรุ่นหนุ่มเหล่าน้ี ซึ่งเป็นคนในวัยเรียนจะเอาเงินมาก ๆ เช่นนั้นมาจากไหน นี่คือเหตุหน่ึงท่ีก่อให้เกิดอาชญากรรมซึ่งจะทาให้ เกิดโรค ทาให้เสียทรัพย์ เสียเวลา และสุขภาพเส่ือมโทรม กามโรคเป็นโรคร้ายแรง อาจติดต่อไปถึงผู้อ่ืนได้ ถ้า ผู้ท่ีมีครอบครัวแล้ว ก็อาจติดต่อไปถึงลูกเมียและครอบครัวได้ หากเป็นมากถึงข้ันข้ึนสมองจะทาให้ผู้น้ัน เปน็ คนพกิ ารได”้ ภาชี “การเท่ยี วในยามวกิ าล คืออะไรน้ัน ท่านคงทราบเป็นอย่างดี แต่เพ่ือเพ่ิมเติมความเข้าใจอันดี ขอนา คาสอนที่ท่านศาสดา กาหนดความหมายของการเที่ยวยามวิกาลมาเป็นอุทาหรณ์ ท่านว่ามีราท่ีไหนไปที่นั่น ขบั ร้องทไ่ี หนไปที่นน่ั ดีดสตี เี ปา่ ท่ีไหนไปทีน่ ั่น ดนตรีทีไ่ หนไปทน่ี ัน้ เพลงท่ไี หนไปท่ีนั่น สนุกท่ีไหนไปท่ีนั่น ซ่ึงพอ สรุปได้ว่า ไปเท่ียวกันแทบไม่มีเวลาทามาหากิน ท่านจึงได้บัญญัติโทษของการเท่ียวยามวิกาลไว้ว่า ทาให้ได้ ชื่อว่า ไม่รักษาตัว ทาให้ได้ช่ือว่าไม่รักลูกเมีย ไม่รักครอบครัว ไม่รู้จักรักษาทรัพย์ เป็นที่ระแวงของคนทั้งหลาย มักถูกใส่ความและไดร้ บั ความลาบาก” กีฬาบตั ร “การเล่นการพนันมีโทษมากเช่นเดียวกัน กล่าวคือ เมื่อชนะย่อมก่อเวร เม่ือแพ้ย่อมเสียดายทรัพย์ ท่ีเสียไป ทรัพย์ย่อมฉิบหาย ไม่มีใครเชื่อถ้อยคา เป็นที่หม่ินประมาทของเพ่ือน การเล่นการพนันน้ันนามา ซ่ึงความพินาศแก่ทรัพย์สินที่มีอยู่ทุกชนิดมีคากล่าวว่าถูกไฟไหม้ ๑๐ ครั้ง ยังไม่ร้ายแรงเท่ากับการเสียพนัน เพราะเม่ือไฟไหม้บ้าน ที่ดินยังอยู่เป็นของเรา เราอาจปลูกบ้านใหม่อยู่ได้ แต่ถ้าเราแพ้การพนัน เราอาจเสียทั้ง บ้านทง้ั ท่ีดินก็ได้ ฉะนน้ั จงึ นับว่าการเล่นการพนนั นน้ั นามาซงึ่ ความเสียหายอยา่ งยง่ิ ” ยาเสพตดิ “ยาเสพติดอบายมุขอย่างหน่ึงท่ีเป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพ อนามัย ขณะนี้กาลังระบาดอยู่ในหมู่คน วยั ร่นุ หน่มุ สาวมากมาย ยาเสพตดิ มีหลายชนดิ ท่รี ูจ้ ักกนั ท่ัวไปคือ เฮโรอีน แหล่งผลิตเฮโรอีนมาจากสามเหลี่ยม ทองคา เดินทางผ่านประเทศไทย เพื่อส่งไปขายต่างประเทศอีกต่อหน่ึง เฮโรอีนมีราคาแพงมาก และหาซื้อได้ ยากเข้าทุกที เพราะทางราชการปราบปรามอย่างเข้มแข็ง คนวัยรุ่นหนุ่มสาวหันไปหาทินเนอร์ น้ามันผสมสี ยาบ้า ยาไอซ์ ยาอี ฝิ่น กัญชา ฯลฯ ทาให้มีอันตรายมากยิ่งข้ึน ร่างกายอ่อนแอ เป็นการบ่ันทอนพลังของชาติ โดยทางอ้อม คนวัยรุ่นหนุ่ม-สาวไดเ้ งินจากไหนมาซ้อื ยาเสพตดิ เหลา่ นี้ คงไม่มีปัญญา ต้องไปลักขโมยใครมาเป็น แน่ เหตุของการติดยายาเสพติดมักเกิดจากการคบเพื่อนเสเพล เขาชวนให้ลองคร้ังสองครั้ง โดยเขาซ้ือ ใหล้ อง ไมช่ ้าก็ตดิ เมอ่ื ติดแล้วรกั ษาให้หายไดย้ าก อนาคตของชวี ิตจะหมดไป”

๓๙ คนดแี ต่พูด คนเหน็ แกไ่ ด้ “คนดีแตพ่ ดู น้นั อาจทาใหเ้ ราหลงทาอะไรตามเขาไดห้ ลายอย่าง เขาเป็นคนช่างพูด แต่เขาพูดเพื่อหา ประโยชน์ของเขาเอง คนอย่างน้ีมีอันตรายมาก เพราะเขาเป็นคนเห็นแก่ตัว เห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว ไม่คิดถึง ประโยชนข์ องผู้อืน่ ไม่เหน็ ใจผู้อืน่ ”... “ ขอจบคาปราศรยั แตเ่ พยี งน้ี” “ต่อจากน้ี นาย........ (ผู้กากับ หรือผู้ได้รับมอบหมายจากผู้กากับ) จะนาท่านเดินทางไปสู่สถานท่ี สารวจตัวเอง ขอใหท้ ่านเดนิ ทางไปดว้ ยความสงบเงยี บ และทาใจใหผ้ ่องใส” ๓. การเดินกฎลูกเสือ ออกเดินสู่พิธีสารวจตัวเอง โดยการนาเตรียมลูกเสือวิสามัญไปยังที่จะทาการสารวจ ตัวเอง และก่อนจะถึงสถานที่สารวจตัวเองน้ันจะผ่านจุดต่างๆ ๑๑ จุด แต่ละจุดจะมีผู้บังคับบัญชาลูกเสือ วิสามัญ อ่านกฎของลูกเสือและอธิบายความหมายส้ันๆ ให้ฟัง ดังๆ จนถึงจุดท่ี ๑๑ เป็นจุดท่ีกล่าวสรุปกฎ ของลกู เสือทัง้ ๑๐ ขอ้ คากลา่ วตามจดุ หรือฐานของกฎลกู เสอื ๑๑ ฐาน ข้อ ๑. ลูกเสือมีเกียรติเชอ่ื ถือได้ “ลูกเสือที่แท้จริงถือว่าเกียรติของเขาสาคัญกว่าส่ิงใด เกียรติของเขาเป็นสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ คนที่รู้จักรักษา เกียรติ เป็นผู้เชื่อถือได้เสมอ เขาจะไม่กระทาสิ่งใด ๆ ท่ีเสียเกียรติ เช่น พูดเท็จกับผู้บังคับบัญชา หรือนายจ้าง หรือผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา และเขาจะทาตัวให้เป็นท่ีนับถือของคนท่ัวไป ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านต้องไม่ยอมให้ส่ิงยั่วยวนใจไม่ว่าจะลึกลับหรือรุนแรงเพียงไรมาชักจูงให้ท่านกระทาการใด ๆ ที่ไม่สุจริต หรือเป็นทนี่ ่าสงสยั ทา่ นจะไม่ละเมิดคามั่นสัญญาเปน็ อันขาด” ข้อ ๒. ลูกเสือมีความจงรกั ภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ และซือ่ ตรงตอ่ ผู้มพี ระคณุ “ในฐานะเป็นพลเมืองดี ท่านจะต้องระลึกเสมอว่าท่านเป็นหนึ่งในคณะ หรือเป็นอิฐก้อนหนึ่ง ในกาแพง ท่านจะต้องทาหน้าที่ของท่านให้ดีท่ีสุด และซื่อตรงกับผู้มีส่วนเก่ียวข้องกับท่าน เช่น พ่อ แม่ พ่ีน้อง นายจ้าง และลูกจ้างของท่าน ท่านจะต้องไม่ทาลายเกียรติของท่านด้วยการเล่นไม่ซ่ือ นอกจากนั้น ท่านต้อง ไม่ทาให้ผู้ที่ไว้วางใจท่าน ไม่ว่าชายหรือหญิงต้องผิดหวัง บรรพบุรุษของท่านได้ทางานด้วยความเข้มแข็ง รบด้วยความทรหด และตายด้วยความองอาจเพ่ือรักษาบ้านเมืองไว้ให้ท่าน ขออย่าให้บรรพบุรุษของท่าน มองลงมาจากสวรรค์แลเห็นท่านเท่ียวเตร่ เอามือใส่กระเป๋าโดยไม่ได้ทาประโยชน์อะไรเพ่ือบ้านเมืองเลย จงแสดงบทบาทของท่านแตล่ ะคนตามตาแหน่งของตนและเลน่ ดว้ ยนา้ ใจนกั กีฬา” ข้อ ๓. ลูกเสือมีหนา้ ทีก่ ระทาตนให้เป็นประโยชนแ์ ละช่วยเหลือผู้อื่น “ลูกเสือจะพยายามให้ความเมตตากรุณา เพื่อบาเพ็ญประโยชน์ต่อประชาชนอยู่เสมอ ความคิดเห็น ของเขามีว่าคนทุกคนต้องตาย แต่ท่านควรจะทาใจของท่านว่าก่อนเวลาจากโลกน้ีเป็นไปตามวิถีทางของ ธรรมชาติ ทา่ นควรจะทาความดบี ้าง ฉะน้นั จงทาทนั ทีเพราะท่านไม่รูเ้ ลยวา่ เมื่อใดทา่ นจะต้องล่วงลบั ไป” ขอ้ ๔. ลูกเสือเป็นมิตรของคนทุกคนและเปน็ พ่ีนอ้ งกบั ลูกเสอื อนื่ ทั่วโลก “ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านจะต้องยอมรับรู้ว่าผู้อื่นเป็นเพ่ือนมนุษย์ และท่านต้องไม่รังเกียจ ความแตกต่างในเรื่องความคดิ วรรณะ ศาสนา หรอื ชาตบิ า้ นเมอื ง ท่านต้องขจดั อคตขิ องท่านและมองจุดดี ของ คนอ่ืน ส่วนจุดชั่วนั้นคนโง่ก็ย่อมวิจารณ์ได้ ถ้าท่านแสดงไมตรีจิตต่อคนชาติอื่นได้เช่นน้ี ก็นับว่าท่านได้ช่วย ก่อใหเ้ กิดสันตภิ าพและไมตรีจิตระหว่างประเทศและมวลมนุษยชาติได้” ข้อ ๕. ลูกเสือเป็นผู้สุภาพเรียบรอ้ ย “ในฐานะท่ีท่านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านจะต้องสุภาพและคานึงถึงผู้หญิง ผู้อ่อนแอ คนชรา เด็กและ บุคคลท่ัว ๆ ไป แต่ย่ิงกว่าน้ัน ท่านจะต้องสุภาพต่อฝ่ายตรงข้ามกับท่านด้วย รวมความว่าท่านจะต้อง เป็นผู้สภุ าพ.......ผ้สู ภุ าพ คือผู้ปฏบิ ตั ติ ามกฎแห่งการบาเพญ็ ประโยชน์ของลกู เสือ”

๔๐ ข้อ ๖. ลูกเสือมคี วามเมตตากรณุ าตอ่ สตั ว์ “สตั วท์ ั้งหลาย มีความรัก และความหวงแหนชีวิตตนย่ิงกว่าสิ่งใด ต่างก็ด้ินรนต่อสู้เพ่ือให้ชีวิตอยู่รอด และปลอดภัยจากอันตราย ทุกชีวิตปรารถนาความสุข ความรัก ความอบอุ่น และการช่วยเหลือเกื้อกูล แตเ่ กลยี ดกลวั และหวาดระแวงตอ่ การล่วงเกิน เบยี ดเบียน และทารา้ ย ภารกิจอันสาคัญท่ีสุดของลูกเสือวิสามัญ คือการชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื ให้พน้ จากความทุกข์และการบริการแก่ผู้อ่ืนให้ได้รับความสุข ดังนั้น ลูกเสือวิสามัญทุกคน จงึ ควรจะเป็นผู้ทีม่ คี วามรกั และความเมตตากรณุ าต่อสตั ว์ดว้ ย” ขอ้ ๗. ลกู เสือเชอ่ื ฟงั คาส่งั ของบดิ ามารดา และผ้บู งั คับบัญชาด้วยความเคารพ “ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านย่อมบังคับตนเองและเต็มใจเชื่อฟังคาสั่งของพ่อแม่ ครู อาจารย์ นายหมู่และผู้กากับลูกเสือโดยชอบด้วยเหตุผล ไม่มีการโต้แย้ง ชุมชนที่มีวินัยดีเป็นชุมชนที่มีความสุขที่สุด แต่วินัยต้องเกิดมาจากภายใน มิใช่ถูกบังคับจากภายนอก ดังนั้น การปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้อ่ืนจึงเป็น สิ่งทมี่ คี ณุ คา่ มาก” ขอ้ ๘. ลูกเสือมีใจรา่ เริงและไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก “ในฐานะเป็นลูกเสือวิสามัญ คนอ่ืน ๆ จะคอยมองดูท่านและคิดอยู่เสมอว่าท่านคงจะไม่หัวเสีย และ จะยนื หยัดต่อสดู้ ว้ ยความเข้มแขง็ และร่าเรงิ อดทน ในเมอ่ื เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ เกดิ ข้นึ ” ขอ้ ๙. ลกู เสือเปน็ ผู้มัธยัสถ์ “ในฐานะท่านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านจะมองไปข้างหน้าและไม่ยอมเสียเวลา หรือเสียเงินสาหรับ ความสุขสาราญในปัจจุบัน แต่จะใช้โอกาสน้ัน เพ่ือให้ได้บรรลุความสาเร็จในหน้าท่ีที่ท่านกระทา ท้ังนี้เพ่ือว่า จะไดไ้ ม่ต้องเป็นภาระแกผ่ ้อู นื่ แต่กลับจะเป็นการชว่ ยเหลือผูอ้ ืน่ ไดอ้ ีกด้วย” ขอ้ ๑๐. ลูกเสือประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ “ในฐานะท่ีท่านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านต้องมีใจสะอาด คิดแต่เรื่องที่เป็นมงคล สามารถควบคุมสติ และจติ ใจตนเองไม่ให้ฟงุ้ ซา่ นใน รปู – รส – กลิน่ – เสียง - สัมผสั และของมึนเมาจนเกินกว่าเหตุ ท่านต้องเป็น ตวั ของตัวเอง และเป็นตวั อยา่ งท่ดี ีแก่ผู้อน่ื ในทกุ สิ่งทกุ อย่างท่ที ่านคดิ -พดู และกระทา” หมายเหตุ : ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ คนหน่ึงจะเป็นผู้พากองลูกเสือออกเดินทางไปในระหว่างความมืด ซ่ึงเปรียบเสมือนผ่านวิถีทางแห่งชีวิตลูกเสือ โดยเรียกแถวลูกเสือเป็นรูปแถวตอน เมื่อเรียบร้อยแล้วผู้กากับฯ หรือรองผูก้ ากับฯ ถอื ไฟฉายเดินนาแถวลูกเสือไปช้าๆ ทุกคนอยู่ในความสงบ ไม่พูด คุย และเดินตามผู้กากับฯ หรอื รองผู้กากับฯ ไป เม่ือถึงกฎลูกเสือข้อท่ี ๑ ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ก็จะหยุดเดิน เตรียมลูกเสือวิสามัญ ก็หยุดเดิน และก้มหน้า (ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ให้สัญญาณด้วยไฟฉายแก่ผู้ประจาฐานซ่ึงซ่อนตัวอยู่ อา่ นขอ้ ความของกฎลูกเสือ เมื่อจบข้อความแล้วผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ท่ีนาแถว ให้เตรียมลูกเสือวิสามัญ เงยหน้าขนึ้ และเดนิ ตามต่อไปเป็นช่วงๆ เช่นนจ้ี นถงึ ฐานที่ ๑๑ สรปุ กฎ ขอ้ เสนอแนะ ๑) การทาพิธีตั้งแต่การกล่าวช้ีแจง การกล่าวปราศรัยการเดินฟังกฎของลูกเสือ การสารวจ ตวั เองและพธิ ีเข้าประจากองควรทาเป็นเฉพาะกองเทา่ น้ัน ๒) ในกรณีท่ีไม่สามารถปฏิบัติเฉพาะกองได้ อาจพาลูกเสือเข้าน่ังในห้องประชุมของ สถานศึกษาหรือสถานท่ีสงบ ตามความเหมาะสม แล้วให้ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ผลัดเปล่ียนกันอ่าน คาอธบิ ายกฎของลกู เสอื ใหล้ กู เสือฟัง จะทาให้ลูกเสอื ได้ยนิ ชดั เจนทกุ คน และควบคมุ ลกู เสอื ใหอ้ ยู่ในความสงบ

๔๑ ๓) ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ คนหน่ึงจะเป็นผู้พากองลูกเสือออกเดินทางไปในระหว่างความ มืด ซึ่งเปรียบเสมือนผ่านวิถีทางแห่งชีวิตลูกเสือ โดยเรียกแถวลูกเสือเป็นรูปแถวตอน เม่ือเรียบร้อยแล้ว ผู้กากบั ฯหรอื รองผกู้ ากับฯ ถือไฟฉายเดินนาแถวลูกเสือไปช้าๆ ทุกคนอยู่ในความสงบ ไม่พูด ไม่คุย และเดินตาม ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ไป เมื่อถึงกฎลูกเสือข้อท่ี ๑ ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ก็จะหยุดเดิน เตรียม ลูกเสือวิสามัญ ก็หยุดเดินและก้มหน้า (ผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ให้สัญญาณด้วยไฟฉายแก่ผู้ประจาฐานซึ่ง ซ่อนตัวอยู่ อ่านข้อความของกฎลูกเสือ เม่ือจบข้อความแล้วผู้กากับฯ หรือรองผู้กากับฯ ท่ีนาแถว ให้เตรียม ลูกเสอื วสิ ามญั เงยหน้าขน้ึ และเดินตามตอ่ ไปเป็นช่วงๆ เช่นน้จี นถงึ ฐานท่ี ๑๑ สรุปกฎ ๔. สรุปกฎลกู เสือ ๑๐ ข้อ ลกู เสอื วสิ ามญั “ในฐานะท่ีท่านเป็นลูกเสือวิสามัญ ท่านต้องจาไว้ว่าการข้ามจากความเป็นเด็กไปสู่ความเป็นผู้ใหญ่ น้ัน ท่านมิได้เป็นแต่เพียงเรียนรู้ในการปฏิบัติตามกฎของลูกเสือ แต่ท่านกาลังใช้กฎของลูกเสือน้ันสาหรับปฏิบัติ ในการดาเนินชีวิตของท่าน ในปัจจุบันท่านอยู่ในฐานะรับผิดชอบที่จะเป็นตัวอย่างแก่ผู้อื่น และชักนาเขา เหล่าน้ันให้ไปในทางท่ีดี หรือทางช่ัวก็ได้ ถ้าท่านปฏิบัติตามคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ท่านก็ย่อมเป็น ตวั อยา่ งทด่ี ี แต่ถ้าทา่ นไมป่ ฏบิ ตั ิเช่นนัน้ กเ็ ป็นทน่ี ่าเสยี ดายวา่ ท่านจะเปน็ บ่อเกดิ แห่งความชั่วร้ายและชักนาผู้อ่ืน ไปทางทีผ่ ิด” ๕. การสารวจตวั เอง เม่ือครบทั้ง ๑๑ ฐาน จะถงึ บริเวณพธิ ี การสารวจตัวเอง ผู้กากับฯ จะเข้าไปจุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย เตรียมลูกเสือวิสามัญยืนพนมมือ (หรือปฏิบัติตามศาสนพิธีของศาสนานั้นๆ) จากนั้นผู้กากับฯ มอบใบสารวจ ตัวเอง เทียน และจุดเทียนเพื่อส่งต่อ จากน้ันให้เตรียมลูกเสือวิสามัญหยิบใบสารวจตัวเองและแยกไปหาที่นั่ง ณ จุดใด จุดหน่งึ หา่ งๆ กนั เพอ่ื พิจารณาตนเองตามแบบสารวจตัวเอง หากมีข้อใดที่ไม่อาจปฏิบัติได้ หรือยากแก่การปฏิบัติ ให้พิจารณาตัวเองในข้อนั้นนานๆ อีกคร้ังหนึ่ง หากยังถือปฏิบัติไม่ได้เช่นเดิม ลูกเสือผู้น้ัน มีสิทธิเดินออกไปจากบริเวณที่สารวจตัวเองได้ และไม่มีสิทธิ ท่ีจะเข้าร่วมพิธีเข้าประจากองลูกเสือวิสามัญในวันนั้น จนกว่าลูกเสือผู้นั้น จะผ่านการสารวจตัวเองทุกข้อ จึงจะเข้าพิธเี ข้าประจากองลูกเสือวิสามญั ไดใ้ นวันตอ่ ไป ใบสารวจตวั เอง การสมัครเขา้ เป็นลูกเสือวิสามญั เริ่มต้นด้วยการสารวจตัวเองก่อน ดังต่อไปนี้ ก. เม่ือเรามีอายุมากข้ึน วันเวลาก็ย่ิงผ่านไปเร็วขึ้น เม่ือคิดดูจะเห็นว่าชีวิตของคนเรานั้นสั้นมาก และในไมช่ า้ กจ็ ะสน้ิ สดุ ลง ลกู เสือวิสามัญจึงควรถามตนเองวา่ (๑) ฉนั ได้ใชเ้ วลาในชวี ิตของฉนั ให้เป็นประโยชน์สมกบั ทีไ่ ดเ้ กิดมาแล้วหรอื (๒) ฉันไดป้ ลอ่ ยเวลาให้หมดไปโดยไม่ไดท้ าอะไรใหเ้ ป็นประโยชนเ์ ลยหรอื (๓) ฉนั กาลงั ทางานอะไรอยู่ทีไ่ ม่เป็นประโยชน์แก่ใครเลยหรือ (๔) ฉันเสาะแสวงหาความเพลิดเพลินหรือหาเงิน หรือหาหนทางก้าวหน้าให้แก่ตนเอง มากเกนิ ไป โดยมิไดพ้ ยายามช่วยเหลือผู้อื่นหรือ (๕) ฉันเคยทาร้ายหรือทาให้ใครเดือดร้อนบ้างหรือไม่ ฉันทาอะไรเพ่ือแก้ไขส่ิงที่ฉันผิดไปแล้ว ได้บา้ ง (๖) ฉันเคยได้ชว่ ยเหลอื ใครบา้ งในชีวิตของฉนั มีใครอีกหรอื ไมท่ ่ีฉนั จะช่วยได้

๔๒ ข. คติพจน์ของลูกเสือวิสามัญ คือ “บริการ” ฉะน้ัน ถ้าได้เข้าร่วมเป็นลูกเสือวิสามัญก็คงจะได้มีโอกาส ได้รับการฝึกอบรมและทางานเกี่ยวกับบริการต่างๆ ซ่ึงถ้าฉันมิได้เป็นลูกเสือวิสามัญ ฉันก็จะไม่มีโอกาสเช่นน้ัน ลกู เสือวสิ ามัญจงึ ควรถามตนเองวา่ (๑) ฉันเขา้ มาเป็นลกู เสอื วิสามญั เพ่อื ความสนกุ สนานทีจ่ ะได้เทา่ นนั้ หรือ (๒) ฉนั ต้ังใจจะบริการโดยการเสียสละอย่างจริงใจหรือไม่ (๓) ฉนั เขา้ ใจความหมายของคาวา่ “บริการ” อย่างไร (๔) ฉนั ทาให้ผู้อ่ืนเดอื ดร้อนในงาน แผนงาน หรอื การกระทาการใดๆ ของฉนั บา้ งหรอื ไม่ (๕) บริการอะไรที่ฉันทาได้อยา่ งดีท่ีสุด ทบ่ี า้ น ท่ีทางาน และในเวลาวา่ งของฉัน ค. บริการ ไม่ใช่เร่ืองของเวลาว่างเท่าน้ัน บริการควรเป็นทัศนคติแห่งชีวิต ซ่ึงมีช่องทางที่จะแสดง ออกมาด้วยความสมัครใจของเราเอง เราไม่ได้ทางานเพ่ือนายจ้างใดๆ ท่ีเราให้บริการเพราะเรามีจิตใจสูง การ กระทาเช่นน้ีแสดงว่าเราเป็นลูกผู้ชาย เนื่องจากความสาเร็จการให้บริการ ย่อมแล้วแต่นิสัยใจคอของเราเอง เปน็ สาคญั ฉะนัน้ จึงต้องบงั คับตนเองให้อย่ใู นวินัย เพอ่ื ว่าเราจะได้เปน็ ตัวอยา่ งทีด่ แี กผ่ ู้อน่ื (๑) ฉนั จะเพียรพยายามทจ่ี ะละหรือเลกิ นสิ ัยชว่ั ทั้งหลายทไ่ี ด้มีมาแตก่ ่อนแล้วหรือ (๒) อะไรเปน็ จุดอ่อนในนิสยั ใจคอของฉนั บ้าง (๓) ฉันมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซื่อตรงต่อครอบครัว ผบู้ งั คบั บญั ชา ผนู้ ้อย กระบวนการลกู เสอื เพ่อื นของฉันและตวั ของฉันเองหรอื ไม่ (๔) ฉันเปน็ ผู้มเี กียรติ มีสัจจะ และเชื่อถอื ไดจ้ ริงหรอื (๕) ฉันมีความหนักแนน่ ร่าเริง และมคี วามเมตตากรณุ าต่อผ้อู นื่ หรือ (๖) ฉนั มสี ติ และประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจา ใจหรอื (๗) ฉันมีความมานะ อดทนทจี่ ะยนื หยดั ในเมื่อโชคไม่เขา้ ข้างฉันหรอื (๘) ฉนั เปน็ ตวั ของฉนั เอง หรือฉนั ยอมให้ผู้อนื่ ชกั จงู ไป (๙) ฉนั มีใจเข้มแขง็ พอทจี่ ะหลีกเลยี่ งจากส่ิงยว่ั เย้ายวนตา่ งๆ เช่น การพนนั สุรา นารีหรอื (๑๐) ถา้ ฉนั มีขอ้ บกพรอ่ งในสง่ิ เหลา่ น้ีประการใด ฉันจะตกลงใจ ณ บดั น้ีหรอื ไมว่ ่า ฉันจะทาตัว ใหด้ ที ส่ี ดุ ทจ่ี ะแกไ้ ขบกพร่องเหลา่ น้นั และสลดั ใหส้ ้ินไป ขอให้ส่ิงศกั ดิ์สทิ ธ์ิท้งั หลาย จงดลบันดาลให้ข้ามีกาลังใจ ทีจ่ ะก้าวไปข้างหนา้ อย่างลูกผ้ชู าย สมเป็นพลเมอื งดี และเพื่อเป็นกาลงั ของชาตบิ ้านเมืองของข้าสืบไป

๔๓ ๖. พิธีเข้าประจากองลูกเสอื วิสามัญ การจัดสถานที่เพ่ือประกอบพิธีเข้าประจากองลูกเสือวิสามัญ ผู้กากับฯ ควรพิจารณาเลือกสถานที่ ท่ีเหมาะสม สะอาด เงียบ ปราศจากเสียงรบกวน และอากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ตามรูปแบบทเี่ ป็นตวั อยา่ งน้ี ผังการจัดสถานท่ีเขา้ ประจากอง ผังการจดั สถานทีเ่ ข้าประจากองลกู เสือวสิ ามัญ พิธเี ขา้ ประจากองลกู เสอื วสิ ามัญ ให้ปฏบิ ัติดังตอ่ ไปนี้ ให้นาเตรียมลูกเสือวิสามัญในเครื่องแบบมายืนอยู่ข้างหน้ากองลูกเสือวิสามัญ และอยู่ระหว่าง พี่เลี้ยงสองคน มีโต๊ะพิธีซึ่งปูด้วยธงชาติ ผู้กากับยืนด้านหนึ่งของโต๊ะพิธีหันหน้าเข้าหาลูกเสือท่ีจะเข้าประจากอง แลว้ เรียกชื่อผู้ที่จะเขา้ พธิ ี และถามดังน้ี ผู้กากบั ฯ เรียกชอ่ื ผู้สมัคร “เจ้ามาที่นี่เพื่อท่ีจะเข้าเป็นลูกเสือวิสามัญในคณะพ่ีน้องลูกเสือ แห่งโลกอันยิ่งใหญ่หรือ” ผู้สมคั ร “ครบั ” ผ้กู ากบั ฯ “ถึงแม้ว่าเจา้ จะมขี อ้ ยงุ่ ยากมาบ้างแล้ว ในอดตี แต่บัดน้ีเจ้าก็ได้ต้ังใจที่จะทาให้ดีท่ีสุด เพื่อเป็นผู้มีเกียรติ มีสัจจะ มีความซ่ือตรงในการงานท้ังปวง พร้อมที่จะปฏิบัติชอบ ด้วยกาย วาจา ใจ ใชห่ รอื ไม่” ผสู้ มัคร “ใช่ครบั ” ผู้กากบั ฯ “เจ้าได้คิดรอบคอบดแี ลว้ หรือว่า เจ้าพรอ้ มทจ่ี ะเข้าเป็นลกู เสือวสิ ามัญ” ผู้สมคั ร “ขา้ ไดค้ ดิ รอบคอบดแี ล้ว” ผกู้ ากบั ฯ “เจ้าเข้าใจหรือไม่ว่า คาว่า “บริการ” น้ันหมายความว่า ตลอดเวลาเจ้าจะต้องมีใจ หนักแน่นต่อผู้อ่ืนทุกคนและเจ้าจะทาดีที่สุดเพื่อช่วยเหลือผู้อื่น ถึงแม้ว่าการ ช่วยเหลือน้ันไม่สะดวกหรือไม่เป็นท่ีพอใจ หรือไม่เป็นที่ปลอดภัยแก่ตัวเอง และเจ้า จะไมห่ วังส่งิ ตอบแทนใดๆ ในการให้บรกิ ารนน้ั ” ผสู้ มัคร “ข้า เขา้ ใจดีแล้ว”

๔๔ ผกู้ ากบั ฯ “เจา้ เขา้ ใจหรือไมว่ า่ การทจี่ ะเปน็ ลูกเสือวิสามัญนั้นเจ้ากาลังจะร่วมอยู่ในคณะลูกเสือ ผสู้ มัคร ที่ต้องการจะช่วยเหลือเจ้า ให้สามารถปฏิบัติตามอุดมคติของเจ้า และเราขอให้เจ้า ผู้กากับฯ ปฏบิ ัตติ ามข้อบงั คบั และคตพิ จนข์ องเราในเรื่องการใหบ้ ริการแกผ่ ู้อื่น” ผู้สมคั ร “ขา้ เขา้ ใจดีแล้ว” ผสู้ มัคร “ถ้าเช่นน้ัน ข้าขอให้เจ้ากล่าวคาปฏิญาณของลูกเสือและพึงเข้าใจได้ด้วยว่า เจ้าแปลความหมายของคาปฏิญาณนไ้ี มใ่ ช่อย่างเด็ก แต่จะแปลอยา่ งผู้ใหญ่” ผู้กากับฯ (ก้าวออกมาข้างหนา้ เอามอื ซ้ายจบั ธง มือขวาแสดงรหัส) พร้อมกับกล่าววา่ ลกู เสือในกองลกู เสอื วสิ ามญั ทกุ คนแสดงรหสั “ดว้ ยเกียรตขิ องขา้ ข้า สัญญาว่า ผกู้ ากับฯ ข้อ ๑ ข้า จะจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ข้อ ๒ ขา้ จะชว่ ยเหลอื ผูอ้ น่ื ทุกเมอ่ื กล่าวคาต้อนรบั ข้อ ๓ ขา้ จะปฏิบัตติ ามกฎของลูกเสือ” ครน้ั แลว้ ผูก้ ากบั ลูกเสือจบั มือลูกเสือวิสามญั ใหม่ดว้ ยมือซา้ ย และกลา่ วว่า “ข้าฯ เชื่อเจ้าว่าด้วยเกียรติของเจา้ เจ้าจะปฏบิ ัติตามคาปฏญิ าณทีเ่ จ้าใหไ้ ว้แลว้ ” ผู้กากับลูกเสือวิสามัญ ติดแถบท่ีไหล่แก่ลูกเสือวิสามัญ และมอบเคร่ืองหมายให้ “แถบท่ีไหล่น้ีมีสามสี คือ สีเหลือง สีเขียว และสีแดง สีเหล่าน้ีเป็นสีของลูกเสือ ท้ังสามประเภทท่ีอยู่ในวงพี่น้องลูกเสือ ข้าขอต้อนรับเจ้ามาอยู่ด้วย ขอให้สีท้ังสามน้ี จงเป็นเครื่องเตือนใจให้เจ้าระลึกถึงหน้าที่ของเจ้าท่ีมีอยู่ต่อลูกเสือรุ่นน้อง และขอให้ เจ้าระลกึ ถึงความรับผิดชอบของเจ้าในฐานะที่เป็นลูกเสือวิสามัญ ในการที่จะบาเพ็ญ ตนใหด้ ีทีส่ ุด เพ่อื ท่จี ะเป็นตัวอย่างแก่ลูกเสอื รนุ่ น้องตอ่ ไป” ครั้นแล้วให้กองลูกเสือวิสามัญก้าวเข้ามาล้อมรอบลูกเสือวิสามัญใหม่ จับมือแล้ว หมายเหตุ: ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๒๙๙ มิได้กลา่ วถึงประเพณีการลา้ งมือ และหยบิ หนิ ของพิธีเข้าประจากองลูกเสือวิสามัญไว้ แต่การล้างมือ และ หยิบหนิ เป็นธรรมเนียมปฏบิ ัติของลูกเสอื วสิ ามัญมาต้งั แต่เรมิ่ ก่อตัง้ ข้อเสนอแนะ: 1) กอ่ นท่ีผูส้ มัครจะเขา้ ร่วมพิธี จะแสดงรหสั และกลา่ วคาปฏญิ าณ ผกู้ ากบั ฯ สามารถแทรกคาถามกับ เตรียมลูกเสอื วิสามัญท่ีเข้าร่วมพิธดี ังน้ี ผู้กากบั ฯ “เพื่อความบริสุทธ์ิของพิธีการน้ี ข้าขอให้เจ้าชาระล้างมือของเจ้าเสียก่อน เพ่ือเป็น เครื่องยืนยันว่า เจ้าได้ชาระมลทินอันมัวหมองของเจ้าในอดีตหมดแล้ว จิตใจของเจ้า ผอ่ งแผ้วบรสิ ทุ ธดิ์ แี ล้ว เจา้ จะยนิ ยอมตามทเ่ี ราขอนหี้ รือไม่” ผูส้ มคั ร “ข้ายินยอม” (ผู้สมคั ร ลา้ งมอื และหยบิ กอ้ นหนิ ๑ กอ้ น) ๒) ขณะทีผ่ ู้สมคั รก้าวออกมาขา้ งหนา้ เอามอื ซ้ายจับธง มอื ขวาแสดงรหสั ผบู้ งั คบั บัญชาอ่นื ท่อี ย่ใู น พิธที ุกคนแสดงรหสั ๓) ในการกล่าวต้อนรับน้ันควรกล่าวด้วยคาว่า “ขอแสดงความยินดี” “ยินดีเป็นอย่างยิ่งท่ีท่านมา อยดู่ ้วย” ฯลฯ

๔๕ แบบ ก. ผังพิธเี ข้าประจากองลกู เสอื วิสามัญ จานวน ๑ คน แบบ ข. พธิ ีเข้าประจากองลกู เสือวสิ ามัญเปน็ หมู่ แบบ ค. พิธีเขา้ ประจากองลูกเสือวสิ ามญั เป็นกอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook