Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-09-06-เกณฑ์ PA (2 ก.ย.64)

64-09-06-เกณฑ์ PA (2 ก.ย.64)

Published by elibraryraja33, 2021-09-06 02:51:33

Description: 64-09-06-เกณฑ์ PA (2 ก.ย.64)

Search

Read the Text Version

หลักเกณฑ์และวธิ กี ารประเมนิ ตาแหนง่ และวิทยฐานะ ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ❖ ตาแหน่งครู (ว 9/2564) ❖ ตาแหนง่ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (ว 10/2564) ❖ ตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ (ว 11/2564) ❖ ตาแหน่งผ้บู ริหารการศกึ ษา (ว 12/2564) สานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา www.otepc.go.th

เหตผุ ลในการกาหนดหลกั เกณฑ์ใหม่ ❖ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา มุ่งเน้นกิจกรรมปฏิรูปท่ีจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ ต่อผู้เรียน โดยปฏิรูปกลไกและระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีคุณภาพมาตรฐาน ให้ความสาคัญกับการพัฒนาความรู้และทักษะให้เกิดสมรรถนะ ในการปฏิบัติหน้าท่ี พัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงด้านกลไก ระบบการพัฒนา และพัฒนาระบบการเลื่อนวิทยฐานะและการคงวิทยฐานะ โดยนาผล การประเมินวทิ ยฐานะไปเป็นส่วนสาคญั ในการประเมนิ และการปรบั ปรงุ ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสม ❖ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ กาหนดแนวทางพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา โดยใหพ้ ฒั นาระบบการประเมินตาแหนง่ และวทิ ยฐานะ ❖ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ การประเมินวิทยฐานะต้องส่งผลไปถงึ ผเู้ รยี น มีการประเมิน ไม่ยุ่งยาก ไม่ซบั ซ้อนและเป็นธรรม นาระบบดจิ ิทัลมาใช้ในการประเมินวทิ ยฐานะ 2

กรอบความคิด Back to School Line of Accountability Focus on Classroom PA ผอ.เขตฯ PA ผอ.รร. PA ครู - School Goals PA ศน. - Context Teacher - National Policy as a key of Success School Teacher Performance as an Organization Powerful Pedagogies Students Outcomes Performance Development Performance Appraisal ลดความซาซ้อน การประเมินผลการปฏิบัติงาน (เงนิ เดือน) กับวิทยฐานะ School Professional (ม.54 และ ม.55) เป็นเรื่องเดยี วกัน (ใชต้ ัวชีวัดเดยี วกนั ) Community Collective Leadership Support System Online System/ Link to DEEP & HCEC 3

ระดบั การปฏิบตั ทิ ่คี าดหวังตามตาแหนง่ และวทิ ยฐานะ วิทยฐานะเช่ยี วชาญพเิ ศษ - สร้างการเปลยี่ นแปลง (Create an Impact) วทิ ยฐานะเชีย่ วชาญ - คดิ คน้ และปรบั เปล่ียน (Invent and Transform) วิทยฐานะชานาญการพิเศษ - รเิ รม่ิ พัฒนา (Originate and Improve) วทิ ยฐานะชานาญการ - แก้ไขปัญหา (Solve the problem) ตาแหน่งท่ีไมม่ ีวิทยฐานะ 4 - ปรบั ประยุกต์ (Apply and Adapt)

ระบบการประเมินตาแหนง่ และวทิ ยฐานะข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา มาตรา 54 ประเมนิ เพ่ือใหม้ หี รอื เล่อื นวทิ ยฐานะ มาตรา 55 ประเมนิ การดารงวิทยฐานะ ประเมนิ เพือ่ ใหม้ ีวทิ ยฐานะ และเลื่อนวิทยฐานะ ปที ่ี 1 ปที ี่ 2 ปที ่ี 3 5 ข้อตกลงในการพัฒนางาน PA ตามตาแหนง่ และวิทยฐานะทีด่ ารงอยู่ ผลการประเมิน PA 1. ใชเ้ ปน็ องค์ประกอบในการพจิ ารณาเลื่อนเงินเดอื น 2. ใชเ้ ปน็ ผลการประเมนิ คงวิทยฐานะ 3. ใชเ้ ป็นคณุ สมบัติในการขอมหี รือเลอ่ื นวทิ ยฐานะ

หลกั เกณฑ์และวธิ ีการฯ ว 9 – ว 12/2564 ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน PA การขอมวี ทิ ยฐานะหรอื เล่ือนวิทยฐานะ • ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาจัดทา • ครู/ศน./ผู้บรหิ ารสถานศึกษา/ยืนคาขอ ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน เสนอต่อผ้บู ังคบั บัญชา ทกุ ปีงบประมาณ ผ่านระบบ DPA • ผูบ้ ังคบั บญั ชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมนิ • ผบู้ รหิ ารการศึกษา ยืนคาขอทหี นว่ ยงาน/ จานวน 3 คน ประเมนิ ผลการพัฒนางาน ตามขอ้ ตกลง ผา่ นเกณฑ์ ต้องได้คะแนน สว่ นราชการตน้ สังกัด จากกรรมการแตล่ ะคน ไม่ตากวา่ รอ้ ยละ 70 • มกี ารประเมนิ 2 ดา้ น สาหรับวทิ ยฐานะชานาญการ • ผลการประเมนิ นาไปใชเ้ ปน็ คณุ สมบตั ิในการขอ มีวิทยฐานะหรือเลือนวิทยฐานะ (มาตรา 54) และวทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ และ 3 ดา้ น การประเมนิ เพอื คงวทิ ยฐานะ (มาตรา 55) และการเลอื นเงินเดอื น สาหรบั วทิ ยฐานะเชยี วชาญและวิทยฐานะ เชียวชาญพิเศษ 6

ขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน Performance Agreement : PA 7

องค์ประกอบของข้อตกลงในการพัฒนางาน (สว่ นที่ 1) ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตาแหนง่ 1) การปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตาแหน่ง และมภี าระงานตามที ก.ค.ศ. กาหนด (ว 21/2564 ) 2) ผลการปฏบิ ัตงิ าน ตำแหนง่ ผลกำรปฏิบัตงิ ำน ครู ดำ้ นกำรจดั กำรเรียนรู้ ดำ้ นกำรสง่ เสริมและสนบั สนนุ กำรจัดกำรเรียนรู้ และดำ้ นกำรพฒั นำตนเองและวชิ ำชีพ ดำ้ นกำรบริหำรวชิ ำกำรและควำมเป็นผนู้ ำทำงวชิ ำกำร ดำ้ นกำรบริหำรจดั กำรสถำนศกึ ษำ ดำ้ นกำรบริหำร ผบู้ ริหำรสถำนศกึ ษำ กำรเปลย่ี นแปลงเชิงกลยุทธแ์ ละนวตั กรรม ดำ้ นกำรบริหำรงำนชุมชนและเครือข่ำย และดำ้ นกำรพฒั นำตนเอง และวชิ ำชีพ ศกึ ษำนเิ ทศก์ ดำ้ นกำรนเิ ทศกำรศกึ ษำ ดำ้ นกำรสง่ เสริมและสนบั สนนุ กำรจดั กำรศกึ ษำ และดำ้ นกำรพฒั นำตนเองและวชิ ำชีพ ผบู้ ริหำรกำรศกึ ษำ ดำ้ นกำรบริหำรและควำมเป็นผนู้ ำกำรพฒั นำกำรศกึ ษำ ดำ้ นกำรบริหำรจัดกำรและพฒั นองคก์ ร 8 ดำ้ นกำรบริหำรกำรเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธแ์ ละนวตั กรรม ดำ้ นกำรบริหำรงำนชุมชนและเครือข่ำย

องค์ประกอบของขอ้ ตกลงในการพัฒนางาน (สว่ นที่ 2) ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่เี สนอเปน็ ประเด็นทา้ ทาย ตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ถึง การปรับประยุกต์ แกไ้ ขปัญหา รเิ ริม พฒั นา คิดคน้ ปรบั เปลยี น หรือสรา้ งการเปลียนแปลง สอดคลอ้ งกบั เป้าหมาย บรบิ ทสถานศึกษาหรือหนว่ ยงานการศึกษา นโยบายของสว่ นราชการ และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ตำแหนง่ ผลลพั ธท์ เี่ กดิ จำกกำรพฒั นำงำนตำมข้อตกลง ครู เพอื่ พัฒนำผลลพั ธก์ ำรเรียนรู้ของผเู้ รียน ผบู้ ริหำรสถำนศกึ ษำ เพอ่ื พฒั นำคณุ ภำพผเู้ รียน ครู และสถำนศกึ ษำ ศกึ ษำนเิ ทศก์ เพ่อื พัฒนำคณุ ภำพกำรจัดกำรเรียนรู้หรือกำรจดั กำรศกึ ษำของผรู้ ับกำรนเิ ทศ หรือกำรพัฒนำคณุ ภำพ สถำนศกึ ษำหรือหนว่ ยงำนกำรศกึ ษำ ทสี่ ่งผลตอ่ คณุ ภำพผเู้ รียน ผบู้ ริหำรกำรศกึ ษำ เพือ่ พัฒนำคณุ ภำพผเู้ รียน คณุ ภำพข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศกึ ษำ และยกระดบั คณุ ภำพกำรจัด กำรศกึ ษำของสถำนศกึ ษำและหนว่ ยงำนกำรศกึ ษำในพ้ืนทรี่ ับผดิ ชอบ 9

การกาหนดภาระงาน ของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 10

ภาระงานของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามหนงั สอื สานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 ตาแหนง่ ครู ❖ กาหนดสอดคลอ้ งกับ ว 23/2563 ❖ ชวั โมงสอนตามตารางสอน ❖ งานสง่ เสริมและสนับสนุนการจัดการเรยี นรู้ ❖ งานพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษา ❖ งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น ชวั โมงภาระงานขั้นตา ไมน่ ้อยกว่า 20 ชม./สปั ดาห์ 11 (สาหรับการศึกษาพเิ ศษ ไม่ตากว่า 18 ชม./สปั ดาห์)

ภาระงานของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ตามหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวนั ท่ี 30 สิงหาคม 2564 ตาแหน่งผู้บรหิ ารสถานศึกษา ❖ มภี าระงานตามมาตรฐานตาแหน่งเตม็ เวลา + มีการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ ❖ รอง ผอ. ปฏิบตั ิการสอน ไม่น้อยกวา่ 10 ชม./สปั ดาห์ ❖ ผอ. ปฏิบตั กิ ารสอน ไมน่ ้อยกว่า 5 ชม./สัปดาห์ ❖ การปฏิบตั กิ ารสอน หมายถึง 1) ปฏิบัตกิ ารสอนประจาวิชา 2) ปฏบิ ัติการสอนร่วมกบั ครปู ระจาช้นั /ประจาวิชา 3) สังเกตการสอนและสะท้อนผลการสอนรว่ มกับครใู นกิจกรรมเปิดช้นั เรียน(OpenClass) 4) เปน็ ผนู้ ากจิ กรรมแลกเปลยี นเรียนรู้ PLC ของสถานศกึ ษา 5) นเิ ทศการสอนเพอื เป็นพีเลี้ยงการจดั กิจกรรมการเรียนร้ใู หก้ ับครู 6) จดั กิจกรรมเสรมิ การเรียนรแู้ ละอบรมบม่ นสิ ยั ผู้เรยี น 12

ภาระงานของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตามหนงั สือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/ว 21 ลงวนั ที่ 30 สงิ หาคม 2564 ตาแหน่งศึกษานิเทศก์ และตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารการศกึ ษา ❖มภี าระงานตามทีกาหนดในมาตรฐานตาแหน่งเต็มเวลา ❖มกี ารพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 13

การใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มีวิทยฐานะและเลือ่ นวิทยฐานะ 14

ม.54 เล่ือนวิทยฐานะสูงขนึ การประเมนิ ตาแหนง่ และวิทยฐานะ ประเมินเพื่อใหม้ ีหรือเลื่อนวิทยฐานะ ม.55 คงวิทยฐานะ คุณสมบตั ขิ องผู้ขอรับการประเมิน ประเมนิ การดารงวทิ ยฐานะ 1. มรี ะยะเวลาการดารงตาแหนง่ ตามมาตรฐานวิทยฐานะ ท่ขี อรบั การประเมนิ รอบปที ี่ 1 รอบปที ่ี 2 รอบปที ่ี 3 2. มผี ลการประเมิน PA ยอ้ นหลงั ครบระยะเวลาที่กาหนด Performance Appraisal : PA โดยมผี ลการประเมนิ ในแตล่ ะรอบ ผ่านเกณฑ์ ส่วนท่ี 1ข้อตกลงในการพฒั นางาน ส่วนที่ 2ข้อตกลงในการพฒั นางาน . มวี นิ ัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ตามมาตรฐานตาแหน่ง ทเ่ี สนอเปน็ ประเด็นทา้ ทาย การประเมินและผลงานทีเ่ สนอ 1. การปฏิบตั งิ านตามมาตรฐานตาแหนง่ และมีภาระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด ดา้ นท่ี 1 ดา้ นทกั ษะ . . . 2. ผลการปฏบิ ตั ิงาน แผนการจดั การเรียนรู้ ไ ล์วดี ิทศั น์ ดา้ นที่ 2 ด้านผลลัพธ.์ . . ดา้ นที่ 3 ดา้ นผลงานทางวชิ าการ (ชช./ชชพ.) ผลงานวิจยั หรอื นวัตกรรม (ชช.) ผลงานวจิ ัยและนวตั กรรม (ชชพ.) (ตีพิมพเ์ ผยแพร่บทความวิจยั ในวารสารวิชาการ (TCI) ชชพ.) 15

การลดระยะเวลาตามเงือ่ นไขคณุ สมบตั ิ ตาม ว 4/2564 (เฉพาะตาแหน่งครู ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา และศกึ ษานิเทศก์) 16

สายงานการสอน มีคุณสมบตั ิตามเงอ่ื นไขในข้อใดข้อหน่งึ ดังต่อไปนี มคี วามสามารถทาง ปฏิบัติงานในพืนท่ี ได้รับคณุ วุฒิทสี่ งู ขึน ผ่านการประเมิน ภาษาต่างประเทศ พเิ ศษซง่ึ มีท่ีตงั อยู่ ในระดบั ปริญญาโท สมรรถนะตามกรอบ ตามเกณฑ์ CEFR ในพนื ทที่ มี่ ีความ หรอื ปริญญาเอก คุณวุฒิวิชาชพี ชัน 8 สูงกวา่ ระดบั B1 ยากลาบาก ท่ีเกีย่ วกับการจัดการ (กรอบคุณวุฒิ สาหรบั ครผู ู้สอน โดยต้องปฏบิ ัติ เรยี นรู้ (ยกเวน้ สาขา แห่งชาติระดบั 8) ในกลมุ่ สาระภาษา หนา้ ท่ใี นพนื ท่ีพิเศษ ทางดา้ นการบรหิ าร ซึ่งได้รบั การรับรอง ต่างประเทศ ไม่นอ้ ยกว่า ปี การศกึ ษา) จากสถาบันคณุ วุฒิ สูงกว่าระดับ B2 นับถงึ วนั ทยี่ ื่นคาขอ วิชาชีพ * ตอ้ งเป็นวุฒทิ ี่ ก.ค.ศ. * ผลการทดสอบ รับรอง * ให้นามาใช้ลดระยะเวลา ตอ้ งมีอายไุ ม่เกิน 2 ปี * ตอ้ งเปน็ คุณวฒุ ริ ะดับ ไดเ้ พียงครงั เดียว * หากผขู้ อมรี ะดับ สูงสดุ ของผ้ขู อเทา่ นนั ผลการทดสอบสงู ขึน * ไมใ่ ห้นาคุณวุฒิระดบั สามารถขอลดระยะเวลา เดียวกนั มาใชซ้ าอีก ในวิทยฐานะต่อไปได้  ตอ้ งมีผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานในระดบั ดเี ดน่ 4 รอบติดกนั ก่อนย่ืนคาขอ  ไม่ครอบคลุมถึงผูป้ ฏิบตั งิ านในพนื ทีพ่ ิเศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ 17

สายงานบริหารสถานศึกษา มคี ุณสมบตั ติ ามเงอ่ื นไขในข้อใดข้อหนึง่ ดังตอ่ ไปนี มคี วามสามารถทาง ปฏบิ ตั ิงานในพืนที่ ไดร้ บั คุณวฒุ ทิ ่สี ูงขึน ผา่ นการประเมนิ ภาษาตา่ งประเทศ พเิ ศษซึ่งมีท่ตี งั อยู่ ในระดับปรญิ ญาเอก สมรรถนะตามกรอบ ตามเกณฑ์ CEFR ในพืนที่ทีม่ คี วาม ท่เี ก่ียวกับการจัดการ คณุ วุฒิวิชาชีพชัน 8 สงู กว่าระดบั B1 ยากลาบาก เรยี นรแู้ ละการบริหาร (กรอบคณุ วุฒิ โดยต้องปฏิบตั ิ จดั การสถานศกึ ษา แหง่ ชาติระดบั 8) * ผลการทดสอบ หน้าทีใ่ นพนื ทีพ่ ิเศษ ซ่ึงไดร้ ับการรับรอง ต้องมีอายุไมเ่ กนิ 2 ปี ไม่น้อยกวา่ ปี * ต้องเป็นวุฒิท่ี ก.ค.ศ. จากสถาบันคณุ วุฒิ * หากผขู้ อมรี ะดับ นบั ถงึ วันท่ยี ืน่ คาขอ รบั รอง วิชาชีพ ผลการทดสอบสูงขนึ * ไมใ่ ห้นาคุณวุฒิระดบั สามารถขอลดระยะเวลา เดยี วกันมาใชซ้ าอีก * ให้นามาใชล้ ดระยะเวลา ในวิทยฐานะต่อไปได้ ได้เพยี งครงั เดียว  ตอ้ งมผี ลการประเมินผลการปฏบิ ัติงานในระดบั ดเี ดน่ 4 รอบตดิ กันก่อนย่นื คาขอ 18  ไมค่ รอบคลุมถึงผปู้ ฏิบัติงานในพืนที่พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้

สายงานนเิ ทศการศกึ ษา มีคุณสมบตั ติ ามเงอ่ื นไขในข้อใดข้อหน่งึ ดังตอ่ ไปนี มีความสามารถทาง ไดร้ ับคุณวฒุ ทิ สี่ งู ขนึ ภาษาตา่ งประเทศ ในระดับปริญญาเอก ตามเกณฑ์ CEFR ทีเ่ กีย่ วกบั การจดั การ สูงกวา่ ระดับ B1 เรียนรู้และการบริหาร จดั การสถานศกึ ษา * ผลการทดสอบ ต้องมีอายไุ มเ่ กนิ 2 ปี * ตอ้ งเปน็ วฒุ ทิ ี่ ก.ค.ศ. * หากผูข้ อมีระดับ รับรอง ผลการทดสอบสูงขึน * ไม่ให้นาคณุ วฒุ ริ ะดบั สามารถขอลดระยะเวลา เดียวกันมาใช้ซาอีก ในวิทยฐานะต่อไปได้  ตอ้ งมีผลการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานในระดับดเี ดน่ 4 รอบติดกนั ก่อนย่นื คาขอ 19  ไม่ครอบคลุมถึงผูป้ ฏบิ ตั งิ านในพืนทพ่ี ิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใต้

สรุปคุณสมบัติของผ้ขู อรับการประเมิน (ตาแหน่งคร/ู ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา/ศกึ ษานิเทศก์) คุณสมบัติตำมเกณฑ์ (นับถึงวันท่ียน่ื คำขอ) กรณีปกติ กรณีปฏบิ ัติงำนในจงั หวัดชำยแดนใต้ กรณีลดระยะเวลำตำม ว 4/2564 (เฉพำะวิทยฐำนะชำนำญกำรและชำนำญกำรพเิ ศษ) จำกกรณีปกติ 1) ระยะเวลำกำรดำรงตำแหน่ง/วิทยฐำนะ ไมน่ ้อยกว่า 4 ปตี ดิ ตอ่ กัน นับระยะเวลาทวีคณู กรณีปกติ 3 ปตี ดิ ตอ่ กัน (4 ปตี ดิ ตอ่ กัน เหลือ 2 ปตี ดิ ตอ่ กัน) 2) กำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลงในตำแหน่ง/ ยอ้ นหลงั 3 รอบการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ยอ้ นหลัง 1 รอบการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ ยอ้ นหลงั 2 รอบการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ วิทยฐำนะท่ีดำรงอยู่ และมภี าระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และมภี าระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด 3) มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยำบรรณวิชำชพี 4 ปี 2 ปี 3 ปี ในชว่ งระยะเวลำย้อนหลัง 20

สรปุ คุณสมบตั ขิ องผ้ขู อรับการประเมนิ (ตาแหนง่ ผู้บริหารการศกึ ษา) คุณสมบัติตำมเกณฑ์ ตำแหน่ง รอง ผอ.สพท., รอง ผอ.กศน.จงั หวัด/กทม., ผอ.สช.อำเภอ, รองผอ.สช.จงั หวัด ตำแหน่ง ผอ.สพท., ผอ.กศน.จงั หวัด/กทม., ผอ.สช.จงั หวัด (นับถึงวันท่ียนื่ คำขอ) ขอมวี ิทยฐำนะชำนำญกำรพเิ ศษ ขอเลอื่ นวิทยฐำนะเชี่ยวชำญ ขอเลื่อนวิทยฐำนะเช่ียวชำญ ขอเลอ่ื นวิทยฐำนะเช่ียวชำญพเิ ศษ 1) ระยะเวลำกำรดำรงตำแหน่ง/ ไมน่ ้อยกว่า 1 ปี ไมน่ อ้ ยกว่า 3 ปี ไมน่ อ้ ยกว่า 1 ปี ไมน่ อ้ ยกว่า 2 ปี วิทยฐำนะ 2) กำรพัฒนำงำนตำมขอ้ ตกลง ยอ้ นหลัง 1 รอบการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ยอ้ นหลัง 2 รอบการประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ยอ้ นหลงั 1 รอบการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ ยอ้ นหลงั 1 รอบการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ และมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด และมภี าระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และมภี าระงานตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด และมภี าระงานตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด 3) มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ยอ้ นหลัง 1 ปี ยอ้ นหลงั 3 ปี ยอ้ นหลัง 1 ปี ยอ้ นหลงั 2 ปี และจรรยำบรรณวิชำชีพ 21

การประเมนิ คาขอมวี ทิ ยฐานะหรอื เลอื่ นวิทยฐานะ 22

การประเมินและเกณฑ์การตัดสนิ • กรรมการประเมนิ คณะกรรมการประเมนิ จานวน 3 คน ตอ่ ผู้ขอ 1 ราย • การประเมิน - ตาแหนง่ คร/ู ผู้บริหารสถานศึกษา/ศึกษานิเทศก์ ประเมนิ ผา่ นระบบ DPA - ตาแหนง่ ผูบ้ ริหารการศกึ ษา ประเมนิ เชงิ ประจักษ์ ณ สถานทปี ฏิบตั งิ านจริง (ชนพ./ชช.) • เกณฑ์การตัดสิน แต่ละด้านต้องไดค้ ะแนนจากกรรมการแตล่ ะคน ดังน้ี ด้ำนที่ 1 ด้ำนที่ 2 ด้ำนท่ี 3 วิทยฐำนะชำนำญกำร ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 65 ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 65 - วิทยฐำนะชำนำญกำรพเิ ศษ ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 70 ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 70 - วิทยฐำนะเชี่ยวชำญ ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 75 ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 75 ไมต่ า่ กว่าร้อยละ 75 วิทยฐำนะเชี่ยวชำญพเิ ศษ ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 80 ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 80 ไมต่ ่ากว่าร้อยละ 80 23

การอนมุ ตั ิผลการประเมนิ • การอนมุ ัติผลการประเมนิ ตาแหน่งคร/ู ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา/ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชานาญการ/ชานาญการพิเศษ กศจ. เปน็ ผ้พู ิจารณาอนมุ ัตผิ ลการประเมิน วทิ ยฐานะเชยี วชาญ/เชยี วชาญพเิ ศษ ก.ค.ศ. เปน็ ผูพ้ จิ ารณาอนมุ ตั ิผลการประเมิน ตาแหน่งผบู้ ริหารการศกึ ษา วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ ก.ค.ศ. หรอื อ.ก.ค.ศ. ที ก.ค.ศ. ต้งั เปน็ ผพู้ จิ ารณาอนมุ ัตผิ ลการประเมิน วทิ ยฐานะเชยี วชาญ/เชยี วชาญพเิ ศษ ก.ค.ศ. เป็นผพู้ จิ ารณาอนมุ ัติผลการประเมนิ 24

บทบาทหนา้ ท่ขี องผู้เก่ียวขอ้ งกบั การประเมินคาขอมีวทิ ยฐานะหรือเลอื่ นวทิ ยฐานะ 25

บทบาทหน้าที่ของผเู้ กี่ยวขอ้ ง ❖ การยืน่ คาขอ ย่ืนคาขอตอ่ สถานศึกษา ภาคเรยี นละ 1 ครงั ครู รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ผู้อานวยการสถานศึกษา ยื่นคาขอตอ่ สพท. ภาคเรียนละ 1 ครัง ศกึ ษานิเทศก์ ยื่นคาขอต่อ สพท./ศธจ. ปลี ะ 1 ครัง 26

บทบาทหนา้ ทข่ี องผ้ทู เ่ี กีย่ วขอ้ ง ผู้ที่เกยี่ วขอ้ ง สถำนศกึ ษำ สำนักงำนเขตพนื้ ที่กำรศกึ ษำ สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวัด ข้ันตอนดำเนินกำร ตรวจสอบและรับรองคณุ สมบตั ิ 1. ผอ. ตรวจสอบกอ่ นนำข้อมูลของครู 1. ตรวจสอบกอ่ นนำข้อมลู ของ ผอ. ตรวจสอบคำขอของทุกตำแหน่ง และ รอง ผอ. เขำ้ ระบบ และ ศน. เขำ้ สรู่ ะบบ ผำ่ นระบบ 2. แจง้ ผู้ขอกรณีไม่มีคณุ สมบตั ิ 2. ตรวจสอบคำขอของคร/ู รอง ผอ. หรือเอกสำรไม่ครบถว้ นสมบูรณ์ ผำ่ นระบบ 3. สง่ เร่ืองคนื สถำนศกึ ษำ กรณีผู้ขอ ไมม่ คี ณุ สมบัติหรือเอกสำรไมค่ รบถว้ น สมบูรณ์ รับผดิ ชอบระบบ DPA และนำข้อมูล 1. ผอ. นำข้อมลู ครู และรอง ผอ. 1. ผอ.เขตฯ นำข้อมูลของ ผอ. เขำ้ ส่รู ะบบ DPA เขำ้ สู่ระบบ เขำ้ ส่รู ะบบ 2. ผบ. นำข้อมูลของ ศน. เข้ำส่รู ะบบ -- 3. สพท. นำขอ้ มลู เข้ำระบบ 27 แทนสถำนศกึ ษำที่ห่ำงไกล

บทบาทหน้าท่ีของผทู้ เ่ี กี่ยวข้อง ผู้ท่ีเก่ียวข้อง สถำนศกึ ษำ สำนักงำนเขตพืน้ ท่ีกำรศกึ ษำ สำนักงำนศกึ ษำธิกำรจงั หวัด ขั้นตอนดำเนินกำร -- ดำเนินกำรประเมนิ 1. สง่ เร่ืองคนื สถำนศกึ ษำ กรณีผู้ขอ ไม่มคี ณุ สมบัติหรือเอกสำรไม่ครบถว้ น สมบรู ณ์ 2. เสนอ กศจ. ต้ังคณะกรรมกำร ประเมิน (ชก./ชนพ.) - - 3. สง่ ผำ่ นขอ้ มูลให้คณะกรรมกำร ประเมิน (ชก./ชนพ.) 4. เสนอผลกำรประเมินให้ กศจ.พจิ ำรณำ (ชก./ชนพ.) 5. สง่ คำขอ ชช./ชชพ. ผ่ำนระบบ ไปยังสำนักงำน ก.ค.ศ. 28

อานาจหนา้ ทข่ี อง กศจ. 1. เห็นชอบให้สานักงานศึกษาธิการจังหวดั ดาเนนิ การแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน (ชก./ชนพ.) 2. อนมุ ัตผิ ลการประเมนิ (ชก./ชนพ.) 3. เหน็ ชอบคุณสมบตั ผิ ้ขู อรับการประเมิน (ชช./ชชพ.) 4. เหน็ ชอบให้ผ้มู ีอานาจตามมาตรา 53 แตง่ ตั้ง (ชช.) 29

กำรตง้ั กรรมกำรผ่ำนระบบ DPA (ตำแหน่งครู/ผู้บรหิ ำรสถำนศึกษำ/ศึกษำนิเทศก์) รวบรวมรายชื่อผูท้ รงคณุ วุฒิ รวบรวมรายชือ่ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ทผ่ี า่ นการทดสอบ Online (ประเมนิ ชช./ชชพ.) (ประเมินชก./ชนพ.) จดั ทา บัญชรี ายช่อื ผูท้ รงคณุ วุฒิ ก.ค.ศ. พิจารณาอนุมตั ิ อบรมวิธีการประเมิน ผ่านระบบ DPA นาบัญชรี ายชื่อผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ที่ ก.ค.ศ. อนมุ ตั เิ ข้าระบบ DPA สานกั งาน ก.ค.ศ./สศจ. สุ่มรายช่อื กรรมการประเมนิ เม่อื ไดร้ ับคาขอ 30

การดาเนนิ การในชว่ งระยะเวลาเปลี่ยนผา่ น 31

5 ก.ค. 60 การดาเนินการในชว่ งระยะเวลาเปล่ียนผ่าน ตาแหน่งครู 30 ก.ย. 65 1 ต.ค. 64 เป็นครผู ชู้ ว่ ย คุณสมบัติครบตาม ว 17/2552 ภายในวนั ที่ 30 ก.ย. 65 ก่อนวนั ท่ี 5 ก.ค. 60 ขอมีหรือเลือ่ นวิทยฐานะ ตาม ว 17/2552 ได้ และได้รบั การแตง่ ตงั ใหด้ ารงตาแหนง่ ครู ภายใน 1 ปี นับแต่วนั ท่ีมีคุณสมบตั คิ รบ โดยขอไดภ้ ายในวันท่ี 30 ก.ย. 65 ตงั แต่วนั ท่ี 5 ก.ค. 60 (ยกเวน้ ผู้ทไี่ ด้ใช้สิทธิ ว 17/2552 ชว่ งเวลาเปลี่ยนผ่าน ตาม ว 21/2560 ไปแล้ว บรรจุและแตง่ ตัง คณุ สมบตั คิ รบตาม ว 21/2560 ภายในวนั ท่ี 30 ก.ย. 65 ใหด้ ารงตาแหนง่ ครู ขอมหี รอื เลือ่ นวทิ ยฐานะ ตาม ว 21/2560 ได้ ภายในวนั ท่ี 30 ก.ย. 65 กอ่ นวนั ที่ 1 ต.ค. 64 คุณสมบัติครบตาม ว 10/2554 ภายในวันที่ 30 ก.ย. 65 ขอมีหรือเลอ่ื นวิทยฐานะ ตาม ว 10/2554 ได้ ภายในวันท่ี 30 ก.ย. 65 32

กรณกี ารนาผลงานตามหลักเกณฑ์เดิมมายนื่ คาขอตามหลักเกณฑใ์ หม่ (ตาแหน่งคร)ู ผู้ดารงตาแหน่งครูทีมีคุณสมบัติตาม ว 9/2564 (ข้อ 1 ระยะเวลาดารงตาแหน่ง/วิทยฐานะ และข้อ 3 วินัย คุณธรรมฯ ) แต่มีผลการพัฒนางานตามข้อตกลง (ตามข้อ 2) ไม่ครบตามจานวนรอบ การประเมนิ ทีกาหนดไว้ ประสงคจ์ ะยืนคาขอตาม ว 9/2564 ให้ดาเนนิ การ ดงั นี้ ผลงำนตำมเกณฑ์เดิมท่ีนำมำเสนอ (หลักเกณฑ์ใดหลักเกณฑ์หนึ่ง) ยน่ื คำขอปีงบประมำณ ด้ำนที่ 3 หรือ ด้ำนท่ี 3 ส่วนท่ี 1 ผลงำนท่ีเกิดจำกกำรปฏิบัติหน้ำท่ี ผลกำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลง (PA) ตำม ว 17/2552 แล้วแต่กรณี ตำม ว 21/2560 (3 ด้ำน 13 ตัวชวี้ ัด) ตำมหลักเกณฑ์ ว 9/2564 2566 เปรยี บเทียบ 2 ปีการศึกษา ที่ผา่ นเกณฑ์ 2 ปีการศึกษา ที่ผ่านเกณฑ์ รอบแรก (1 ต.ค. 64-30 ก.ย. 65) (1 ต.ค.65 - 30 ก.ย.66) 2567 เปรียบเทียบ 2 ปีการศึกษา ที่ผ่านเกณฑ์ 1 ปีการศึกษา ที่ผา่ นเกณฑ์ 2 รอบ (ผล PA ปี งปม. 65 + 66) (1 ต.ค.66 - 30 ก.ย.67) 2568 เป็นต้นไป - - ครบ 3 รอบการประเมิน (1 ต.ค.67 เป็นต้นไป) คณะกรรมการประเมิน PA เปน็ ผปู้ ระเมนิ ผลงานตามหลกั เกณฑเ์ ดมิ ➢ ตาม ว 17/2552 (ดา้ นที 3 หรือด้านที 3 สว่ นที 1) ➢ ตาม ว 21/2560 (ผลงานทเี กดิ จากการปฏิบัตหิ นา้ ที) 33

การดาเนนิ การในชว่ งระยะเวลาเปล่ียนผา่ น ตาแหนง่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาและศึกษานิเทศก์ 1 ต.ค. 64 30 ก.ย. 65 ไดร้ ับการแตง่ ตงั คุณสมบตั คิ รบตาม คุณสมบัติครบตาม ว 17/2552 ให้ดารงตาแหน่ง ว 17/2552 หรือ ว 10/2554 หรอื ว 10/2554 ตงั แต่วันที่ 1 ต.ค. 65 ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา/ ภายในวนั ท่ี 30 ก.ย. 65 ขอมีหรือเล่อื นวทิ ยฐานะได้ ศกึ ษานเิ ทศก์ ขอมีหรือเลือ่ นวทิ ยฐานะได้ ภายใน 30 วนั นับแตว่ นั ท่ี กอ่ นวนั ท่ี 1 ต.ค. 64 ภายในวนั ท่ี 30 ก.ย. 65 มคี ณุ สมบัตคิ รบ ได้รบั การแตง่ ตงั ขอมีหรือเล่อื นวทิ ยฐานะตาม ให้ดารงตาแหนง่ ว 10/2564 หรอื ว 11/2564 ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา/ 34 ศกึ ษานเิ ทศก์ ตังแตว่ นั ที่ 1 ต.ค. 64

กรณีการนาผลงานตามหลักเกณฑ์เดิมมายน่ื คาขอตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธกี ารฯ ว 10-11/2564 (ตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและศกึ ษานเิ ทศก์) ผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและศึกษานิเทศก์อยู่ก่อนวันที 1 ต.ค. 2564 ทีมีคุณสมบัติ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการฯ ว 10-11/2564 (ข้อ 1 ระยะเวลาดารงตาแหน่ง/วิทยฐานะ และข้อ 3 วินัย คุณธรรมฯ ) แต่มีผลพัฒนางานตามข้อตกลง(ตามข้อ 2) ไม่ครบตามจานวนรอบการประเมินทีกาหนดไว้ ประสงค์ ยนื คาขอตาม ว 10-11/2564 ให้ดาเนินการ ดังนี้ ผลงำนตำมเกณฑ์เดิมที่นำมำเสนอ ผลกำรพัฒนำงำนตำมขอ้ ตกลง (PA) ยนื่ คำขอปีงบประมำณ ด้ำนที่ 3 หรือ ด้ำนท่ี 3 ส่วนท่ี 1 ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรฯ ตำม ว 17/2552 แล้วแต่กรณี ว 10/2564 หรือ 11/2564 2566 เปรียบเทียบ 2 ปีการศึกษา ท่ีผา่ นเกณฑ์ รอบแรก (1 ต.ค. 64-30 ก.ย. 65) (1 ต.ค.65 - 30 ก.ย.66) 2567 เปรยี บเทียบ 2 ปีการศึกษา ที่ผ่านเกณฑ์ 2 รอบ (ผล PA ปี งปม. 65 + 66) (1 ต.ค.66 - 30 ก.ย.67) 2568 เป็นต้นไป - ครบ 3 รอบการประเมิน (1 ต.ค.67 เป็นต้นไป) คณะกรรมการประเมนิ PA เป็นผปู้ ระเมนิ ผลงานตามหลักเกณฑเ์ ดิม ➢ ตาม ว 17/2552 (ดา้ นที 3 หรือด้านที 3 สว่ นที 1) 35

การดาเนนิ การในช่วงระยะเวลาเปลี่ยนผ่าน ตาแหน่งผู้บรหิ ารการศึกษา 1 ต.ค. 64 30 ก.ย. 65 ไดร้ ับการแต่งตัง คณุ สมบตั ิครบตาม ว 17/2552 คณุ สมบัติครบตาม ว 17/2552 ใหด้ ารงตาแหนง่ หรือ ว 10/2554 หรือ ว 12/2561 หรอื ว 10/2554 หรือ ว 12/2561 ผบู้ รหิ ารการศึกษา กอ่ นวนั ที่ 1 ต.ค. 64 ภายในวันท่ี 30 ก.ย. 65 ตงั แต่วันท่ี 1 ต.ค. 65 ขอมีหรือเลื่อนวทิ ยฐานะได้ ขอมหี รือเลือ่ นวทิ ยฐานะได้ ภายในวนั ที่ 30 ก.ย. 65 ภายใน 30 วันนบั แตว่ ันที่ มีคณุ สมบตั คิ รบ ไดร้ บั การแตง่ ตัง ขอมหี รอื เล่ือนวิทยฐานะ ใหด้ ารงตาแหน่ง ตาม ว 12/2564 ผูบ้ รหิ ารการศึกษา ตงั แตว่ นั ที่ 1 ต.ค. 64 36

กรณกี ารนาผลงานตามหลกั เกณฑ์เดิมมายนื่ คาขอตามหลักเกณฑ์ใหม่ (ตาแหน่งผูบ้ รหิ ารการศกึ ษา) ผ้ดู ารงตาแหน่งผู้บริหารการศึกษาอยู่ก่อนวันที 1 ต.ค. 2564 ทีมีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ ว 12/2564 (ข้อ 1 ระยะเวลาดารงตาแหน่ง/วิทยฐานะ และข้อ 3 วินัย คุณธรรมฯ) แต่มีผลพัฒนางานตามข้อตกลง (ตามข้อ 2) ไม่ครบตามจานวนรอบการประเมินทีกาหนดไว้ ประสงค์ยืนคาขอตาม ว 12/2564 ใหด้ าเนินการ ดงั น้ี ผลงำนตำมเกณฑ์เดิมที่นำมำเสนอ (หลักเกณฑ์ใดหลักเกณฑ์หน่ึง) ยน่ื คำขอปีงบประมำณ ด้ำนที่ 3 ส่วนที่ 1 ด้ำนที่ 3 ส่วนท่ี 1 ผลกำรพัฒนำงำนตำมข้อตกลง (PA) ตำม ว 17/2552 ตำม ว 12/2561 ตำมหลักเกณฑ์ใหม่ 2566 1 ปีการศึกษา ผา่ นเกณฑ์ 1 ปีการศึกษา ผา่ นเกณฑ์ รอบแรก (1 ต.ค. 64-30 ก.ย. 65) (1 ต.ค.65 - 30 ก.ย.66) 2567 เป็นต้นไป - - ครบ 2 รอบการประเมิน (1 ต.ค.66 เป็นต้นไป) คณะกรรมการประเมิน PA เป็นผูป้ ระเมนิ ผลงานตามหลักเกณฑเ์ ดิม ➢ ตาม ว 17/2552 หรอื ว 12/2561 (ด้านที 3 สว่ นที 1) 37

ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ ❖ การเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั วชิ าชีพครู ผบู้ ริหารสถานศึกษา ศกึ ษานเิ ทศกแ์ ละผบู้ รหิ าร การศกึ ษา เพือได้พัฒนาตนเองให้มศี กั ยภาพสูงขน้ึ ตามระดับวิทยฐานะ ส่งผลตอ่ การยกระดบั คณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอน คุณภาพครู คณุ ภาพผู้เรียน และคุณภาพการศึกษา ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม ❖ สามารถเข้าถึงครู ห้องเรยี น สถานศกึ ษา และหน่วยงานการศกึ ษามากขน้ึ ไดร้ ับทราบสภาพปัญหา และความตอ้ งการของห้องเรียน สถานศึกษา และหน่วยงานการศกึ ษา สามารถนามากาหนด แผนพัฒนาการนิเทศการศึกษา และแผนพัฒนาการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ทีส่งผลต่อคณุ ภาพผู้เรยี นและคณุ ภาพการศกึ ษาได้อยา่ งชัดเจน ❖. การประเมนิ PA แตล่ ะปี ทาให้ทราบถึงจุดแขง็ และจุดทคี วรพัฒนาของตนเอง ครู สถานศึกษา และหน่วยงานการศกึ ษา ซึงจะทาใหม้ แี นวทางในการพัฒนาและสามารถนาผล การพัฒนามาใช้ให้เกดิ ประโยชนก์ บั การจดั การเรียนรทู้ สี ่งผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รยี น 38

ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ ❖ การนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั มาใช้ เป็นการลดการใช้เอกสาร ประหยัดงบประมาณ ในการประเมิน และทาใหร้ ะบบการประเมินโดยรวมมีความโปร่งใส มปี ระสทิ ธิภาพ และคลอ่ งตวั ยิงขนึ้ ❖ บรู ณาการในระบบการประเมนิ วิทยฐานะ การประเมินการเลอื นเงินเดอื น และการประเมิน เพอื คงวิทยฐานะ โดยใชต้ วั ช้ีวดั เดยี วกนั ลดความซ้าซอ้ น ❖ มี Big data ในการบรหิ ารงานบุคคลในหลายมติ ิ และสามารถนาไปใชเ้ ป็นขอ้ มูล สาคญั ในการวางแผนกาลังคนไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 39

40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook