98
99
100
101
102 ที่มา : นิรมล เสรฐิ ศรี. (2558). กิจกรรมแนะแนว 1. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพ์เอมพันธ์.
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวที่ 20 หนว่ ยการจัดกจิ กรรมดา้ นอาชพี ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เรอ่ื ง ความปรารถนาของฉัน จานวน 3 ชัว่ โมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. สาระสาคัญ การสารวจความปรารถนาของตนเอง จะช่วยให้เราเข้าใจตนเองมากข้ึน เพราะการรู้เปูาหมายหรือ ความตอ้ งการของตนเอง ทาใหเ้ ราสามารถคน้ พบแนวทางในการได้มาซ่ึงความปรารถนาของตนเอง 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นอาชพี ข้อ 3 มที กั ษะการตัดสินใจเพ่ือวางแผนการศกึ ษาเพ่ือการมีงานทาเตม็ ตามศักยภาพ 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 สารวจ และกาหนดเปาู หมายที่ตนต้องการได้ 3.2 บอกแนวทางในการพัฒนาตนเองสูเ่ ปาู หมายได้ 4. สาระการเรียนรู้ 103 เปาู หมายหรือความต้องการของตนเอง 5. ชิ้นงาน / ภาระงาน (ถ้ามี) 5.1 การร่วมกันอภปิ ราย 6. วิธีการจัดกิจกรรม 6.1 ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนแต่ละคนมีเปูาหมายในชีวิตหรือความปรารถนาอย่างไร โดยให้ นักเรียนบอกเปูาหมายระยะส้ัน และระยะยาว เม่ือครบทุกคน ครูถามต่อว่านักเรียนมีวิธีการอย่างไร เพื่อให้ ไดม้ าซง่ึ ความปรารถนาของตนเอง 6.2 ครสู ุ่มตวั แทนนกั เรยี นตอบคาถาม 3-5 คน 6.3 นักเรียนสารวจความปรารถนาของตนในระยะสั้นและระยะยาว ว่ามีความปรารถนาในเร่ืองใด เพราะอะไร ครยู กตัวอย่างบุคคลท่ีมีชื่อเสียงในแต่ละด้าน ท้ังในประเทศและต่างประเทศที่ประสบความสาเร็จ ในดา้ นตา่ ง ๆ ให้ชว่ ยกันแสดงความคิดเหน็ ว่าเหตุใดบุคคลเหลา่ นน้ั ถึงประสบความสาเร็จ และให้นักเรียนเขียน ความปรารถนาของตนเอง พรอ้ มแนวทางในการท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จสมปรารถนาลงในใบงานเร่ือง “ความ ปรารถนาของฉนั ” 6.4 นักเรยี นสารวจตนเองเกี่ยวกบั ความปรารถนาด้านอาชีพ และนามาเขียนลงในใบงานเร่ือง “ความ ปรารถนาดา้ นอาชีพ”
6.5 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแนวทางการพัฒนาตนเพ่ือนาไปสู่เปูาหมายที่ต้องการว่าควรมี 104 คณุ สมบตั ิใดบ้าง เช่น ความขยนั ความรับผดิ ชอบ การวางแผนท่ีดี เปน็ ต้น 7. สอ่ื /อปุ กรณ์ 7.1 ใบงานที่ 1 เรอื่ ง ความปรารถนาของฉนั 7.2 ใบงานท่ี 2 เรื่อง ความปรารถนาดา้ นอาชีพ 8. การวัดและประเมินผล 8.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 8.1.1 สังเกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการรว่ มอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เคร่อื งมือ - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สงั เกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผา่ น มีความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ไม่ผา่ น ขาดสงิ่ ใดสง่ิ หนึง่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิง่ ใดสงิ่ หนงึ่
105
106
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนว ดา้ นส่วนตวั และสงั คม 107
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 21 หน่วยการจัดกิจกรรมดา้ นส่วนตัวและสังคม ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เรือ่ ง รา่ งกายของเรา จานวน 3 ชวั่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั การรู้จักตนเองเป็นพื้นฐานสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต การรู้จักตนเองระดับชั้นประถมศึกษา ตอนต้น คือการรู้จักร่างกายตนเองว่ามีลักษณะอย่างไร เพราะร่างกายเป็นสิ่งสาคัญต่อการดาเนินชีวิต ดังน้ัน นักเรยี นจึงต้องร้จู กั และเรียกช่ืออวยั วะภายนอกรา่ งกายตนเอง เพื่อเปน็ พ้ืนฐานการรู้จักตนเอง 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตัวสังคม ขอ้ 1 รจู้ กั และเข้าใจตนเอง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 บอกอวัยวะภายนอกรา่ งกายได้ 3.2 บอกหน้าท่ีของอวัยวะภายนอกรา่ งกายไดถ้ ูกต้อง 108 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ช่อื ส่วนตา่ ง ๆ ของอวัยะภายนอกร่างกาย 4.2 หน้าทีข่ องของอวยั ะภายนอกร่างกาย 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (ถา้ มี) ภาพวาดรา่ งกายตนเอง 6. วิธกี ารจัดกจิ กรรม 6.1 ครูนานักเรยี นเขา้ กจิ กรรม Brain gym เพลง จับหัว จับหู จบั ไหล่ 6.2 ครแู ละนกั เรยี นสนทนาเกย่ี วกบั ชื่อส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายในบทเพลง (เชน่ ตา หู จมกู ) 6.3 ครูนาแผ่นภาพโครงร่างของคนให้นักเรียนดูแล้วสนทนาซักถามว่าเรียกว่าอะไรในภาพนี้ มีสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกายครบถว้ นหรอื ไม่ ถา้ ไม่ครบช่วยเตมิ ให้ครบ 6.4 ครูนาแผน่ ภาพชิ้นสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย แลว้ ให้นกั เรียนดแู ลว้ ซักถามว่าเรียกว่าอะไรแล้วให้นา ช้นิ สว่ นน้นั ไปตดิ ไวบ้ นแผ่นภาพโครงรา่ งคน จนกระทงั่ เปน็ ภาพคนทม่ี ีส่วนประกอบครบถว้ น 6.5 นักเรียนจับคู่กันโดยให้คนที่ 1 ออกคาส่ังให้คนท่ี 2 จับส่วนต่าง ๆ ของร่างกายของตนเองทีละส่วน ถา้ จบั ผิดตอ้ งเปลี่ยนมาเปน็ ผอู้ อกคาส่ังให้คนท่ี 1 ปฏบิ ตั ิโดยใชเ้ วลา 3 นาที
6.6 นกั เรยี นดแู ผน่ ภาพชน้ิ สว่ นของร่างกายทลี ะสว่ น แลว้ บอกประโยชนแ์ ตล่ ะส่วน 109 6.7 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการเรียนรู้เกี่ยวกับการรู้จักตนเองในบริบทการรู้จักร่างกายของ ตนเอง 6.8 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนวาดภาพร่างกายของตนเองแล้วระบุชื่อและหน้าท่ีของอวัยวะ ภายนอกนน้ั ๆ 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 แผนภมู เิ พลง หวั ไหล่ เขา่ เทา้ 7.2 แผ่นภาพโครงรา่ งของคน 7.3 แผน่ ภาพชิน้ ส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เครอ่ื งมอื - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏิบัตกิ ิจกรรม เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผ่าน มีความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ไม่ผ่าน ขาดส่งิ ใดส่งิ หนึง่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งช้ี ผ่าน ทาใบงานถกู ต้อง ครบถว้ น และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ขาดสิง่ ใดสงิ่ หน่งึ
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 22 หนว่ ยการจดั กิจกรรมดา้ นสว่ นตัวและสังคม ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 1-3 เร่อื ง หนนู อ้ ยนกั สารวจ จานวน 3 ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั การรู้จกั ตนเองเปน็ พ้ืนฐานสาคญั ของการพฒั นาคุณภาพชวี ิต การรูจ้ กั ตนเองระดับช้ันประถมศึกษา ตอนต้นคือการรจู้ ักร่างกายตนเองวา่ มลี กั ษณะอยา่ งไร และมคี วามพงึ พอใจในสว่ นตา่ ง ๆ เพื่อใหเ้ กิดการเห็น คุณค่าตนเอง ดงั นนั้ นักเรยี นจึงต้องรจู้ ักรปู รา่ งและร่างกายของตนเอง แลว้ ยอมรบั เพื่อเป็นพน้ื ฐานการรจู้ ัก ตนเอง 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตัวสังคม ข้อ 1 รจู้ ักและเข้าใจตนเอง 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ บอกสว่ นต่าง ๆ ของรา่ งกายได้ 110 4. สาระการเรียนรู้ รปู ร่างของตนเอง 5. ช้นิ งาน / ภาระงาน (ถา้ มี) ภาพวาดสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายที่ตนเองชอบ 6. วธิ กี ารจัดกิจกรรม 6.1 ครูและนักเรียนร้องเพลงชอบไหมของอาภาพร นครสวรรค์ แล้วสนทนาเกี่ยวกับความรู้สึกและ ความคิดทมี่ ตี ่อเพลงน้ี จากน้ันนาเข้าส่บู ทเรยี นรูปร่างหน้าตาของตนเอง 6.2 ครสู นทนากบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั ส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายในเพลง ให้นักเรียนสารวจเพื่อนในห้องว่า ใครมีลักษณะเหมือนท่ีระบุในเพลง เช่น ใครบ้างตาโตโต ใครบ้างจมูกโด่งโด่ง ใครบ้างขายาวยาว ถามนักเรียน ท่ีมีลกั ษณะตาที่สารวจว่า พอใจหรอื ชอบสว่ นนน้ั หรือไม่ เพราะเหตุใด 6.3 นักเรียนส่องกระจกเงาดูตนเองแล้วพิจารณาว่ามีความพึงพอใจหรือชอบส่วนใดของร่างกายเป็น พเิ ศษ 6.4 นกั เรียนจบั คู่ สลับกนั บอกสว่ นต่าง ๆ ที่ตนเองพอใจ
6.5 นักเรียนรวมกลุ่มกับเพ่ือนท่ีชอบหรือพอใจส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเหมือนกันแล้ววาดภาพส่วน 111 ตา่ ง ๆ ของร่างกายทีต่ นเองและเพ่ือนพอใจลงในกระดาษท่ีครแู จกให้กล่มุ ละ 1 แผน่ 6.6 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ รว่ มอภิปรายเกี่ยวกบั เหตุผลที่มีความพอใจสว่ นของรา่ งกายน้ัน 6.7 นักเรยี นแต่ละกลมุ่ นาผลงานที่วาดในขอ้ 6.5 และเหตผุ ลท่ไี ดจ้ ากการอภิปรายจากข้อ 6.6 มาแลกเปล่ยี นกนั ดกู ับกลุ่มอน่ื ๆ 6.8 ครูให้นักเรียนทุกคนล้อมวง ครูใช้ลูกบอลโยนลงพื้น เมื่อลูกบอลสะท้อนไปท่ีนักเรียนคนใด นกั เรยี นคนน้นั เปน็ ผูบ้ อกสว่ นของรา่ งกายที่ตนเองพอใจพรอ้ มเหตผุ ล 6.9 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า เราชอบส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไม่เหมือนกัน ถึงแม้จะชอบ เหมอื นกนั แต่เหตผุ ลในการชอบอาจเหมือนหรอื ตา่ งกัน 6.10 ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนวาดภาพส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ตนเองชอบแล้วพร้อม เหตุผลสง่ เป็นการบา้ น 7. ส่ือ/อุปกรณ์ 7.1 เพลงชอบไหม ศิลปิน อาภาพร นครสวรรค์ 7.2 กระจกเงา 1 บาน 7.3 ลูกบอล 1 ลกู 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วธิ ีการวดั และประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เครอ่ื งมือ -
8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 สังเกตการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น มีความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเห็น ไม่ผ่าน ขาดสิง่ ใดส่ิงหนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ า่ น ขาดส่ิงใดสง่ิ หน่ึง เพลงชอบไหม 112 ศิลปนิ อาภาพร นครสวรรค์ ชอบไหม ชอบไหมรูปร่างหนา้ ตาแบบเน้ียะ ถามหน่อยเถอะพ่ี ชอบไหมช อบไหม ชอบไหม ส่วนสัดอวบอัดอย่างเงี้ยะ ถามหน่อยเถอะพ่ี ชอบไหม ชอบไหม ชอบไหม ถา้ ชอบก็บอก ไมช่ อบก็บอก ไมต่ อ้ งกลัวหรอก เร่ืองราคงราคา รักกันชอบกัน ไม่ต้องหวั่นเงินตรา ให้รักจริงจรงิ เถิดจะ๊ กลัวจะไม่จรงิ กลัวจะหลอกกลอกกล้งิ ไม่จริงดงั วาจา อย่าหลอกกันน่ะ อยา่ หลอกกันเนอ้ ฉนั นาเสนอ ใหเ้ ธอพจิ ารณา ชอบไหม ชอบไหม รูปร่างหน้าตาแบบเน้ียะ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหมชอบไหม ชอบไหม สามสิบสี่ ย่ีสิบส่ี สามสิบห้า สูงร้อยกว่ากว่า ละชอบไหมชอบไหม ชอบไหม สะโพกขนาดน้ี เซ็กซ่ขี นาดไหน ไม่ต้องบรรยาย รบั รองจะต้องผวา ทกุ ส่วนเตง่ ตึง ไม่เคยดึงหน้าตา ของฉันจริงนะจ๊ะ จะหาว่าไม่จริง ไม่ได้ใส่โคลนน่ิง ไว้อ้อนอิงลูกตา แล้วชอบไหมล่ะไม่หล่ันลั้นลา หรอกเหรอ…
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 23 หน่วยการจัดกจิ กรรมดา้ นส่วนตวั และสังคม ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1-3 เร่อื ง รักตวั รกั ตน จานวน 3 ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคัญ การรู้จักตนเองเป็นพ้ืนฐานสาคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิต การรู้จักตนเองระดับชั้นประถมศึกษา ตอนต้น คอื การรูจ้ กั ร่างกายตนเอง โดยสามารถดูแลสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายให้ปลอดภยั เพื่อให้ตนเองมีอวัยวะ ที่สมบูรณ์สามารถใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังนั้น นักเรยี นควรดูแลรักษาร่างกายตนเอง 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตัวสังคม ขอ้ 1 รู้จกั และเข้าใจตนเอง 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 บอกวิธีปฏิบตั ติ นในการดูแลอวยั วะสว่ นต่างๆของรา่ งกายได้ 4. สาระการเรียนรู้ 113 3.1 วธิ กี ารดแู ลสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายตนเอง 3.2 วิธกี ารปฏิบัตติ นในการดูแลสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายของตนและเพือ่ นใหป้ ลอดภัย 5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วธิ กี ารจัดกิจกรรม 6.1 ครูทบทวนประโยชน์และความสาคัญของอวยั วะตา่ งๆในรา่ งกาย 6.2 นักเรยี นดูคลิปวีดโิ ออบุ ัตเิ หตุประตูลม้ ทับนกั เรยี นได้รบั บาดเจบ็ ศรีษะแตก 6.3 ครแู ละนกั เรียนสนทนาเกีย่ วกับคลปิ วดี โิ อ โดยใชแ้ นวคาถามดังนี้ 6.3.1 นักเรียนดคู ลปิ วีดโิ อแลว้ ร้สู ึกอยา่ งไร (แนวคาตอบ กลัว ตกใจ เสียใจ) 6.3.2 ถา้ นกั เรยี นอยู่ในเหตุการณ์นั้นจะปฏบิ ัติตนอยา่ งไร (แนวคาตอบ ไปให้หา่ งประต)ู 6.3.3 ถ้านักเรียนได้รับอุบัติเหตุจะทาอย่างไร (แนวคาตอบ บอกพ่อแม่ บอกครู ไปโรงพยาบาล) 6.4 ขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน เล่าเหตุการณ์ หรือข่าวการประสบอุบัติเหตุ การได้รับบาดเจ็บ รวมทั้งการดแู ลอวยั วะตา่ งๆ ของร่างกาย
6.5 สมุ่ ถามนักเรยี น 4-5 คน แนะนาการดูแลอวยั วะส่วนต่างๆของรา่ งกายกับเพื่อนสมาชิกในห้อง 114 6.6 ครูสรุปว่าส่วนต่างๆของร่างกายมีความสาคัญถ้าเรารู้จักดูแลให้ปลอดภัย เราก็จะสามารถใช้ ประโยชนจ์ ากส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายได้ตลอดไป 7. สอ่ื /อปุ กรณ์ คลปิ วีดิโออุบัตเิ หตุประตูลม้ ทับนักเรยี น 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบร้อยของใบงาน 8.2 เครอื่ งมอื - 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 สงั เกตการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผ่าน มีความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การรว่ มอภิปรายแสดงความคดิ เห็น ไม่ผ่าน ขาดสงิ่ ใดส่งิ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผา่ น ทาใบงานถกู ต้อง ครบถว้ น และส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิ่งใดสิง่ หน่ึง
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวที่ 24 หน่วยการจัดกิจกรรมดา้ นส่วนตวั และสังคม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เรื่อง ความดีของฉนั จานวน 1 ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั การปลูกฝ๎งพฤติกรรมและคุณลักษณะที่ดี จะทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ว่าพฤติกรรมใดกระทาแล้วเป็น ท่ียอมรับ พฤติกรรมใดท่ีทาแล้วไม่เป็นท่ียอมรับ เพื่อให้นักเรียนเติบโตไปเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพต่อไป ในอนาคต 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตัวสังคม ข้อ 1 รู้จักและเข้าใจตนเอง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 115 3.1 แยกแยะพฤตกิ รรมด้านดีและไมด่ ไี ด้ 3.2 เขียนความดีของตนได้ 3.3 เห็นความสาคญั ของการทาความดี 4. สาระการเรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะที่ดงี ามของนกั เรยี น 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วิธีการจัดกจิ กรรม 6.1 ครูชวนนักเรียนร้องเพลง “เด็กเอ๋ย เด็กดี” ร่วมกัน จากนั้นสนทนานาเข้าสู่บทเรียนเก่ียวกับ การทาความดี 6.2 ครูให้นกั เรยี นแต่ละคนเล่าประสบการณ์การทาความดีของตนเองกาหนดเวลาคนไมเ่ กิน 1 นาที 6.3 แบง่ กลมุ่ นักเรียนเป็น 4 กลุ่ม กล่มุ ละเท่า ๆ กนั 6.4 ครูแนะนา “กล่องเด็กดี” ให้นักเรียนดู พร้อมอธิบายว่าภายในกล่องประกอบด้วยแผ่นปูาย การกระทาต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันมากมาย แล้วหยิบแผ่นปูายให้นักเรียนดูท้ังแผ่นปูายที่บอกการกระทาที่ดี และไม่ดี เช่น เด็กทิง้ ขยะบนถนน เดก็ จงู คนแก่ข้ามถนน ขโมยยางลบเพ่ือน ชอบแกล้งเพ่ือนแรงๆ ลอกข้อสอบเพ่ือน โกหกพอ่ แมว่ า่ โรงเรียนหยดุ เป็นตน้
6.5 ครูแจก “กล่องความดี” ให้นักเรียนทุกกลุ่ม กลุ่มละ 1 กล่อง และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกัน 116 แยกแผ่นปูายการกระทาท่ดี ีและไม่ดเี หลา่ นน้ั เปน็ สองฝ๎ง่ 6.6 นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแผน่ ปาู ยการกระทาทีเ่ หมาะสมและไม่เหมาะสม 6.7 ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมเกยี่ วกบั การกระทาท่ีเหมาะสมและไมเ่ หมาะสม พร้อมยกตวั อยา่ งประกอบ 6.8 นกั เรยี นสรุปโดยการเขียนความดีของตนท่ีสามารถทาได้ลงในใบงาน เรื่อง ความดีของฉัน จานวน 5 ข้อ เป็นการบา้ น 7. สอ่ื /อปุ กรณ์ 7.1 เพลง“เด็กเอ๋ย เด็กด”ี 7.2 กลอ่ งความดี 7.3 แผ่นปูายการกระทา 7.4 ใบงาน เร่อื ง ความดขี องฉัน 8. การวัดและประเมินผล 8.1 วธิ ีการวดั และประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม และการรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถว้ น และความเรียบร้อยของใบงาน 8.2 เครื่องมือ - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผ่าน มคี วามสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การรว่ มอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ไมผ่ า่ น ขาดส่งิ ใดส่งิ หนงึ่ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผา่ น ทาใบงานถกู ต้อง ครบถว้ น และส่งงานตามกาหนด ไมผ่ ่าน ขาดส่ิงใดสิง่ หนง่ึ
เพลง “เด็กเอ๋ย เด็กดี” เดก็ เอ๋ย..เด็กดี ต้องมหี น้าที่ 10 อย่างดว้ ยกัน หนึ่ง…นับถอื ศาสนา สอง…รักษาธรรมเนยี มมน่ั สาม…เชอื่ พ่อแม่ครูอาจารย์ ส่ี…วาจานัน้ ตอ้ งสุภาพอ่อนหวาน ห้า…ยึดมั่นกตัญํู หก…เปน็ ผู้ร้รู กั การงาน เจ็ด…ต้องศึกษาให้เชีย่ วชาญ ตอ้ งมานะบากบน่ั ไม่เกยี จไม่ครา้ น แปด…รจู้ กั ออมประหยดั เก้า…ตอ้ งซือ่ สัตยต์ ลอดกาล น้าใจนกั กีฬากลา้ หาญ ให้เหมาะกับกาล สมัยชาตพิ ฒั นา สิบ…บาเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ รู้บาปบญุ คณุ โทษ สมบัติชาติตอ้ งรกั ษา เดก็ สมยั ชาติพฒั นา จะเปน็ เด็กท่พี า ชาติไทยเจรญิ 117
ใบงาน เรอ่ื ง ความดีของฉัน ช่ือ................................................................................ ช้นั .............................เลขท่ี ................. คาชี้แจง ให้นกั เรียนปฏิบตั กิ ิจกรรมต่อไปน้ี 1. ให้นักเรยี นเขยี นความดีของตนท่ีสามารถทาได้ จานวน 5 ขอ้ 118 2. จากการเขียนความดีขา้ งต้น นกั เรียนรสู้ ึกอย่างไร
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวที่ 25 หนว่ ยการจดั กิจกรรมด้านสว่ นตัวและสังคม ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เรื่อง เช็คอินตวั ตน จานวน 3 ช่วั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคัญ ทกุ คนมีประวตั ิของตนเอง การเรียนรูป้ ระวัตขิ องตนเอง และครอบครัว จะทาให้เรารูส้ กึ ผูกพนั และ ภมู ใิ จกับครอบครัวของเรา 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตวั สังคม ขอ้ 1 รู้จกั และเข้าใจตนเอง 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 119 3.1 บอกชอ่ื และข้อมลู ของตนเองได้ 3.2 บอกชือ่ และข้อมลู ของครอบครวั ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ ประวตั คิ วามเปน็ มาของตนเอง และครอบครัว 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน (ถา้ มี) ชนิ้ งานครอบครวั ของฉัน 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 6.1 นกั เรียนนง่ั สมาธเิ ป็นเวลา 2 นาที เพื่อเตรียมความพร้อมและใหส้ ติของนักเรียนอยู่กับตนเอง 6.2 ครแู บ่งนักเรยี นเปน็ กลุ่ม กลุ่มละ 4-5 คน ตามความสมัครใจ ครแู ละนกั เรียนอภิปรายรว่ มกนั โดยครตู ง้ั คาถามวา่ นักเรยี นรู้ไหมวา่ - ปูุ ยา่ ตา ยาย ของนกั เรยี นช่ือวา่ อะไร - นกั เรยี นมีญาติพ่ีนอ้ งก่คี น - พ่อแม่ของนักเรยี นเกดิ ท่ีไหน เรียนทไี่ หน ทางานอะไร - นักเรยี นเกิดที่ไหน ใครตั้งชื่อใหน้ กั เรียน 6.3 ครูสุม่ เรียกนักเรียนประมาณ 7-8 คน ออกมาตอบคาถามท่ีหน้าชน้ั เรยี น 6.4 ครบู อกช่ือและนามสกลุ ของครใู ห้นักเรียนฟ๎ง พร้อมทั้งบอกความหมายของช่ือและนามสกุล แล้วถามนักเรียนวา่ นกั เรยี นคนใดทราบความหมายของชื่อและนามสกลุ ของตนเองบ้าง
6.5 ครบู อกสถานที่เกดิ ของตนเองใหน้ ักเรียนฟ๎งและถามนักเรยี นว่า นกั เรียนคนใดทราบบ้างว่าตนเอง 120 เกิดที่ใด และเกดิ เวลาใด 6.6 นักเรียนทาชิ้นงาน เรื่อง ครอบครัวของฉัน โดยให้นักเรียนนารูปภาพสมาชิกในครอบครัวของ นกั เรยี นมาติดลงในกรอบที่เตรียมไว้ แล้วบนั ทึกข้อมลู ตามทีก่ าหนด ตกแต่งชนิ้ งานให้สวยงาม 6.7 ครูคัดเลอื กผลงานที่เป็นตวั อยา่ ง 3-4 ชน้ิ แล้วให้เจา้ ของผลงานออกมานาเสนอผลงานท่ีหนา้ ชัน้ เรยี น 7. สอ่ื /อปุ กรณ์ รูปภาพครอบครัวของนกั เรียน 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารวัดและประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วน และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เครื่องมอื - 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 สงั เกตการปฏิบตั กิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผ่าน มคี วามสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ไม่ผ่าน ขาดสงิ่ ใดสงิ่ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งชี้ ผา่ น ทาใบงานถูกต้อง ครบถว้ น และส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ครอบครัวของฉนั คาชีแ้ จง นาภาพสมาชกิ ในครอบครวั ของตนเองมาติด แลว้ บันทกึ ข้อมลู ตามท่กี าหนด (นารูปภาพครอบครัวมาติด) 121
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 26 หนว่ ยการจดั กจิ กรรมดา้ นสว่ นตัวและสังคม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เร่อื ง กายดีชวี ีมสี ขุ จานวน 3 ช่ัวโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั ร่างกายมีความสัมพันธ์ต่อจิตใจ จิตใจท่ีแจ่มใสย่อมอยู่ในร่างกายท่ีแข็งแรง ดังน้ันเราต้องดูแลรักษา รา่ งกายให้สุขภาพแข็งแรงเพือ่ ให้จิตใจแจ่มใส สามารถอย่รู ว่ มกบั ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านสว่ นตวั สังคม ขอ้ 4 การปรับตัวและการดารงชีวิตอยูใ่ นสงั คมอย่างมีความสขุ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 122 3.1 บอกความสาคัญของการดูแลรกั ษาร่างกายของตนเองให้แข็งแรงได้ 3.2 บอกวิธีการดูแลรักษารา่ งกายของตนเองใหแ้ ข็งแรงได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความสาคญั ของการดแู ลรกั ษาร่างกายของตนเองให้แข็งแรง 4.2 วิธกี ารดูแลรักษารา่ งกายของตนเองให้แข็งแรง 5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (ถา้ มี) บันทึกการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพตนเอง 6. วิธีการจัดกิจกรรม 6.1 ครนู าเข้าสู่บทเรียนให้นกั เรยี นดภู าพบคุ คลท่มี ีอาการเจบ็ ปวุ ยไมส่ บาย 6.2 นกั เรยี นช่วยกนั เลา่ ประสบการณ์ท่ีเคยเจบ็ ปวุ ยไม่สบายพร้อมบอกสาเหตุ 6.3 นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับความสาคัญของการดูแลรักษาร่างกายของตนเอง ใหแ้ ข็งแรง 6.4 ครแู บง่ นักเรียนออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ให้คิดวธิ กี ารดูแลรักษาร่างกายของตนเองให้แข็งแรง ตามใบงานเรอื่ ง สรา้ งไดร้ า่ งกายแขง็ แรง 6.5 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมโดยครูและเพื่อนนักเรียนช่วยกันเพิ่มเติม ประเดน็ ทข่ี าดหายไป
6.6 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรุปการเรียนรูแ้ ลว้ มอบหมายให้นกั เรียนแตล่ ะคนเขยี นบันทกึ การดูแล 123 รักษาสขุ ภาพเป็นเวลา 5 วัน 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 ภาพบุคคลท่ีมอี าการเจ็บปุวยไมส่ บาย 7.2 ใบงานเร่ือง สร้างได้ รา่ งกายแขง็ แรง 8. การวดั และประเมนิ ผล 8.1 วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล 8.1.1 สังเกตความสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม และการร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถว้ น และความเรยี บร้อยของใบงาน 8.2 เครอื่ งมอื - 8.3 เกณฑก์ ารประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผ่าน มคี วามสนใจในการฟง๎ การตอบคาถาม การรว่ มอภิปรายแสดงความคดิ เห็น ไม่ผ่าน ขาดสิง่ ใดสง่ิ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตัวบ่งช้ี ผ่าน ทาใบงานถูกต้อง ครบถว้ น และส่งงานตามกาหนด ไม่ผา่ น ขาดสงิ่ ใดสิ่งหนงึ่
ใบงาน เรื่อง สร้างได้ ร่างกายแข็งแรง คาชีแ้ จง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปน้ี 1. แบง่ กลุ่มนักเรียนออกเปน็ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คนแลว้ ปฏิบตั กิ จิ กรรมกลมุ่ และเขยี นช่ือสมาชิก 124
2. ใหน้ กั เรียนช่วยกันคดิ วธิ ีการดูแลรกั ษาร่างกายของตนเองให้แขง็ แรงลงในตารางที่กาหนดให้ พรอ้ ม บอกปญ๎ หาอปุ สรรคของการท่ีไมส่ ามารถทาตามวิธกี ารดังกล่าวได้ วธิ กี ารดูแลรกั ษารา่ งกายของตนเอง ปญ๎ หาอุปสรรคของการทไ่ี ม่สามารถ ใหแ้ ข็งแรง ทาตามวิธกี ารนไ้ี ด้ 125
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 27 หน่วยการจัดกิจกรรมดา้ นสว่ นตวั และสังคม ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 1-3 เร่ือง รทู้ นั เหตกุ ารณ์ จานวน 3 ชว่ั โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั ขอ้ มูลข่าวสารเป็นสิ่งทท่ี กุ คนทวั่ ไปใหค้ วามสนใจซ่ึงมาจากหลายแหล่งมีทัง้ เชื่อถือได้ และเชื่อถือไม่ได้ ดังนนั้ ผู้รับขอ้ มลู ข่าวสารจาต้องพจิ ารณาความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมลู ก่อนทจี่ ะเช่ือถือข้อมลู นั้น 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตัวสังคม ขอ้ 1 รจู้ ักและเข้าใจตนเอง 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 126 3.1 บอกความสาคญั ของการรับรู้ขา่ วสารตา่ ง ๆ ได้ 3.2 สืบคน้ ขอ้ มลู ข่าวสารจากแหลง่ ต่าง ๆ ที่ตนเองสนใจได้ 4. สาระการเรียนรู้ การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของข้อมลู ขา่ วสาร 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วธิ ีการจัดกจิ กรรม 6.1 ครเู ล่านิทาน เร่อื ง กระต่ายต่ืนตูม ให้นักเรียนฟ๎ง และนักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็น ทาไมสัตว์ ทั้งหลายถงึ ตกหน้าผาตาย 6.2 นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปว่า เมอ่ื มใี ครมาบอกอะไรอย่าด่วนเช่ือ ควรใช้สติป๎ญญา คิดวิเคราะห์ ไตรต่ รอง ไมเ่ ช่นนัน้ จะเกิดผลเสยี ต่อตนเอง 6.3 ครเู ลา่ เหตกุ ารณ์ต่าง ๆ ประมาณ 4 เหตุการณ์ท้งั ที่นา่ เช่ือถือและไม่น่าเช่ือถือ (นิทานปลาบู่ทอง) เอาเกลด็ ปลาไปฝ๎งดนิ เป็นต้นมะเขอื ถา้ ใครเห็นดาวตกแล้วช้ีคนท่ีจะไปเกิดจะไปเกิดในท้องสุนัข (ความเช่ือที่มี มาแต่โบราณ) ช้รี งุ้ กินนา้ แล้วนวิ้ จะกุด (คาพดู ตอ่ ๆ กันมา) ใครเชอ่ื หรือไม่เช่ือเพราะเหตุใด 6.4 ครูเล่าข่าว 13 หมูปุา อะคาเดม่ี และร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับรายละเอียดของข่าว ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน อย่างไร 6.5 ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั สรปุ การเรยี นรูข้ า่ วสารและความสาคัญของข่าวสาร
7. สอ่ื /อปุ กรณ์ 127 7.2 นิทาน หรือคลปิ วิดโี อ เรื่อง กระต่ายตื่นตมู 7.2 ใบข่าว13 หมูปุา อะคาเดมี่ 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธีการวัดและประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการรว่ มอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ครบถ้วน และความเรียบร้อยของใบงาน 8.2 เครอ่ื งมือ - 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 สงั เกตการปฏิบตั ิกิจกรรม เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ี ผา่ น มคี วามสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การรว่ มอภปิ รายแสดงความคดิ เห็น ไมผ่ ่าน ขาดสง่ิ ใดสง่ิ หน่ึง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผ่าน ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดส่ิงใดสง่ิ หนึ่ง
กระต่ายขาวตัวหน่ึงอยู่ในปุามะตูมที่มีต้นไม้อ่ืนขึ้นอยู่ปะปนกัน เม่ือกระต่ายกินหญ้าอ่ิมแล้วก็นอนหลับ 128 ที่โคนต้นมะตูม แล้วฝ๎นไปว่าเกิดแผ่นดินถล่ม ขณะน้ันมีมะตูมสุกลูกหนึ่ง หล่นลงบนใบตาลแห้ง เสียงดังตูมใหญ่ กระต่ายขาวตกใจรีบวิ่งหนี พวกกระต่ายตัวอื่นเห็นเข้า จึงร้องถามว่าว่ิงหนีอะไร กระต่ายขาวบอกว่าแผ่นดิน ถล่ม กระต่ายหลายร้อยตัวก็ว่ิงตามไป สัตว์อื่นๆเห็นเข้าตะโกนถามว่าวิ่งหนีอะไร พวกกระต่ายตอบเป็น เสียงเดียวกันว่า แผ่นดินถล่มแล้ว สัตว์ท้ังหลายไม่ว่าจะเป็น ช้าง กวาง เสือ และสัตว์อื่น ๆ จึงวิ่งหนีตาม กระตา่ ย บางตัววง่ิ ไมท่ ัน หรอื สะดุดก้อนหนิ กถ็ กู เหยยี บตาย บางตัวก็ขาหกั หรอื ตกหนา้ ผาตกทะเล ขณะนั้นสิงโตตัวหน่ึงหากินอยู่แถวนั้น เห็นสัตว์ท้ังหลายกาลังจะตกเขาตาย จึงไปยืนสกัดข้างหน้า ถามว่าว่ิงหนีอะไรกัน สัตว์ทั้งหลายบอกว่าแผ่นดินถล่ม ราชสีห์ถามว่ามีใครเห็นด้วยตาตนเองบ้าง ก็ไม่มีใคร บอกได้ จึงไลเ่ ลยี งไปจนพบกระตา่ ยขาวต้นเรอื่ ง สงิ โตจงึ ให้กระต่ายขาวนาไปดูท่ีเกิดเหตุ กระต่ายบอกว่าข้าพเจ้านอนอยู่ใต้ต้นมะตูม แล้วก็ได้ยินเสียง ดังตูมข้ีนจึงนึกว่าแผ่นดินถล่ม สิงโตจึงชี้ลูกมะตูมสุกท่ีตกลงมา ให้กระต่ายดู แล้วพากระต่ายกลับไปบอกสัตว์ ทง้ั หลายให้ทราบความจรงิ “คนโง่เขลาน้นั เพียงฟ๎งคาคนอน่ื เล่าลือ โดยยังไม่ทนั รู้เรือ่ งอยา่ งแจม่ แจ้ง ก็ต่ืนตระหนก เพราะเชื่อคน ง่าย สว่ นพวกนักปราชญ์ท่มี ปี ๎ญญา ยอ่ มไมเ่ ชอ่ื โดยงา่ ย ตอ้ งพิจารณาเหตุผลและข้อมูลอย่างละเดียดแล้วจึงจะ ตดั สินใจว่าควรเช่ือหรือไม่ ” นทิ านเร่อื งน้ีสอนใหร้ วู้ า่ คนทีท่ าอะไรตามคนอนื่ เขาไป โดยไม่สืบสาวเรื่องราวให้ถ่องแท้ก่อน โดยเฉพาะ ในสมัยป๎จจุบันที่มีการแพร่ข่าวสารอย่างรวดเร็วทางอินเทอรเน็ตและโทรศัพท์มือถือ น้ัน อาจมีการส่งข่าว ปลอม หรือไดข้ ้อมลู ผดิ พลาด ซง่ึ อาจจะทาให้เกิดอันตรายต่อตนเองและส่วนรวมได้
ใบข่าว ย้อนวิกฤตช่วย 13 ชวี ติ หมูป่าอะคาเดมี่ ตดิ ถา้ หลวง-ขนุ นา้ นางนอน ในรอบปีท่ีผ่านมา หนึ่งในเร่ืองราวท่ีน่าจดจาที่สุด คงหนีไม่พ้นกรณี น้องๆ เยาวชน 129 ทมี หมปู ่า ตดิ ถ้าหลวง-ขนุ น้านางนอน ที่จังหวัดเชียงราย ดังนั้น ทีมข่าวของเรา จะขอพาย้อน ไปประมวลเหตุการณต์ ้งั แตต่ ้น จนจบภารกจิ ค้นหาและช่วยเหลอื ย้อนกลับไปเม่ือ 23 มิถุนายน 2561 หลังเสร็จส้ินภารกิจฝึกซ้อมฟุตบอล นายเอกพล จันทรวงค์ หรือ โคช้ เอก วัย 25 ปี ผฝู้ กึ สอน พร้อมนกั เตะเยาวชนวัยตั้งแต่ 11 – 16 ปี รวม 13 ชีวิต ของทีม “หมูปาุ อะคาเดมีแม่สาย” ได้พากันขี่จักรยานไปเข้าไปเที่ยวในถ้าหลวง ตามประสาวัยซนผจญภัย แต่ทริปพักผ่อน กลายมาเปน็ เหตวุ กิ ฤติ เม่ือเกิดฝนตกหนัก ระดับน้าในถ้าเพ่ิมขึ้นสูง ท้ังหมดจึงติด อยภู่ ายในทา่ มกลางความมดื การหายตวั ไปอย่างผดิ ปกตขิ องโค้ชเอก และเด็กๆ ทาให้ผู้ปกครอง และหน่วยงานท้องถ่ิน ต้องออกตามหากนั อยา่ งตื่นตระหนก จนมาทราบวา่ ท้งั หมดหายเข้าไปในถา้ หลวง ปฏิบัติการค้นหา จึงเริ่มต้น กระทั่งกลายเป็นเหตุใหญ่ระดับประเทศ ซ่ึงมีการแต่งตั้ง นายณรงค์ศักด์ิ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการเชียงรายในขณะนั้น เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ ศูนย์อานวยการร่วมค้นหาผู้สูญหาย ในวนอุทยานแห่งชาติถ้าหลวง-ขุนน้านางนอนฯ พร้อมด้วยสรรพกาลังจากหน่วยงานท้ังภาครัฐ, เอกชน และความชว่ ยเหลอื จากนานาชาติ ตลอดจนนา้ พระราชหฤทัยและพระมหากรุณาธิคุณของ สมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี 10
กลางดึกวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2561 ชาวไทยและชาวโลก ก็ได้รับข่าวดี ภายหลังนักสารวจชาว อังกฤษ ดาน้าไปพบ 13 ชีวิต อยู่บริเวณเนินนมสาว ขณะที่เด็กๆ ทุกคนมีกาลังใจดีเยี่ยม ก่อนที่จะมี การส่งหน่วยซีลและแพทย์เข้าฟ้ืนฟูร่างกาย พร้อมฝึกดาน้าเป็นลาดับ เพื่อเตรียมตัวลุยอุปสรรคออก จากถ้า อย่างไรก็ตาม แผนการพา 13 หมูปุา ออกจากถ้าหลวง ยังคงเดินหน้า จนกระท่ัง 8 กรกฎาคม 2561 การลาเลียงก็เร่ิมขึ้นในเวลา 10.00 น. ด้วยทีมผู้เชี่ยวชาญดาน้า และหน่วยซีลร่วม ปฏบิ ตั ิการ รวมกว่า 90 ชีวิต โดยวันนั้น สามารถพาเด็กๆ ดาน้าฝุาอุปสรรคออกมาได้ 4 คน ต่อด้วย 9 กรกฎาคม 2561 อกี 4 คน และปิดท้าย 10 กรกฎาคม 2561 อีก 5 คน เสร็จสมบูรณ์ตามแผน ซึ่ง ทงั้ หมดถูกลาเลียงส่งโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ เพื่อตรวจร่างกาย และพักฟื้น ท่ามกลาง ความโล่งอกและดีใจของบรรดาผู้ปกครองน้องๆ ตลอดจนประชาชนชาวไทย และคนท่ัวโลกท่ีคอย เอาใจชว่ ยด้วยใจลนุ้ ระทกึ ถือเป็นการปิดฉาก “Mission Possible” 18 วัน ของปฏบิ ัติการค้นหาและพาทีมหมูปุาออก จากถ้าหลวง ซึ่งประสบความสาเร็จลงไดเ้ พราะ “พลงั สามคั คี 130 ที่มา : ขา่ วสดออนไลน์ สบื ค้นจาก https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1291506
แผนการจัดกิจกรรมแนะแนวท่ี 28 หนว่ ยการจดั กิจกรรมดา้ นส่วนตวั และสังคม ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เรื่อง ฉันและเธอ จานวน 3 ชวั่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั ลักษณะทางกายของบุคคลเป็นลักษณะท่ีถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ จึงมีความแตกต่างกัน ถ้าเข้าใจ และยอมรบั ไดจ้ ะทาใหม้ ีความสขุ ในการอยใู่ นสงั คมต่อไป 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นสว่ นตวั และสังคม ขอ้ 3 มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ บอกความแตกตา่ งทางดา้ นร่างกายของตนเองและเพ่ือน 4. สาระการเรยี นรู้ 131 4.1 ความสาคัญของความแตกตา่ งทางด้านรา่ งกาย 4.2 แนวทางการอยรู่ ่วมกับผู้อ่ืน 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วิธกี ารจดั กจิ กรรม 6.1 ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้ภาพเด็กที่มีลักษณะทางกายต่างๆ เช่น อ้วน ผอม ปกติ ผิวดา ผิวขาว ผิวสีน้าผึ้ง ผมหยิก ผมตรง ผมดา ผมแดง รูปร่างสูง รูปร่างต่า ชวนให้นักเรียนพิจารณาลักษณะด้านร่างกาย แลว้ สรปุ วา่ คนเราเกดิ มามรี ่างกายไมเ่ หมอื นกนั แต่ทกุ คนมีความน่ารักอยใู่ นตัวท้งั นัน้ 6.2 นักเรียนหยิบภาพจากข้อ 1 คนละหน่ึงแผ่น จับคู่กับเพ่ือนผลัดกันอธิบายลักษณะทางกายของ เด็กในภาพ 6.3 นักเรียนคู่เดิมน่ังหันหน้าเข้าหากัน ช่วยกันพิจารณาลักษณะทางกายของตนเองและเพื่อนว่ามี สิง่ ใดเหมอื นและตา่ งกนั บา้ ง เช่น เธอผมดาฉนั ก็ผมดา แต่เธอผมสน้ั ฉนั ผมยาว ผมฉันสีเดยี วกบั เธอ แตเ่ ธอขาวกว่าฉันนดิ หนอ่ ย เธอมีค้ิวฉนั กม็ ีคิว้ แต่ฉนั ควิ้ ดกกว่าเธอ
6.4 นักเรียนรวมกลุ่มใหญ่โดยยืนเป็นวงกลมหันหน้าเข้าหากัน ครูยืนตรงกลางวงกลมถือลูกบอล 1 ลูก 132 ครูอธิบายวิธีการเล่นเกมดังนี้ ถ้าครูพูดว่า “ผมครูยาว” พร้อมทั้งโยนลูกบอลให้สะท้อนไปท่ีนักเรียนคนหนึ่ง ใหน้ กั เรยี นคนน้นั พดู ประโยคของครูตามดว้ ยลักษณะของตนเอง 6.5 ครูถามนักเรียน ถ้าทุกคนในห้องนี้มีลักษณะของร่างกายเหมือนกันหมดจะเกิดอะไรข้ึน ครูและ นักเรียนรว่ มกันสรุป ดังน้ี - คนเรามีลักษณะทางร่างกายที่เหมอื นกันและตา่ งกัน - ลักษณะทแี่ ตกตา่ งกนั ทาใหเ้ รารู้วา่ ใครเป็นใคร 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 ภาพเด็กที่มีลักษณะทางกายต่าง ๆ เช่น อว้ น ผอม ปกติ ผิวดา ผวิ ขาว ผิวสีน้าผ้ึง ผมหยิก ผมตรง ผมดา ผมแดง ตัวสูง ตัวต่า เท่ากับจานวนนกั เรียน 7.3 ลูกบอล 1 ลกู 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 วิธีการวัดและประเมินผล 8.1.1 สังเกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการรว่ มอภิปรายแสดงความคิดเหน็ 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบรอ้ ยของใบงาน 8.2 เครื่องมือ - 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 สังเกตการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผา่ น มคี วามสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไมผ่ า่ น ขาดสงิ่ ใดส่งิ หนง่ึ 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผา่ น ทาใบงานถูกต้อง ครบถว้ น และสง่ งานตามกาหนด ไม่ผา่ น ขาดสง่ิ ใดสิง่ หนงึ่
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวท่ี 29 หน่วยการจัดกิจกรรมด้านสว่ นตัวและสังคม ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เร่อื ง เด็กดี หนูทาได้ จานวน 3 ช่ัวโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั บุคคลย่อมมีความสามารถแตกต่างกัน แต่ก็สามารถทาความดีท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม สง่ ผลใหผ้ ูป้ ฏบิ ตั ิตามมคี วามภาคภูมิใจและมีความสุข 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตวั และสังคม ขอ้ 2 รกั และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อ่ืน 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ยกตวั อยา่ งความสามารถและความดีของตนเองและผู้อื่นได้ 3.2 บอกผลจากความสามารถและความดีของตนเองและผู้อื่นได้ 4. สาระการเรียนรู้ ลกั ษณะความสามารถและลักษณะความดขี องตนเองและผู้อื่น เชน่ 133 - ความกตญั ํูกตเวที - ความมีระเบยี บวนิ ยั - ความรบั ผดิ ชอบ - ความขยัน อดทนอดกลน้ั - การเออ้ื เฟ้ือเผื่อแผ่และชว่ ยเหลือผ้อู น่ื - ความซ่อื สัตยส์ จุ ริต - ความเมตตา เปน็ ตน้ 5. ช้นิ งาน/ภาระงาน (ถา้ มี) สมุดบันทึกความดี 6. วิธกี ารจดั กิจกรรม 6.1ครนู าภาพเด็กชว่ ยผู้ใหญ่ถือสงิ่ ของและภาพเด็กชว่ ยผใู้ หญก่ วาดลานวดั มาใหน้ ักเรยี นดแู ลว้ ร่วมกัน วเิ คราะหว์ ่าเดก็ ในภาพทาความดหี รือไม่อย่างไร 6.2เปิดคลิปวีดโิ อนทิ านอสี บเร่อื งราชสหี ์กับหนู 6.3ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสนทนาถงึ เรื่องราวในคลปิ วดี โิ อนิทาน (ใคร ทาอะไร ท่ไี หน อยา่ งไร มีคติ สอนใจ)แลว้ อธบิ ายเพิม่ เติมถงึ ความดปี ระโยชนจ์ ากการทาความดี 6.4ขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน ยกตวั อยา่ งการทาความดีให้กับตนเอง พ่อแม่ โรงเรียน และชุมชน 6.5ครูอธบิ ายใบความรู้ เรอื่ ง ความดขี องตนเองและผ้อู นื่ พร้อมสรุปความดีและประโยชน์ของความดี 6.6มอบหมายใหน้ กั เรยี นบนั ทึกความดีในสมุดบันทึกความดขี องตนเองแลว้ นาเสนอในชั่วโมงตอ่ ไป
7. สอ่ื /อุปกรณ์ 134 7.1 คลปิ วดี โิ อเร่ือง ราชสีห์กับหนู 7.2 ใบความรู้ เรือ่ ง ความดีของตนเองและผู้อ่ืน 8. การประเมนิ ผล 8.1 วธิ ีการประเมนิ 8.1.1 สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมของนกั เรยี น 8.1.2 ตรวจสมดุ บนั ทกึ ความดี 8.2 เครอ่ื งมือ 8.2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมรว่ มกิจกรรม 8.2.2 แบบประเมินผลการเขียนสมดุ บนั ทกึ ความดี 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมของนกั เรียน เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น ผลการประเมินการพฤตกิ รรมเก่ียวกับประเด็นความสนใจ ความถกู ตอ้ งการปฏิบัติ กิจกรรม ความรบั ผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา และความมุ่งมั่นในการปฏิบตั ิงาน ปรากฏครบทกุ ประเดน็ ไมผ่ า่ น ผลการประเมินการพฤตกิ รรมปรากฏไม่ครบทุกประเดน็ 8.3.2 การประเมนิ การเขียนสมุดบนั ทกึ ความดี เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น ผลการประเมนิ มคี ะแนนรวมจากทกุ มติ ิ (ความถกู ต้อง ความสมบรู ณ์ครบถว้ น ความสวยงาม ความคิดสรา้ งสรรค์ และส่งตรงต่อเวลา) มากกว่ารอ้ ยละ 70 ไม่ผา่ น ผลการประเมนิ มคี ะแนนรวมจากทุกมติ ิ (ความถกู ตอ้ ง ความสมบูรณค์ รบถว้ น ความสวยงาม ความคิดสร้างสรรค์ และสง่ ตรงต่อเวลา) ต่ากวา่ รอ้ ยละ 70
ใบความรู้ 135 เรอื่ ง ความดขี องตนเองและผอู้ ่ืน เด็กดี หมายถึง เด็กท่ีปฏิบัติตนให้เป็นท่ีรักใคร่ของครอบครัว ครูอาจารย์และ สมาชิกทุกคนในสงั คม การทาความดีทีส่ ่งผลให้เกดิ ความสขุ และความเจรญิ ได้แก่ 1. ความมีระเบียบวินัย คือการปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนและข้อบังคับของ ครอบครัวและโรงเรียนที่กาหนดไว้ เช่น การแต่งเคร่ืองแบบนักเรียน การแสดงความเคารพ การเก็บภาชนะอาหารให้เป็นที่ เป็นต้น 2. ความรับผดิ ชอบ คือการทาสง่ิ ต่าง ๆ ตามหน้าท่ีของตนเอง เช่น การตรงต่อเวลา ต้งั ใจเรยี นหนังสือ เป็นตน้ 3. ความเมตตากรุณา คือความรักและปรารถนาดีอยากให้ผู้อ่ืนมีความสุข เช่น ชว่ ยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า การบริจาคสงิ่ ของคนยากจน เปน็ ต้น 4. ความเออ้ื เฟอื้ เผื่อแผ่ คือ การช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความตั้งใจจริง โดยไม่มุ่งหวังส่ิง ตอบแทน แบง่ ป๎นสง่ิ ต่าง ๆ ใหแ้ กผ่ อู้ นื่ เช่น แบ่งของเล่นให้น้อง แบ่งอาหารหรือขนมให้เพ่ือน เป็นตน้ 5. ความซ่ือสัตย์สุจริต คือ การปฏิบัติตนในสิ่งท่ีถูกต้องดีงามทั้งกาย วาจา และใจ ท้ังต่อหน้าและลับหลัง เช่น ไม่พุดโกหกหลอกลวง ไม่ลอกการบ้านหรือข้อสอบ ไม่ลักขโมย ไมเ่ อาของผู้อน่ื มาเป็นของตน เปน็ ต้น 6. ความกตัญํูกตเวที คือ การสานึกในบุญคุณของผู้อ่ืนท่ีช่วยเหลือ เช่น มีความ กตญั ํกู ตเวทตี อ่ พ่อแม่ ครูอาจารย์ เปน็ ต้น 7. ความขยัน อดทน อดกลั้น คือ มีความมุ่งม่ันต้ังใจ และทาส่ิงต่าง ๆ ให้สาเร็จ ตามทตี่ งั้ ใจ ท่ีมา : “การเป็นพลเมืองดี” [เวบ็ บล็อก]. สืบค้นจาก http://innovation.kpru.ac.th/web17/551121705/innovation/index.php/1
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวท่ี 30 หน่วยการจดั กจิ กรรมดา้ นสว่ นตัวและสังคม ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1-3 เรอ่ื ง รเู้ ขาร้เู ขา จานวน 3 ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคัญ การเข้าใจอารมณ์ ความรู้สึก จิตใจของตนเองและผู้อ่ืนจะทาให้สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อ่ืนและอยู่ใน สงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตัวและสงั คม ข้อ 4 การปรับตัวและการดารงชวี ิตอยใู่ นสงั คมอยา่ งมีความสุข 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 136 3.1 ระบุอารมณ์และความร้สู ึกของตนเองได้ 3.2 ระบุอารมณแ์ ละความรู้สึกของเพ่ือนและครูได้ 3.3 บอกความสาคญั ของการแสดงอารมณต์ ่อผูอ้ ื่นได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความสาคญั ของการแสดงอารมณ์ต่อผู้อ่นื 4.2 การเข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตนเองและผู้อ่ืน 4.3 การแสดงอารมณ์ท่เี หมาะสมกับพฤตกิ รรม 5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 6.1 ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยการให้นักเรียนชมวีดิทัศน์เพลงอารมณ์ดี แล้วสนทนาเกี่ยวกับเน้ือหา ของเพลง 6.2 ครูใหน้ กั เรียนชว่ ยกันบอกอารมณค์ วามรสู้ กึ ที่นกั เรยี นรู้จกั โดยเขยี นข้อความเหล่านน้ั บนกระดาน 6.3 นักเรยี นเล่นเกมทายอารมณค์ วามรสู้ ึกจากภาพการแสดงพฤตกิ รรมของบคุ คลต่าง ๆ 6.4 ขออาสมัครนักเรียนออกเล่าการแสดงอารมณ์ของตนเองท่ีมีต่อเพ่ือนหรือบุคคลรอบข้างทั้งด้านดี และไมด่ ี 6.5 ครูและนักเรยี นสนทนาเกี่ยวกบั ความสาคญั ของการแสดงอารมณต์ ่อผู้อ่ืน
6.6 ครคู ัดเลอื กนกั เรยี นออกมาแสดงพฤตกิ รรมตามความรสู้ กึ ท่ีกาหนดให้ดงั น้ี 137 โกรธ เสียใจ ดใี จ ไมพ่ อใจ รัก ไม่สบายใจ สงสาร เป็นตน้ แล้วให้เพอื่ นทายพฤติกรรมนั้นๆ 6.7 ครแู ละนักเรียนสรุปเก่ยี วกบั ความการแสดงออกทางอารมณ์ กับเพือ่ นและครู 6.8 ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงานเรื่อง อารมณ์ของหนู 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 วีดทิ ศั น์เพลงอารมณ์ดี (3.03 นาท)ี จาก https://www.youtube.com/watch?v=Z9daAFiTrMc 7.2 ภาพการแสดงพฤติกรรมของบุคคลตา่ ง ๆ 7.3 ใบงาน เรือ่ ง อารมณ์ของหนู 8. การวดั และประเมนิ ผล 8.1 วธิ ีการวดั และประเมินผล 8.1.1 สงั เกตความสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม และการร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเห็น 8.1.2 ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วน และความเรียบร้อยของใบงาน 8.2 เครื่องมอื - 8.3 เกณฑก์ ารประเมิน 8.3.1 สงั เกตการปฏบิ ัติกิจกรรม เกณฑ์ ตวั บ่งชี้ ผา่ น มคี วามสนใจในการฟ๎ง การตอบคาถาม การร่วมอภิปรายแสดงความคิดเห็น ไม่ผา่ น ขาดสิ่งใดสงิ่ หนึ่ง 8.3.2 ตรวจใบงาน เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น ทาใบงานถกู ต้อง ครบถ้วน และส่งงานตามกาหนด ไม่ผ่าน ขาดสง่ิ ใดส่ิงหนง่ึ
เพลง อารมณ์ดี 138 เพลงประกอบภาพยนตร์ บ้านฉนั ..ตลกไว้ก่อน (พ่อสอนไว้) อารมณ์ดเี พราะมีความสุข ไม่มที ุกขจ์ ะใหไ้ ม่สุขได้อยา่ งไร ความรกั นัน้ เหมือนต้นไทร แตกกง่ิ ใบคลุมใจร่มเย็น อารมณ์ดเี พราะมเี ธออยู่ ก็มันรวู้ า่ มีใครอยู่ข้างใน หลบั ตาคดิ ถึงเธอเม่ือไร ปลืม้ ใจและอารมณ์ดี กนิ เราก็กนิ สบาย กนิ อะไรก็ล่ืน นอนเรากน็ อนสบายทุกคนื เปน็ ความสบายส่วนตัว อารมณ์เยน็ เหมอื นน้าในโอ่ง กม็ ันโล่งเมอื่ ไดร้ ักใคร กหุ ลาบน้อยลอยกลางใจ คิดถึงทไี รกอ็ ารมณ์ดี กินเราก็กนิ สบาย กนิ อะไรก็ลื่น นอนเรากน็ อนสบายทกุ คืน เปน็ ความสบายสว่ นตวั อารมณ์เย็นเหมอื นน้าในโอง่ ก็มนั โลง่ เม่อื ไดร้ ักใคร กุหลาบนอ้ ยลอยกลางใจ คดิ ถึงทีไรก็อารมณ์ดี
ใบงาน เรือ่ ง อารมณข์ องหนู คาชี้แจง ให้นกั เรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่อไปนี้ 1. ให้นักเรยี นหาภาพการต์ นู ที่แสดงอารมณต์ ามทนี่ ักเรียนชอบ 139 อารมณ์ดงั กลา่ วเหมาะสมหรือไม่อยา่ งไร ................................................................................................................................................ ....... ........................................................................................................................... ............................ ............................................................................................................................. .......................... .......................................................................................................................................................
แผนการจัดกจิ กรรมแนะแนวที่ 31 หนว่ ยการจัดกจิ กรรมด้านสว่ นตัวและสังคม ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 เร่อื ง รอยย้ิม จานวน 3 ชัว่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั อารมณ์มีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิต การรู้จักอารมณ์และความรู้สึกของตนเองจะช่วยให้เรา สามารถควบคมุ อารมณแ์ ละแสดงออกได้อย่างเหมาะสม ดังนัน้ เราจึงควรรจู้ กั อารมณ์และความรูส้ ึกของตนเอง 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตวั และสังคม ขอ้ 3 มวี ฒุ ภิ าวะทางอารมณ์ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 140 3.1 บอกอารมณ์และความรู้สกึ ท่ีเคยเกดิ ขึน้ กบั ตวั เองได้ 3.2 บอกสาเหตกุ ารเกดิ อารมณแ์ ละความรู้สึกได้ 3.3 บอกอารมณ์และความรู้สึกของตนเองไดใ้ นสภาวการณ์ตา่ ง ๆ ได้ 4. สาระการเรยี นรู้ การแสดงออกทางอารมณ์ 5. ช้ินงาน/ภาระงาน (ถา้ มี) - 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 6.1 ครแู ละนกั เรยี นนักเรียนรอ้ งเพลงพระอาทติ ย์ย้มิ แสดงทา่ ทางประกอบ 6.2 สนทนาซักถามความรู้สึกขณะร้องเพลง 6.3 นกั เรียนบอกอารมณ์และความรูส้ ึกท่ีเคยเกิดขน้ึ กับตวั เองคนละ 1 อยา่ ง 6.4 ครูสรปุ อารมณ์และความรู้สกึ ที่นักเรยี นบอกและเพม่ิ เตมิ ในส่วนท่ขี าด 6.5 ทบทวนอารมณแ์ ละความรู้สกึ ท่ีครูสรุปในขอ้ 6.4 6.6 นกั เรยี นแสดงบทบาทสมมตติ ามลักษณะอาการดังต่อไปนี้ - ลกั ษณะอาการของความโกรธ พร้อมแสดงอาการ - ลกั ษณะอาการของความดีใจพรอ้ มแสดงอาการ - ลกั ษณะอาการของความเสียใจ พร้อมแสดงอาการ
- ลกั ษณะอาการของความสุข พรอ้ มแสดงอาการ 141 6.7 ครสู รุปวา่ เราจะร้อู ารมณแ์ ละความรสู้ กึ ของคนจากอาการท่เี ขาแสดงออก 6.8 ครูกาหนดสถานการณ์ต่าง ๆ ให้นักเรียนบอกว่าบุคคลในสถานการณ์นั้นเกิดอารมณ์ใดและหา สาเหตุ 6.9 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าอารมณ์เกิดจากเหตุการณ์มากระทบใจทาให้เกิดความรู้สึกและ อารมณ์ ซงึ่ อาจแสดงออกทางสหี น้าและทา่ ทาง 6.10นกั เรียนร้องเพลงย้มิ และแสดงท่าทางประกอบ 6.11ครูสรุปว่าในสถานการณ์เดียวกัน แต่ละคนอาจจะเกิดอารมณ์และความรู้สึกที่เหมือนและ แตกตา่ งกัน 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 เพลงพระอาทติ ยย์ ิ้ม 7.2 สถานการณ์การแสดงออก 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธีประเมนิ 8.1.1 สงั เกตพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนักเรยี น 8.2 เคร่ืองมือประเมิน 8.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมร่วมกิจกรรม 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 การสงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมของนกั เรยี น เกณฑ์ ตวั บง่ ชี้ ผา่ น ผลการประเมนิ การพฤตกิ รรมเกยี่ วกบั ประเดน็ ความสนใจ ความถูกต้องการปฏบิ ตั ิ กิจกรรม ความรับผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา และความมุ่งมัน่ ในการปฏิบัติงาน ปรากฏครบทกุ ประเด็น ไมผ่ า่ น ผลการประเมินการพฤตกิ รรมปรากฏไม่ครบทกุ ประเดน็
โผล่มาจาก ขอบฟูา ...เค้ามาในยามเช้า 142 สอ่ งแสงให.้ .เรา อบอ่นุ สบาย เค้าลอยข้ามเราไป จมหายไปในยามเยน็ 'พรงุ่ นี้' เราก้อจะเหน็ เค้าโผล่อีกที...ท่ีเดมิ พระอาทติ ย์ ย้ิมแฉง่ แก้มแด๊ง...แดง แต่งตัว ทาแปูงโผลม่ า ยามเช้าตรู่ ฮู๊ ฮู พระอาทติ ย์ ยิม้ แฉ่ง แกม้ แดง๊ ...แดง แต่งตัว ทาแปูงโผล่มา สง่ ยิ้มให้คณุ หนู ...ยิ้มน้อยยมิ้ ใหญ่
แผนการจดั กจิ กรรมแนะแนวที่ 32 หน่วยการจัดกจิ กรรมดา้ นสว่ นตวั และสังคม ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1-3 เรือ่ ง ภาษาอารมณ์ จานวน 3 ช่ัวโมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั การแสดงออกทางอารมณ์คือพฤติกรรมการสื่อสารที่เกิดข้ึนจากอารมณ์ความรู้สึกของบุคคล การแสดงออกทางอารมณ์ที่เหมาะสมจะทาให้การสื่อสารระหว่างบุคคลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้ง ทาให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การแสดงออกทางอารมณ์จึงเป็นวุฒิภาวะของบุคคลที่พึงมี การแสดง ออกทางอารมณ์จึงมีสาคัญต่อการดาเนินชีวิตเพราะทาให้บุคคลดาเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดังนั้น เราจึงควร เรยี นรู้ ฝกึ ฝน และแสดงออกทางอารมณ์ให้เหมาะสม 2. สมรรถนะการแนะแนว : ด้านส่วนตวั และสงั คม ข้อ 1 รู้จักและเข้าใจตนเอง 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 143 3.1 แยกแยะความแตกต่างของอารมณ์ได้ 3.2 บอกความรสู้ ึก อารมณข์ องตนได้ 3.3 แสดงออกทางอารมณ์ได้อยา่ งเหมาะสม 4. สาระการเรยี นรู้ อารมณ์พ้นื ฐาน 4 อารมณ์ ประกอบด้วย ดใี จ เสียใจ โกรธ และกลัว 5. ชิน้ งาน/ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 6.1 การเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื นาเขา้ สู่กิจกรรม โดยครเู ปน็ ผู้ดาเนินกิจกรรม ดังน้ี ครูพดู ว่า “ปรบมอื 1 ครง้ั ” นักเรยี นปรบมอื 1 ครงั้ ครูพูดวา่ “ปรบมอื 2 ครงั้ ” นกั เรียนปรบมือ 2 ครงั้ ครพู ูดวา่ “ปรบมอื เป็นชุด” นักเรียนปรบมอื ตามจังหวะ 12 123 12 12 1 ครพู ูดชื่อโรงเรยี น.......” นักเรียนตอบ “เฮ้” พร้อมกบั กามอื ขวาและยกข้ึน เมอื่ นกั เรยี นตอ้ งการชื่นชมเพื่อนหรอื สนกุ สนานดใี จ สามารถแสดงออกไดโ้ ดยการปรบมือ
เม่ือครูพูดว่า “เย่ียมมาก” นักเรียนตอบว่า “นายเย่ียมมาก” พร้อมกับกามือท้ังสองข้าง 144 ยกน้ิวโปงู ขึ้นแล้วชไู ปขา้ งหนา้ 6.2 ครูแบ่งนกั เรียนออกเปน็ 4 กลมุ่ กลุม่ ละเทา่ ๆ กนั 6.3 ครูแจกจกิ๊ ซอวภ์ าพใบหน้าแสดงอารมณ์ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม ๆ ละ 1 ภาพ โดยที่แต่ละกลุ่มจะได้ ภาพแสดงอารมณท์ ่แี ตกต่างกัน 6.4 นักเรยี นชว่ ยกันต่อภาพจิก๊ ซอว์ โดยใชเ้ วลาในการตอ่ 5 นาที 6.5 หลงั จากที่ต่อเสร็จแลว้ ให้นักเรยี นปรึกษากันในกลุ่มว่าภาพทีต่ อ่ น้ันเป็นใบหน้าแสดงอารมณ์อะไร 6.6 ตัวแทนกลุ่มออกมาหน้าชั้นเรียน แล้วแสดงท่าใบ้อารมณ์ตามภาพจิ๊กซอว์ของกลุ่มตัวเอง แล้วให้ เพื่อน ๆ กลุ่มอ่นื ทายวา่ เป็นอารมณอ์ ะไร 6.7 ครูสนทนากับเด็ก ทาไมจึงสามารถทายได้ว่าเพื่อนแสดงท่าทางในอารมณ์ใด เราสังเกตอารมณ์ ของเพ่ือนจากทา่ ทางและสีหน้าใชห่ รือไม่ ครอู ธิบายใหน้ กั เรยี นฟ๎งวา่ สหี นา้ ท่าทางความรสู้ ึกสัมพันธ์กันอย่างไร เชน่ ถา้ ยมิ้ แสดงวา่ ดใี จ มคี วามสขุ ถา้ ร้องไหแ้ สดงว่า เสียใจ ทุกขใ์ จ เปน็ ต้น 6.8 นกั เรยี นสรุปการแยกแยะความแตกตา่ งของอารมณใ์ นใบกจิ กรรมเรื่อง ภาษาอารมณ์ 6.9 นักเรยี นศกึ ษาใบความรเู้ รื่องอารมณ์พื้นฐาน 4 อารมณเ์ พื่อเปน็ การสรปุ การเรียนรู้ 7. สอ่ื /อุปกรณ์ 7.1 จิ๊กซอว์ภาพใบหน้าแสดงอารมณ์ 7.2 ใบงานเร่อื ง ภาษาอารมณ์ 7.3 ใบความรู้ เรื่อง อารมณพ์ ้ืนฐาน 4 อารมณ์ 8. การประเมนิ ผล 8.1 วิธปี ระเมิน 8.1.1 สงั เกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักเรยี น 8.2 เคร่ืองมือประเมิน 8.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมร่วมกิจกรรม 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมของนกั เรียน เกณฑ์ ตวั บง่ ช้ี ผา่ น ผลการประเมนิ การพฤติกรรมเกย่ี วกับประเด็นความสนใจ ความถูกต้องการปฏิบัติ กจิ กรรม ความรับผดิ ชอบ ความตรงตอ่ เวลา และความมุ่งมน่ั ในการปฏบิ ัติงาน ปรากฏครบทกุ ประเดน็ ไม่ผา่ น ผลการประเมนิ การพฤตกิ รรมปรากฏไม่ครบทุกประเด็น
ใบงาน เร่ือง ภาษาอารมณ์ ชื่อ................................................................................ ช้นั .............................เลขที่ ................. คาช้แี จง 1. ให้นกั เรียนบอกอารมณ์จากรูปภาพทกี่ าหนดให้ 145
ใบความรู้ 146 เรื่อง อารมณ์พืน้ ฐาน 4 อารมณ์ อารมณ์ หมายถึง สภาวะหวนั่ ไหวของรา่ งกายเป็นความรู้สึกรนุ แรงทที่ าให้ จติ ใจปน๎่ ปุวน และแสดงพฤติกรรมออกมาไม่เปน็ ไปตามปกติ พฤติกรรมทแี่ สดงออกมาจะ รุนแรงกวา่ ธรรมดา และมักควบคู่ไปกับการเคล่ือนไหวของกล้ามเน้ือ อารมณม์ ผี ลต่อการรับรู้ ส่ิงตา่ ง ๆ รอบตวั เพราะ อารมณส์ มั พันธก์ บั ความคดิ เมือ่ คนเรามีการรับรู้จะแปลความหมายไป ตามความคิดและ ประสบการณ์เดมิ การเกิดอารมณ์มที ้งั ผลดีและผลเสีย ผลดีของการเกิดอารมณค์ ือ ทาใหเ้ พิ่มพลัง สามารถทางานไดด้ ีกว่าปกตริ ่าเรงิ สนุกสนาน ผลเสียของอารมณ์ เชน่ ผลเสยี ต่อสภาพรา่ งกาย เช่น อาหารไม่ย่อย นอนไม่หลับ เหน่ือยหมดแรง ใจสนั่ ทางานไมด่ เี ท่าที่ควรหรืออาจทางานไมไ่ ด้ เปน็ ต้น คนที่อารมณร์ ุนแรง หรอื เปลย่ี นแปลงง่ายมักจะเข้ากบั ใครไมค่ ่อยได้ ไม่มีใครอยากคบและอาจนาไปสปู่ ญ๎ หาทาง จติ ไดง้ า่ ย ดังนนั้ การควบคมุ อารมณ์จะทาใหม้ ีผลสง่ ตอ่ ทาให้การควบคุมตนเองดขี ึ้น อารมณห์ รือความรู้สึกพ้ืนฐานของคนมี 4 แบบ คอื 1. สขุ ดใี จ สมหวงั เช่น ดใี จเมื่อคุณแมซ่ ้ือของเลน่ ให้ 2. ทุกขเ์ สยี ใจผิดหวงั เชน่ เสยี ใจโดนครูดเุ ม่ือทาการบา้ นไม่เสร็จ 3. กลวั ตกใจ เชน่ ตกใจเมือ่ ไดย้ ินเสียงพลุ 4. โกรธ หงุดหงิด โมโห เชน่ โกรธเมอ่ื เพื่อนไม่ให้เข้ากลุ่มด้วย ท่มี า : พวงเพชร รตั นวรากร. (2559). ชุดกจิ กรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) โดยใช้ เทคนคิ การทากิจกรรมกลุ่ม สาหรับนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2. น่าน: โรงเรียนศึกษาสงเคราะหน์ ่าน.
แผนการจดั กิจกรรมแนะแนวท่ี 33 หน่วยการจัดกจิ กรรมดา้ นสว่ นตัวและสังคม ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1-3 เรื่อง ต่างจิตต่างใจ จานวน 3 ชวั่ โมง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. สาระสาคญั การรับร้อู ารมณ์ ความรู้สึกของตนเอง รวมทั้งการยอมรับในความแตกต่างทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก และจิตใจของแต่ละบุคคล จะทาให้นักเรียนสามารถปรับตัวและทากิจกรรมร่วมกับเพ่ือน ๆ ได้อย่างราบร่ืน และมีความสขุ 2. สมรรถนะการแนะแนว : ดา้ นส่วนตวั และสงั คม ข้อ 3 การมวี ุฒิภาวะทางอารมณ์ 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3.1 บอกอารมณ์และความรสู้ ึกของตนเองเม่ืออยู่ในสภาวการณต์ า่ ง ๆ ได้ 3.2 รบั ฟ๎งสงิ่ ทเี่ พ่อื นบอกอารมณ์ ความร้สู ึกของตนเองในสภาวการณต์ ่าง ๆ ได้ 147 4. สาระการเรยี นรู้ การรบั รูอ้ ารมณ์ ความรูส้ ึกของตนเองและเพอ่ื น ยอมรับความแตกต่างดา้ นอารมณ์ จติ ใจของตนเอง และเพ่ือน 5. ชนิ้ งาน/ภาระงาน (ถ้ามี) - 6. วิธกี ารจดั กจิ กรรม 6.1 นกั เรยี นร่วมกนั รอ้ งเพลง “ยินดีทรี่ ู้จัก” และแสดงท่าทางประกอบเพลง 6.2 ครูเล่าเหตกุ ารณ์ แลว้ สมุ่ ถามความรู้สึกของนักเรยี นต่อและคน ตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์ - การไปรดน้าขอพรคุณยายในวันสงกรานต์ - เพอื่ นวิ่งชนแลว้ หนไี ป - แมใ่ ห้ของขวัญวันเกิด - สุนขั ถกู รถชนตอ้ งพาไปหาหมอ - ชนะการแข่งขันคดั ลายมือ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175