Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-07-คู่มือครู วิทยาศาสตร์ ป.5

64-08-07-คู่มือครู วิทยาศาสตร์ ป.5

Published by elibraryraja33, 2021-08-07 03:29:59

Description: 64-08-07-คู่มือครู วิทยาศาสตร์ ป.5

Search

Read the Text Version

ชุุดกิิจกรรมการเรียี นรู้้� (สำ�ำ หรับั ครููผู้้�สอน) กลุ่่�มสาระการเรียี นรู้ว�้ ิทิ ยาศาสตร์แ์ ละเทคโนโลยีี (วิทิ ยาศาสตร์)์ ภาคเรียี นที่่� ๑ เล่ม่ ๑ ชั้้น� ประถมศึึกษาปีีที่�่ ๕ ฉบับั ปรัับปรุุง โครงการส่ว่ นพระองค์์สมเด็จ็ พระกนิษิ ฐาธิริ าชเจ้้า กรมสมเด็็จพระเทพรััตนราชสุดุ าฯ สยามบรมราชกุุมารีี มูลู นิธิ ิกิ ารศึกึ ษาทางไกลผ่า่ นดาวเทีียม ในพระบรมราชููปถัมั ภ์์ สำำ�นักั งานคณะกรรมการการศึึกษาขั้น�้ พื้น้� ฐาน สถาบัันส่่งเสริมิ การสอนวิิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยีี

คาํ นาํ ตามท่ีสํานักงานโครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดจัดทําชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูสําหรับใชในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่ขาดครู มีครูไมครบช้ันหรืออยูในพื้นที่หา งไกลทุรกันดาร ซ่ึงประกอบดวย ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครูผูสอน) และชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) หลังจากท่ีมีการนําไปใช พบวาส่ือดังกลาวชวยพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของโรงเรียนขนาดเล็กไดเปนอยางดี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จีงเห็นควรมีการนํา ส่ือดังกลาวมาใชในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กและโรงเรียนขยายโอกาสทุกโรง เพ่ือชวยพัฒนาคุณภาพ การศึกษาระดับประถมศึกษาใหดียิ่งข้ึน ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามคําสั่ง กระทรวงศึกษาธกิ ารที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวนั ท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงไดปรับปรุงชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครู) ใหสอดคลองกับการประกาศใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด และเพื่อใหสะดวกตอการนําไปใชจึงจัดแยกเปน รายชั้นป (ประถมศึกษาปท่ี ๑-๖) และเปนรายภาคเรียน (ภาคเรียนท่ี ๑ และภาคเรียนท่ี ๒) และชุดการจัด กิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครู) นี้ใชรวมกับชุดการจัดการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) ฉบับปรับปรุง ซึ่งจะเปน ประโยชนตอการจัดการเรยี นรูของครผู ูส อน อันจะสงผลตอการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระดบั ประถมศึกษาตอไป ขอขอบคุณผูทรงคุณวุฒิ ผูบริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก ครู อาจารย และทุกทานท่ีมีสวนเกี่ยวของ กับการปรับปรงุ และจัดทาํ เอกสารมา ณ โอกาสน้ี สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

คาํ ช้ีแจง ตามที่สํานักงานโครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดจัดทําชุดการเรียนรู สําหรับใชในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่ขาดครู มีครูไมครบชั้น หรืออยูในพืน้ ทหี่ างไกลทรุ กันดาร ซงึ่ ประกอบดว ยชุดการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู (สาํ หรบั ครูผสู อน) และชุดกจิ กรรม การเรยี นรู (สําหรบั นกั เรียน) หลังจากท่ีมกี ารนําไปใช พบวา สอื่ ดงั กลาวชว ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน ขนาดเล็กไดเปนอยางดี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงเห็นควรใหมีการนําส่ือดังกลาวมาใชใน โรงเรยี นประถมศกึ ษาทัว่ ไป เพือ่ ชวยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาระดับประถมศกึ ษาใหดยี งิ่ ขนึ้ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐานและสถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดปรับปรุงชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และเพื่อใหสะดวกตอการนําไปใช จึงจัดแยกเปนรายชั้น (ประถมศึกษาปท่ี ๑-๖) และแตละระดับชั้นแยก เปน เลม ๑ และเลม ๒ ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครู) ของระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ เลม ๑ น้ี ประกอบดวย ๓ หนว ยการเรยี นรู ไดแ ก ชวี ติ กบั สิง่ แวดลอม ลักษณะทางพันธกุ รรมชองสง่ิ มีชวี ิต และสารในชวี ติ ประจําวัน ซึ่งแตละ หนวยการเรียนรจู ะมงุ เนนใหผูเรยี นไดเรยี นรูวิทยาศาสตรผ านการสบื เสาะหาความรู มีการทาํ กิจกรรมดวยการ ลงมอื ปฏิบตั ิ เพ่อื ใหผ เู รยี นไดใ ชท กั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร นาํ ความรทู ไ่ี ดไ ปใชใ นการดาํ รงชวี ติ และรู เทา ทันการเปลย่ี นแปลงของโลกได คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับครูผูสอน) ของระดับ ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ เลม ๑ นี้ จะเปนประโยชนตอครูผูสอนในการนําไปใชจัดการเรียนรูใหกับนักเรียน เพือ่ เพ่ิมประสิทธภิ าพการจัดการเรยี นรขู องครแู ละการเรียนรูของนกั เรยี นใหส ูงขน้ึ ตอไป สถาบันสง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

สารบญั หนา 1-4 คาํ แนะนําสําหรับครูผูสอน 5-7 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร 8 โครงสรา งการจัดกิจกรรมการเรียนรูกลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 5 9 แนวทางการจัดหนวยการเรียนรู 10-16 โครงสรา งรายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร) ระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 หนวยการเรียนรูท่ี 1 ชีวติ กับส่งิ แวดลอม 17 18 มาตรฐานการเรยี นรูและตวั ช้ีวดั 19 ลาํ ดับการนาํ เสนอแนวคดิ หลัก 20 ตัวอยา งโครงสรา งของแผนการจดั การเรียนรู 21-23 หนวยยอยที่ 1 ความสมั พนั ธของส่ิงมีชีวติ กับสิ่งแวดลอ ม 24-47 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 1-3 ความสัมพันธระหวางสงิ่ มชี วี ติ กบั สง่ิ มชี ีวิตในแหลงท่ีอยู 48-55 เฉลยใบงาน 56-76 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 4-6 โซอาหาร 77-82 เฉลยใบงาน 83-105 แผนการจัดการเรียนรูที่ 7-9 ความสัมพันธระหวางสง่ิ มชี วี ติ กบั สิ่งไมมชี ีวิตในแหลง ท่ีอยู 106-114 เฉลยใบงาน 115-117 หนวยยอยที่ 2 การปรบั ตัวของสิ่งมชี ีวิต 118-142 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 10-12 โครงสรางและลกั ษณะของสิ่งมชี วี ติ ทีเ่ หมาะสมกับ 143-153 การดาํ รงชีวิตในแหลงทอ่ี ยู 154 เฉลยใบงาน 155 หนวยการเรียนรทู ี่ 2 ลกั ษณะทางพันธกุ รรมของสิ่งมีชีวติ 156 มาตรฐานการเรยี นรแู ละตัวชว้ี ดั 157 ลําดับการนําเสนอแนวคิดหลัก ตวั อยา งโครงสรางของแผนการจัดการเรยี นรู 158-160 หนว ยยอยท่ี 1 ลักษณะทางพันธกุ รรมของส่งิ มชี ีวิต 161-176 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 13-14 ลักษณะทางพันธกุ รรมของพชื 177-182 เฉลยใบงาน

แผนการจดั การเรียนรูท่ี 15-16 ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของสัตว 183-198 199-208 เฉลยใบงาน 209-222 แผนการจัดการเรียนรูท่ี 17-18 ลักษณะทางพนั ธุกรรมของมนษุ ย 223-228 เฉลยใบงาน 229 หนว ยการเรยี นรูที่ 3 สารในชวี ติ ประจําวัน 230 231-232 มาตรฐานการเรยี นรูแ ละตัวชวี้ ัด 233 234-236 ลาํ ดับการนาํ เสนอแนวคดิ หลัก 237-291 292-312 ตัวอยา งโครงสรา งของแผนการจดั การเรยี นรู 313-326 หนวยยอยท่ี 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 327-334 335-337 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 19-25 การเปลี่ยนสถานะของสสาร 338-369 370-381 เฉลยใบงาน 382-384 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 26-27 การละลาย 385-401 402-411 เฉลยใบงาน 412-422 หนวยยอยท่ี 2 การเปลย่ี นแปลงทางเคมี 423 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 28-31 การเกดิ สารใหม 424-425 เฉลยใบงาน หนวยยอยที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลับไดและการเปล่ียนแปลงท่ีผนั กลับไมไ ด แผนการจดั การเรยี นรูที่ 32-33 ผนั กลับไดและผนั กลับไมไ ด เฉลยใบงาน เฉลยแบบทดสอบ บรรณานุกรม คณะผจู ดั ทาํ

1 คําแนะนาํ สาํ หรับครูผูสอน ๑. แนวคดิ หลัก การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรมุงใหผูเรียนมีความสามารถเขาใจเนื้อหาสาระวิทยาศาสตรและนํา ความรูไปอธิบายหรือประยุกตใชในชีวิตประจําวันได รวมท้ังเปดโอกาสใหผูเรียนไดฝกทักษะตาง ๆ เชน ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ ทักษะการคิดสรางสรรค ทักษะการแกปญหา ทักษะ การเขียน ทักษะการอาน นอกจากนี้ในการจัดกิจกรรมยังมุงเนนการเรยี นรูร วมกันเปน กลุม ซึ่งเปนการเปดโอกาสให ผูเรียนไดร ว มกันคิด ปรกึ ษาหารือ อภปิ ราย แกป ญหา แสดงความคดิ เหน็ สะทอ นความคิด และไดนําเสนอผล การทํากิจกรรม ซ่ึงชวยใหผูเรียนไดพัฒนาท้ังความรู ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทักษะอื่น ๆ รวมทั้ง คุณธรรมจรยิ ธรรมอกี ดว ย ในการจัดกลุมอาจจดั เปนกลุม ๒ คน หรือกลมุ ๔-๖ คน หรอื อาจจดั กิจกรรมรว มกัน ทง้ั ช้ันท้งั น้ีขนึ้ อยกู ับวตั ถปุ ระสงคข องการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูนน้ั ๆ ในการดาํ เนินกจิ กรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร สิ่งสาํ คญั ท่ผี ูสอนควรคํานงึ ถึงเปน อันดับแรกคือ ความรู พ้ืนฐานของผูเรียน ผูสอนอาจทบทวนหรือตรวจสอบความรูเดิมของผูเรียนโดยใชคําถามหรือกลวิธีตาง ๆ ที่กระตุน ความสนใจของผูเรียนและนําไปสูการเรียนรูเน้ือหาใหม ขั้นการสอนเน้ือหาใหม ผูสอนอาจกําหนดสถานการณที่ เชือ่ มโยงกบั เรอ่ื งราวในขน้ั ทบทวนความรหู รือมคี าํ ถาม และมกี ิจกรรมใหน กั เรียนไดล งมือปฏิบัตดิ ว ยกระบวนการ สืบเสาะหาความรู (inquiry) ในการคนหาคาํ ตอบทส่ี งสยั ดวยตนเอง ผสู อนมีบทบาทเปน ผใู หอสิ ระทางความคิดกบั ผเู รียนคอยสงั เกต ตรวจสอบความเขา ใจและคอยใหความชวยเหลอื และคาํ แนะนาํ อยางใกลช ิด ในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ผูสอนควรใหผ เู รยี นแตละคนหรอื แตล ะกลุม ไดน าํ เสนอแนวคดิ เพราะ ผเู รียนมโี อกาสแสดงแนวคดิ เพมิ่ เตมิ รว มกนั ซักถาม อภิปรายขอ ขัดแยงดว ยเหตแุ ละผล ผูสอนมีโอกาสเสรมิ ความรู ขยายความรูหรือสรปุ ประเด็นสําคญั ของสาระท่ีนําเสนอนัน้ ทําใหก ารเรยี นรูขยายวงกวางและลึกมากขึ้น สามารถ นําไปประยุกตใ ชในชีวติ จริงได นอกจากนี้ยงั ทําใหผ เู รียนเกิดเจตคติทดี่ ี มีความภูมิใจในผลงาน เกดิ ความรูสกึ อยากทาํ กลา แสดงออก และจดจาํ สาระที่ตนเองไดออกมานาํ เสนอไดน าน รวมท้งั ฝก การเปน ผูน ํา ผูต าม รับฟงความคิดเห็น ของผูอ่นื ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู การนาํ ชดุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูไปใช ครคู วรเตรียมตวั ลวงหนา ดังนี้ ๑. ศึกษาโครงสรา งชุดการจดั กจิ กรรมการเรียนรู เพ่ือใหท ราบวา ตลอดทั้งปการศึกษา นักเรียนตองเรยี นรู ท้ังหมดกี่หนว ย แตละหนว ยมีหนวยยอ ยอะไรบาง ใชเวลาสอนกีช่ ่ัวโมง และมีก่ีแผน ๒. ศกึ ษาโครงสรางหนว ยการเรียนรู วา แตละหนว ยการเรียนรูม ีเนื้อหาอะไรบา ง เนื้อหาละกีช่ วั่ โมง ซ่ึงจะชวย ใหครูผูสอนมองเหน็ ภาพรวมของการสอนในหนวยดังกลา วไดอ ยางชัดเจน ๓. ศึกษาแนวการจัดกิจกรรมการเรยี นรู ซ่ึงอยูหนาแผนแตละแผน เปนการสรุปแนวการจัดกิจกรรมในแตล ะ ข้ันตอนการสอน ทาํ ใหค รูมองเหน็ ภาพรวมของการจัดการเรียนรใู นช่วั โมงนนั้ ๆ ๔. ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู ตามหัวขอ ตอไปน้ี

2 ๔.๑ ขอบเขตเนื้อหา เปนเนอื้ หาทน่ี กั เรยี นตองเรยี นรใู นแผนทกี่ าํ ลังศึกษา ๔.๒ สาระสําคัญ เปนความคิดรวบยอดหรือหลักการที่นักเรียนควรจะไดหลังจากไดเรียนรูตามแผนที่ กําหนด ๔.๓ จุดประสงคการเรียนรู แบงเปนดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และดาน คุณธรรม ๔.๔ กิจกรรมการเรียนรู แบงเปน ข้ันนํา ข้ันสอน และข้ันสรุป ซ่ึงแตละข้ันครูผูสอนควรศึกษาทําความ เขาใจอยางละเอียด นอกจากน้ีครูควรพิจารณาดวยวา ในแตละขั้นตอนการสอน ครูจะตองศึกษาวามีส่ือ/อุปกรณ อะไรบาง ๔.๕ ส่ือ/แหลง เรียนรู เปน การบอกรายการสอื่ อุปกรณ และแหลงเรียนรูท ตี่ องใชในการจดั กจิ กรรม การเรยี นรใู นชวั่ โมงน้นั ๔.๖ การประเมิน เปนการบอกทง้ั วธิ กี าร เครอื่ งมือ และเกณฑก ารประเมิน สาํ หรับเครอ่ื งมอื การประเมิน ในชดุ การจัดกจิ กรรมการเรียนรฯู นี้ ไดจ ดั เตรียมไวใ หครผู ูสอนเรียบรอ ยแลว ๓. สอ่ื การจดั การเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ สื่อการจัดการเรียนรู กลมุ สาระการเรยี นรูว ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปท่ี ๕ ประกอบดว ย ๓.๑ แผนการจดั การเรียนรู สําหรับครใู ชเปน แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรใู หกับนักเรียน ๓.๒ ใบกจิ กรรม สาํ หรบั นักเรียนใชฝกทักษะปฏบิ ัติ หรอื สรางความคดิ รวบยอดในบทเรียน โดยในใบกจิ กรรม จะประกอบดวยใบงาน ใหน กั เรียนไดบ ันทึกผลการทาํ กจิ กรรม การตอบคําถามหลังจากทํากจิ กรรมเพอื่ ทบทวนสง่ิ ท่ีได เรยี นรจู ากการทํากิจกรรม และมีแบบฝกหดั เพื่อประเมนิ การเรยี นรหู ลงั จากเรยี นจบในแตล ะกิจกรรม ๓.๓ แบบทดสอบ เปน การวัดความรูความเขาใจตามตัวชีว้ ัดทก่ี าํ หนดไวใ นหลกั สูตร

3 ใบกิจกรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ ไดมีการกําหนดสัญลักษณรูปดาว ๕ แฉก จํานวน ๕ ดวง และแถบสีฟา โดย บ. หมายถึง ใบกจิ กรรม ผ. หมายถงึ แผนการจดั การเรยี นรู เชน บ. ๑.๑ / ผ. ๑.๑-๐๑ ระดับชนั้ ใบกจิ กรรม หนว ยที่ หนว ยยอยท่ี แผนท่ี ใบงานท่ี หมายเหตุ เลขแสดงลําดับของแผนการจัดการเรียนรูจะเรยี งตอกนั จนครบทกุ แผนในแตล ะหนว ยยอย และใบงาน จะเรียงเลขตอกันในแตละแผน เม่ือขึ้นหนวยใหม การแสดงลําดับเลขของท้ังหนวยยอย แผน และใบงาน จะเรม่ิ ตน ใหม ๔. ลกั ษณะชดุ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๕ จัดทํา เปนหนวยการเรียนรู (Learning Unit) ซ่ึงไดจากการวิเคราะหหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และได จัดแบงหนวยการเรียนรใู นชุดการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูน ีอ้ อกเปน ๒ เลม ดงั น้ี เลม ๑ ประกอบดวย หนว ยการเรยี นรู ๕ หนวย ดงั นี้ หนว ยการเรียนรูท่ี ๑ ชวี ติ กับส่งิ แวดลอ ม หนวยยอ ยท่ี ๑ ความสมั พนั ธของสงิ่ มชี วี ติ กับสิ่งแวดลอม หนว ยยอ ยท่ี ๒ การปรับตัวของส่งิ มีชีวิต หนวยการเรียนรทู ่ี ๒ ลักษณะทางพันธุกรรมของสง่ิ มีชวี ติ

4 หนว ยยอ ยที่ ๑ ลักษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมีชีวิต หนวยการเรยี นรทู ่ี ๓ สารในชวี ติ ประจาํ วัน หนวยยอยท่ี ๑ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ หนวยยอ ยท่ี ๒ การเปลย่ี นแปลงทางเคมี หนว ยยอ ยที่ ๓ การเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลบั ไดแ ละการเปล่ยี นแปลงท่ีผนั กลับไมได เลม ๒ ประกอบดวยหนวยการเรียนรู ๓ หนว ย ดังน้ี หนว ยการเรียนรทู ่ี ๔ รูจ กั น้าํ และการเปล่ยี นแปลงของนํา้ หนวยยอ ยท่ี ๑ แหลงน้ําของเรา หนว ยยอยท่ี ๒ ปรากฏการณของนาํ้ หนวยยอ ยท่ี ๓ อณุ หภมู ิ ความชนื้ ของอากาศ และความกดอากาศ หนวยการเรียนรูที่ ๕ เสยี ง หนวยยอยที่ ๑ เสียง หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๖ แรง หนว ยยอยที่ ๑ แรง หนว ยการเรยี นรูที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ หนวยยอยที่ ๑ ดาว การขนึ้ และตกของดาว ๕. แผนการจดั การเรยี นรู กลุม สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ การจัดทําแผนการจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ กําหนดใหในแตละหนวยการเรียนรูประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรูหลายแผน โดยแผนการจัดการเรียนรูแตละ แผน ประกอบดวย สาระสําคญั ขอบเขตเน้ือหา จุดประสงคก ารเรยี นรซู ึง่ มีทงั้ ดานความรู ดานทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร และดานคุณธรรม กจิ กรรมการเรียนรู สอื่ /แหลง เรยี นรู และการวัดและประเมิน และทุกแผน การจดั การเรยี นรจู ะมแี นวการจัดกจิ กรรมการเรียนรอู ยหู นาแผน ซงึ่ เปน การสรุปภาพรวมของการจดั กิจกรรม การเรียนรูในชั่วโมงนั้น ๆ ในทุกขั้นตอนการสอนต้ังแตขั้นนํา ข้ันสอน ขั้นสรุป และการประเมินผล นอกจากน้ียังมี เฉลยคาํ ตอบในใบงาน และเฉลยแบบทดสอบดว ย

5 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร (Science Process Skills) ก า ร เ รี ย น รู ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร จํ า เ ป น ต อ ง ใ ช ทั ก ษ ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร เ พ่ื อ นํ า ไ ป สู การสืบเสาะคนหาผานการสังเกต ทดลอง สรางแบบจําลอง และวิธีการอ่ืน ๆ เพ่ือนําขอมูล สารสนเทศและหลกั ฐาน เชิงประจักษมาสรางคําอธิบายเก่ียวกับแนวคิดหรือองคความรูทางวิทยาศาสตร ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ประกอบดวย ทักษะการสังเกต (Observing) เปนความสามารถในการใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหน่ึง หรือหลาย อยางสํารวจวัตถุหรือปรากฏการณตาง ๆ ในธรรมชาติหรือจากการทดลอง โดยไมลงความคิดเห็นของผูสังเกตลงไป ดวยประสาทสมั ผัสท้งั 5 อยา ง ไดแ ก การดู การฟงเสียง การดมกลนิ่ การชมิ รส และการสมั ผสั ทักษะการวัด (Measuring) เปนความสามารถในการเลือกใชเครื่องมือในการวัดปริมาณตาง ๆ ไดอยาง เหมาะสม รวมถงึ ความสามารถในการหาปริมาณของสง่ิ ตาง ๆ จากเครือ่ งมือทีเ่ ลอื กใชออกมาเปน ตัวเลขไดถูกตองและ รวดเรว็ พรอ มระบุหนวยของการวดั ไดอยางถูกตอง ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล (Inferring) เปนความสามารถในการคาดการณอยางมีหลักการ เกี่ยวกบั เหตกุ ารณห รือปรากฏการณ โดยใชข อ มูล (Data) หรอื สารสนเทศ (Information) ท่เี คยเกบ็ รวบรวมไวในอดตี ทักษะการจําแนกประเภท (Classifying) เปนความสามารถในการแยกแยะ จัดพวกหรือจัดกลุม ส่ิงตาง ๆ ที่สนใจ เชน วัตถุ สิ่งมีชีวิต ดาว และเทหะวัตถุตาง ๆ หรือปรากฏการณที่ตองการศึกษาออกเปนหมวดหมู นอกจากนี้ยังหมายถึงความสามารถในการเลือกและระบุเกณฑหรือลักษณะรวมลักษณะใดลักษณะหน่ึงของสิ่งตาง ๆ ท่ตี องการจาํ แนก ทักษะการหาความสัมพันธระหวางสเปซกับสเปซ (Relationship between Space and Space) และทกั ษะการความสมั พันธร ะหวา งสเปซกับเวลา (Relationship of Space and Time) สเปซ (Space) คือ พื้นทที่ ่ีวัตถคุ รอบครอง ในท่นี อ้ี าจเปนตําแหนง รูปราง รปู ทรงของวตั ถุ ส่งิ เหลานอ้ี าจมี ความสมั พนั ธกัน ดังน้ี ทักษะการหาความสมั พันธระหวางสเปซ เปนความสามารถในการหาความเก่ียวของ กับสเปซ (Relationship between Space สัมพันธกันระหวางพื้นที่ที่วัตถุตางๆ and Space) ครอบครอง

ทักษะการหาความสัมพันธระหวา งสเปซกับ 6 เวลา (Relationship of Space and เปนความสามารถในการหาความเกี่ยวของ Time) สัมพันธกันระหวางพ้ืนที่ที่วัตถุครอบครอง เมอ่ื เวลาผานไป ทักษะการใชจํานวน (Using Number) เปนความสามารถในการใชความรูสึกเชิงจํานวน และการ คํานวณเพอ่ื บรรยายหรือระบุรายละเอยี ดเชงิ ปริมาณของสงิ่ ทส่ี งั เกตหรือทดลอง ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing and Communicating Data) เปน ความสามารถในการนําผลการสังเกต การวัด การทดลอง จากแหลงตาง ๆ มาจัดกระทําใหอยูในรูปแบบท่ีมี ความหมายหรือมีความสัมพันธกันมากข้ึน จนงายตอการทําความเขาใจหรือเห็นแบบรูปของขอมูล นอกจากนี้ ยังรวมถึงความสามารถในการนําขอมูลมาจัดทําในรูปแบบตาง ๆ เชน ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ สมการ การเขียนบรรยาย เพ่อื สอ่ื สารใหผ ูอ น่ื เขา ใจความหมายของขอมูลมากขนึ้ ทักษะการพยากรณ (Predicting) เปนความสามารถในบอกผลลัพธของปรากฏการณ สถานการณ การสงั เกต การทดลองทีไ่ ดจ ากการสังเกตแบบรปู ของหลักฐาน (Pattern of Evidence) การพยากรณท่แี มนยําจงึ เปน ผลมาจากการสงั เกตท่ีรอบคอบ การวดั ทถี่ กู ตอง การบันทึก และการจดั กระทํากับขอมลู อยา งเหมาะสม ทักษะการต้ังสมมติฐาน (Formulating Hypotheses) เปนความสามารถในการคิดหาคําตอบลวงหนา กอ นจะทาํ การทดลอง โดยอาศัยการสังเกต ความรู ประสบการณเ ดมิ เปนพ้นื ฐานคําตอบท่ีคดิ ลวงหนา ท่ยี ังไมรูมากอน หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือ ทฤษฎีมากอน การตั้งสมมติฐานหรือคําตอบท่ีคิดไวลวงหนามักกลาวไวเปนขอความ ทบี่ อกความสมั พันธระหวา งตวั แปรตน กับตัวแปรตาม ซึ่งอาจเปนไปตามทคี่ าดการณไ วห รือไมก็ได ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining Operationally) เปนความสามารถในการกําหนด ความหมายและขอบเขตของสิ่งตาง ๆ ที่อยูในสมมติฐานของการทดลอง หรือท่ีเกี่ยวของกับการทดลอง ใหเขาใจ ตรงกนั และสามารถสังเกตหรอื วัดได ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Controlling Variables) เปนความสามารถในการกําหนด ตัวแปรตาง ๆ ท้ังตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมใหคงที่ ใหสอดคลองกับสมมติฐานของการทดลอง รวมถึงความสามารถในการระบุและควบคุมตัวแปรอ่ืน ๆ นอกเหนือจากตัวแปรตน แตอาจสงผลตอผลการทดลอง หากไมควบคุมใหเหมือนกันหรือเทากัน ตัวแปรที่เก่ียวของกับการทดลอง ไดแก ตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปร ทตี่ องควบคมุ ใหค งที่ ซึ่งลว นเปนปจ จัยที่เกยี่ วขอ งกับการทดลอง ดงั นี้ ตวั แปรตน สง่ิ ทีเ่ ปนตน เหตทุ าํ ใหเกดิ การเปล่ียนแปลง จงึ ตองจดั (Independent Variable) สถานการณใหมสี งิ่ น้แี ตกตา งกัน ตวั แปรตาม ส่งิ ทเ่ี ปนผลจากการจดั สถานการณบางอยางให (Dependent Variable) แตกตา งกนั และเราตอ งสังเกต วดั หรอื ตดิ ตามดู

7 ตัวแปรท่ตี องควบคุมใหคงท่ี สิ่งตาง ๆ ทอ่ี าจสงผลตอการจัดสถานการณ จึงตอ งจัด (Controlled Variable) สิ่งเหลา น้ใี หเหมือนกันหรือเทากัน เพ่ือใหมั่นใจวาผล จากการจัดสถานการณเกดิ จากตวั แปรตนเทา นั้น ทักษะการทดลอง (Experimenting) การทดลองประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลอง และการบันทึกผลการทดลอง ทักษะการทดลองจึงเปนความสามารถในการออกแบบและวาง แผนการทดลองไดอยางรอบคอบ และสอดคลองกับคําถามการทดลองและสมมติฐาน รวมถึงความสามารถในการ ดําเนนิ การทดลองไดตามแผน และความสามารถในการบนั ทึกผลการทดลองไดล ะเอยี ด ครบถว น และเที่ยงตรง ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป (Interpreting and Making Conclusion) ความสามารถ ในการแปลความหมาย หรือการบรรยาย ลักษณะและสมบัติของขอมูลที่มีอยู ตลอดจนความสามารถในการสรุป ความสมั พันธของขอ มูลท้งั หมด ทักษะการสรางแบบจําลอง (Formulating Models) ความสามารถในการสรางและใชสิ่งที่ทําข้ึนมา เพื่อเลียนแบบหรืออธิบายปรากฏการณที่ศึกษาหรือสนใจ เชน กราฟ สมการ แผนภูมิ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว รวมถึงความสามารถในการนําเสนอขอมูล แนวคิด ความคิดรวบยอดเพ่ือใหผูอื่นเขาใจในรูปของแบบจําลองแบบ ตาง ๆ

8 โครงสรางของชุดการจัดกจิ กรรมการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ หนวยการเรียนรทู ่ี ๒ ลักษณะทางพันธกุ รรมของสง่ิ มชี วี ิต (๗ ช่วั โมง) หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ กลุมสาระ หนว ยการเรียนรูที่ ๓ ชวี ิตกบั สงิ่ แวดลอม การเรียนรู สารในชวี ิตประจาํ วัน วิทยาศาสตร (๑๔ ชว่ั โมง) (๘๐ ช่วั โมง/ป) (๑๙ ช่วั โมง) หนวยการเรียนรทู ี่ ๗ หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๖ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ ดาราศาสตรและอวกาศ แรง รจู ักนํ้า และการ (๖ ช่ัวโมง) (๗ ชวั่ โมง) เปล่ยี นแปลงของน้าํ (๑๕ ช่วั โมง) หนว ยการเรียนรทู ี่ ๕ เสยี ง (๑๒ ชวั่ โมง) หมายเหตุ : สามารถปรบั โครงสรา งเวลาในชน้ั เรียนไดตามความเหมาะสมกบั วันและเวลาในการจดั การเรยี น การสอนจริง

9 แนวทางการจดั หนว ยการเรียนรู ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๕ เลม ๑ (ภาคเรียนที่ ๑) เลม ๒ (ภาคเรยี นท่ี ๒) หนว ยการเรยี นรูท่ี ๑ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๔ ชีวิตกบั สิ่งแวดลอ ม รจู ักนํา้ และการเปล่ยี นแปลงของน้ํา หนว ยการเรียนรทู ่ี ๒ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๕ ลักษณะทางพันธกุ รรมของสิ่งมีชีวติ เสยี ง หนวยการเรียนรทู ่ี ๓ หนวยการเรียนรูท่ี ๖ สารในชีวิตประจาํ วัน แรง หนว ยการเรียนรูท่ี ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ

10 โครงสรา งรายวชิ าวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ หนว ยการเรียนร/ู ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ เวลาท่ใี ช (ช.ม.) ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ ว ๑.๑ ป. ๕/๑ บรรยายโครงสราง • สิง่ มีชีวิตท้งั พชื และสัตวม โี ครงสรา งและลักษณะที่ ชีวิตกบั สง่ิ แวดลอ ม และลักษณะของสง่ิ มชี วี ติ ท่ี เหมาะสมในแตล ะแหลงทอ่ี ยู ซง่ึ เปน ผลมาจาก เหมาะสมกับการดํารงชีวติ ซ่งึ เปน การปรบั ตัวของสิง่ มชี ีวติ เพ่ือใหด าํ รงชีวิตและอยู /๑๔ ชว่ั โมง ผลมาจากการปรับตวั ของสง่ิ มีชีวติ รอดไดในแตละแหลง ท่ีอยู เชน ผักตบชวามี ในแตล ะแหลง ทอี่ ยู ชองอากาศในกา นใบชว ยใหลอยนํ้าได ตนโกงกาง ท่ีขึน้ อยูในปา ชายเลนมรี ากคํ้าจนุ ทาํ ใหลําตน ไมล ม ปลามีครบี ชวยในการเคลื่อนท่ีในน้ํา ว ๑.๑ ป. ๕/๒ อธิบาย • ในแหลง ท่อี ยูหน่ึง ๆ ส่งิ มีชีวิตจะมคี วามสมั พนั ธ ความสมั พนั ธร ะหวา งส่ิงมชี ีวติ กบั ซึง่ กันและกนั และสัมพันธกับสิง่ ไมม ชี วี ิต เพ่ือ สิ่งมีชีวิต และความสมั พนั ธระหวา ง ประโยชนตอการดํารงชวี ติ เชน ความสมั พนั ธก นั สง่ิ มีชีวติ กับสง่ิ ไมมชี ีวิต เพ่ือ ดานการกนิ กันเปน อาหาร เปนแหลง ท่อี ยูอาศยั ประโยชนต อการดาํ รงชวี ิต หลบภยั และเลีย้ งลูกอน ใชอ ากาศในการหายใจ ว ๑.๑ ป. ๕/๓ เขียนโซอ าหาร • สิ่งมีชีวติ มกี ารกนิ กนั เปนอาหาร โดยกินตอกนั เปน และระบุบทบาทหนาที่ของ ทอด ๆ ในรูปแบบของโซอ าหาร ทาํ ใหสามารถระบุ สิ่งมีชีวติ ท่เี ปนผผู ลิตและผบู รโิ ภค บทบาทหนา ท่ีของสิ่งมชี ีวิตเปนผผู ลติ และผูบรโิ ภค ในโซอ าหาร ว ๑.๑ ป. ๕/๔ ตระหนกั ในคุณคา ของสง่ิ แวดลอมท่ีมตี อ การ ดาํ รงชีวติ ของสง่ิ มชี วี ิต โดยมี สว นรว มในการดูแลรักษา สิ่งแวดลอ ม หนวยการเรยี นรทู ่ี ๒ ว ๑.๓ ป ๕/๕ อธบิ ายลักษณะทาง • สิ่งมีชีวติ ทงั้ พืช สตั วและมนษุ ยเมื่อโตเต็มที่จะมีการ ลักษณะทางพันธุกรรม พันธกุ รรมท่ีมีการถายทอดจากพอ สืบพนั ธุเพ่อื เพิม่ จํานวนและดํารงพนั ธโุ ดยลูกท่เี กิด ของสง่ิ มชี วี ติ /๗ ชวั่ โมง แมสลู กู ของพืช สัตวแ ละมนุษย มาจะไดรบั การถา ยทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม จากพอแมทําใหมลี ักษณะทางพนั ธกุ รรมทเ่ี ฉพาะ ว ๑.๓ ป ๕/๖ แสดงความอยากรู แตกตางจากสิง่ มชี ีวติ ชนิดอ่ืน อยากเห็น โดยการถามคําถาม

11 หนวยการเรยี นร/ู ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลาท่ีใช (ช.ม.) ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรู เกีย่ วกบั ลักษณะท่คี ลา ยคลึงกันของ • พืชมกี ารถา ยทอดลักษณะทางพันธกุ รรม เชน ตนเองกับพอแม ลักษณะของใบ สีดอก • สตั วม ีการถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม เชน สีขน ลกั ษณะของขน ลักษณะของหู • มนุษยมีการถายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม เชน เชิงผมท่ีหนา ผาก ลกั ยมิ้ ลักษณะหนงั ตา การหอล้นิ ลักษณะของต่ิงหู หนว ยการเรยี นรูท ี่ ๓ ว. ๒.๑ ป ๕/๑ อธบิ ายการ • การเปลย่ี นสถานะของสสารเปนการเปล่ียนแปลง สารในชีวิตประจาํ วนั / เปลย่ี นสถานะของสสาร เมื่อ ทางกายภาพ เมื่อเพิ่มความรอนใหกบั สสารถึง ๑๙ ชว่ั โมง ทาํ ให สสารรอ นข้ึนหรือเย็น ระดบั หน่ึงจะทาํ ใหส สารทีเ่ ปน ของแขง็ เปล่ียน ลงโดยใชห ลกั ฐานเชิง สถานะเปนของเหลว เรยี กวา การหลอมเหลว และ ประจกั ษ เม่ือเพม่ิ ความรอ นตอไปจนถึงอกี ระดับหนงึ่ ของเหลวจะเปลีย่ นเปน แกส เรียกวา การกลายเปน ไอแตเม่ือลดความรอนลงถึงระดับหน่ึง แกส จะ เปลี่ยนสถานะเปน ของเหลว เรยี กวา การควบแนน และถา ลดความรอนตอไปอีกจนถงึ ระดับหน่ึง ของเหลวจะเปล่ยี นสถานะเปนของแขง็ เรยี กวา การแข็งตวั สสารบางชนิดสามารถ เปล่ยี นสถานะ จากของแข็งเปนแกสโดยไมผ านการเปนของเหลว เรยี กวา การระเหิด สวนแกส บางชนดิ สามารถ เปล่ียนสถานะเปน ของแข็ง โดยไมผ านการเปน ของเหลวเรียกวา การระเหดิ กลบั ว. ๒.๑ ป ๕/๒ อธิบายการ • เมื่อใสสารลงในน้ําแลว สารนัน้ รวมเปนเนือ้ เดียวกนั ละลายของสารในนํา้ โดยใช กบั นา้ํ ทัว่ ทกุ สว น แสดงวาสารเกดิ การละลาย เรยี ก หลักฐานเชงิ ประจกั ษ สารผสมท่ไี ดว าสารละลาย ว. ๒.๑ ป ๕/๓ วิเคราะหการ • เมอื่ ผสมสาร ๒ ชนดิ ขน้ึ ไปแลวมีสารใหมเ กิดขึ้น เปล่ยี นแปลงของสารเมื่อเกิดการ ซึง่ มสี มบตั ติ า งจากสารเดิมหรอื เมื่อสารชนดิ เดยี ว เกดิ การเปลีย่ นแปลงแลวมสี ารใหมเ กิดขนึ้

12 หนวยการเรียนร/ู ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี ๕ เวลาทใ่ี ช (ช.ม.) ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรู หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ เปลย่ี นแปลงทางเคมีโดยใช การเปลีย่ นแปลงนีเ้ รยี กวา การเปลย่ี นแปลงทาง รจู ักนา้ํ และการ หลกั ฐานเชิงประจักษ เคมีซ่ึงสงั เกตไดจ ากมสี ีหรือกลนิ่ ตา งจากสารเดมิ เปลยี่ นแปลงของนํ้า / หรอื มีฟองแกส หรือมีตะกอนเกดิ ขนึ้ หรือมีการ ๑๕ ชัว่ โมง ว. ๒.๑ ป ๕/๔ วิเคราะหแ ละ เพิม่ ข้นึ หรือลดลงของอุณหภูมิ ระบุการเปลยี่ นแปลงที่ผนั กลับได และการเปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลับ • เม่ือสารเกิดการเปล่ียนแปลงแลว สารสามารถ ไมไ ด เปลี่ยนกลบั เปนสารเดมิ ไดเ ปนการเปลยี่ นแปลง ทผ่ี ันกลับได เชน การหลอมเหลว การกลายเปนไอ ว. ๓.๒ ป ๕/๑ เปรยี บเทียบ การละลาย แตส ารบางอยา งเกิดการเปลี่ยนแปลง ปรมิ าณน้ําในแตล ะแหลง และ แลว ไมสามารถเปลย่ี นกลับเปนสารเดิมได เปน การ ระบุปริมาณน้ําที่มนุษยส ามารถ เปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไมไ ด เชน การเผาไหม นาํ มาใชประโยชนไดจ ากขอมูลที่ การเกิดสนิม รวบรวมได • โลกมีทง้ั น้าํ จืดและนาํ้ เค็มซึง่ อยใู นแหลงนาํ้ ตา ง ๆ ว. ๓.๒ ป ๕/๒ ตระหนักถงึ คุณคา ท่มี ีท้งั แหลง น้ําผวิ ดนิ เชน ทะเล มหาสมทุ ร บึง ของนา้ํ โดยนําเสนอแนวทางการใช แมน าํ้ และแหลงนํ้าใตด ิน เชน นาํ้ ในดนิ และน้าํ นาํ้ อยา งประหยดั และการอนุรกั ษ บาดาล น้ําทัง้ หมดของโลกแบงเปนน้าํ เคม็ นาํ้ ประมาณรอยละ ๙๗.๕ ซงึ่ อยูในมหาสมทุ ร และ แหลงนา้ํ อื่น ๆ และท่ีเหลอื อกี ประมาณรอยละ ๒.๕ เปน น้ําจืด ถา เรียงลาํ ดบั ปรมิ าณนาํ้ จดื จากมากไป นอ ยจะอยูทีธ่ ารนาํ้ แข็ง และพืดน้ําแขง็ น้ําใตดนิ ชนั้ ดนิ เยอื กแขง็ คงตัวและน้ําแข็งใตดิน ทะเลสาบ ความช้ืนในดิน ความช้นื ใน บรรยากาศ บงึ แมนา้ํ และนํา้ ในสิง่ มชี ีวติ • นํา้ จดื ท่ีมนุษยน ํามาใชไ ดมีปริมาณนอยมาก จงึ ควร ใชนํา้ อยา งประหยดั และรวมกันอนุรักษน ้ํา

13 หนวยการเรยี นร/ู ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ เวลาทีใ่ ช (ช.ม.) ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู ว. ๓.๒ ป ๕/๓ สรา งแบบจาํ ลองท่ี • วฏั จกั รนาํ้ เปน การหมนุ เวียนของนา้ํ ที่มีแบบรูป อธบิ ายการหมุนเวียนของนาํ้ ใน ซาํ้ เดิม และตอเนื่องระหวา งนํ้าในบรรยากาศ วัฏจกั รน้าํ นา้ํ ผิวดนิ และน้ําใตด ิน โดยพฤตกิ รรมการดาํ รงชวี ิต ของพืชและสัตวส ง ผลตอ วฏั จักรน้ํา ว. ๓.๒ ป ๕/๔ เปรยี บเทียบ • ไอนาํ้ ในอากาศจะควบแนน เปนละอองน้ําเล็ก ๆ กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก น้ําคา ง โดยมีละอองลอย เชน เกลือ ฝุนละออง ละอองเรณู และนาํ้ คางแข็งจากแบบจาํ ลอง ของดอกไมเ ปนอนุภาคแกนกลาง เมอื่ ละอองนาํ้ จํานวนมากเกาะกลุมรวมกนั ลอยอยูสูงจากพน้ื ดนิ มาก เรยี กวา เมฆ แตละอองนา้ํ ทีเ่ กาะกลมุ รวมกนั อยูใกลพื้นดนิ เรียกวา หมอก สว นไอนํา้ ท่คี วบแนน เปน ละอองนํา้ เกาะอยู บนพ้ืนผิววตั ถุใกลพ ืน้ ดิน เรยี กวา นา้ํ คาง ถา อุณหภมู ิใกลพ ้ืนดนิ ต่ํากวา จดุ เยือกแข็ง นํ้าคางก็จะกลายเปนนาํ้ คางแข็ง ว. ๓.๒ ป ๕/๕ เปรยี บเทยี บ • ฝน หิมะ ลูกเห็บ เปนหยาดนํ้าฟา ซึง่ เปนนํ้าทีม่ ี กระบวนการเกิดฝน หมิ ะ และ สถานะตา ง ๆ ท่ตี กจากฟาถงึ พน้ื ดิน ฝนเกิดจาก ลกู เหบ็ จากขอมูลที่รวบรวมได ละอองน้ําในเมฆทีร่ วมตัวกันจนอากาศไมส ามารถ พยุงไวไดจ งึ ตกลงมา หมิ ะเกดิ จากไอนํา้ ในอากาศ ระเหิดกลับเปนผลกึ นํ้าแขง็ รวมตวั กนั จนมนี ํา้ หนกั มากขึ้นจนเกนิ กวา อากาศจะพยุงไวจ ึงตกลงมา ลกู เหบ็ เกิดจากหยดนํ้าที่เปล่ยี นสถานะเปน นํา้ แขง็ แลว ถกู พายุพัดวนซํา้ ไปซ้ํามาในเมฆฝนฟาคะนองที่มี ขนาดใหญและอยูในระดับสงู จนเปนกอนน้ําแขง็ ขนาดใหญขนึ้ แลว ตกลงมา หนวยการเรียนรทู ่ี ๕ ว. ๒.๓ ป ๕/๑ อธิบายการไดย นิ • การไดยินเสียงตองอาศยั ตัวกลาง โดยอาจเปน เสียง /๑๒ ชวั่ โมง เสียงผา นตวั กลางจากหลกั ฐาน ของแขง็ ของเหลว หรอื อากาศ เสยี งจะสง ผา น เชิงประจักษ ตวั กลางมายงั หู

14 หนวยการเรียนร/ู ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๕ เวลาทใ่ี ช (ช.ม.) ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู ว. ๒.๓ ป ๕/๒ ระบุตวั แปร • เสยี งทไ่ี ดยินมีระดบั สงู ตาํ่ ของเสยี งตางกันขึ้นกับ ทดลอง และอธิบายลกั ษณะและ ความถข่ี องการสัน่ ของแหลงกําเนดิ เสียง โดยเม่อื การเกดิ เสยี งสงู เสียงตํา่ แหลง กําเนิดเสียงส่ันดวยความถ่ตี าํ่ จะเกิดเสียงตํ่า แตถ า สน่ั ดวยความถีส่ งู จะเกิดเสยี งสงู สว นเสียงดงั ว. ๒.๓ ป ๕/๓ ออกแบบการ คอ ยท่ีไดยนิ ขน้ึ กับพลังงานการส่ันของแหลงกาํ เนดิ ทดลองและอธิบายลักษณะและ เสยี ง โดยเมื่อแหลง กาํ เนิดเสียงสัน่ ดวย พลังงาน การเกดิ เสียงดัง เสียงคอย มากจะเกดิ เสยี งดังแตถ าแหลงกาํ เนิดเสียงส่นั ดว ย พลังงานนอยจะเกดิ เสยี งคอย ว. ๒.๓ ป ๕/๔ วดั ระดับเสยี งโดย ใชเครือ่ งมือวดั ระดับเสยี ง • เสยี งดังมาก ๆ เปนอันตรายตอการไดยนิ และเสียงที่ กอใหเ กดิ ความรําคาญเปน มลพิษทางเสียง เดซิเบล ว. ๒.๓ ป ๕/๕ ตระหนักในคุณคา เปน หนว ยที่บอกถึงความดงั ของเสยี ง ของความรูเรือ่ งระดับเสยี ง โดย เสนอแนะแนวทางในการหลีกเล่ียง และลดมลพิษทางเสียง หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๖ ว. ๒.๒ ป ๕/๑ อธบิ ายวิธีการหา • แรงลพั ธเ ปนผลรวมของแรงที่กระทําตอวัตถุโดย แรง /๗ ชวั่ โมง แรงลพั ธของแรงหลายแรงในแนว แรงลัพธข องแรง ๒ แรงที่กระทําตอ วตั ถุเดยี วกัน เดียวกนั ทีก่ ระทาํ ตอวตั ถใุ นกรณที ี่ จะมีขนาดเทากบั ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อแรงท้ัง วตั ถุอยนู ่ิงจากหลกั ฐานเชิง สองอยใู นแนวเดียวกันและมีทิศทางเดยี วกนั แตจะ ประจักษ มีขนาดเทากับผลตางของแรงทงั้ สอง เม่ือแรงทัง้ สองอยูใ นแนวเดยี วกันแตมที ิศทางตรงขามกัน ว. ๒.๒ ป ๕/๒ เขยี นแผนภาพ สําหรับวตั ถุทีอ่ ยนู ิ่งแรงลัพธที่กระทําตอ วตั ถุมคี า แสดงแรงที่กระทําตอ วัตถทุ ่ีอยใู น เปน ศูนย แนวเดยี วกันและแรงลัพธท่ี กระทําตอวตั ถุ • การเขียนแผนภาพของแรงท่ีกระทําตอวัตถุ สามารถเขียนไดโ ดยใชล ูกศร โดยหวั ลกู ศรแสดง ว. ๒.๒ ป ๕/๓ ใชเ ครอื่ งชัง่ สปรงิ ทศิ ทางของแรง และความยาวของลกู ศรแสดง ในการวัดแรงที่กระทําตอวัตถุ ขนาดของแรงทกี่ ระทาํ ตอวัตถุ

15 หนว ยการเรยี นร/ู ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี ๕ เวลาที่ใช (ช.ม.) ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู ว. ๒.๒ ป ๕/๔ ระบุผลของแรง • แรงเสียดทานเปน แรงทเี่ กิดข้ึนระหวา งผวิ สมั ผัสของ เสยี ดทานท่มี ตี อการเปลยี่ นแปลง วัตถุ เพอ่ื ตานการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุนน้ั โดยถา ออก การเคล่อื นท่ีของวัตถุจาก แรงกระทาํ ตอวัตถุที่อยนู ่งิ บนพนื้ ผิวหนง่ึ ใหเคลอื่ นที่ หลักฐานเชิงประจกั ษ แรงเสยี ดทานจากพื้นผวิ นน้ั ก็จะตา นการเคลอื่ นท่ี ของวัตถุแตถา วตั ถกุ ําลงั เคลอ่ื นที่แรงเสยี ดทานก็จะ ว. ๒.๒ ป ๕/๕ เขยี นแผนภาพ ทําใหว ัตถนุ ั้นเคล่ือนที่ชา ลงหรอื หยุดนงิ่ แสดงแรงเสยี ดทานและแรงท่ีอยู ในแนวเดยี วกนั ท่กี ระทาํ ตอวตั ถุ ว. ๖.๑ ป ๕/๓ ออกแบบและสรา ง เครือ่ งมอื อยางงายในการวดั อุณหภมู ิ ความชน้ื และ ความกดอากาศ หนวยการเรยี นรทู ี่ ๗ ว. ๓.๑ ป ๕/๑ เปรยี บเทยี บความ • ดาวท่มี องเห็นบนทอ งฟา อยใู นอวกาศซึ่งเปน บริเวณ ดาราศาสตรแ ละ แตกตา งของดาวเคราะห และ ทอี่ ยนู อกบรรยากาศของโลก มที ้ังดาวฤกษ และ อวกาศ/๑๒ ชว่ั โมง ดาวฤกษจากแบบจาํ ลอง ดาวเคราะหด าวฤกษเ ปน แหลงกําเนดิ แสง จึงสามารถมองเห็นไดสว นดาวเคราะหไมใช แหลง กาํ เนดิ แสง แตส ามารถมองเห็นไดเ นอ่ื งจาก แสงจากดวงอาทิตยต กกระทบดาวเคราะหแลว สะทอ นเขาสตู า ว. ๓.๑ ป ๕/๒ ใชแผนทีด่ าวระบุ • การมองเหน็ กลุมดาวฤกษม รี ูปรางตาง ๆ เกิดจาก ตาํ แหนงและเสน ทางการขึน้ และ จนิ ตนาการของผสู ังเกต กลุม ดาวฤกษต า ง ๆ ท่ี ตกของกลมุ ดาวฤกษบนทองฟา ปรากฏในทองฟา แตล ะกลมุ มีดาวฤกษแตล ะดวง และอธิบายแบบรปู เสน ทางการข้ึน และตกของกลมุ ดาวฤกษบน เรยี งกันท่ีตาํ แหนงคงทแี่ ละมเี สน ทางการขึน้ และตก ทองฟาในรอบป ตามเสน ทางเดิมทุกคืน ซงึ่ จะปรากฏตําแหนง เดิม การสังเกตตําแหนง และการขึ้นและตกของดาวฤกษ และกลมุ ดาวฤกษส ามารถทําไดโ ดยใชแผนทีด่ าว ซงึ่ ระบุมุมทศิ และมุมเงยที่กลุมดาวนัน้ ปรากฏ

หนว ยการเรยี นร/ู ตัวชี้วัด 16 เวลาทีใ่ ช (ช.ม.) ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๕ สาระการเรยี นรู ผสู งั เกตสามารถใชมอื ในการประมาณคา ของมุมเงย เม่ือสังเกตดาวในทองฟา

17 หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ ชีวิตกับส่งิ แวดลอ ม

18 มาตรฐานการเรียนรูและตัวชีว้ ดั ของหนว ยการเรียนรูท ่ี ๑ ชีวิตกับสงิ่ แวดลอม (จาํ นวน ๑๒ ชวั่ โมง) มาตรฐานการเรียนรูและตัวช้วี ดั มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางส่ิงไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ ระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไขปญ หาสง่ิ แวดลอ ม รวมทง้ั นําความรูไปใชป ระโยชน ตวั ชวี้ ดั ว ๑.๑ ป. ๕/๑ บรรยายโครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิต ซ่ึงเปนผลมาจาก การปรับตัวของสง่ิ มชี ีวติ ในแตล ะแหลง ทอ่ี ยู ว ๑.๑ ป. ๕/๒ อธิบายความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับ สิ่งไมม ชี วี ติ เพอื่ ประโยชนต อการดาํ รงชวี ติ ว ๑.๑ ป. ๕/๓ เขียนโซอาหารและระบบุ ทบาทหนาทีข่ องสง่ิ มชี วี ิตทเ่ี ปน ผผู ลิตและผบู ริโภคในโซอ าหาร ว ๑.๑ ป. ๕/๔ ตระหนักในคุณคา ของสิ่งแวดลอมท่ีมีตอการดาํ รงชวี ติ ของสง่ิ มีชีวติ โดยมีสวนรว มในการดูแล รักษาส่ิงแวดลอ ม

19 ลําดับการนําเสนอแนวคิดหลกั ของหนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ ชวี ติ กับสง่ิ แวดลอม บริเวณท่สี ่งิ มชี วี ิตอาศัยอยรู วมกันเรียกวา แหลงทีอ่ ยู ในแหลงท่อี ยูหน่ึง ๆ มีส่ิงมีชีวติ หลายชนดิ ทีอ่ าศยั อยรู ว มกัน ส่งิ มชี วี ติ ทีอ่ ยรู วมกนั มีความสัมพันธก ับส่ิงมชี ีวติ ในดา้ นตาง ๆ เชน เปน ที่อยูอาศยั เปน แหลง อาหาร เปนที่หลบภัย เปนทีส่ ืบพนั ธุ เปนทีเ่ ลี้ยงดลู กู ออ น ส่งิ มชี วี ิตท่ีอาศัยอยใู นแหลงท่ีอยเู ดยี วกนั ท่ีมคี วามสมั พันธก ันในดา นการกินอาหาร จะมีการกนิ ตอ กนั เปน ทอด ๆ ในรปู ของโซอาหาร ในโซอ าหารจะพบบทบาทของสงิ่ มชี วี ิตท่เี ปนผผู ลติ และผูบริโภค สง่ิ มีชวี ิตจะมคี วามสมั พนั ธกบั สง่ิ ไมม ชี ีวติ ที่อาศัยอยูในแหลง ที่อยเู ดียวกันในดานตา ง ๆ เชน เปนแหลงทอ่ี ยูอาศยั เปนท่ีหลบภัย เปน ท่สี บื พนั ธุ เปน ที่เล้ยี งดลู ูกออน ใชอากาศในการหายใจ เราควรชวยกนั ดแู ลรักษาสภาพแวดลอ มเพ่ือใหส ่งิ มชี ีวิตสามารถดาํ รงชวี ติ อยูในแหลง ท่ีอยไู ด แหลง ท่อี ยูอาศยั ของสิง่ มชี วี ติ ทแ่ี ตกกตา งกนั จะมีสภาพแวดลอ มทต่ี า งกัน สงิ่ มชี วี ิตทีอ่ าศัยอยใู นแหลง ที่อยูต า ง ๆ จะมีโครงสรางและลกั ษณะทเี่ หมาะสมตอการดํารงชวี ิต ในแหลงที่อยนู ัน้ ๆ โครงสรา งและลักษณะของสงิ่ มชี ีวิตท่เี หมาะสมกบั การดํารงชวี ติ ในแหลงท่อี ยูตาง ๆ เปนผลมาจากการปรบั ตัว ของสิ่งมชี ีวติ เมอ่ื สภาพแวดลอมในแหลงที่อยูของสิ่งมีชวี ติ เปล่ยี นแปลงไป อาจเปนผลใหส ิ่งมีชวี ติ มีการปรบั ตัวหรอื สูญพนั ธุ

20 ตัวอยา งโครงสรางแผนการจัดการเรยี นรหู นวยการเรียนรูท ี่ ๑ ชวี ติ กับสง่ิ แวดลอม แผนการจดั การเรียนรู แผนการจดั การเรียนรู แผนการจดั การเรียนรู ความสัมพนั ธร ะหวา ง โซอ าหาร ความสมั พันธร ะหวา ง ส่งิ มีชวี ติ กบั สง่ิ มีชีวติ ในแหลง (๓ ชวั่ โมง) สิง่ มชี ีวิตกับส่งิ ไมมีชวี ิต ท่ีอยู หนวยยอ ยท่ี @ ในแหลงท่อี ยู (๓ ชวั่ โมง) (ความสัมพันธข อง (๓ ช่ัวโมง) ส่ิงมชี ีวติ กบั สิ่งแวดลอ ม) หนว ยการเรียนรูท ี่ ๑ แผนการจดั การเรยี นรู ชวี ติ กับสิง่ แวดลอ ม โครงสรา งและลักษณะ (๑๒ ชว่ั โมง) ของส่ิงมีชวี ิต (๓ ชว่ั โมง) หนว ยยอยท่ี ๒ (การปรบั ตวั ของสงิ่ มชี วี ติ ) หมายเหตุ : โครงสรา งเวลานเ้ี ปนตัวอยางสําหรบั ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งสามารถปรบั ไดต าม ความเหมาะสมกบั วนั และเวลา

21 หนวยยอยท่ี ๑ ความสัมพนั ธข องสงิ่ มีชีวิตกบั สง่ิ แวดลอ ม

22 หนว ยยอยที่ ๑ ความสัมพันธของส่ิงมีชวี ติ กับสงิ่ แวดลอ ม หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ ช่ือหนวย ชวี ติ กับส่ิงแวดลอม จํานวนเวลาเรียน ๙ ช่ัวโมง จํานวนแผนการจดั การเรยี นรู ๓ แผน ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสําคัญของหนว ย สิง่ มชี ีวิตหลายชนดิ ที่อาศยั อยูในแหลงทอี่ ยเู ดียวกันมีความสัมพันธกัน และมีความสัมพนั ธกบั สิ่งไมมีชวี ิตในดาน ตาง ๆ เพือ่ ประโยชนใ นการดํารงชีวติ สิ่งมีชีวติ ทม่ี ีความสมั พนั ธกับส่ิงมีชวี ิตในดานการกนิ กันเปน ทอด ๆ จากผผู ลติ ไปยัง ผบู รโิ ภคในรูปของโซอ าหาร เราจึงควรชว ยกันดูแลรกั ษาสิง่ แวดลอมเพ่ือใหส ิ่งมีชีวิตสามารถดาํ รงชีวติ อยูใ นแหลงที่อยไู ด มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และความสัมพันธ ระหวางส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มีตอทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษ ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ ขปญหาสิ่งแวดลอ ม รวมทั้งนําความรูไปใชป ระโยชน ตวั ชี้วดั อธิบายความสัมพันธร ะหวา งส่ิงมชี วี ิตกับสิ่งมีชีวิต และความสมั พันธระหวา งสิง่ มชี วี ิต ว ๑.๑ ป. ๕/๒ กบั ส่ิงไมมชี วี ติ เพ่ือประโยชนต อ การดาํ รงชวี ิต เขยี นโซอ าหารและระบุบทบาทหนาท่ีของส่ิงมีชวี ติ ทเ่ี ปนผผู ลติ และผบู ริโภคในโซอาหาร ว ๑.๑ ป. ๕/๓ ตระหนักในคุณคาของส่ิงแวดลอมที่มีตอการดํารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีสวนรวมในการ ว ๑.๑ ป. ๕/๔ ดแู ลรักษาสิ่งแวดลอม

23 ลาํ ดับการนาํ เสนอแนวคดิ หลักของหนว ยยอยท่ี ๑ ความสมั พันธข องสิ่งมชี ีวิตกับสงิ่ แวดลอม บรเิ วณท่ีสิ่งมชี วี ติ อาศัยอยูร ว มกนั เรยี กวา แหลง ทีอ่ ยู ในแหลงทอี่ ยูหน่ึง ๆ มีสงิ่ มชี วี ิตหลายชนดิ ทีอ่ าศยั อยูรว มกัน สง่ิ มชี ีวติ ทอ่ี ยรู ว มกันมีความสัมพนั ธกบั ส่ิงมชี วี ิตในดา้ นตา ง ๆ เชน เปนท่ีอยอู าศัย เปนแหลงอาหาร เปน ทหี่ ลบภยั เปนทสี่ ืบพนั ธุ เปนท่เี ล้ียงดูลกู ออน ส่งิ มีชีวิตทอี่ าศยั อยใู นแหลง ท่ีอยเู ดยี วกันที่มีความสัมพนั ธก ันในดา นการกนิ อาหาร จะมกี ารกินตอกนั เปน ทอด ๆ ในรปู ของโซอาหาร ในโซอ าหารจะพบบทบาทของส่งิ มชี วี ติ ที่เปน ผูผลิตและผูบริโภค ส่ิงมีชวี ติ จะมคี วามสมั พนั ธก บั สิ่งไมม ชี วี ิตท่ีอาศยั อยูในแหลงทอ่ี ยเู ดยี วกันในดานตาง ๆ เชน เปนแหลงท่อี ยูอาศยั เปนทห่ี ลบภยั เปนท่ีสืบพนั ธุ เปน ทเี่ ลี้ยงดูลูกออน ใชอากาศในการหายใจ เราควรชวยกันดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ มเพ่ือใหส ิ่งมชี วี ติ สามารถดาํ รงชวี ิตอยูในแหลงที่อยไู ด โครงสรา งของหนวยยอยที่ ๑ ความสัมพนั ธของสิ่งมชี ีวิตกบั ส่งิ แวดลอม หนว ยการเรยี นรู ชือ่ หนวยยอย จํานวนแผน ชอ่ื แผนการจัดการเรยี นรู จํานวนชัว่ โมง หนวยการเรยี นรูท ี่ หนว ยยอยที่ ๑ ๓ ความสัมพันธร ะหวาง ๓ ๑ ชีวติ กบั ความสัมพนั ธของ สง่ิ มชี ีวิตกับสง่ิ มีชีวิตใน สง่ิ แวดลอม สง่ิ มชี ีวิตกบั แหลงที่อยู ๓ สิง่ แวดลอ ม โซอาหาร ๓ ความสมั พันธร ะหวาง ส่ิงมีชวี ิตกบั สง่ิ ไมมชี วี ิตใน แหลงที่อยู

24 แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 1 กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 1 รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหัสวิชา ว 15101 หนว ยการเรียนรูที่ 1 ชีวิตกับสิง่ แวดลอม จํานวน 12 ชั่วโมง แผนการเรียนรูท่ี 1 เรอื่ ง ความสมั พันธระหวา งสง่ิ มชี ีวิตกบั สง่ิ มชี ีวติ ในแหลงที่อยู (1) เวลา 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตและ ความสัมพันธระหวางสิ่งมชี วี ิตกบั สงิ่ มีชีวิตตา ง ๆ ในระบบนิเวศ การถา ยทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมี ตอทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ ม แนวทางในการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและการ แกไ ขปญ หาสง่ิ แวดลอม รวมทัง้ นําความรูไปใชป ระโยชน ตัวชีว้ ดั ว 1.1 ป. 5/2 อธิบายความสมั พนั ธร ะหวางสง่ิ มีชวี ติ กบั ส่งิ มีชวี ิต และความสมั พนั ธร ะหวางสิง่ มีชวี ิตกับ สิง่ ไมมีชีวติ เพ่ือประโยชนต อ การดาํ รงชีวติ 2. สาระสาํ คญั ส่ิงมีชวี ติ หลายชนดิ ที่อาศยั อยใู นแหลง ทอ่ี ยหู น่งึ ๆ มคี วามสมั พนั ธกนั ในดา นตา ง ๆ 3. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู 3.1 ดา นความรู ความเขา ใจ (K) - บอกความหมายของแหลง ท่ีอยแู ละอธบิ ายความสมั พันธกับส่งิ มีชีวติ ที่อาศัยอยใู นแหลง ท่อี ยหู น่ึง ๆ ในดาน ตา ง ๆ 3.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (P) - สงั เกตชนิดของสิง่ มชี ีวิต - ลงความเห็นจากขอมลู เกี่ยวกบั ความสมั พันธร ะหวา งสิ่งมีชวี ติ กบั สิง่ มีชวี ติ ในแหลงทอ่ี ยูหน่งึ ๆ 3.3 ดานคุณลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) - มุง ม่นั ในการทํางาน 4. สาระการเรียนรู บรเิ วณทส่ี ง่ิ มีชวี ติ หลายชนิดอาศัยอยรู ว มกันน้นั เรยี กวา แหลงท่อี ยู ในแหลง ท่ีอยูหน่ึง ๆ จะพบวาสง่ิ มีชวี ติ มีความสัมพันธกันในดานตาง ๆ เชน การกินกันเปนอาหาร เปนที่อยูอาศัย เปนที่สืบพันธุ เปนที่เล้ียงดูลูกออน เปนท่ี หลบภยั

25 5. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรยี น 5.1 ความสามารถในการส่อื สาร - บอกความสมั พนั ธของสงิ่ มีชีวิตในแหลง ท่อี ยหู นงึ่ ๆ 5.2 ความสามารถในการคิด - อภิปรายความสมั พันธระหวา งสง่ิ มีชีวติ กับส่ิงมีชีวิตในแหลงทอี่ ยหู น่งึ ๆ 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค - มุงมัน่ ในการทาํ งาน 7. กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนาํ เขาสบู ทเรียน (5 นาที) 1. ครูกระตนุ ความสนใจนักเรียนโดยนาํ รูปของสิง่ มีชวี ิตมารวมอภปิ รายกบั นกั เรียนโดยถามนกั เรยี นวา 1.1 สง่ิ มชี ีวิตมลี กั ษณะอยางไรบาง (สบื พันธุได กินอาหารได ขบั ถา ยได เจรญิ เติบโตได หายใจได เคลื่อนไหวไดดวยตนเอง และตอบสนองตอ สิง่ เราได) 1.2 นกั เรยี นเหน็ สงิ่ มีชวี ติ อะไรบา ง (กวาง กบ นก เตา ปลา แมลงปอ ตวั สลอ็ ต แมลงเตาทอง และพชื ชนดิ ตา ง ๆ) 1.3 นกั เรียนคดิ วาสงิ่ มชี วี ติ แตละชนิดในรปู นี้มีความสัมพันธกนั หรอื ไม อยา งไร (นักเรียนตอบตามความ เขาใจของตนเอง) ข้นั สอน (40 นาที) 2. ครูชวนนกั เรยี นอา นชอื่ กจิ กรรมท่ี 1 สิ่งมชี วี ิตสมั พันธกนั อยางไรและจดุ ประสงคขอ 1 หนา 3 แลว ทําความ เขาใจจุดประสงคในการทาํ กิจกรรม จากนั้นครูใชคาํ ถามดังตอ ไปนี้ 2.1 นักเรยี นจะเรียนเร่ืองอะไร (ความสมั พันธร ะหวา งส่งิ มีชีวติ กบั สิ่งมีชวี ิตในแหลง ท่ีอยูตาง ๆ) 2.2 นกั เรียนจะเรยี นดว ยวธิ ีใด (การสงั เกต) 2.3 เมอื่ เรียนแลว จะทาํ อะไรได (บอกชนิดของส่งิ มีชวี ิตและอธบิ ายความสัมพนั ธระหวางสงิ่ มีชีวติ กับ สงิ่ มชี ีวิตในแหลงที่อยูตาง ๆ)

26 3. ครใู ชคาํ ถามวา แหลง ที่อยูหมายถึงอะไร (นักเรยี นตอบตามความเขา ใจของตนเอง) ครอู ธิบายเพิ่มเติมวา แหลง ท่อี ยูหมายถึง บรเิ วณที่มสี ง่ิ มีชวี ติ อาศัยอยรู วมกนั 4. ครใู หนกั เรียนอานวิธีทาํ ในใบกจิ กรรมท่ี 1 สงิ่ มชี วี ติ สมั พันธก ันอยางไร ขอ 1 หนา 3 โดยใชค ําถามตอไปน้ี 4.1 นกั เรียนจะตองเลือกสาํ รวจหรือชมวีดทิ ัศนเ ก่ียวกบั อะไร (สาํ รวจหรอื ชมวีดทิ ศั นเกยี่ วกับสิ่งมชี ีวิตใน บรเิ วณตา ง ๆ 1 บริเวณ) 4.2 นกั เรยี นสงั เกตอะไรบา ง (ชนดิ ของส่งิ มชี ีวิตและพฤตกิ รรมของส่ิงมีชวี ิต รวมทัง้ ระบุความสัมพนั ธ ระหวา งมชี ีวิตกบั สง่ิ มชี วี ติ ในบรเิ วณท่เี ลอื ก) 5. ครกู ําหนดบริเวณที่จะสาํ รวจใหน ักเรยี น โดยไมไดออกไปสํารวจนอกหองเรยี น แตใ หสงั เกตชนิดของ ส่งิ มชี ีวติ และพฤตกิ รรมของสง่ิ มีชีวิตจากการชมวดี ทิ ัศนเ ก่ยี วกบั ความสมั พันธข องสิ่งมีชีวติ กับส่ิงมชี วี ติ ใน แหลงท่อี ยู 3 แหลง ไดแก สนามหญา แหลง น้ําและตน ไมใ หญ และใหบ ันทึกผลการสังเกตลงในใบงาน 01 ความสัมพนั ธของสง่ิ มีชวี ติ กับสิ่งมีชวี ติ ในแหลง ที่อยู หนา 4 โดยครคู อยชวยแนะนาํ ใหน กั เรยี นบนั ทึกผล การสังเกตใหเ รยี บรอย เพ่ือใชเปน ขอมลู ในการอภปิ รายตอ ไป 6. ครเู ปดโอกาสใหนักเรียนไดแลกเปลย่ี นเรียนรูแ ละอภิปรายรว มกัน จากนน้ั ครูใชค ําถาม ดังตอ ไปนี้ 6.1 นักเรียนพบส่งิ มีชีวิตอะไรบา งในวีดที ศั น (คําตอบขนึ้ อยูกับขอมูลทนี่ ักเรยี นสงั เกต) 6.2 ส่งิ มีชีวิตท่ีนักเรียนพบมพี ฤตกิ รรมอยางไร (นักเรยี นตอบไดต ามท่สี ังเกต) 7. ครอู ธิบายเพ่มิ เติมเกีย่ วกบั ความสัมพันธกับสิง่ มชี วี ิตทอี่ าศยั อยใู นแหลง ที่อยูหนึ่ง ๆ พรอมยกตัวอยา ง เชน ภาพคา งคาวทีอ่ ยบู นตน ไม มีความสมั พนั ธกนั ในดานการเปนทอ่ี ยูอาศยั ภาพกระตา ยกินหญามี ความสมั พนั ธก ันในดา นการกินกันเปน อาหาร) 8. นักเรียนแตละกลุมรว มกันอภปิ รายและระบคุ วามสมั พนั ธระหวางส่ิงมีชีวติ กับสง่ิ มชี ีวิตในแหลง ทีอ่ ยูที่ สงั เกตไดจากในวีดิทัศน และบันทกึ ลงในใบงาน 01 ความสัมพนั ธข องส่งิ มชี วี ิตกบั ส่ิงมีชีวติ ในแหลง ทอ่ี ยู หนา 5 9. ครูอาจใหนกั เรียนนําเสนอและรว มกันอภปิ รายโดยใชค าํ ถามวา สิ่งมชี ีวิตทอี่ าศยั อยูในแหลงทีอ่ ยูท่ีได สังเกตมีความสัมพันธก ันอยา งไรบาง (เชน ในแหลงนํ้า พบปลามีความสัมพันธกับพืชในดานการเปน ท่หี ลบ ภัยและเปน แหลงที่อยู ทตี่ นไมใหญพ บนกมีความสัมพนั ธกับตน ไมในดานการเปน ท่อี ยูอาศัย เปนท่เี ลีย้ งดู ลกู ออน และเปน ทหี่ ลบภยั และสนามหญา สวนทีส่ นามหญา พบแมลงมคี วามสัมพนั ธกับนกในดานการ กนิ กันเปนอาหาร) ขั้นสรปุ (5 นาที) 10. ครเู ปดโอกาสใหน ักเรียนสรปุ แนวคดิ หรอื สง่ิ ที่ไดเ รยี นรูในชั่วโมงน้ดี ว ยตนเองเก่ียวกับความหมายของ แหลง ทีอ่ ยแู ละความสัมพนั ธร ะหวางส่ิงมชี ีวติ กับสิ่งมีชีวติ ในแหลงท่อี ยู 11. ครแู ละนักเรียนรวมกนั สรปุ ไดว า บริเวณที่ส่ิงมชี วี ิตหลายชนิดอาศัยอยรู วมกันน้นั เรียกวาแหลง ท่อี ยู ในแหลง ทอ่ี ยูหนึ่ง ๆ จะพบวา สิ่งมชี ีวติ มคี วามสัมพนั ธกนั ในดา นตา ง ๆ เชน การกนิ กนั เปนอาหาร เปน ที่อยู อาศยั เปนทีส่ ืบพนั ธุ เปน ทเ่ี ลี้ยงดูลกู ออน เปนทหี่ ลบภัย

27 8. ส่ือการเรียนรู / แหลงเรียนรู 8.1 ส่อื สไลดเร่ือง ความสัมพันธระหวางส่งิ มชี วี ติ กับสิ่งมชี ีวิตในแหลงท่ีอยู (1) 8.2 วีดทิ ศั น 3 แหลงที่อยู เรอื่ ง ความสมั พนั ธระหวางสิง่ มชี ีวติ กับส่ิงมีชวี ติ ในแหลง ที่อยู 8.3 ใบกิจกรรมท่ี 1 สิง่ มชี วี ติ สัมพนั ธก ันอยา งไร หนา 3 8.4 ใบงาน 01 ความสัมพันธระหวา งส่งิ มีชวี ิตกับสงิ่ มีชวี ติ ในแหลง ทีอ่ ยู ตอนท่ี 1 หนา 4-5 9. ชนิ้ งาน / ภาระงาน 9.1 ใบงาน 01 ความสมั พันธระหวางสงิ่ มชี ีวติ กับส่ิงมีชีวิตในแหลงท่ีอยู ตอนท่ี 1 หนา 4-5 10. การวัดผลและประเมนิ ผล ประเดน็ การประเมนิ วิธีการ เคร่อื งมอื เกณฑก ารตัดสนิ 1) บอกความหมายของ สงั เกตการตอบ แบบประเมนิ การตอบ คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดมี าก แหลงที่อยแู ละอธิบาย คําถามในชัน้ เรยี น คาํ ถามในชนั้ เรยี นและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี ความสัมพันธกับ และเนอ้ื หาในใบงาน เน้ือหาในใบงาน คะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช สง่ิ มชี ีวิตที่อาศัยอยูใ น คะแนน 0 – 4 หมายถงึ ปรบั ปรงุ แหลงทีอ่ ยูหน่งึ ๆ ใน สังเกตทักษะ ดา นตาง ๆ กระบวนการทาง แบบประเมินสังเกตทักษะ คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี 2) ทักษะกระบวนการ วิทยาศาสตร ทางวิทยาศาสตร ในขณะทาํ กจิ กรรม กระบวนการทาง คะแนน 3 - 4 หมายถงึ พอใช - สังเกตชนิดของ สง่ิ มีชีวติ สังเกตดาน วทิ ยาศาสตร คะแนน 1 - 2 หมายถงึ ปรับปรุง - ลงความเหน็ ขอ มูล คุณลักษณะ เก่ยี วกบั ความสัมพนั ธ อันพงึ ประสงค แบบประเมนิ คุณลักษณะ คะแนน 3 หมายถึง ดี ระหวางส่ิงมชี ีวิตกับ อนั พงึ ประสงค คะแนน 2 หมายถึง พอใช ส่งิ มชี วี ิตในแหลงทอ่ี ยู คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรงุ หน่ึง ๆ 3) สังเกตพฤติกรรม ความมุงมั่นในการ ทํางาน

28 แบบประเมนิ การตอบคําถามในชนั้ เรยี นและเน้ือหาในใบงาน แผนการจดั การเรยี นรูที่ 1 เรอ่ื ง ความสัมพันธระหวา งสิ่งมชี ีวติ กับส่ิงมชี ีวิตในแหลงท่ีอยู (1) ช่ือผูประเมิน…………………………………………………………………………........................……………………………………….. ประเมินผลคร้งั ท่ี………………….... วนั ที่ …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........ เร่ือง………………………………………………………………......………………………………………………………………………………. รายการประเมิน/ระดบั คะแนน ชื่อ-สกุล/กลมุ การตอบ การสรปุ ความถูกตอ ง รวม คําถามในช้ัน ความรู ครบถวนของ คะแนน เนือ้ หาใน เรยี น (4) (10 ใบงาน คะแนน) (4) (2) เกณฑก ารประเมนิ ประเด็น 4 (ดีมาก) ระดับคณุ ภาพ 1 (ปรบั ปรุง) น้ําหนัก คะแนน การประเมนิ 3 (ดี) 2 (พอใช) รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได ตอบคําถามได ตอบคาํ ถาม ตอบคําถาม 1.0 4 คําถามในชน้ั เรยี น ถกู ตองท้ังหมด ถูกตองเปน ถูกตองบางสว น ไมถ ูกตอ ง 1.0 4 สวนใหญ สรุปความรูความ สรปุ ความรูเขา ใจ เขาใจเกยี่ วกับ เก่ียวกับเรอื่ งท่ี 2. การสรุปความรู สรุปความรู สรุปความรคู วาม เรือ่ งท่ีศกึ ษาได ศึกษาไมถูกตอง ถกู ตองบางสว น และไมค รบถว น ความเขา ใจ เขา ใจเกีย่ วกับ และไมครบถว น เก่ียวกับเรอื่ งที่ เร่ืองท่ีศกึ ษาได ศึกษาได ถูกตอ ง ถูกตอง แตไม และครบถว น ครบถว น

29 ประเดน็ ระดับคุณภาพ น้ําหนกั คะแนน การประเมนิ รวม 3. ความถกู ตอง 4 (ดีมาก) 3 (ดี) 2 (พอใช) 1 (ปรบั ปรุง) ครบถวนของ เน้ือหาท่ีเขยี นใน เนื้อหาในใบงาน เนื้อหาท่เี ขยี นใน เนอ้ื หาทเ่ี ขียนใน เน้อื หาทเ่ี ขียนใน ใบงานไมถูกตอ ง 1.0 2 ใบงานมีความ ใบงานมบี างสวน ใบงานมคี วาม ถูกตองครบถว น ไมถ ูกตอ ง ตามท่ี ถกู ตองเปน ตามท่ีกําหนด กาํ หนด สวนนอย เกณฑก ารตัดสิน คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี คะแนน 5 – 6 หมายถึง พอใช คะแนน 0 – 4 หมายถึง ปรับปรุง

30 แบบประเมินดานทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร แผนการจัดการเรยี นรูท ่ี 1 เรอื่ ง ความสัมพนั ธร ะหวา งส่ิงมชี ีวติ กบั สง่ิ มชี วี ติ ในแหลงทีอ่ ยู (1) ชือ่ กลุมรับการประเมนิ ………………………………………………………………………………………………………………………………… สง่ิ ท่ีประเมิน 3 คะแนน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน การสังเกต การลงความเห็นจากขอมูล รวมคะแนน ........................................................... คะแนน เกณฑการประเมนิ ระดับความสามารถ ทกั ษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) การสงั เกต สามารถใชป ระสาทสัมผสั สามารถใชป ระสาทสัมผัส สามารถใชป ระสาท การลงความเหน็ ในการสงั เกตเก่ียวกับ ในการสังเกตเก่ียวกับชนดิ สมั ผัสในการสงั เกต จากขอมลู ชนิดของสงิ่ มชี วี ติ และ ของสงิ่ มชี วี ติ และ เกี่ยวกบั ชนิดของ พฤติกรรมของส่งิ มีชวี ิตได พฤติกรรมของสิ่งมชี วี ิตได สิ่งมชี วี ติ และพฤติกรรม ดว ยตนเอง โดยอาศยั การชแี้ นะของครู ของสิง่ มชี ีวติ ไดบางสว น หรอื ผอู น่ื หรอื เพิม่ เติม แมจ ะไดรบั คําช้แี นะจาก ความเห็น ครูหรือผูอ่ืน สามารถใชขอมลู จากการ สามารถใชข อมูลจากการ สามารถใชข อมูลจากการ สงั เกตพฤติกรรมของ สงั เกตพฤติกรรมของ สังเกตพฤตกิ รรมของ ส่ิงมีชวี ิตและลงความเหน็ สงิ่ มีชีวิตและลงความเห็น สิ่งมีชวี ติ และลง เกีย่ วกับความสัมพนั ธ เก่ยี วกบั ความสมั พนั ธ ความเห็นเก่ียวกบั ระหวา งสิ่งมชี วี ิตกับ ระหวางสงิ่ มีชวี ติ กบั ความสมั พันธระหวาง สงิ่ มีชวี ิตในแหลง ทอ่ี ยูที่ สิ่งมีชีวิตในแหลงที่อยูที่ สิ่งมชี วี ติ กบั ส่งิ มชี ีวิตใน เลือกสาํ รวจไดอยา ง เลือกสํารวจไดอยา ง แหลง ท่ีอยทู ่ีเลอื กสาํ รวจ ถกู ตองไดดวยตนเอง ถกู ตองไดโ ดยอาศยั การ ไดอ ยา งถูกตองได

31 ทักษะกระบวนการ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ปรบั ปรงุ (1) ช้แี นะของครูหรือผูอนื่ หรือ บางสว นแมจ ะไดร บั คํา เพ่มิ เติมความเหน็ ชี้แนะจากครหู รือผอู นื่ เกณฑก ารตัดสิน คะแนน 5 - 6 หมายถงึ ดี คะแนน 3 - 4 หมายถึง พอใช คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรบั ปรุง แบบประเมินดา นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1 เร่อื ง ความสมั พนั ธระหวางสิ่งมชี ีวติ กบั สิ่งมชี วี ติ ในแหลงทีอ่ ยู (1) ผปู ระเมิน/กลุมประเมนิ .................................................................................................................................................. ชือ่ กลุมรับการประเมิน.................................................................................................................................................... ประเมินผลครั้งที.่ .............วนั ที.่ ..........เดอื น..................................................พ.ศ............................................................ เรอื่ ง................................................................................................................................................................................. ที่ ลักษณะ/พฤตกิ รรมบงช้ี ระดับพฤตกิ รรม คะแนนที่ได 1. มงุ มัน่ ในการทาํ งาน เกดิ = 3 ไมเกดิ = 0 รวมคะแนนทไี่ ดท ้งั หมด .............................................. คะแนน เกณฑก ารตัดสิน คะแนน 3 หมายถงึ ดี คะแนน 2 หมายถึง พอใช คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

32 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 2 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 รายวชิ าวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว 15101 หนวยการเรียนรูท ่ี 1 ชีวติ กับสงิ่ แวดลอม จํานวน 12 ช่ัวโมง แผนการเรียนรทู ่ี 2 เรอ่ื ง ความสมั พนั ธร ะหวา งสงิ่ มีชีวิตกับส่งิ มีชีวติ ในแหลงที่อยู (2) เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู / ตวั ชวี้ ัด มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบที่มี ตอ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรพั ยากรธรรมชาติและการ แกไ ขปญหาสิ่งแวดลอม รวมทงั้ นําความรไู ปใชป ระโยชน ตัวช้ีวัด ว 1.1 ป. 5/2 อธิบายความสมั พนั ธร ะหวางสง่ิ มีชวี ิตกบั ส่งิ มีชวี ิต และความสมั พนั ธร ะหวางส่ิงมชี วี ติ กับ สง่ิ ไมมีชีวติ เพือ่ ประโยชนต อการดาํ รงชวี ติ 2. สาระสําคัญ ส่งิ มชี ีวติ หลายชนิดที่อาศัยอยูในแหลง ท่อี ยูหนึ่ง ๆ มคี วามสัมพันธก ันในดานตาง ๆ 3. จุดประสงคการเรียนรู 3.1 ดานความรู ความเขาใจ (K) - อธิบายความสัมพันธร ะหวา งสิ่งมชี วี ิตกับส่ิงมีชวี ติ 3.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (P) - ลงความเหน็ จากขอมลู เก่ยี วกับความสมั พันธระหวางส่งิ มีชีวติ กับส่ิงมีชวี ิต 3.3 ดา นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา นยิ ม (A) - ใฝเรยี นรู 4. สาระการเรียนรู ส่ิงมีชีวิตชนิดตาง ๆ ที่อาศัยอยูในแหลงท่ีอยูเดียวกันจะมีความสัมพันธกันในดานตาง ๆ เชน การกินกันเปน อาหาร เปนท่อี ยอู าศัย เปน ท่ีสืบพนั ธุ เปนทเี่ ล้ียงดูลูกออน เปนท่หี ลบภัย

33 5. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร - บอกความสมั พันธระหวา งสิ่งมีชีวติ กับส่ิงมชี ีวิต 5.2 ความสามารถในการคิด - อธบิ ายความสัมพันธระหวา งสิ่งมีชีวิตกับสงิ่ มชี ีวติ ในดานตาง ๆ 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค - ใฝเรยี นรู 7. กิจกรรมการเรียนรู ขั้นนาํ เขาสบู ทเรียน (5 นาที) 1. ครกู ระตุน ความสนใจและทบทวนความรูท่ีไดเ รียนมาแลว ของนกั เรียน โดยนาํ รูปส่งิ มีชวี ิตทม่ี ีความสมั พันธ กันมาใหนักเรยี นรว มกันอภปิ ราย โดยใชค ําถามดงั น้ี 1.1 จากรปู นักเรยี นเคยเห็นสงิ่ มีชีวิตตาง ๆ นีห้ รอื ไม (นักเรยี นตอบตามประสบการณของตนเอง) 1.2 จากรูป สงิ่ มีชีวติ มคี วามสมั พันธกนั หรอื ไม อยางไร (มีความสัมพันธก ัน โดยกบมคี วามสัมพนั ธกับแมลง ในดา นของการกินเปน อาหาร นกมคี วามสมั พนั ธก บั ตน ไมใ นดา นการเปนท่เี ลย้ี งดลู ูกออน กบมี ความสัมพนั ธกับพชื นํา้ ในดานการเปน ทสี่ บื พันธุ กวางมคี วามสมั พันธกับปา ไมในดานการเปน ท่อี ยู อาศัย ปลาการต ูนมคี วามสมั พันธก ับดอกไมท ะเลในดานการเปน ทีห่ ลบภยั ) ขั้นสอน (40 นาที) 2. ครชู วนนักเรยี นอา นชือ่ กิจกรรมที่ 1 ส่ิงมชี วี ติ สัมพันธกนั อยา งไร และจดุ ประสงคขอ 2 หนา 3 แลว ทาํ ความเขา ใจจุดประสงคใ นการทํากจิ กรรม จากนั้นครใู ชคาํ ถามดังตอ ไปนี้ 2.1 นกั เรยี นจะเรยี นเรื่องอะไร (ความสมั พนั ธร ะหวางส่งิ มีชีวติ ในดานตา ง ๆ) 2.2 นกั เรยี นจะเรยี นดวยวิธีใด (รวบรวมขอ มลู ) 2.3 เมื่อเรียนแลวจะทําอะไรได (สรปุ ความสัมพนั ธระหวางส่งิ มชี ีวิตในดา นตาง ๆ)

34 3. ครูใหนกั เรยี นอา นวธิ ที าํ กจิ กรรมที่ 1 ขอ 2-3 หนา 3 โดยใชว ิธกี ารฝก การอานทีเ่ หมาะสม จากน้ัน ครตู รวจสอบความเขาใจในข้ันตอนการทํากจิ กรรม โดยใชค ําถามดังน้ี 3.1 นักเรยี นตอ งสังเกตอะไร (รปู บงึ นํ้าในหนา 6) 3.2 นกั เรยี นอภิปรายเกยี่ วกบั เรอื่ งอะไร (อภิปรายความสมั พนั ธร ะหวางสิ่งมชี วี ิตกับสิ่งมีชีวิตในรปู บึงนํ้าและ สรุปเกย่ี วกบั ความสมั พนั ธระหวางสิ่งมชี ีวติ กับส่งิ มีชีวติ ในดานตา ง ๆ ทีพ่ บในรูปบึงนาํ้ และท่ีพบจาก แหลง ท่ีอยทู ่ีไดช มวดิ ที ัศนใ นวิธีทาํ ขอที่ 1) 4. หลังจากทน่ี กั เรียนเขาใจข้ันตอนการทํากจิ กรรมแลว ใหนกั เรียนลงมือทํากจิ กรรมและบนั ทึกผลในใบงาน 01 หนา 7 5. ครูสุมนกั เรียนนําเสนอความสมั พนั ธระหวางสงิ่ มีชวี ิตกบั ส่ิงมชี ีวติ ในรปู บึงนํ้าในดา นตา ง ๆ และความสมั พันธ ระหวางสิ่งมชี ีวติ กับส่งิ มีชวี ิตที่พบในแหลงที่อยูท่ีไดชมวิดที ัศนในวธิ ที ําขอท่ี 1 หนา ช้ันเรยี น พรอมทงั้ ครใู ห ขอ เสนอแนะในสว นทนี่ กั เรยี นยงั ทาํ ไมถ ูกตอ ง 6. ครูใหน ักเรยี นรว มกันอภิปรายความสมั พันธร ะหวา งสงิ่ มชี ีวิตกับสง่ิ มชี ีวติ โดยใชค าํ ถามดังนี้ 6.1 จากรูปบึงนาํ้ และในวิดที ัศนส งิ่ มีชีวติ ใดบางที่มีความสัมพันธใ นดานการกนิ เปน อาหาร (ในรูปบงึ น้ํา ไดแก กบกับแมลง ปลาใหญก ับปลาเลก็ งูกบั กบ ในวดี ิทศั น เชน นกกบั แมลง) 6.2 จากรปู บงึ นา้ํ และในวดิ ีทัศนส่งิ มชี วี ิตใดบา งท่ีมีความสัมพนั ธในดา นการเปน ที่อยูอ าศัย (ในรปู บงึ นาํ้ ไดแก กบกับกอหญา กบกับบัว งูกบั ตน หญา เปด กบั กอหญา ในวดี ิทศั น เชน ตนไมกบั นก) 6.3 จากรูปบึงนา้ํ และในวดิ ีทัศน ส่ิงมีชีวติ ใดบา งท่ีมีความสัมพันธใ นดานการเปนท่ีหลบภัย (ในรปู บงึ น้ําไดแก กบกับกอหญา ลูกปลากับพืชนาํ้ ลกู เปดกบั กอหญา ในวีดิทัศน เชน ตน ไมกบั นก ปลากับพืชน้ํา) 6.4 จากรปู บงึ น้าํ และในวดิ ีทศั น สิ่งมีชวี ิตใดบา งทมี่ ีความสมั พนั ธในดานการเปนท่ีเล้ยี งลูกออน (ในรูปบงึ น้ํา ไดแก เปด กับกอหญา กบกบั บวั ในวีดทิ ศั น เชน ตนไมกับนก ปลากบั พืชน้าํ ) 6.5 จากรปู บึงนา้ํ และในวดิ ีทัศน สิง่ มีชวี ติ ใดบางท่ีมีความสัมพนั ธใ นดานการเปนท่ีสบื พนั ธุ (ในรูปบงึ นา้ํ ไดแ ก แมลงปอกับบวั ในวีดิทศั น เชน ตน ไมก บั นก) ข้นั สรปุ (5 นาที) 7. ครูเปดโอกาสใหนักเรยี นสรุปแนวคดิ หรือสงิ่ ที่ไดเรยี นรใู นชว่ั โมงนดี้ ว ยตนเองเก่ียวกับความสมั พันธระหวาง สิ่งมชี ีวติ กบั สง่ิ มชี ีวติ ในดานตา ง ๆ 8. ครใู หนกั เรียนรวมกนั อภิปรายและสรปุ ไดวา สิ่งมชี วี ติ ชนดิ ตา ง ๆ ทอ่ี าศัยอยูใ นแหลงที่อยเู ดยี วกนั จะมี ความสมั พนั ธก นั ในดานตา ง ๆ เชน การกินกนั เปนอาหาร เปนท่ีอยูอาศัย เปนทีส่ บื พันธุ เปน ทเ่ี ลย้ี งดู ลูกออ น เปนท่ีหลบภัย 8. สอ่ื การเรียนรู / แหลง เรียนรู 8.1 สไลดเรือ่ งความสมั พนั ธร ะหวางส่งิ มชี วี ิตกบั สงิ่ มีชีวติ ในแหลง ท่ีอยู (2) 8.2 ใบกิจกรรมท่ี 1 สงิ่ มีชีวติ สัมพนั ธก ันอยางไร หนา 3 8.3 ใบงาน 01 ความสัมพันธระหวา งสง่ิ มีชีวติ กับส่ิงมชี ีวิตในแหลงทอี่ ยู ตอนท่ี 1 หนา 6 -

35 9. ชน้ิ งาน / ภาระงาน 9.1 ใบงาน 01 เรื่อง ความสัมพันธร ะหวา งสิง่ มชี วี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ ในแหลง ท่ีอยู ตอนที่ 1 หนา 6 10. การวดั ผลและประเมินผล ประเดน็ การประเมนิ วธิ กี าร เคร่ืองมือ เกณฑก ารตัดสนิ คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก 1) อธบิ ายความสัมพนั ธ สงั เกตการตอบ แบบประเมินการ คะแนน 7 - 8 หมายถงึ ดี ระหวา งสิ่งมีชวี ติ ท่กี ับ คําถามในชนั้ เรยี น ตอบคําถามใน คะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช สง่ิ มชี ีวติ และเนือ้ หาในใบงาน ชนั้ เรียนและเน้ือหา คะแนน 0 – 4 หมายถงึ ปรับปรงุ ในใบงาน คะแนน 3 หมายถึง ดี 2) ทักษะกระบวนการ สังเกตทกั ษะ แบบประเมินสงั เกต คะแนน 2 หมายถึง พอใช ทางวิทยาศาสตร กระบวนการทาง ทกั ษะกระบวนการ คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรุง - ลงความเห็นจากขอมูล วทิ ยาศาสตร ทางวทิ ยาศาสตร เก่ยี วกบั ความสัมพันธ ในขณะทาํ กิจกรรม คะแนน 3 หมายถึง ดี ระหวา งส่งิ มชี ีวิตกบั แบบประเมิน คะแนน 2 หมายถึง พอใช สงิ่ มีชวี ติ สงั เกตดาน คณุ ลกั ษณะ คะแนน 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ 3) สังเกตพฤติกรรมการ คุณลักษณะ อนั พงึ ประสงค ใฝเ รยี นรู อันพงึ ประสงค

36 แบบประเมินการตอบคําถามในชัน้ เรียนและเนอื้ หาในใบงาน แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 2 เรือ่ งความสัมพันธระหวางสิ่งมีชวี ิตกบั สงิ่ มีชีวติ ในแหลงที่อยู (2) ชอ่ื ผูประเมนิ …………………………………………………………………………........................……………………………………….. ประเมนิ ผลครัง้ ท…่ี ……………….... วันที่ …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........ เรอ่ื ง………………………………………………………………......………………………………………………………………………………. รายการประเมิน/ระดบั คะแนน ชื่อ-สกุล/กลุม การตอบคําถาม การสรปุ ความรู ความถกู ตอ ง รวม ในช้นั เรียน (4) ครบถว นของ คะแนน เนอ้ื หาในใบงาน (4) (10 คะแนน) (2) เกณฑก ารประเมิน ประเด็น 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรงุ ) นํา้ หนัก คะแนน การประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช) รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได ตอบคาํ ถามได ตอบคาํ ถาม ตอบคาํ ถาม 1.0 4 คําถามในช้ันเรียน ถกู ตองทง้ั หมด ถกู ตองเปน ถกู ตองบางสว น ไมถ ูกตอ ง 1.0 4 สวนใหญ สรุปความรูความ สรปุ ความรเู ขาใจ 1.0 2 2. การสรปุ ความรู สรุปความรู สรปุ ความรคู วาม เขาใจเก่ยี วกับ เกย่ี วกับเรื่องที่ ความเขาใจ เขาใจเกี่ยวกับ เรอื่ งที่ศกึ ษาได ศึกษาไมถูกตอง เกี่ยวกบั เรอ่ื งที่ เร่อื งที่ศกึ ษาได ถกู ตองบางสว น และไมค รบถว น ศกึ ษาได ถูกตอ ง ถกู ตอง แตไม และไมค รบถว น และครบถว น ครบถวน เน้อื หาท่เี ขยี นใน เนอ้ื หาท่เี ขียนใน ใบงานมีความ ใบงานไมถกู ตอง 3. ความถูกตอง เนอ้ื หาทเี่ ขยี นใน เน้อื หาที่เขยี นใน ถกู ตองเปน ครบถว นของ ใบงานมคี วาม ใบงานมบี างสวน สวนนอ ย เนือ้ หาในใบงาน ถูกตองครบถว น ไมถ ูกตอง ตามที่ ตามท่กี ําหนด กาํ หนด

37 เกณฑก ารตดั สิน คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี คะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช คะแนน 0 – 4 หมายถึง ปรบั ปรุง

38 แบบประเมินดานทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 2 เรื่อง ความสมั พนั ธระหวา งส่ิงมชี ีวติ กบั ส่ิงมชี ีวิตในแหลงที่อยู (2) ชือ่ กลุมรบั การประเมิน………………………………………………………………………………………………………………………………… สง่ิ ท่ปี ระเมนิ 3 คะแนน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน การลงความเหน็ จากขอมูล รวมคะแนน ........................................................... คะแนน เกณฑการประเมิน ทักษะกระบวนการ ระดับความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) การลงความเหน็ จาก สามารถใชขอมลู จากการ สามารถใชขอมูลจากการ สามารถใชขอมูลจากการ ขอมลู สงั เกตพฤตกิ รรมของ สงั เกตพฤติกรรมของ สงั เกตพฤติกรรมของ สงิ่ มีชีวติ และลงความเหน็ สงิ่ มีชีวิตและลงความเหน็ ส่งิ มีชวี ติ และลง เก่ียวกับความสมั พนั ธ เกย่ี วกบั ความสมั พนั ธ ความเห็นเกย่ี วกับ ระหวา งส่งิ มชี ีวิตกับ ระหวา งสง่ิ มีชวี ติ กบั ความสมั พันธระหวา ง สง่ิ มีชวี ติ ในแหลงท่อี ยูที่ สงิ่ มชี วี ิตในแหลงท่ีอยูที่ สิง่ มีชีวิตกับส่ิงมีชวี ติ ใน เลอื กสาํ รวจไดอยา ง เลอื กสํารวจไดอยาง แหลงทอ่ี ยูท่ีเลือกสํารวจ ถูกตองไดดวยตนเอง ถูกตองไดโดยอาศัยการ ไดอยา งถกู ตอ งได ช้ีแนะของครหู รือผูอ น่ื หรือ บางสว นแมจ ะไดร ับคํา เพิ่มเติมความเหน็ ชแี้ นะจากครูหรือผอู น่ื เกณฑก ารตดั สนิ คะแนน 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 หมายถงึ พอใช คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรงุ

39 แบบประเมินดานคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 2 เรื่อง ความสมั พันธร ะหวางส่ิงมชี ีวติ กบั สงิ่ มชี ีวติ ในแหลงทอ่ี ยู (2) ผูป ระเมิน/กลุมประเมนิ .................................................................................................................................................. ชือ่ กลุมรับการประเมนิ .................................................................................................................................................... ประเมนิ ผลคร้ังที.่ .................. วันท่.ี .................เดือน..................................................พ.ศ.............................................. เรอ่ื ง................................................................................................................................................................................. ท่ี ลกั ษณะ/พฤตกิ รรมบงช้ี ระดบั พฤตกิ รรม คะแนนทีไ่ ด 1. ใฝเ รยี นรู เกดิ = 1 ไมเกดิ = 0 รวมคะแนนทีไ่ ดทั้งหมด .............................................. คะแนน เกณฑก ารตัดสนิ คะแนน 3 หมายถึง ดี คะแนน 2 หมายถึง พอใช คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรุง

40 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 3 กลุมสาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 รายวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว 15101 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 ชีวติ กับสง่ิ แวดลอม จํานวน 12 ช่ัวโมง แผนการเรียนรูที่ 3 เร่ือง ความสมั พนั ธร ะหวางสิง่ มีชีวติ กับสง่ิ มชี ีวติ ในแหลง ที่อยู (3) เวลา 1 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู / ตัวชี้วัด มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมี ตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ การแกไขปญ หาส่งิ แวดลอ ม รวมทงั้ นาํ ความรูไปใชป ระโยชน ตัวช้ีวดั ว 1.1 ป. 5/2 อธิบายความสมั พนั ธร ะหวางสงิ่ มีชวี ติ กบั สงิ่ มีชวี ติ และความสมั พนั ธร ะหวางสิง่ มีชีวติ กับ สงิ่ ไมม ชี ีวิตเพอื่ ประโยชนตอ การดํารงชีวติ 2. สาระสําคัญ ส่งิ มชี ีวติ หลายชนิดท่ีอาศัยอยูในแหลงที่อยหู น่ึง ๆ มีความสัมพันธกนั ในดานตาง ๆ 3. จดุ ประสงคการเรยี นรู 3.1 ดานความรู ความเขาใจ (K) - อธบิ ายความสมั พันธร ะหวา งสง่ิ มีชวี ติ กบั สิง่ มชี วี ติ 3.2 ดานทกั ษะกระบวนการ (P) - จดั กระทําและสอ่ื ความหมายขอมลู ในรูปของผงั แนวคดิ เร่ืองความสมั พนั ธร ะหวางสง่ิ มีชีวิตกับสิ่งมชี ีวิต - ตคี วามหมายขอมูลและลงขอสรปุ เกี่ยวกับความสมั พนั ธระหวางสิ่งมีชวี ติ กับสง่ิ มชี ีวิตในแหลงท่อี ยู 3.3 ดา นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คานยิ ม (A) - ใฝเ รยี นรู 4. สาระการเรยี นรู สิ่งมชี วี ติ มคี วามสัมพนั ธกันในดานตาง ๆ เชน การกนิ กันเปนอาหาร เปน ท่อี ยูอาศัย เปนท่ีสบื พนั ธุ เปนทเ่ี ล้ียงดู ลกู ออน เปน ท่หี ลบภัย

41 5. สมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน 5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร - เขยี นผงั แนวคดิ ความสัมพันธร ะหวางส่ิงมชี วี ิตกบั สงิ่ มีชีวิตในแหลงที่อยู 5.2 ความสามารถในการคิด - อธบิ ายความสมั พนั ธระหวางส่งิ มชี ีวิตกบั ส่ิงมีชวี ติ ในแหลงที่อยู 6. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค - ใฝเ รยี นรู 7. กิจกรรมการเรยี นรู ขนั้ นาํ เขา สูบ ทเรียน (5 นาที) 1. ครูทบทวนความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยนํารูปบึงน้ํามาใหนักเรียนสังเกต และต้ังคําถาม วา ในแหลง ที่อยนู ้ี ส่งิ มชี ีวติ มีความสมั พนั ธก ับส่งิ มีชวี ติ อยา งไรบา ง (- กบกบั แมลง ปลาใหญก บั ปลาเลก็ งกู ับกบ มีความสัมพนั ธด า นการกนิ กนั เปน อาหาร - กบกบั กอหญา กบกับบวั งกู ับตน หญา เปดกับกอหญา มคี วามสมั พนั ธดา นการเปนทีอ่ ยูอ าศัย - กบกับกอหญา ลูกปลากบั พืชน้าํ ลูกเปดกับกอหญา มีความสัมพนั ธการเปนที่หลบภัย - เปด กับกอหญา กบกับบัว มีความสัมพันธใ นดานการเปน ทเ่ี ลีย้ งลูกออ น) ข้นั สอน (40 นาที) 2. ครแู จง จุดประสงคใ นชั่วโมงนีใ้ หน กั เรียนทราบวา นักเรยี นจะไดส รุปความสัมพันธระหวา งสง มชี วี ิตกบั สิ่งมีชวี ติ ในแหลง ทอี่ ยู 3. ครใู หน ักเรียนอา นวธิ กี ารทาํ กจิ กรรมที่ 1 สงิ่ มีชีวติ สมั พันธกนั อยางไร ขอ ท่ี 4 หนา 3 โดยใชวิธกี ารฝกการ อานท่เี หมาะสม จากน้นั ครูตรวจสอบความเขา ใจในขน้ั ตอนการทาํ กจิ กรรม โดยใชค ําถามวา นกั เรียนตอ งทํา อะไร (เขียนผังแนวคิดสรุปความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในดานตาง ๆ ที่พบในแหลงท่ีอยูที่ได เรยี นมาทั้งหมด)

42 4. หลงั จากนักเรียนเขา ใจขั้นตอนการทาํ กจิ กรรมแลว ครอู าจอธิบายวิธกี ารเขยี นและยกตวั อยางการเขียน ผังแนวคดิ ใหน กั เรยี นเขาใจ หลงั จากนัน้ ใหน กั เรียนเขยี นผงั แนวคิดสรุปความสมั พันธร ะหวางสิง่ มชี ีวิต กบั สง่ิ มีชีวิตในแหลง ทอี่ ยูต าง ๆ ลงในใบงาน 01 หนา 8 5. ครูสุมนักเรยี นนําเสนอหนา ชนั้ เรียน แลว อธบิ ายเพม่ิ เตมิ หรอื เสนอแนะเม่อื นกั เรยี นบันทึกไมถกู ตอง 6. ครชู วนนักเรยี นอภิปรายโดยใชค ําถามตอไปน้ี 6.1 สิง่ มชี ีวิตหน่ึงมคี วามสัมพนั ธกนั กบั สิ่งมีชวี ติ อื่นดานเดียวหรือไม อยางไร ยกตวั อยาง (ไม เพราะสง่ิ มีชีวิต หน่ึงอาจมคี วามสมั พันธกบั สง่ิ มีชวี ติ อ่ืนหลายดา น เชน นกทอ่ี ยบู นตนไมมคี วามสัมพนั ธใ นดานการเปน ทีอ่ ยอู าศัย การกนิ กันเปน อาหาร เปน ทส่ี ืบพันธุ เปนที่เลยี้ งดูลูกออ น เปนที่หลบภยั ) 6.2 ในแหลงที่อยูหน่ึง ๆ ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธกันในดานตาง ๆ เพราะเหตุใด (เพราะสิ่งมีชีวิตอาศัย สิง่ มชี วี ติ อ่นื ในการดาํ รงชวี ติ ) 7. นกั เรียนตอบคําถามหลงั จากการทํากจิ กรรมหนา 9 และรว มกนั เฉลยคาํ ตอบ 8. ครูใหน ักเรียนทําใบงาน 02 แบบฝก หดั เรอ่ื ง ส่ิงมชี ีวติ มคี วามสัมพันธก บั สิง่ มีชีวติ หนา 10-13 ขัน้ สรปุ (5 นาที) 9. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปไดวาสิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธกันในดานตาง ๆ เชน การกินกันเปน อาหาร เปนทอ่ี ยอู าศัย เปน ที่สบื พันธุ เปน ท่เี ล้ียงดลู ูกออ น เปนที่หลบภัย 8. ส่ือการเรียนรู / แหลง เรียนรู 8.1 ส่ือสไลดเ ร่ืองความสมั พนั ธระหวางส่ิงมีชวี ิตกับส่ิงมชี วี ติ ในแหลงท่อี ยู (3) 8.2 ใบกจิ กรรมที่ 1 สง่ิ มชี ีวิตสัมพันธก ันอยางไร หนา 3 8.3 ใบงาน 01 ความสัมพันธระหวา งส่ิงมชี ีวิตกับส่งิ มชี ีวติ ในแหลง ทีอ่ ยู หนา 8-9 8.4 ใบงาน 02 แบบฝกหัด เรอื่ งสงิ่ มีชวี ิตมคี วามสมั พันธกบั สงิ่ มชี วี ิต หนา 10-11 9. ชนิ้ งาน / ภาระงาน 9.1 ใบงาน 01 ความสัมพันธระหวา งส่ิงมชี ีวติ กบั สงิ่ มีชีวิตในแหลงท่ีอยู หนา 8-9 9.2 ใบงาน 02 แบบฝกหัด เรื่องสงิ่ มีชวี ิตมคี วามสัมพันธกบั ส่งิ มชี ีวิต หนา 10-11

43 10. การวัดผลและประเมินผล ประเด็นการประเมนิ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก ารตัดสิน 1) สรปุ ความสัมพนั ธร ะหวา ง สงั เกตการตอบ แบบประเมนิ การตอบ คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดมี าก สง่ิ มีชวี ิตทีก่ ับส่ิงมชี ีวติ คาํ ถามในชน้ั เรียน คาํ ถามในชั้นเรียนและ คะแนน 7 - 8 หมายถึง ดี และเนอื้ หาในใบงาน เนอ้ื หาในใบงาน คะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช คะแนน 0 – 4 หมายถึง ปรับปรงุ 2) ทักษะกระบวนการ สังเกตทกั ษะ แบบประเมนิ สังเกต คะแนน 5 - 6 หมายถึง ดี ทักษะกระบวนการ คะแนน 3 - 4 หมายถงึ พอใช ทางวทิ ยาศาสตร กระบวนการทาง ทางวทิ ยาศาสตร คะแนน 1 - 2 หมายถึง ปรับปรงุ - จัดกระทาํ และสื่อ วทิ ยาศาสตรในขณะ แบบประเมนิ คะแนน 3 หมายถึง ดี คณุ ลักษณะ คะแนน 2 หมายถึง พอใช ความหมายขอมูลในรูปของผงั ทํากจิ กรรม อนั พงึ ประสงค คะแนน 1 หมายถงึ ปรับปรุง แนวคดิ เรอ่ื ง ความสัมพนั ธ ระหวางสงิ่ มชี วี ิตกับสิ่งมีชีวติ - ตคี วามหมายขอมลู และลง ขอ สรุปเกี่ยวกับความสัมพนั ธ ระหวางสิ่งมีชวี ติ กบั สง่ิ มชี วี ติ 3) สงั เกตพฤติกรรมการ ใฝ สังเกตดาน เรียนรู คุณลกั ษณะ อันพงึ ประสงค

44 แบบประเมนิ การตอบคําถามในช้ันเรยี นและเนื้อหาในใบงาน แผนการจดั การเรียนรูที่ 3 เร่อื ง ความสัมพันธร ะหวางส่งิ มชี วี ิตกับสิ่งมีชีวิตในแหลง ที่อยู (3) ชื่อผปู ระเมนิ …………………………………………………………………………........................……………………………………….. ประเมนิ ผลครัง้ ท่ี………………….... วันที่ …………….........……... เดือน ………..……….…. พ.ศ. ……...….…………........ เรอ่ื ง………………………………………………………………......………………………………………………………………………………. ช่อื -สกุล/กลุม รายการประเมิน/ระดับคะแนน รวม การตอบคาํ ถาม การสรปุ ความรู ความถกู ตอง คะแนน ในชน้ั เรยี น (4) ครบถวนของ (10 (4) เนอ้ื หาในใบงาน คะแนน) (2) เกณฑการประเมนิ ประเด็น 4 (ดีมาก) ระดับคุณภาพ 1 (ปรบั ปรุง) นํา้ หนกั คะแนน การประเมิน 3 (ดี) 2 (พอใช) รวม 1. การตอบ ตอบคําถามได ตอบคําถามได ตอบคําถาม ตอบคําถาม 1.0 4 คาํ ถามในช้นั เรียน ถูกตองทง้ั หมด ถกู ตองเปน ถกู ตองบางสว น ไมถ ูกตอ ง 1.0 4 สว นใหญ สรปุ ความรคู วาม สรุปความรูเขาใจ 1.0 2 2. การสรปุ ความรู สรุปความรู สรุปความรูความ เขา ใจเก่ียวกับ เกีย่ วกับเรือ่ งท่ี ความเขา ใจ เขาใจเกยี่ วกับ เรือ่ งที่ศึกษาได ศึกษาไมถกู ตอง เกี่ยวกบั เรื่องที่ เรอ่ื งท่ีศกึ ษาได ถกู ตองบางสว น และไมครบถว น ศกึ ษาได ถูกตอ ง ถูกตอง แตไม และไมค รบถว น และครบถว น ครบถว น เน้อื หาท่ีเขียนใน เนอ้ื หาทเ่ี ขยี นใน ใบงานมีความ ใบงานไมถ ูกตอง 3. ความถกู ตอง เนอ้ื หาที่เขียนใน เน้อื หาท่เี ขียนใน ถูกตองเปน ครบถว นของ ใบงานมีความ ใบงานมบี างสว น สวนนอ ย เนอ้ื หาในใบงาน ถกู ตองครบถวน ไมถ ูกตอ ง ตามที่ ตามท่ีกําหนด กาํ หนด

45 เกณฑก ารตัดสิน คะแนน 9 - 10 หมายถึง ดีมาก คะแนน 7 - 8 หมายถงึ ดี คะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช คะแนน 0 – 4 หมายถึง ปรบั ปรุง แบบประเมินดา นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 3 เร่อื ง ความสัมพันธร ะหวา งสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชวี ิตในแหลงทีอ่ ยู (3) ช่ือกลุมรบั การประเมนิ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ส่ิงทป่ี ระเมนิ 3 คะแนน คะแนน 1 คะแนน 2 คะแนน การจัดกระทาํ และส่อื ความหมายขอ มลู การตีความหมายขอมูลและลงขอ สรุป รวมคะแนน ........................................................... คะแนน เกณฑการประเมิน ระดับความสามารถ ทกั ษะกระบวนการ ดี (3) พอใช (2) ปรับปรุง (1) ทางวิทยาศาสตร สามารถนาํ ขอมลู ที่ไดจ าก สามารถนาํ ขอมลู ที่ไดจ าก สามารถนําขอมูลท่ีไดจ าก การจัดกระทาํ และสือ่ การสังเกตและการ การสงั เกตและการอภิปราย การสงั เกตและการ ความหมายขอมลู อภปิ รายจากแผนผัง จากแผนผงั แนวคดิ เกีย่ วกับ อภปิ รายจากแผนผัง แนวคิดเก่ียวกับ สง่ิ มีชีวติ มคี วามสัมพันธกับ แนวคดิ เกย่ี วกับ สงิ่ มีชวี ิตมีความสัมพนั ธ ส่ิงมีชีวิตในดานตางๆให ส่ิงมีชีวิตมีความสัมพันธ กับส่งิ มีชีวิตในดานตา งๆ ผู อ่ื น เ ข า ใ จ ไ ด ง า ย แ ล ะ กับสิ่งมีชีวิตในดานตางๆ ใหผูอ่ืนเขาใจไดงายและ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook