Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการเขียนโปรแกรม

หลักการเขียนโปรแกรม

Published by ปิยนันท์ กั่วพานิช, 2021-07-20 02:59:30

Description: หลักการเขียนโปรแกรม

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ หลักการเขยี นโปรแกรม PREPARED BY PRESENTED BY Sophia Phillips Joseph Langdon Matthew Smith

บ ความรเู้ บ้ืองต้นเกยี่ ว

บทที่ 1 วกับการเขยี นโปรแกรม

ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรม การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ ห้ทางานได้ตาม วา่ จะให้โปรแกรมทาอะไร มีข้อมูลอะไรทต่ี ้องให โปรแกรมรวมทง้ั รูปแบบการแสดงผลด้วย โดยท ขนั้ ตอนการเขียนโปรแกรมออกได้เป็น 7 ขั้นตอ

มทีเ่ ราตอ้ งการน้ัน ผ้เู ขียนโปรแกรมจะตอ้ งรู้ หโ้ ปรแกรมทาบา้ ง และต้องการอะไรจาก ทว่ั ไปแลว้ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมแบ่ง อน ดังนี้

ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรม ขัน้ ตอนที่ 1 ขน้ั ตอนการวเิ คราะห์ปญั หา (Ana ขน้ั ตอนนีเ้ ป็นข้ันตอนแรกสดุ ทน่ี กั เขยี นโปรแก เพื่อทาความเข้าใจกับปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ และคน้ หาจุดมุ่งห อยู่ 3 องค์ประกอบท่จี ะช่วยในการวเิ คราะห์ปัญหา ได้แ 1. การระบขุ อ้ มลู เข้า (Input) ต้องรวู้ า่ มขี ้อมูล โปรแกรม เพื่อใหโ้ ปรแกรมทาการประมวลผลและออกผ 2. การระบุข้อมูลออก (Output) จะพจิ ารณา ผลลัพธท์ ี่มรี ปู ร่างหน้าตาเป็นอย่างไร โดยจะต้องคานึงถ 3. กาหนดวิธกี ารประมวลผล (Process) ตอ้ งร

alysis the problem) กรมจะตอ้ งทาก่อนทจี่ ะลงมอื เขียน โปรแกรมจรงิ ๆ หมายหรอื สงิ่ ที่ต้องการ ในขั้นตอนน้จี ะมีองค์ประกอบ แก่ ลอะไรบา้ งที่จะต้องปอ้ นเขา้ สคู่ อมพิวเตอรพ์ ร้อมกับ ผลลพั ธ์ าว่างานทท่ี ามเี ป้าหมายหรอื วัตถุประสงคอ์ ะไร ต้องการ ถงึ ผู้ใช้เปน็ หลกั ในการออกแบบผลลพั ธ์ รวู้ ธิ ีการประมวลผลเพอื่ ใหไ้ ด้ผลลพั ธต์ ามที่ตอ้ งการ

ขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม ขั้นตอนที่ 2 ขน้ั ตอนการออกแบบโปรแกรม (D หลังจากวิเคราะหป์ ัญหาแล้ว ขั้นตอนถดั ไปคือ ก ในการออกแบบ ในขน้ั ตอนนี้ยงั ไมไ่ ดเ้ ป็นการเขีย โปรแกรมทาได้งา่ ยข้ึน โดยสามารถเขยี นตามขน้ั ต การเขียนโปรแกรมมีข้อผดิ พลาดนอ้ ยลง ชว่ ยตรว ขน้ั ตอนการทางานของโปรแกรมได้อยา่ งรวดเรว็ ถ้าเปรียบเทียบการเขยี นโปรแกรมเหมือนกบั การ โปรแกรมน้ี กเ็ ปรียบเหมือนการสร้างแปลนบา้ นล อาศัยแปลนบา้ นน้เี ป็นต้นแบบในการสรา้ งนัน่ เอง

Design a Program) การออกแบบโปรแกรม โดยใช้เคร่ืองมือมาช่วย ยนโปรแกรมจริง ๆ แต่จะชว่ ยใหก้ ารเขยี น ตอนท่ีไดอ้ อกแบบไวใ้ นข้ันตอนนี้ และชว่ ยให้ วจสอบการทางานของโปรแกรม ทาใหท้ ราบ โดยไม่ตอ้ งไปไลด่ จู ากตัวโปรแกรมจริง ๆ ซึ่ง รสร้างบา้ นแล้ว ในข้นั ตอนการออกแบบ ลงในกระดาษไว้ ซึง่ ในการสรา้ งบา้ นจรงิ กจ็ ะ ง

ขนั้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม ขน้ั ตอนที่ 3 ข้ันตอนการเขียนโปรแกรม (Cod ในข้ันตอนนี้ จะเปน็ การนาเคร่อื งมือท่ีถูกสร้างข้ึน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซ่ึงในการสร้างโปรแกรมค หลายภาษา แตล่ ะภาษาจะมรี ปู แบบ โครงสร้าง ดงั นั้น การเขียนโปรแกรมทดี่ ีน้ัน ควรจะตอ้ งทาต ก่อน แล้วทาการออกแบบโปรแกรมจึงจะเริม่ เขีย สาหรบั ผู้ท่ยี งั ไม่มีประสบการณก์ ารเขียนโปรแกร ก่อน แลว้ ตรวจสอบจนแนใ่ จว่าสามารถทางานได เพื่อเปน็ การประหยดั เวลาและทาให้สามารถทาง

ding) นจากข้นั ตอนการออกแบบมาแปลให้เป็น คอมพวิ เตอรน์ ้นั เราสามารถเลอื กใช้ภาษาได้ หรือไวยากรณข์ องภาษาทีแ่ ตกตา่ งกันออกไป ตามข้นั ตอนคือ เรมิ่ ต้ังแตว่ เิ คราะหป์ ญั หาให้ได้ ยนโปรแกรม ซึง่ ในการเขียนโปรแกรมนัน้ รมเพียงพอ ก็ควรจะทดลองเขยี นลงในกระดาษ ดแ้ ลว้ จึงทาการป้อนเขา้ สเู่ ครอ่ื งคอมพิวเตอร์ งานไดเ้ รว็ ขึ้น

ข้ันตอนการพฒั นาโปรแกรม ขน้ั ตอนที่ 4 ขน้ั ตอนการตรวจสอบข้อผิดพลา หลังจากท่ที าการเขียนโปรแกรมเสรจ็ สนิ้ แลว้ โป ข้อผดิ พลาด (error) ในโปรแกรมหรอื ไม่ ซ่ึงอาจเ ของภาษาเป็นต้น โดยทัว่ ไปจะมีวธิ ที จี่ ะตรวจสอบ 1. ตรวจสอบด้วยตนเอง (Self Checking) 2. ตรวจสอบดว้ ยการแปลภาษา (Translatin

าดของโปรแกรม (Testing and Debugging) ปรแกรมนัน้ จะตอ้ งได้รบั การตรวจสอบกอ่ นว่า มี เกิดจากการเขยี นโปรแกรมทีผ่ ดิ หลักไวยากรณ์ บขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรม 2 ขั้นตอน ดงั น้ี ng)

ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ขนั้ ตอนท่ี 5 ขนั้ ตอนการทดสอบความถกู ตอ้ ง ในบางคร้ัง โปรแกรมอาจผา่ นการแปล โดยไม่มีข นัน้ ไปใชง้ าน ปรากฏว่าไดผ้ ลลพั ธ์ทไี่ ม่เปน็ จรงิ เน จะต้องมีขัน้ ตอนการทดสอบความถกู ตอ้ งของโปร ข้อมูล

งของโปรแกรม (Testing and Validating) ข้อผดิ พลาดใด ๆ แจ้งออกมา แตเ่ ม่อื นาโปรแกรม นื่องจากอาจเกดิ ขอ้ ผิดพลาดขึ้นได้ ดงั นั้นจงึ ควร รแกรมอกี ทดี ว้ ยในการทดสอบความถกู ต้องของ

ข้ันตอนการพฒั นาโปรแกรม ขน้ั ตอนที่ 6 ข้ันตอนการทาเอกสารประกอบโป การทาเอกสารประกอบโปรแกรม คอื การอธบิ าย โปรแกรมคอื อะไร สามารถทางานอะไรไดบ้ า้ ง แล เครอื่ งมอื ท่ชี ว่ ยในการออกแบบโปรแกรมเชน่ ผัง เป็นเอกสารประกอบโปรแกรมไดโ้ ปรแกรมเมอรท์ ขัน้ ตอนของการพัฒนาโปรแกรม ไมว่ า่ จะเปน็ ข้ัน ขั้นตอนการทดสอบโปรแกรม

ปรแกรม (Documentation) ยรายละเอยี ดของโปรแกรมว่า จดุ ประสงคข์ อง ละมีขั้นตอนการทางานของโปรแกรมเป็นอย่างไร งงาน หรอื รหสั จาลอง กส็ ามารถนามาประกอบกนั ทด่ี ี ควรมีการทาเอกสารประกอบโปรแกรม ทุก นตอนการออกแบบ การเขยี นโปรแกรม หรือ

ขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรม ขั้นตอนท่ี 7 ขั้นตอนการบารงุ รกั ษาโปรแกรม เมือ่ โปรแกรมผ่านการตรวจสอบตามข้ันตอนเรยี บ แรกผู้ใชอ้ าจจะยงั ไม่คนุ้ เคยก็อาจทาใหเ้ กิดปัญหา และตรวจสอบการทางาน การบารงุ รักษาโปรแก เฝา้ ดแู ลและหา ข้อผดิ พลาดของโปรแกรมในระห โปรแกรมเมื่อเกดิ ขอ้ ผิดพลาดขน้ึ หรือในการใช้งา เปลย่ี นแปลงการทางานของระบบเดิมเพื่อให้เหม หน้าตาของรายงาน มีการเพม่ิ เตมิ ข้อมูลหรอื ลบข ปรบั ปรงุ แกไ้ ขโปรแกรมตามความตอ้ งการของผ

(Program Maintenance) บรอ้ ยแลว้ และถกู นามาใหผ้ ้ใู ช้ไดใ้ ช้งาน ในชว่ ง าขน้ึ มาบ้าง ดงั นนั้ จึงต้องมผี ู้คอยควบคุมดแู ล กรมจึงเป็นขัน้ ตอนท่ีผเู้ ขยี นโปรแกรมตอ้ งคอย หว่างทผ่ี ใู้ ชใ้ ช้งานโปรแกรมและปรับปรุงแก้ไข านโปรแกรมไปนาน ๆ ผู้ใชอ้ าจตอ้ งการ มาะกับเหตุการณ์ เช่น ตอ้ งการเปลี่ยนแปลง ขอ้ มูลเดมิ นักเขยี นโปรแกรมกจ็ ะตอ้ งคอย ผู้ใชท้ เ่ี ปลยี่ นแปลงไปน้ัน

วิทยาลัยเทคโนโลยีวชิราโปลีสงขลา หลักการเขยี นโปรแกรม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook