Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือติวสังคมโอเน็ต ม.6

หนังสือติวสังคมโอเน็ต ม.6

Published by jewly0014, 2019-01-30 11:25:27

Description: หนังสือติวสังคมโอเน็ต ม.6
จัดทำโดย นายนริศ จันทร์สะอาด ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนเวียงสระ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
สงวนลิขสิทธิ์
ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2,ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558

Keywords: หนังสือติวโอเน็ตสังคม

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม เพื่อเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ ั้นพ้นื ฐานสอบ O-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 1 เพอื่ เตรียมความพร้อมทดสอบระดบั ชาติขัน้ พื้นฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 สาระการเรียนรูท้ ี่ 1 ศาสนา ศาสนา หมายถึง ลัทธิความเชื่อ ของมนุษย์อันมีหลักคือแสดงกาเนิด และความส้ินสุดของโลก ความสาคัญของการนับถอื ศาสนา 1) ทาให้คนปกครองตนเองไดใ้ นทกุ สถาน เพราะมีหลักธรรมช่วยพัฒนาจติ ใจให้รู้จกั ควบคุม กาย วาจา ใจ ใหป้ ราศจากการประทษุ รา้ ยเบียดเบียนกนั (2) เป็นภูมิปัญญาระดับสูงทางความคิดและมโนธรรมอันลึกซ้ึงที่นาชีวิตไปสู่จุดหมาย ปลายทางคือ สนั ตสิ ุข (3) เป็นสิ่งยึดเหน่ียวจิตใจของมนุษย์ในการดาเนินชีวิต เมื่อมีปัญหาใด ๆ มากระทบใจ ศาสนาเป็นท่พี ่ึงพาใจใหม้ นุษยไ์ ด้ (4) ศาสนาเป็นบ่อเกดิ ของวฒั นธรรมของสังคม ไดแ้ ก่ คติธรรม เนติธรรม สหธรรมและวัตถุ ธรรม สิ่งเหล่านี้สะท้อนใหเ้ ห็นคณุ ภาพจิตใจท่ีดงี ามของมนษุ ย์ ศาสนาเป็นส่ิงทีอ่ ยู่คูก่ บั สังคมท่ีมีววิ ฒั นาการ ไม่ใช่สงั คมป่าเถอ่ื น เพราะหลักสาคัญที่สดุ ทศ่ี าสนาช่วย ทาให้สงั คมสงบร่มเยน็ คือ ศาสนาทุกศาสนามงุ่ เนน้ การทาความดี องค์ประกอบของศาสนา 1. ศาสดา คอื ผกู้ อ่ ต้ังศาสนา เชน่ พระพุทธศาสนามีพระพุทธเจ้า ศาสนาคริสต์มพี ระเยซู 2. ศาสนธรรม คอื ผลงานแต่ละศาสนาเกี่ยวกับการดารงชวี ติ /จดุ มุง่ หมายของชีวิต 3. ศาสนบุคคล คอื ผสู้ ืบทอดศาสนาผู้ทาหน้าท่แี ทนศาสนา เช่น พระสงฆ์ นักบวช บาทหลวง 4. ศาสนสถาน คอื สถานท่ปี ระกอบพธิ กี รรม เช่น พระพุทธศาสนามีวดั ศาสนาคริสต์มโี บสถ์ 5. พิธกี รรม คือ การปฎิบัตพิ ิธีกรรมตา่ ง ๆ เชน่ ศาสนาคริสตม์ พี ิธีการลา้ งบาป 6. สญั ลักษณ์ คือ เคร่อื งหมายแทนศาสนานนั้ ๆ เชน่ ศาสนาคริสตม์ ีไม้กางเขนเปน็ สญั ลกั ษณ์ 7. ศาสนกิ ชน คอื ผ้นู บั ถอื ศาสนาน้ัน เชน่ พุทธศาสนิกชน คริสตศาสนิกชน  ศาสนาไมจ่ าเป็นตอ้ งมอี งคป์ ระกอบครบท้ัง 6 ประการ พราหมณ์-ฮนิ ดู อสิ ลามไมม่ นี ักบวช  องค์ประกอบสาคญั ที่ทุกศาสนาตอ้ งมี คอื ศาสนาธรรมและศาสนพิธี ประเภทของศาสนา เทวนิยม คือ ศาสนาทน่ี บั ถอื พระเจ้า เช่ือวา่ พระเจา้ เปน็ ผสู้ รา้ งทุกสรรพส่ิง  เอกเทวนยิ ม : นบั ถือพระเจ้าองค์เดยี ว เชน่ ศาสนาครสิ ต์ ศาสนาอิสลาม  พหเุ ทวนิยม : นบั ถือพระเจ้าหลายองค์ เช่น ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู อเทวนิยม : ศาสนาทไ่ี ม่นับถอื พระเจ้า ไม่เชือ่ วา่ พระเจา้ เปน็ ผสู้ ร้างทุกสิง่ ข้นึ เชน่ ศาสนาพทุ ธ เชน โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 2 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐานสอบ O-NET ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ศาสนาพราหมณ์ – ฮนิ ดู : ศาสนาเกา่ แกท่ ีส่ ุดในโลก เดมิ ชื่อ ศาสนตน หมายว่า ศาสนาอันเปน็ นริ ันดร์ มคี มั ภรี พ์ ระเวท พราหมณ์ และวรรณะท้งั 4 โมกษะ >> เป็นจดุ มุ่งหมายสงู สุดของศาสนา หมายถึง ภาวะที่อาตมนั เข้าไปรวมกับปรมาตมนั ทาให้ ไม่ตอ้ งเวียนวา่ ยตายเกดิ อีกต่อไป วธิ กี ารเข้าสู่โมกษะ ไดแ้ ก่ – กรรมโยคะ คอื วธิ ีทีใ่ ชก้ ารกระทา เชน่ บูชายัญ – ชญานโยคะ คอื วิธที ่ีใชส้ มาธิและปัญญา – ภกั ตโิ ยคะ คือ วิธที ีใ่ ชค้ วามจงรกั ภักดตี อ่ พระเจา้ อาศรม 4 คือ ข้ันตอนของชีวิตในชว่ งต่างๆ แบ่งเป็น – พรหมจารี ได้แก่ วัยเลา่ เรียน – คฤหสั ถ์ ไดแ้ ก่ วยั ครองเรือน หาทรพั ยส์ นิ เลี้ยงดูบุตรและภรรยา – วนปรัสถ์ ได้แก่ วยั ชรา วัยเข้าหาธรรมะ – สนั ยาสี ไดแ้ ก่ วัยท่มี งุ่ เข้าหาโมกษะ คมั ภรี ์พระเวท แบ่งเปน็ – ฤคเวท คือ บทสรรเสริญอ้อนวอนพระเจา้ – ยชรุ เวท คือ คู่มือประกอบพิธกี รรม – สามเวท คอื คัมภีร์ถวายน้าโสมขับกล่อมเทพเจ้า – อาถรรพเวท คือ คัมภีรเ์ วทย์มนตค์ าถา ศาสนาศรสิ ต์ : คริสต์ หมายถงึ ผู้ทไี่ ดร้ บั การคัดเลอื กให้เป็นตวั แทนของพระเจา้ หลักคาสอน >> 1. บาปกาเนิด คือ บาปทีต่ ิดตัวมนุษยม์ าตัง้ แตเ่ กิด 2. ตรเี อกภาพ คือ พระเจ้าสูงสดุ พระองคเ์ ดยี ว แตม่ ี 3 สถานะ คือ พระบดิ า พระบตุ รและพระจติ 3. ความรกั เป็นกฎทองคาของศาสนาคริสต์ กลา่ วว่า “จงรักพระเจา้ สดุ ใจ สุดความคดิ สดุ กาลงั ” และ “จงรัก เพ่อื นบ้านเหมอื นเจา้ รกั ตัวเอง” 4. อาณาจกั รพระเจา้ คือ สภาวะจติ ใจท่ีบริสทุ ธ์ิ 5. นกิ ายของศาสนาคริสต์ 1. นิกายคาทอลิค > เน้นวา่ ต้องเป็นผู้สืบทอดคาสอนจากพระเยซู > ประมขุ คอื สนั ตะปาปา และมพี ระท่ีเรยี กว่า บาทหลวง > เป็นนกิ ายเดยี วทเี่ ชอื่ เรอื่ งนักบุญ และแดนชาระวิญญาณผู้ตาย > รปู เคารพ คือ ไม้กางเขนทพ่ี ระเยซูถกู ตรึงอยู่ 2. นิกายออรท์ อดอกซ์ > แยกจากคาทอลคิ เพราะเหตผุ ลทางการเมือง โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 3 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ ้ันพื้นฐานสอบ O-NET ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 > รูปเคารพ คอื ภาพ 2 มิติ 3. นกิ ายโปรเตสแตนท์ เชน่ ลัทธลิ ูเธอร์น และแอกลแิ คน > ไม่พอใจการกระทาคาสอนบางประการของสนั ตะปาปา > เนน้ คัมภีร์ ไมม่ นี กั บวช > รบั ศลี ศักดส์ิ ทิ ธเิ์ พียง 2 ศลี คือ ศีลล้างบาป และศีลมหาสนทิ ศาสนาซกิ ข์ : อสิ ลาม หมายถึง การยินยอมต่อพระผู้เป็นเจ้า ศาสนาอสิ ลามเกดิ ในดนิ แดนอาหรับโดยมี พระอลั เลาะห์เป็นพระผเู้ ป็นเจา้ ซ่งึ เช่อื ว่าเป็นผสู้ ร้าง ผคู้ า้ จนุ ผฟู้ ื้นฟูโลกมนุษย์ มศี าสดา คือ มฮู ัมหมดั มี คมั ภรี อ์ ลั กุรอาน หลกั คาสอน >> 1. หลักความศรัทธา 6 ประการ คือ ความเชือ่ ในเรอื่ งดงั นี้ >พระเจา้ สูงสดุ องคเ์ ดยี ว คอื อลั เลาะห์ > พระลิขิต หมายถึง พระเจ้าลขิ ิตชวี ิตมนุษย์ > เทพบริวาร หมายถึง คนรบั ใชพ้ ระเจา้ > วนั พิพากษาโลก หมายถึง วันทพ่ี ระเจา้ ทาลายโลกและตดั สินความดีความชวั่ ของมนุษย์ > คมั ภีร์ หมายถึง หนังสือท่ีรวบรวมคาสอนคาพดู ของพระเจ้า > ศาสนทูต หรือศาสดาตา่ งๆ ชาวมสุ ลมิ จะตอ้ งใหเ้ กียรตยิ กย่องบรรดาศาสดาตา่ งๆอย่างเทา่ เทียมกนั 2. หลกั ปฏิบตั ิ 5 ประการ ได้แก่ > ปฏิญาณตน คือ การปฏิญาณตอ่ พระเจ้า > ละหมาด คอื การไหว้พระเจา้ วันละ 5 หน > ซะกาด คือ การบริจาคทาน > ศลี อด ปฏบิ ัติในเดือนรอมาฎอน คือการอดอาหารและเครอื่ งด่มื เพื่อใหร้ ้ถู งึ ความทุกข์ แล้วช่วยเหลือคนจนต่อไป > พธิ ีฮจั ญ์ คอื การเดนิ ทางไปแสดงสัตยาบนั ของพระเจ้าทเี่ มกกะ ประเทศซาอุดิอาราเบยี ศาสนาพทุ ธ : พุทธ หมายถงึ ผตู้ ่ืน ผ้เู บิกบาน องคป์ ระกอบของศาสนาพทุ ธ คอื พระรัตนตรัย หมายถงึ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ นิกายทางพระพทุ ธศาสนา แบง่ ได้ดังนี้ 1. นิกายหินยาน มงุ่ ใหป้ ฏบิ ัติตนเพ่ือเปน็ พระอรหันต์ หลดุ พน้ จากความทกุ ข์ 2. นิกายมหายานววิ ัฒนาการจากนิกายมหาสังฆวาทโดยผสมผสานเขา้ กบั หลกั คาสอนของนิกายอื่น เช่น นิกายเถรวาท โรงเรียนเวยี งสระ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 4 เพ่ือเตรียมความพร้อมทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 คัมภรี ์สาคญั ของศาสนาพุทธ คอื พระไตรปฎิ ก ได้แก่ 1. พระวินัยปิฎก มสี าระเกย่ี วกับขอ้ ปฏบิ ตั ิของพระภกิ ษสุ งฆ์ 2. พระสุตตันตปฎิ ก มีสาระเกี่ยวกบั เทศนาของพระพทุ ธเจ้าและพระสาวก 3. พระอภธิ รรมปฎิ ก มีสาระเกยี่ วกับหลักธรรมทางดา้ นวชิ าการ หลกั คาสอนท่สี าคญั ในศาสนาพทุ ธ 1.ไตรลักษณ์ >อนจิ จา คือ ความไมเ่ ทีย่ งแท้ >ทุกขตา คอื ความทนอยูไ่ มไ่ ด้ >อนตั ตา คอื ภาวะท่ีไม่ใชต่ วั ตน 2.ขันธ์ 5 เรียกวา่ “เบญจขนั ธ์” หมายถึง องค์ประกอบของชีวิตอนั ประกอบดว้ ย > รูปขนั ธ์ คอื สว่ นทเ่ี ปน็ รา่ งกาย ประกอบดว้ ยธาตทุ งั้ 4 คือ ดิน นา้ ลม ไฟ > นามขันธ์ คอื ส่วนท่ีเป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นหรือจับต้องได้ ประกอบด้วย 4 สว่ น คือ เวทนา สญั ญา สังขาร และวญิ ญาณ 3.อรยิ สจั 4 หมายถึง ความจรงิ อนั ประเสรฐิ อรยิ สจั เป็นหัวใจสาคญั ของพุทธศาสนา ได้แก่ > ทกุ ข์ สมทุ ยั นิโรธ มรรค มรรคมอี งค์ 8 หรอื เรียกว่า มรรค 8 โดยยึดหลักการเดนิ ในทางสายกลาง หรือ “มัชฌมิ าปฏิปทา” ได้แก่ > สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ > สัมมาสังกปั ปะ ความดาริชอบ > สัมมาวาจา เจรจาชอบ > สัมมากัมมนั ตะ การทางานชอบ > สัมมาอาชีวะ เลยี้ งชพี ชอบ > สมั มาวายามะ พยายามชอบ > สัมมาสติ ตง้ั สตชิ อบ > สมั มาสมาธิ ตงั้ ใจชอบ มรรค 8 เม่อื จัดเข้าในระบบการฝึกอบรม เรียกวา่ “ไตรสิกขา” พธิ กี รรมสาคญั ทางศาสนาพทุ ธ 1. พิธีบรรพชาและพิธีอปุ สมบท 2. พิธเี ขา้ พรรษา ซ่งึ กาหนดไว้ 2 ระยะ คอื > วนั เขา้ พรรษาแรก เรียกว่า ปุรมิ พรรษา ตรงกบั แรม 1 คา่ เดอื น 8 > วนั เข้าพรรษาหลงั เรียกวา่ ปัจฉิมพรรษา ตรงกับ แรม 1 คา่ เดือน 9 3. พิธีกฐิน 4. พิธีปวารณา คอื การเปดิ โอกาสใหส้ งฆ์ตักเตือนกันได้ 5. พิธีแสดงอาบตั ิ วนั สาคญั ทางศาสนาพทุ ธ 1. วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน 3 เป็นวันทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ 2. วันวิสาขบชู า ตรงกบั วันเพญ็ เดอื น 6 เปน็ วนั คลา้ ยวันประสตู ติ รัสรู้และปรนิ ิพพานของพระพทุ ธเจ้า 3. วนั อาสาฬหบชู า ตรงกบั วนั เพญ็ เดอื น 8 เป็นวันแรกที่มกี ารเกิดพระรัตนตรัย โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 5 เพื่อเตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาติขัน้ พ้ืนฐานสอบ O-NET ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 1. ข้อใดใช้เป็นเกณฑใ์ นการจาแนกศาสนาเป็นเทวนยิ ม อเทวนิยม เอกเทวนยิ มหรือพหุเทวนยิ ม 1. ศาสดา 2. พธิ กี รรม 3. รูปเคารพ 4. ศาสนสถาน 5. ความเชื่อ 2. พฤตกิ รรมของใครถูกต้องทสี่ ุดในการนาวิธีการประกาศอิสรภาพจากกเิ ลสของพระพทุ ธเจ้ามาประยุกต์ใช้ ในชวี ติ 1. แดงตั้งใจเลกิ ดื่มเหลา้ ในวนั แม่ และก็สามารถทาได้สาเรจ็ 2. ดาตั้งใจละเลิกทกุ อยา่ งโดยการอุปสมบทเปน็ พระภกิ ษตุ ลอดพรรษาและกท็ าไดจ้ นสาเรจ็ 3. เขียวตง้ั ใจปฏิบตั ิธรรมโดยการรักษาศีล 8 ทุกวนั พระ และกส็ ามารถทาได้สาเรจ็ 4. ขาวตงั้ ใจเล้ียงดูแมต่ ลอดชวี ิต จงึ นาแมไ่ ปไว้ท่ีบ้านพกั คนชรา 5. ฟ้าต้ังใจไมพ่ ูดโกหกทุกวนั ตลอดชวี ิต และกส็ ามารถทาได้สาเร็จ 3. พระเจ้าจักรพรรดิราชผู้เป็นนักปกครองท่ีย่ิงใหญ่ มีพระบัญชาให้ลั่นกลองรบประกาศสงครามนาทัพ เดนิ หนา้ แผข่ ยายราชอาณาจักรออกไป เปรยี บไดก้ ับเหตุการณใ์ ดใน พุทธประวัติ 1. การประสตู แิ ละประกาศอาสภวิ าจา ณ ลุมพินวี ัน 2. การตรสั รใู้ นคนื วันเพ็ญ ณ ใตต้ ้นพระศรีมหาโพธิ์ 3. การแสดงธรรมจกั ร ณ อสิ ปิ ตนมฤคทายวัน 4. การปรินิพพาน ณ กรุงกสุ ินารา 5. การถวายพระเพลงิ พทุ ธสรรี ะ ณ กรุงกุสนิ ารา 4. ขอ้ ใดแสดงกระบวนการและผลของการศึกษาไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั พุทธศาสนา 1. สลี สิกขา นาไปสู่ผลคอื ปัญญาทพ่ี ัฒนาแลว้ 2. จิตตสกิ ขา นาไปสู่ผลคอื กายทพี่ ฒั นาแล้ว 3. ปญั ญาสกิ ขา นาไปส่ผู ลคอื จิตท่ีพฒั นาแล้ว 4. สลี สิกขา นาไปสผู่ ลคือกายและความประพฤตทิ ่พี ฒั นาแล้ว 5. ปัญญาสกิ ขา นาไปสผู่ ลคือจติ และปัญญาที่พฒั นาแล้ว โรงเรยี นเวียงสระ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 6 เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐานสอบ O-NET ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 5. อริยสัจ กับ ปฏจิ จสมปุ บาท เปน็ องค์ธรรมท่เี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร 1. ต่างกัน เพราะอริยสัจเน้นกระบวนเกิดทุกข์ สว่ นปฏิจจสมปุ บาทเน้นกระบวนการดบั ของสรรพสิง่ 2. เหมือนกัน แต่ต่างมุมมอง เพราะอริยสัจเน้นกระบวนการสัมพันธ์แต่ปฏิจจสมุปบาทเน้นวิธีการ แก้ปัญหา 3. ต่างกนั เพราะอรยิ สัจเน้นแสดงกระบวนการดับทุกข์ แต่ปฏิจจสมุปบาทเนน้ แสดงกระบวนการเกิด ทุกข์ 4. เหมอื นกนั แต่ต่างมมุ มอง เพราะอริยสจั เน้นวิธีการแกป้ ัญหา สว่ นปฏจิ จสมุปบาทเน้นกระบวนการ แห่งปจั จยั สมั พนั ธ์ 5. เหมอื นกนั แตต่ ่างมุมมอง เพราะอริยสจั แสดงธรรมชาติทีเ่ ปน็ แกนกลางของปฏิจจสมุปบาท 6. แดงกับดาเป็นเพื่อนกัน วันหนึ่งดาได้ไปเก็บมะม่วงท่ีตนปลูกไว้หลังบ้านมารับประทานร่วมกันอย่าง เอร็ดอร่อย แดง : \"มะม่วงลูกนี้หวาน กรอบอร่อยมากเลยนะ\" ดา : \"ไม่อร่อยได้ไง ฉันขอต้นพันธ์ุอย่างดีมา จากบา้ นปา้ ของฉันทีจ่ ังหวัดจนั ทบุรีเลยนะ ถ้าไม่ใช่พนั ธ์นุ ีค้ งไม่อรอ่ ยอย่างนีห้ รอก\" แดง : \"ฉันก็เคยหามะม่วง พนั ธด์ุ ีๆ มาปลูกเหมอื นกัน แต่ไม่คอ่ ยมีเวลาดูแลและใสป่ ุย๋ จึงทาใหต้ น้ มันตายไปในทส่ี ุด ฉนั ว่านะ นอกจากจะ ได้พันธุ์ดแี ล้ว นายคงดแู ล ใส่ปยุ๋ พรวนดนิ และเอาใจใสต่ ้นไม้นอ้ี ย่างดนี ะสิ มันจึงเตบิ โตสงู ใหญ่จนมีดอกมีผล ท่ีเอร็ดอร่อยอย่างน้ี\" จากบทสนทนาในสถานการณ์ข้างต้น ใครเป็นคนแสดง “เหตุ” และ/หรือ “ปัจจัย” ท่ี ถูกตอ้ งทส่ี ดุ 1. แดงแสดงเหตุและปจั จัย 2. แดงแสดงเหตุ 3. ดาแสดงปจั จัย 4. ดาแสดงเหตุ 5. ดาและแดงแสดงทง้ั เหตแุ ละปจั จยั 7. รอยเท้าช้างเป็นยอดหรือใหญ่ที่สุดกว่ารอยเท้าของสัตว์ใด ๆ รอยเท้าช้างจึงถือว่าเป็นที่รวมของรอยเท้า สัตว์ทุกชนิด เมื่อเปรียบกับหลักคาสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหมด คาว่า “รอยเท้าช้าง” ในที่น้ีเปรียบได้กับ หลกั ธรรมข้อใด 1. โอวาทปาฏิโมกข์ 2. พระนพิ พาน 3. อริยสัจ 4. อปั ปมาทธรรม 5. เมตตากรณุ า โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 7 เพ่ือเตรียมความพร้อมทดสอบระดบั ชาติขัน้ พ้นื ฐานสอบ O-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 8. การทาละหมาดตามบทบญั ญตั ิของศาสนาอสิ ลามเปน็ การนมสั การตอ่ อะไร 1. เทวบัญชา 2. พระเจา้ 3. ผ้รู ูท้ างศาสนา 4. คมั ภีร์อัลกุรอาน 5. ศาสนสถานทเี่ คารพ 9. หลกั เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาท่ียง่ั ยืนมีหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ในข้อใดบ้างเป็นฐานรองรับ ที่สาคญั 1. มัชฌิมาปฏิปทา อปั ปมาทธรรม พละ และไตรสกิ ขา 2. มชั ฌมิ าปฏปิ ทา นาถกรณธรรม สาราณยี ธรรม และอรยิ วัฑฒิ 3. มัชฌมิ าปฏิปทา สันโดษ ฆราวาสธรรม และเบญจศลี 4. มัชฌิมาปฏิปทา อปั ปมาทธรรม สันโดษ และปัญญา 5. มัชฌิมาปฏิปทา อุปาสกธรรม ปัญญา และ เบญจศีล 10. ข้อใดกล่าวถึงแนวคดิ การพฒั นาทีย่ ง่ั ยืนตามหลกั พทุ ธศาสนาได้อย่างถูกต้อง 1. เน้นความสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนาคนเปน็ พทุ ธศาสนิกชนทีด่ ีและการพฒั นาเศรษฐกจิ 2. เนน้ ความสมดลุ ระหว่างการพัฒนาคนเป็นพุทธศาสนกิ ชนที่ดแี ละการบรรลุพระนิพพาน 3. เนน้ ความสมดุลระหว่างการพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม 4. เน้นความสมดลุ ระหว่างการพัฒนาศาสนา ชุมชน สงั คม และการเมอื ง 5. เนน้ ความสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนาคน เศรษฐกจิ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม 11. หลักการปกครองตามระบอบเผด็จการและระบอบประชาธิปไตยมีลักษณะตรงกับหลักอธิปไตยข้อใดใน พระพทุ ธศาสนา 1. เผด็จการ = โลกาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย = ธรรมาธปิ ไตย 2. เผด็จการ = ธรรมาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตย = โลกาธปิ ไตย 3. เผดจ็ การ = อตั ตาธิปไตย ประชาธปิ ไตย = โลกาธปิ ไตย 4. เผด็จการ = ธรรมาธปิ ไตย ประชาธิปไตย = อัตตาธปิ ไตย 5. เผดจ็ การ = อัตตาธิปไตย ประชาธิปไตย = ธรรมาธปิ ไตย 12. ขอ้ ใดแสดงหลกั การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขระหว่างศาสนาทส่ี อดคลอ้ งกนั มากท่ีสุด 1. จาคะในพุทธศาสนา และศรัทธาในศาสนาคริสต์ 2. การละหมาดในศาสนาอิสลาม และเบญจศลี ในศาสนาพุทธ 3. ความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ในฐานะบตุ รของพระเจา้ ในศาสนาครสิ ตแ์ ละศาสนาสกิ ข์ 4. พรหมจรรยใ์ นศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดแู ละห้ามประพฤตผิ ดิ ในกามในศาสนาพทุ ธ 5. การแบ่งปนั ในศาสนาครสิ ต์ และซะกาตในศาสนาอิสลาม โรงเรียนเวยี งสระ สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 8 เพ่ือเตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติข้ันพน้ื ฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 13. ความเชอื่ เรือ่ งคาํ พพิ ากษามปี รากฏในศาสนาใด 1. พราหมณฮ์ นิ ดู - อสิ ลาม 2. คริสต์ - พราหมณฮ์ นิ ดู 3. อิสลาม - ครสิ ต์ 4. พทุ ธ - อิสลาม 5. พทุ ธ - คริสต์ 14. “ประชาพิจารณ์คือ การรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบต่อชีวิตของประชาชนทุก คน” จากหลักการประชาพิจารณ์นี้มีลักษณะสอดคล้องกบั คติธรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาในข้อใด 1. วันวิสาขบูชา 2. วันอาสาฬหบูชา 3. วันมาฆบูชา 4. วนั เข้าพรรษา 5. วนั ออกพรรษา 15. หากนักเรยี นมีความประสงค์จะทําบุญถวายผา้ อาบน้ําฝนแด่พระสงฆ์ควรถวายผา้ อาบนํ้าฝนในวันใดจึงจะ เหมาะสมที่สุด 1. วันวิสาขบูชา 2. วนั อาสาฬหบชู า 3. วนั มาฆบชู า 4. วนั เข้าพรรษา 5. วันออกพรรษา 16. บคุ คลในข้อใดเปน็ บคุ คลที่ถกู หา้ มอุปสมบทเปน็ พระภกิ ษอุ ย่างเดด็ ขาด 1. นายแดง เคยบวชเปน็ พระภิกษุ แต่ถกู จับสกึ เพราะมีเพศสมั พนั ธก์ ับผู้หญิง 2. นายขาว เป็นคนยากจน อยากบวชพระ แตไ่ มม่ บี าตรและจวี ร 3. นายเขียว เป็นโรคเอดส์ 4. นายดํา มอี วยั วะบกพร่อง 5. นายม่วง หนีคดฆี า่ คนมาขอบวชพระ บนั ทกึ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 9 เพอ่ื เตรียมความพร้อมทดสอบระดบั ชาตขิ ัน้ พนื้ ฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 สาระการเรียนรทู้ ี่ 2 หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง พลเ มือง ดี หมายถึง ผู้ท่ีปฏิบัติหน้าที่พลเ มืองได้ครบถ้วน ทั้งกิจที่ต้องทา และกิจท่ีควรทา หน้าที่ หมายถงึ กิจที่ตอ้ งทา หรอื ควรทา เป็นสิ่งท่ีกาหนดใหท้ า หรือหา้ มมใิ ห้กระทา ถ้าทากจ็ ะกอ่ ให้เกิดผลดี เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว หรือสังคมส่วนรวมแล้วแต่กรณี ถ้าไม่ทาหรือไม่ละเว้นการกระทาตามท่ี กาหนดจะได้รับผลเสียโดยตรง คือ ได้รับโทษ หรือถูกบังคับ เช่น ปรับ จา คุก หรือประหารชีวิต เป็นต้น โดยทัว่ ไปสง่ิ ทรี่ ะบุกิจทต่ี ้องทา ได้แก่ กฎหมาย เป็นตน้ กฎหมาย คอื กฎที่สถาบันหรือผ้มู ีอานาจสูงสดุ ในรัฐตราข้ึน หรือทีเ่ กิดขึ้นจากจารตี ประเพณีอันเป็นทยี่ อมรับ นบั ถอื เพ่อื ใชใ้ นการบรหิ ารประเทศ เพ่อื ใชบ้ งั คบั บุคคลให้ปฏิบตั ติ าม ความสาคญั ของกฎหมาย 2.1 เพ่ือสร้างความสงบเรียบร้อยในสังคม กิจกรรมที่เกิดข้ึนในประเทศ จะมีทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และ การเมอื ง 2.2 เพ่อื ควบคมุ พฤติกรรมของบคุ คลในสงั คมให้อยใู่ นระเบียบแบบแผนท่ีดีงาม 2.3 เพอ่ื ปกป้องและรกั ษาชวี ติ และทรัพยส์ นิ ของประชาชน ประเภทของกฎหมาย 4.1 แบ่งตามความสมั พนั ธ์ 1. กฎหมายเอกชน คือ กฎหมายทบ่ี ญั ญตั ถิ งึ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเอกชนกับเอกชนด้วยกนั 2. กฎหมายมหาชน คอื กฎหมายทบ่ี ัญญตั ิถงึ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งรัฐกบั ประชาชน 3. กฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎหมายทีบ่ ัญญตั ถิ ึงความสัมพันธร์ ะหว่างรัฐกบั รัฐ 4.2 แบง่ ตามลาดับศักดข์ิ องกฎหมาย 1. พระราชบัญญัติ คือ เป็นกฎหมายท่ีตราขึ้นโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือคณะรฐั มนตรเี ปน็ ผเู้ สนอ 2. พระราชกาหนด เปน็ กฎหมายท่ีตราขนึ้ โดยฝา่ ยบริหารมีฐานะเทียบเทา่ พระราชบัญญัติ การตราพระราชกาหนดทาได้เฉพาะเห็นว่าเปน็ กรณที ่ีฉุกเฉิน ไดแ้ ก่ การกระทาเพ่อื ประโยชน์ในอนั ทีจ่ ะ (1) รกั ษาความปลอดภยั ของประเทศ (2) รกั ษาความปลอดภยั สาธารณะ (3) รกั ษาความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ (4) ป้องกนั ภยั พิบตั ิสาธารณะ (5) จาเปน็ ต้องมีกฎหมายเกย่ี วดว้ ยภาษีอากรหรอื เงินตราซ่ึงจะตอ้ งไดร้ ับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อรกั ษาประโยชน์ของแผน่ ดิน โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 10 เพ่ือเตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาตขิ ัน้ พน้ื ฐานสอบ O-NET ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 3. พระราชกฤษฎกี า เปน็ กฎหมายท่ีตราขน้ึ โดยฝ่ายบริหารเพ่ือวางระเบียบการต่างๆ ทางบริหารโดย มพี ระราชบัญญตั ิ พระราชกาหนด หรือรัฐธรรมนญู ให้อานาจไว้ 4. กฎกระทรวง เป็นกฎที่ตราขึ้น โดยรัฐมนตรีผู้ที่ดูแลกระทรวงน้ันเพ่ือกาหนดรายละเอียดต่างๆ สาหรับการนาไปปฏบิ ตั ิ 5. กฎอื่น ๆ เชน่ ประกาศ ระเบยี บ ข้อบังคบั เปน็ ต้น 4.3 แบ่งตามลักษณะของการนาไปใช้ (1) กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายท่ีว่าด้วยสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของบุคคล โดยจะ กาหนดการกระทาทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบแหง่ ความผดิ อันจะก่อใหเ้ กิดสภาพบงั คับ (2) กฎหมายวิธีสบัญญัติ เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการวางวิธีการปฏิบัติสาหรับบุคคลท่ีจะเรียกร้องขอ ความคุมครองของกฎหมาย เมอ่ื มขี ้อโต้แยง้ เก่ยี วกับสิทธแิ ละหนา้ ที่เกดิ ข้นึ กฎหมายแพ่งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับตนเองและครอบครวั กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หมายถึง กฎหมายซ่ึงรวมเอาบทบัญญัติเก่ียวกับเร่ืองทางแพ่ง และในทาง พาณิชย์ขา้ ไวด้ ว้ ยกัน บุคคล หมายถงึ สิ่งทีม่ ีสทิ ธิและหน้าทีต่ ามกฎหมาย แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ - บุคคลธรรมดา หมายถึง มนุษย์ซ่ึงมีสภาพบุคคลและส้ินสุดสภาพบุคคล โดยการตายและต้องมีสิ่ง ประกอบหรือทาใหค้ วามเป็นบคุ คลปรากฏชดั เจนข้นึ - นิติบคุ คล หมายถงึ กล่มุ บุคคลหลายคนรว่ มกนั ตั้งกล่มุ ขึ้นโดยอาศัยอานาจในทางกฏหมายการกระทา การอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง 1. ความสามารถของบุคคลท่ัวไป ตามกฎหมายปกติแล้วบุคคลทุกคนมีสิทธิทางกฎหมายเท่าเทียมกันแต่ แตกตา่ งกนั คือ ความสามารถในการใชส้ ิทธิ 2. ความสามารถของบุคคลไร้ความสามารถ บุคคลไร้ความสามารถ หมายถึง บุคคลใดๆซึ่งไม่มี ความสามารถตตามกฎหมาย กฎหมายเกยี่ วกับบัตรประชาชน บัตรประจาตัวประชาชนเปน็ เอกสารที่สาคญั อยา่ งยง่ิ ท่ีประชาชนทุกคนต้องมี ซง่ึ บัตรประจาตัวประชาชนจะเส ดงภูมลิ าเนาและที่อยู่เพอื่ ความสะดวกในการตดิ ตอ่ ตดิ ตาม และการช่วยเหลือต่างๆ ไดง้ ่ายข้ึน กฎหมายทเ่ี กยี่ วกบั ครอบครวั 1. การหมน้ั ชายและหญิงสามารถกระทาการหม้นั ได้กต็ ่อเมอ่ื มอี ายุ 17 ปีบรบิ ูรณ์ ถ้าฝา่ ยหนง่ึ ฝา่ ยใด อายุยังไมถ่ งึ 17 ปี การหมนั้ ถอื วา่ เปน็ โมฆะ การหมนั้ ต้องได้รับความยนิ ยอมของบุคคลดงั ต่อไปน้ี - บดิ าและมารดา - ผรู้ ับบตุ รบญุ ธรรม - ผปู้ กครอง โรงเรยี นเวียงสระ สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 11 เพอื่ เตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาติข้นั พ้ืนฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 2. การสมรส การสมรสจะกระทาได้ก็ต่อเม่ือชายและหญิงมีอายุ 17 ปีบริบูรณ์ แต่กรณีท่ีมีเหตุอัน สมควรอาจจะขออนญุ าตให้ทาการสมรสก่อนได้ 3. ทรัพยส์ นิ ระหว่างสามีภรรยา 3.1 สินส่วนตัว ไดแ้ ก่ ทรพั ย์สินที่ (1) ฝ่ายใดฝา่ ยหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส (2) เปน็ เครอื่ งใชส้ อยส่วนตัว เครื่องแตง่ กาย (3) เคร่ืองมอื เคร่อื งใชท้ ่จี าเป็นในการประกอบอาชีพ 3.2 สนิ รสมรส ได้แก่ ทรพั ยส์ ินที่ (1) คู่สมรสได้มาระหวา่ งท่ีสมรส (2) ฝา่ ยใดฝ่ายหน่ึงมาระหวา่ งสมรสโดยพินัยกรรม (3) เปน็ ดอกผลของสนิ สว่ นตัว 4. ความสัมพนั ธใ์ นครอบครัว - สามีภรรยาต้องชว่ ยเหลืออุปการะกันตามความสามารถและฐานะของตน - บุตรมสี ิทธิใชน้ ามสกลุ ของบดิ าและมีสิทธิได้รับมรดกของบิดา - บดิ ามารดาต้องอปุ การะจนกระท่งั บุตรบรรลุนติ ภิ าวะ ต้องให้การศึกษาแก่บุตร - บุตรไมส่ ามารถฟ้องร้องอปุ การีได้ - บุคคลท่ีสามารถรบั คนอื่นเปน็ ลกู บุญธรรมได้ ต้องมอี ายมุ ากกว่า 25 ปี - บตุ รบุญธรรมมีฐานะได้สทิ ธเิ ช่นเดียวกับบุตร 5. การหย่า การหยา่ นั้นจะกระทาไดโ้ ดยยนิ ยอมท้งั สองฝา่ ย หรอื โดยคาพพิ ากษาของศาล 6.มรดก มรดก หมายถึง ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตายตลอดทั้งสิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบต่าง ๆ ด้วยเวน้ แต่ตามกฎหมายหรือโดยสภาพแลว้ เป็นการเฉพาะตวั ของผ้ตู ายโดยแท้ โดยการไดร้ บั มรดกมีสาเหตุ ดังต่อไปนี้ 6.1 เจ้ามรดกตาย การตายของเจ้ามรดก หมายถึง การตายโดยธรรมชาติ กล่าวคอื หัวใจหยุดเต้น และสมองไม่ ทางาน สว่ นสาเหตุทท่ี าให้เจ้ามรดกตอ้ งตายนนั้ อาจเปน็ เพราะสาเหตุใด ๆ ก็ได้ 7 . ทายาท 7.1 ทายาทโดยธรรม คือ บุคคลทม่ี สี ิทธริ ับมรดกโดยผลของกฎหมาย มผี สู้ บื สนั ดาน บิดา มารดา พีน่ ้องร่วมบิดามารดาเดยี วกนั ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ปา้ น้า อา โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 12 เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ ั้นพน้ื ฐานสอบ O-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 7.2 ทายาทโดยพนิ ัยกรรม หมายถึง ผูท้ ีม่ สี ิทธริ บั มรดกตามทพ่ี ินัยกรรมกาหนดไว้ 8. พนิ ยั กรรม คือ การแสดงเจตนากาหนดการเผ่อื ตาย กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ความสามารถของผู้เยาว์ > ผู้เยาว์ คือ บุคคลซง่ึ ยังไม่บรรลุนิติภาวะ การส้ินสดุ ผู้เยาว์สนิ้ สดุ เม่ือ 1. อายคุ รบ 20 ปีบริบรู ณ์ 2. สมรสตามกฎหมาย กิจการทีผ่ เู้ ยาว์สามารถทาได้ และกอ่ ให้เกดิ ผลทางกฎหมายแบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 1. นิตกิ รรม คือ กิจการใด ๆ ทบ่ี คุ คลกระทาโดยชอบด้วยกฎหมาย 2. นติ เิ หตุ คอื เหตกุ ารณ์ใด ๆ ที่นอกเหนือจากนิติกรรม เกดิ ได้ 2 ทาง คือ 2.1 เกิดโดยธรรมชาติ 2.2 เกดิ จากการกระทาของบุคคล > ด้านทรพั ย์สนิ ของผเู้ ยาว์ - ผู้แทนโดยชอบธรรมของผู้เยาว์ สามารถจัดการกับทรัพย์สินของผู้เยาว์ได้โดยลาพัง ตามทเ่ี หน็ สมควรและประโยชน์ของผ้เู ยาว์ - ผู้แทนโดยชอบทาของผู้เยาว์ ไม่สามารถทาหนี้ ทาหน้ีโดยที่ผู้เยาว์จะต้องทาเองโดย ไม่ไดร้ ับความยินยอมจากผู้เยาวไ์ ม่ได้ > การทานิติกรรมใด ๆ ของผู้เยาว์ หากปราศจากการยนิ ยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมจะถือว่าเป็น โมฆยี ะท้ังสิน้ แตม่ ขี อ้ ยกเว้นในบางกรณี ได้แก่ 1. การทานติ ิกรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนแ์ กผ่ ู้เยาว์ฝ่ายเดียว 2. การทานิตกิ รรมทผ่ี ู้เยาวต์ ้องทาเองเฉพาะตวั 3. การทานิติกรรมเพอ่ื ดารงชพี ของผเู้ ยาว์ กฎหมายแพง่ เก่ยี วกับคนไร้ความสามารถ  คนไรค้ วามสามารถ คือ บุคคลวกิ ลจรติ ซึ่งอาจเกิดจากโรคจติ จติ ฟนั่ เฟือน ผลของการเป็นบุคคลไรค้ วามสามารถ 1. บุคคลที่ศาลส่ังให้เป็นคนไร้ความสามารถน้ัน จะต้องจัดอยู่ในความอนุบาล ศาลจะส่ังให้อยู่ในความ อนบุ าล หมายถึง จะต้องมผี ูอ้ นุบาลเพอื่ ดูแลจดั การทรพั ยส์ นิ ของบคุ คลท่ไี ร้ความสามารถ 2. การใด ๆ อันคนไรค้ วามสามารถได้ทาลงตกเป็นโมฆียะ การส้ินสุดแห่งการเปน็ คนไรค้ วามสามารถ 1. เมือ่ คนทีไ่ รค้ วามสามารถถึงแกค่ วามตาย 2. ศาลมีคาสัง่ เพิกถอนคาสัง่ ให้เป็นคนไร้ความสามารถ โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 13 เพอื่ เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ นั้ พนื้ ฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 กฎหมายแพง่ เกย่ี วกับคนเสมือนไรค้ วามสามารถ  คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi-Incompetent) คือ บุคคลท่ีมีเหตุบกพร่องบางสิ่ง บางอย่าง ไม่สามารถจดั การงานของตนเองได้ ผลของการเปน็ คนเสมือนไรค้ วามสามารถ 1. ตกอย่ใู นความพิทักษ์ 2. ถกู จากดั ความสามารถบางชนิด การสิ้นสดุ แห่งการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ 1. คนเสมอื นไร้ความสามารถถงึ แก่ความตาย 2. ศาลสง่ั ให้เปน็ คนไรค้ วามสามารถ 3. ศาลสง่ั ถอนคาสั่งใหเ้ ป็นคนคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ กฎหมายแพ่งเกี่ยวกบั คนวกิ ลจรติ บคุ คลวิกลจรติ (Unsound Mind) คือ บุคคลที่มอี าการวิกลจริตทศ่ี าลยงั ไมไ่ ด้ส่งั ให้เป็นคนไร้ความ สามารถ ย่อมอยู่ในฐานะเป็นผ้ทู ส่ี ามารถเหมือนดังบุคคลท่ัวไป กฎหมายแพ่งเก่ยี วกับนิตกิ รรมสัญญา นติ ิกรรม หมายถงึ การกระทาของบุคคลท่ีชอบด้วยกฎหมายและโดยสมัครใจ มุ่งโดยตรงต่อการผูก นติ ิสมั พนั ธ์ขึน้ ระหว่างบคุ คล เพื่อจะก่อให้เกดิ การเคลือ่ นไหวแหง่ สิทธติ ามเจตนาของบคุ คลนั้น ในการทานติ กิ รรมนั้นขอบเขตท่ีกฎหมายกาหนดห้ามไว้โดยวัตถุประสงคม์ ี 3 ประการ คือ 1. นติ กิ รรมที่มวี ตั ถปุ ระสงค์ทีเ่ ป็นการขดั ต่อกฎหมาย 2. นติ ิกรรมที่ขัดตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย 3. นติ ิกรรมท่มี ีวตั ถุประสงค์ทเ่ี ป็นการพ้นวสิ ยั หน้ี คือ ความผกู พันทางกฎหมายระหวา่ งบคุ คล 2 ฝ่าย คือ เจา้ หน้ี มีสิทธิจะเรยี กให้ลกู หนีช้ าระหนี้ ลกู หนี้ มหี นา้ ทีป่ ฏิบัติตามที่ตกลงกบั เจ้าหน้ี ทรพั ย์ ทรพั ย์ หมายถึง วัตถทุ ่ีมีรูปร่าง เช่น วทิ ยุ บ้าน ที่ดิน และส่วนท่ีไมม่ ีรปู ร่าง เชน่ สทิ ธิ ทรพั ย์แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. อสงั หาริมทัพย์ 2. สงั หาริมทรัพย์ ทรัพย์สิน หมายถึง ทรัพย์และวัตถุไม่มีรูปร่าง ซ่ึงอาจมีราคา ทรัพย์สินจะเกิดข้ึนโดยอานาจแห่ง กฎหมาย เช่น กรรมสทิ ธิ์ สิทธิครอบครองภาระจายอม สทิ ธอิ าศัย สทิ ธเิ หนอื พ้นื ดิน สิทธิเก็บเงิน โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 14 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาติขัน้ พืน้ ฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 > นิติกรรมสัญญา ได้แก่ สัญญาซื้อขาย สัญญาขายฝาก การเช่าทรัพย์ การเช่าซื้อ การกู้ยืม การค้าประกัน การจานา และการจานอง กฎหมายอาญา กฎหมายอาญา คอื กฎหมายท่รี วมเอาลักษณะความผิดต่าง ๆ และกาหนดบทลงโทษซ่ึงบัญญัติขึ้นโดย มีจดุ ประสงคท์ ี่จะรักษาความสงบเรียบร้อยภายในสังคม การกระทาที่มผี ลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคน สว่ นใหญ่ของประเทศ โดยถือวา่ เป็นความผิดทางอาญาหากปลอ่ ยให้มกี ารดาเนนิ การเอง เจตนา คือ การกระทาผิดทางอาญา ที่ผู้กระทาร้อู ยู่แล้วว่าส่ิงท่ีตนทานั้นเป็นความผิดแต่ยังทาลงไปท้ัง ๆ ทีร่ สู้ านึกในการท่ีกระทา ประมาท คอื การกระทาที่ผกู้ ระทามิได้ตั้งใจให้เกิดผลร้ายแก่ใคร แต่เน่อื งจากกระทาโดยไม่ระมัดระวัง ทาให้เกิดผลรา้ ยแก่ผ้อู น่ื ไมเ่ จตนา คือ การกระทาทผี่ ู้กระทามไิ ดต้ งั้ ใจทาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลอย่างหนึ่ง ความผดิ เกย่ี วกบั ทรพั ย์ 1. ความผิดเกี่ยวกับการลักทรัพย์ เป็นความผิดท่ีเอาทรัพย์ของผู้อื่นหรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวมอยู่ด้วยไป โดยทุจริต แม้ว่าเจ้าของทรัพยจ์ ะไม่ติดใจเอาความแต่ความผิดเกี่ยวกับการลักทรัพย์ไม่สามารถยอมความ กันได้ 2. ความผิดเก่ียวกับการว่ิงราวทรัพย์ เป็นความผดิ ในการลักทรัพย์ของผู้อ่ืนโดยมีการฉกฉวยเอาไปซ่ึงหน้า โดยไมม่ ีความเกรงกลัว 3. ความผดิ เก่ียวกับการชิงทรัพย์ เปน็ ความผิดในการลักทรัพย์ของผู้อ่ืนโดยมีการใช้กาลังประทุร้ายหรือขู่ เขญ็ วา่ ทันใดนน้ั จะใช้กาลังประทรุ า้ ย เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกแก่การลกั ทรพั ย์หรอื พาทรัพย์นั้นไป 4. ความผิดเกี่ยวกับการปล้นทรัพย์ เป็นความผิดในการชิงทรพั ย์ท่ีร่วมกันกระทาความผิดด้วยกันต้ังแต่ 3 คนขน้ึ ไป 5. ความผิดเกี่ยวกับการกรรโชกทรัพย์ เป็นความผดิ ในการใช้กาลังประทรุ ้ายหรือขเู่ ข็ญว่าจะทาอันตรายต่อ ชวี ติ และรา่ งกาย เสรภี าพ ชอ่ื เสยี ง หรอื ทรัพย์สินกบั ผูถ้ กู ประทรุ า้ ย 6. ความผิดเกี่ยวกับการรีดเอาทรัพย์ เป็นความผิดในการข่มขนื ใจผู้อืน่ ให้เปิดเผยความลับท่ีเป็นประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทรพั ยส์ นิ 7. ความผิดเก่ียวกบั การฉ้อโกงทรัพย์ เปน็ ความผิดท่ีใช้กลอุบายเอาทรัพย์สินผู้อ่นื โดยการหลอกลวงและ ปกปดิ ขอ้ เทจ็ จรงิ 8. ความผิดเก่ียวกับการยักยอกทรัพย์ เป็นความผิดที่ผู้กระทาผิดได้ทรัพย์ของผู้อื่นมาครอบครองไว้แล้ว เบยี ดบงั เอาทรพั ยน์ น้ั เปน็ ของตน โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 15 เพอื่ เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาติขนั้ พื้นฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ความผิดเกี่ยวกับชวี ิตและร่างกาย 1. ความผิดเกีย่ วกบั ชวี ิต คือ เป็นความผดิ ทท่ี าใหผ้ ู้อืน่ ถงึ แกค่ วามตายไม่ว่าจะด้วยวิธกี ารใด เจตนาใหต้ าย หรอื ไม่ ซงึ่ มคี วามผิดทีส่ าคญั ได้แก่ 1.1 ความผิดฐานฆา่ ผ้อู นื่ 1.2 การชว่ ยยุยงให้ผอู้ ื่นหรือเด็กฆ่าตนเอง 2. ความผิดเก่ยี วกบั ร่างกาย คือ ทารา้ ยผู้อื่นจนเปน็ เหตุให้เกิดอนั ตรายแกก่ ายและจติ ใจ มี 4 ลักษณะ คือ 2.1 ทารา้ ยรา่ งกายโดยไม่มีอันตราย 2.2 ทาร้ายรา่ งกายโดยมีอันตราย 2.3 ทารา้ ยร่างกายโดยไดร้ ับอันตรายสาหัส 2.4 ทารา้ ยรา่ งกายจนถงึ แกช่ ีวิต 3. ความผิดท่ีกระทาโดยประมาทต่อชีวิตและร่างกาย กฎหมายได้บัญญัติให้รับผิดในการกระทาโดย ประมาทสามารถแยกไดต้ ามความหนกั เบา คือ 3.1 การกระทาโดยประมาทเป็นเหตใุ ห้ผูอ้ ืน่ ถึงแกค่ วามตาย 3.2 การกระทาโดยประมาทเป็นเหตุใหผ้ อู้ ่นื รับอันตรายสาหัส 3.3 การกระทาโดยประมาทเป็นเหตใุ ห้ผูอ้ น่ื รับอันตรายแกก่ ายหรือจิตใจ โทษทางอาญา 5. ริบทรัพยส์ ิน ลักษณะของกฎหมายอาญามี 4 ประการ คือ 1. กฎหมายอาญาต้องชดั เจนแนน่ อน 2. หา้ มใชก้ ฎหมายจารตี ประเพณลี งโทษทางอาญาแก่บุคคล 3. หา้ มใชก้ ฎหมายทีใ่ กลเ้ คียงลงโทษทางอาญาแกบ่ ุคคล 4. กฎหมายอาญาไมม่ ีผลย้อนหลัง โทษ คอื สภาพบงั คบั (Sanction) ของกฎหมายอาญา 1. ประหารชวี ติ 2. จาคกุ 3. กักขัง 4. ปรับ > โมฆกรรม หมายความวา่ การทานิติกรรมใด ๆ ท่ีมีผลของนติ ิกรรมที่ได้ทาขึ้นนั้นเสียเปลา่ ไม่มีผล ผกู พันทจ่ี ะใชบ้ ังคับไดต้ ามกฎหมาย สาเหตขุ องนิตกิ รรมโมฆะ 5 ประการ คือ (1) นติ ิกรรมนัน้ มีวัตถุประสงค์ไมช่ อบดว้ ยกฎหมาย (2) นิตกิ รรมน้นั มีวตั ถปุ ระสงค์เป็นการพ้นวสิ ยั (3) นติ ิกรรมนนั้ ทาผดิ แบบท่กี ฎหมายกาหนดไว้ (4) มีกฎหมายบญั ญัติว่าการกระทานน้ั ๆ เป็นโมฆะ โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 16 เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ น้ั พ้ืนฐานสอบ O-NET ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 > โมฆียกรรม หมายความว่า นิติกรรมซึ่งอาจถูกบอกล้างหรือให้สัตยาบัน ถ้ามิได้บอกล้างภายใน ระยะเวลาทีก่ ฎหมายกาหนดกเ็ ปน็ อนั หมดสิทธทิ ่ีจะบอกลา้ ง >สาเหตุของโมฆียกรรมอาจสรุปได้วา่ มาจากกรณีต่อไปนี้ (1) ผทู้ านิติกรรมฝา่ ยใดฝ่ายหนงึ่ เปน็ ผถู้ กู จากัดความสามารถเน่ืองจากเป็นผเู้ ยาว์ (2) เจตนาในการทานติ ิกรรมนั้นบกพร่องเน่ืองจากสาคญั ผิดในคณุ สมบตั ิของบคุ คลหรอื ทรพั ยส์ ิน (3) มกี ฎหมายบญั ญตั วิ า่ การนัน้ เปน็ โมฆยี ะ >ข้อแตกตา่ งระหวา่ งโมฆกรรมและโมฆยี กรรม< 1. นิติกรรมท่ีเปน็ โมฆกรรมนน้ั ถือวา่ เสียเปลา่ มาตงั้ แต่ต้น ไมม่ ผี ลอย่างใด ๆ เลย 2. โมฆกรรมนัน้ บุคคลซึง่ มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี คนใดคนหนง่ึ จะยกขึ้นกลา่ วอา้ งก็ได้ 3. โมฆกรรมนั้นยกขึ้นกลา่ วอ้างเม่อื ใดกไ็ ด้ ไม่มีกาหนดระยะเวลา กฎหมายอนื่ ที่สาคญั กฎหมายภาษอี ากร กฎหมายภาษีอากร หมายถึง กฎหมายเก่ียวกับการจัดหารายได้ให้กับรัฐโดยใช้ภาษีอากรเป็น เครอื่ งมอื ในการจัดเกบ็ ภาษีอากรเป็นส่งิ ท่รี ัฐบังคับจัดเกบ็ จากประชาชนเพื่อนามาใชป้ ระโยชนส์ ่วนรวม ภาษที ่ีเก็บโดยส่วนกลาง 1. ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา คือ ภาษีทจ่ี ดั เกบ็ จากบุคคลทว่ั ไปท่ีมเี งินได้ตั้งแต่ 150,001 บาทขึ้น ไป โดยท่ีบุคคลน้นั อาจมีสถานภาพอย่างใดอย่างหน่งึ ดังต่อไปน้ี (1) บคุ คลธรรมดา (2) ห้างหนุ้ ส่วนสามัญหรอื คณะบุคคลที่มใิ ช่นิติบุคคล (3) ผู้ถงึ แกค่ วามตายระหวา่ งปีภาษี (4) กองมรดกทีย่ งั ไม่ไดแ้ บง่ 2. ภาษีเงินไดน้ ติ ิบุคคล เป็นภาษีอากรทจ่ี ัดเก็บจากเงนิ ได้ของบรษิ ัทหรือห้างห้นุ ส่วนนิติบคุ คล ดังต่อไปน้ี (1) บรษิ ทั หรือหา้ งหนุ้ สว่ นนิตบิ คุ คลท่ตี ัง้ ขนึ้ ตามกฎหมายไทย ตามกฎหมายระตา่ งประเทศ (2) กิจการซึ่งเป็นการค้าหรอื การหากาไรในประเทศไทยท่ีดาเนินการ หรอื กจิ การท่รี ่วมทนุ กันค้าหรือ หากาไรระหวา่ งนติ บิ คุ คลต่อไปนี้ (3) มูลนิธหิ รือสมาคมท่ปี ระกอบกิจการซ่งึ มรี ายได้ 3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นภาษีท่ีจัดเก็บจากผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจ อย่างไรก็ ตามกฎหมายได้กาหนดให้มีกิจการบางประเภทที่ไม่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น การขายพืชผลทาง การเกษตรภายในประเทศ 4. ภาษีธุรกิจเฉพาะ เปน็ ภาษที เ่ี ก็บจากการประกอบกจิ การเฉพาะอย่าง ดังตอ่ ไปน้ี (1) การธนาคาร (2) การประกอบธุรกจิ เงินทุน ธุรกจิ หลกั ทรัพย์ (3) การรับประกันชวี ติ (4) การรับจานา (5) การขายอสงั หารมิ ทรพั ยเ์ พอ่ื การคา้ หรือหากาไร 5. ภาษีป้าย โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 17 เพอ่ื เตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติข้ันพื้นฐานสอบ O-NET ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 17. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกับเง่ือนไขการสมรสตามกฎหมาย 1. บคุ คลจะทาการสมรสในขณะที่ตนมีคูส่ มรสอยแู่ ลว้ ไมไ่ ด้ 2. คนไร้ความสามารถจะทาการสมรสไม่ได้ 3. ผู้รับบตุ รบญุ ธรรมและบุตรบญุ ธรรมจะสมรสกนั ไมไ่ ด้ 4. บคุ คลที่แม้เพียงเป็นพน่ี ้องร่วมแต่บิดา ก็จะทาการสมรสกันไมไ่ ด้ 5. คนลม้ ละลายจะทาการสมรสไม่ได้ 18. ขอ้ ใดกลา่ วไม่ถูกตอ้ งเกีย่ วกับกฎหมายอาญา 1. กฎหมายอาญาห้ามไม่ใหม้ กี ารบัญญัตคิ วามผดิ ย้อนหลัง 2. ความรับผิดทางอาญา โดยหลกั บคุ คลจะรบั ผิดต่อเมอื กระทาโดยเจตนา 3. ความผิดต่อสว่ นตวั คือ ความผดิ ต่อเนื้อตัวรา่ งกายหรอื ต่อความเป็นอย่สู ว่ นตวั ของผู้เสียหาย 4. การใหช้ ดใชค้ ่าสินไหมทดแทนไม่ใชโ่ ทษทางกฎหมายอาญา 5. การเทียบเคยี งบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างย่งิ ลงโทษทางอาญาแกบ่ คุ คลจะกระทามไิ ด้ 19. ข้อใดกลา่ วถึงสนธิสัญญาไมถ่ กู ต้อง 2. ดาเนินการโดยผ้มู ีอานาจทาการแทนรัฐ 1. เป็นความตกลงระหว่างรัฐกับรฐั 4. ตกลงรว่ มกันไดต้ ้งั แต่ 2 ฝ่ายข้นึ ไป 3. มงุ่ ใหเ้ กดิ ผลในทางกฎหมายระหว่างประเทศ 5. มผี ลผูกพันเปน็ การท่ัวไปในประชาคมโลก 20. เมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กลไกด้านการเมืองการ ปกครองใดทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลง 1. มกี ารให้เพ่ิมเติมรายละเอียดของรัฐธรรมนูญในกฎกระทรวง 2. มกี ารร่างพระราชบัญญัตทิ เ่ี กี่ยวขอ้ งตามบทบัญญตั ิในรัฐธรรมนญู 3. มีการเปล่ยี นโครงสร้างการบริหารราชการแผน่ ดินระดบั กระทรวง และกรม 4. มีการทบทวนพระราชบัญญัตงิ บประมาณแผ่นดินประจาปีทผี่ ่านการพจิ ารณาไปแล้ว 5. มกี ารแก้ไขแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาตใิ ห้สอดคลอ้ งกับเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 21. ข้อใดกล่าวไม่ถกู ต้องเก่ยี วกับปฏิญญาสากลว่าดว้ ยสทิ ธิมนษุ ยชน 1. เปน็ ขอ้ ตกลงพหุภาคีระดบั สากลทม่ี ีศกั ดิ์และสทิ ธ์ิเทยี บเท่ากฎหมาย และมผี ลบังคับใช้ผกู พนั 2. เป็นการประกาศเจตนารมณ์ท่ีสง่ ผลใหเ้ กิดการออกกฎหมายในประเทศภาคที ี่ร่วมลงนาม 3. เป็นเอกสารท่ไี ดร้ บั การยอมรับจากสมชั ชาใหญส่ หประชาชาติ ดว้ ยการลงประชามติ 4. เปน็ ผลรว่ มมอื กันของประเทศภาคี ส่งผลให้เกิดการสง่ เสรมิ สิทธิมนษุ ยชนประเทศตา่ งๆ ท่ัวโลก 5. เป็นการให้คาม่ันสัญญาที่จะกาหนดมาตรฐานในการอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานของ การปกป้องสิทธิ เสรีภาพโดยเท่าเทยี มกนั และไม่มกี ารเลอื กปฏิบตั ิ โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 18 เพื่อเตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาติข้ันพ้ืนฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 22. ข้อใดกล่าวถงึ วัฒนธรรมไมถ่ กู ต้อง 1. เป็นส่ิงท่เี กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ 2. เปน็ สิง่ ทีต่ กทอดทางสังคม 3. เปน็ แบบแผนในการดาเนินชีวติ 4. เปน็ สงิ่ ทเี่ ปลย่ี นแปลงได้ตลอดเวลา 5. เปน็ เครื่องยดึ โยงสมาชกิ ของสงั คม 23. ผลงานทางวัฒนธรรมในข้อใดแสดงถึงลักษณะเด่นของวัฒนธรรมไทยในการปรับตัวเข้าหาความจากัด ของทรัพยากรธรรมชาติ 1. การทาประปาภเู ขาและระบบเหมอื งฝาย 2. การบวชป่า และประเพณบี ญุ บั้งไฟ 3. การทาขวญั ขา้ ว และประเพณีไหลเรือไฟ 4. การทาเกษตรผสมผสาน และการลงแขกเกยี่ วขา้ ว 5. การบชู าแม่โพสพ และประเพณจี ดุ ประทปี โคมลอย 24. คา่ นยิ มใดท่ีสงั คมไทยยงั ให้ความสาคญั นอ้ ย และจาเปน็ ต้องเรง่ ส่งเสรมิ ให้เกิดขึ้น เพือ่ เป็นรากฐานสาคัญ ในการสร้างสังคมท่ียัง่ ยืน 1. ความเอือ้ เฟอ้ื เผื่อแผ่ 2. ความสามคั คมี ีนา้ ใจ 3. ความขยนั หมนั่ เพยี ร 4. ความอดทนอดกลนั้ 5. ความเทา่ เทียมเสมอภาค 25. เน้อื ความในบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายข้อใด ท่ีสะทอ้ นว่าวัฒนธรรมไทยไม่ใช่วัฒนธรรมสากล 1. ในการใช้สิทธแิ ห่งตนก็ดใี นการชาระหนกี้ ็ดี บคุ คลทุกคนต้องกระทาโดยสจุ ริต 2. เม่อื ไมม่ บี ทกฎหมายทจ่ี ะยกมาปรบั คดไี ดใ้ ห้วนิ ิจฉัยคดนี ้นั ตามจารตี ประเพณีแห่งทอ้ งถน่ิ 3. ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญามิได้ แต่เม่ือผู้น้ันหรือญาติสนิทของผู้น้ันร้อง ขอ อยั การจะยกคดีขึน้ ว่ากลา่ วกไ็ ด้ 4. บุคคลผู้ซื้อทรัพยส์ ินมาโดยสุจริตในการขายทอดตลาด หรือในท้องตลาด หรือจากพ่อค้าซ่ึงขาย ของชนดิ นั้น ไมจ่ าตอ้ งคนื ให้แกเ่ จ้าของแท้จรงิ เว้นแตเ่ จา้ ของจะชดใช้ราคาทซี่ อื้ มา 5. ถ้าสัญญาต่างตอบแทนมีวัตถุที่ประสงคเ์ ป็นการก่อให้เกิดหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพย์เฉพาะสิ่ง และทรัพย์น้ันสูญหรือเสียหายไปด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง อันจะโทษลูกหน้ีมิได้ไซร้ ท่านว่าการสูญหรือ เสียหายนั้นตกเป็นพบั แกเ่ จา้ หน้ี โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 19 เพือ่ เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พ้นื ฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 26. ข้อใดคือส่ิงที่ต้องเรง่ ส่งเสรมิ แกผ่ คู้ นในการปรบั ตัวเพื่อการอยูร่ ว่ มกันในสังคมพหวุ ฒั นธรรม 1. การสร้างสานึกชาตินิยม เชือ้ ชาตินยิ ม และชาติพันธน์ุ ยิ ม 2. การรณรงคส์ ง่ เสริมจิตสานึกในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมประจาชาติ 3. การใหค้ ณุ คา่ ความหลากหลาย และการเคารพศักดศิ์ รีความเปน็ มนษุ ย์ 4. การเรยี นร้ทู กั ษะการประกอบอาชพี เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั 5. การศึกษาประวัตศิ าสตร์เพอื่ สรา้ งความรกั ผูกพนั และภาคภมู ิใจในความเปน็ ชาติ 27. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของวัฒนธรรม ที่เกดิ จากการผสมผสานทางวฒั นธรรม (cultural assimilation) ระหว่างประชาชนในภมู ิภาคอาเซียน 1. มีความสมบรู ณ์เปน็ สากล 2. มกี ารเปล่ยี นแปลง ไมค่ งที่ 3. มคี วามหลากหลาย แตกต่างกนั 4. มลี กั ษณะเป็นสง่ิ ประดษิ ฐ์ทางสังคม 5. มีการไหลเวยี นแลกเปล่ียนระหว่างสังคม 28. ขอ้ ใดเป็นพระราชอานาจที่ไมป่ รากฏเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรในรัฐธรรมนญู 1. การพระราชทานคาปรกึ ษาแกร่ ฐั บาล 2. การพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ ประสาน 3. การโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั ฐานนั ดรศักด์ิ 4. การโปรดเกล้าฯ แตง่ ตงั้ องคมนตรี 5. การพระราชทานอภัยโทษ 29. ขอ้ ใดจบั คู่ระบบการเมืองการปกครองกับขอ้ ดอ้ ยของระบบน้ันไม่ถูกต้อง 1. ประชาธิปไตย กบั ปัญหาเสยี งข้างมากไมร่ ับฟงั เสยี งขา้ งนอ้ ย 2. เสรีนยิ ม กบั ปัญหาการขาดเสถยี รภาพทางการเมอื ง 3. อนุรักษ์นยิ ม กบั ปัญหาการพฒั นาท่ลี า่ ชา้ 4. อานาจนิยม กับ ปญั หาการขาดระเบียบและกตกิ าในสังคม 5. สังคมนิยม กบั ปัญหาการริดรอนเสรภี าพทางเศรษฐกจิ 30. ปรากฏการณโ์ ลกาภิวตั นท์ างเศรษฐกจิ มผี ลกระทบต่อรฐั ในเรอ่ื งต่าง ๆ ต่อไปนยี้ กเวน้ เร่อื งใด 1. รฐั มคี วามสมั พนั ธ์กับตลาดในระดับโลกมากย่ิงข้ึน 2. ตลาดมีบทบาทมากย่ิงข้ึนในการสร้างสวัสดกิ ารแทนที่รฐั 3. เสน้ แบ่งดินแดนที่แน่นอนของรฐั ชาติคลายความสาคัญลง 4. ความเป็นอสิ ระและอานาจอธิปไตยของรัฐมเี พ่มิ ขึ้นอยา่ งมนี ัยสาคัญ 5. รัฐลดบทบาทความสาคัญในฐานะตวั กระทาทางการเมอื งระหว่างประเทศ โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 20 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐานสอบ O-NET ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 31. ภายใต้ปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองในหมู่ประชาชนในระยะกว่า 10 ปีที่ผ่านมาของไทย ข้อใดไม่ใช่ แนวทางเสริมสรา้ งประชาธปิ ไตยไทยให้มั่นคง 1. บ่มเพาะประชาชนใช้หลกั เหตผุ ลเปน็ พืน้ ฐานในการตดั สนิ ใจทางการเมือง 2. มีกฎหมายท่ียอมรับสิทธิในการดาเนินกจิ กรรมทางการเมืองของประชาชน 3. ลดความเหลือ่ มล้าทางอานาจระหว่างชนชั้นปกครองและประชาชน 4. ขจดั ความคดิ เหน็ ทางการเมอื งทแี่ ตกตา่ งกันในหมปู่ ระชาชน 5. สร้างความเชื่อม่นั ต่อกติกาประชาธปิ ไตยในหมู่ประชาชน 32. ระบอบเสรีประชาธิปไตยมลี กั ษณะสาคญั ดังตอ่ ไปน้ี ยกเวน้ ขอ้ ใด 1. กองทัพมบี ทบาทสาคัญในการประกนั เสถียรภาพของรัฐบาลจากการเลือกต้ัง 2. ลดอานาจรฐั เพ่ิมอานาจและการมีสว่ นรว่ มของประชาชน 3. ตัวกระทาทางการเมืองยอมรับกฎกตกิ าประชาธปิ ไตย 4. ใหเ้ สรภี าพพลเมืองและสิทธิทางการเมืองในระดับสงู 5. ใชก้ ฎหมายเป็นเครื่องมอื ในการปกครอง บันทกึ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................……………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................……………………………………………………………………………………… .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 21 เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาติขัน้ พืน้ ฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 สาระการเรียนรูท้ ี่ 3 เศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดไปใช้ในทางเลือกต่างๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดความพอใจมากท่ีสุดท้ังนี้เน่ืองจากทรัพยากรธรรมชาติมีจากัดขณะที่ความต้องการของ มนษุ ยม์ ีไมจ่ ากดั  อดมั สมิธ (Adam Smith) เปน็ บิดาเศรษฐศาสตร์ ชาวสกอตแลนด์  อัลเฟรด มาร์แชล (Alfred Marshall) เป็น บดิ าเศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค ชาวองั กฤษ  จอหน์ เมยน์ ารด์ เคนส์ (John Maynard Keynes) เป็น บดิ าเศรษฐศาสตร์มหภาค ชาวองั กฤษ  ต้นทุนค่าเสียโอกาส คือ มูลค่าของผลตอบแทนจากกิจกรรมที่สูญเสียโอกาสไปในการเลือกทา กจิ กรรมอยา่ งหนง่ึ  ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง ปัจจัยการผลิตที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการ ได้แก่ ทด่ี นิ แรงงาน ทุน และผู้ประกอบการ โดยท่ี - ผ้ทู ี่เป็นเจ้าของทด่ี นิ (Landlord) จะไดร้ บั ผลตอบแทนในรปู แบบ ค่าเชา่ (Rent) - แรงงาน (Labor) จะได้รบั ผลตอบแทนในรูปแบบ ค่าจ้าง (Wage) - ผู้ที่เป็นเจา้ ของทนุ (Capital’s Owner) จะได้รบั ผลตอบแทนในรูปแบบ ดอกเบ้ีย *** ปล.เงินไม่ใช่ทุน เน่ืองจากเงินไม่สามารถผลติ สนิ ค้าชนิดใดได้เลย เงินเป็นเพียงสอ่ื กลางในการ แลกเปลย่ี นสนิ ค้าและบริการเท่าน้ัน - ผ้ปู ระกอบการ (Entrepreneurship) จะไดร้ ับผลตอบแทนในรปู แบบ กาไร  ปญั หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกิจ - จะผลติ อะไร (What) : ควรผลิตสนิ คา้ -บรกิ ารอะไร ในปรมิ าณเท่าใด - จะผลติ อย่างไร (How) : โดยใชท้ รพั ยากรไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพมากท่สี ดุ - จะผลติ เพ่ือใคร (For Whom) : จะกระจายสินคา้ บริการไปใหใ้ คร  อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ความต้องการซ้ือสินค้าหรือบริการชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีอานาจซ้ือหรือมคี วามสามารถในการตอบสนองความต้องการน้ันๆ ราคา (บาท/หนว่ ย) 100 90 80 70 60 50 40 อปุ สงค์/ความตอ้ งการ 30 50 70 98 115 150 180 จากตารางด้านบนจะสังเกตได้ว่า เมื่อราคาสินค้าแพงขึ้น ความต้องการหรืออุปสงค์ลดน้อยลง (P>,D<) แตใ่ นทางกลับกนั เม่ือราคาสนิ ค้าถกู ลง ความต้องการหรืออุปสงคก์ เ็ พิม่ มากขนึ้ (P<,D>) โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 22 เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ ้นั พนื้ ฐานสอบ O-NET ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปัจจยั ท่ีกาหนดอุปสงค์ - ราคาของสนิ ค้า เมอ่ื ราคาแพงขน้ึ ความต้องการจะลดลง (P>,D<) - รายได้ของผู้บริโภค ในกรณีท่ีเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) เมื่อผู้บริโภคมีรายได้ เพ่ิมมากขึ้น กบ็ ริโภคเพิ่มขึ้น อยา่ งไรก็ตามหากรายได้เพ่ิมขึ้น แลว้ ผู้บริโภคซื้อสนิ ค้าน้ันลดลง แสดงว่าสนิ ค้า นั้นเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) เช่น บะหมี่กึ่งสาเร็จรูป ซึ่งอันที่จริงอาจจะไม่ได้หมายถึง คุณภาพของสินค้าจริงๆ ว่าบะหม่ีกึ่งสาเร็จรูปไม่ดี แต่เป็นเร่ืองของการรับรู้ของผู้บริโภคแต่ละคนท่ีอาจมี มุมมองแตกต่างกันไป เช่น ถ้ารวยขึ้นก็ไมอ่ ยากกินบะหมีก่ ่ึงสาเร็จรปู อาจหนั ไปกินอย่างอ่ืน เชน่ ไกท่ อด แทน เปน็ ตน้ - ราคาสินค้าอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง แบ่งเป็น 2 ประเภท > สินค้าทดแทนกนั (Substitute Good) เช่น เม่อื หมรู าคาแพงขึ้น ผู้บริโภคหมูลดลง (P>,D<) > สนิ ค้าท่ีใช้ประกอบกัน (Complementary Good) เช่น เม่ือราคาน้ามันแพงขึ้น ความต้องการ ซื้อรถยนตก์ จ็ ะลดลง (P>,D<) - รสนิยมของผู้บริโภค เช่น หากรสนิยมในการบริโภคเปล่ียนแปลงไป จะทาให้ความ ต้องการสินคา้ ท่เี คยใชอ้ ยเู่ ปล่ียนแปลงไป -การคาดการณ์รายได้ในอนาคต เช่น หากผู้บริโภครวู้ ่าจะไดม้ ีการปรับขึน้ เงนิ เดอื น กอ็ าจจะ บรโิ ภคลว่ งหน้าไปกอ่ น ทาให้ความตอ้ งการบริโภคสนิ คา้ สูงขึ้น - ปจั จยั อื่นๆ เช่น ฤดกู าล จานวนประชากร ฯลฯ กฎของอปุ สงค์ (Law of Demand) หมายถึง กฎที่ว่าดว้ ยระบบความสมั พันธ์ระหวา่ งราคาสนิ ค้ากบั ปริมาณ ความต้องการซือ้ สนิ คา้ นั้น ซึ่งกฎน้ีกล่าวไว้ว่า “ราคาและปรมิ าณความต้องการซือ้ สนิ คา้ จะมีความสมั พันธก์ นั ในทศิ ตรงกันขา้ ม”  อปุ ทาน (Supply) ปรมิ าณความตอ้ งการเสนอขายสินค้า ณ ระดับราคาใดราคาหน่ึง ในเวลาใดเวลา หนงึ่ โดยกาหนดใหส้ ง่ิ อน่ื ๆคงท่ี ราคา (บาท/หน่วย) 100 90 80 70 60 50 40 อปุ สงค/์ ความตอ้ งการ 270 240 200 170 140 110 70 จากตารางดา้ นบนจะสงั เกตไดว้ า่ เม่อื ราคาสินคา้ แพงข้ึน ความต้องการหรอื อุปสงค์กม็ ากขึน้ (P>,S>) แตใ่ นทางกลบั กัน เมือ่ ราคาสินคา้ ถกู ลง ความต้องการหรอื อปุ สงค์ก็เพม่ิ ลดลง (P<,S<) โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 23 เพอ่ื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ นั้ พน้ื ฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ปัจจัยที่กาหนดอปุ ทาน - ราคาของสนิ ค้า เมื่อราคาแพงข้นึ ความต้องการขายเพ่ิมขนึ้ (P>,S>) - ราคาของปัจจัยการผลิตหรือต้นทุนการผลิต เช่น หากต้นทุนค่าขนส่งแพงขึ้นเพราะราคา น้ามันแพงข้ึน แต่ราคาสิ้นค้าที่นาไปวางขายไม่เปล่ียนแปลง จะทาให้ผู้ผลิตอยากขายสินค้าในปริมาณที่ นอ้ ยลง ไดก้ าไรนอ้ ยลง - ราคาสินค้าอน่ื ๆ ที่เก่ียวข้อง เชน่ กรณีท่รี าคาสินค้าอื่นแพงขึ้น อาจมีผลทาให้อุปทานของ สนิ ค้าทผ่ี ลิตอยลู่ ดลง ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัด เช่น เมื่อราคาข้าวโพดแพงขึ้น คนท่ีเคยปลูกมันสาปะหลังอยู่ อาจ หันไปปลกู ข้าวโพดแทน และลดการปลูกมันสาปะหลังลง ซึง่ ส่งผลทาให้อุปทานของมันสาปะหลังสงู ข้ึน ขณะท่ี อปุ ทานของข้าวโพดลดลง - เทคโนโลยีในการผลิตสินค้า เช่น หากมีการคิดค้นเทคโนโลยีในการผลิตให้ดีข้ึน ทาให้ ผลิตไดป้ รมิ าณสนิ ค้ามากขนึ้ ด้วยตน้ ทนุ เทา่ เดมิ จะทาใหป้ ริมาณการเสนอขายสินคา้ เพ่ิมขึ้นได้ - การคาดการณ์ในอนาคต เช่น หากผู้ผลิตหรือผู้ขายคาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัว ก็เสนอ ขายสินคา้ ในปริมาณที่เพ่ิมข้นึ เปน็ ต้น - ปจั จัยอ่ืน เช่น ฤดูกาล ภาษีและเงินอดุ หนนุ จานวนผู้ขาย และโครงสรา้ งตลาดสินค้า กฎของอุปทาน (Law of Supply) หมายถึง กฎที่ว่าด้วยเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้ากับปริมาณ การเสนอขายสนิ ค้า ซ่ึงกฎนก้ี ลา่ วไว้วา่ “ปริมาณความตอ้ งการขายสนิ คา้ และราคาสินคา้ มคี วามสมั พันธ์ไปในทศิ ทางเดยี วกัน”  ภาวะดุลยภาพ (Equilibrium) หมายถึง ระดับราคาที่ผู้ซื้อและผู้ขายเห็นพ้องต้องกัน หรือระดับ ราคาที่อปุ สงค์เทา่ กบั อปุ ทาน หรอื เส้นอปุ สงค์ตัดกับเสน้ อุปทาน จากรูป ระดบั ดุลยภาพท่ีความตอ้ งการซอื้ และความต้องการขายเท่ากนั พอดี (เสน้ D ตดั กบั เส้น S ทจี ุด E) โดย ณ ราคาสินคา้ 60 บาทตอ่ หนว่ ย ผู้ซื้อและผขู้ ายมคี วามต้องการสินคา้ ท่ี 120 หน่วย จุดที่ราคาสงู กว่าราคาดุลยภาพจะเกดิ อุปทานส่วนเกิน (Excess supply) และจะมีการปรบั ตัวเข้า สรู่ าคาดุลยภาพ ส่วนจุดที่ราคาต่ากว่าราคาดุลยภาพจะเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand) และจะมีการ ปรับตวั สรู่ าคาดลุ ยภาพ  นโยบายการกาหนดราคาขนั้ ต่า เป็นนโยบายท่มี ุ่งช่วยผู้ผลิตให้สามารถขายสินค้าไดส้ ูงข้นึ มกั ใชอ้ ยู่ ท้ังในตลาดสินค้าโดยเฉพาะอย่างย่ิงสินค้าเกษตร และตลาดปัจจัยการผลิตเช่น ตลาดแรงงาน เน่ืองจาก ตลาดเหลา่ นี้ ผู้ผลิตหรอื เจ้าของปัจจัยการผลิตไม่มีอิทธิพลในการกาหนดราคา และมีปัจจัยบางอย่างท่ีทาให้ ต้องยอมขายสินค้าในราคาทค่ี ่อนขา้ งต่าจากความไม่สมบูรณ์ของตลาดดงั กลา่ ว หากปล่อยใหก้ ลไกตลา โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 24 เพ่อื เตรียมความพร้อมทดสอบระดับชาตขิ ้นั พืน้ ฐานสอบ O-NET ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ทางานโดยเสรีแล้ว จะมีผลให้ราคาดุลยภาพอยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่า ก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมใน สงั คม รัฐบาลจึงตอ้ งเขา้ มาแทรกแซงกลไกตลาดโดยการกาหนดราคาข้ันต่า กล่าวคอื เปน็ การทาให้ราคาของทม่ี ีราคาตา่ เปน็ ของทม่ี ีราคาสูงขน้ึ  นโยบายการกาหนดราคาขนั้ สูง (Maximum Price Policy)  นโยบายกาหนดราคาขั้นสูงมักใชใ้ นกรณีของสินค้าทผี่ ู้บริโภคทกุ ระดบั รายได้จาเป็นต้องซื้อ เช่น นมผงสาหรบั ทารก นา้ ตาลทราย น้ามนั เบนซิน ฯลฯ เปน็ ต้น กล่าวคอื เปน็ การทาให้ราคาของที่มีราคาสูงเปน็ ของทีม่ รี าคาต่าลง  ตลาด (Market) เปน็ สถานท่ซี ึ่งผู้ซ้ือและผูข้ ายมาตดิ ตอ่ ซ้ือขายสนิ คา้ และบรกิ ารกัน ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ - ไมจ่ าเป็นทจี่ ะต้องมสี ถานทีเ่ พอื่ มาตกลงซอื้ ขายกนั - ไม่จาเปน็ ท่ีจะต้องมีการพบกัน เชน่ ตลาดซือ้ ขายลว่ งหนา้ ตลาดหลกั ทรพั ย์  ประเภทของตลาด แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญๆ่ คอื > ตลาดแขง่ ขนั สมบูรณ์ > ตลาดแข่งขนั ไม่สมบูรณ์ ตลาดแข่งขันสมบรู ณ์ - มจี านวนผซู้ ้อื และผูข้ ายในตลาดจานวนมาก - สินค้าท่ีขายในตลาดมีลักษณะเหมือนกนั ทุกประการ จึงทาให้ไม่มผี ู้ซื้อและผู้ขาย รายใดสามารถกาหนดราคาของสนิ ค้าในตลาดได้ => ดงั นน้ั ผู้ซอ้ื ผขู้ ายในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณจ์ งึ ตอ้ งยอมรบั ราคาทต่ี ลาดกาหนด - ผผู้ ลติ หรอื ผขู้ ายสามารถเข้าออกจากตลาดไดอ้ ย่างเสรี โดยมกี าไรเป็นแรงจงู ใจ - มกี ารเคล่ือนยา้ ยทรัพยากรการผลิตสินคา้ และบริการไดอ้ ยา่ งเสรี - ผูซ้ ือ้ และผู้ขายมคี วามรู้ และรบั ทราบข้อมูลข่าวสาร โดยเฉพาะเร่อื งราคาไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตวั อย่าง ตลาดสินค้าทางการเกษตร ตลาดซื้อขายหลกั ทรัพยแ์ ละเงินตราต่างประเทศ (Forex Trading) “ในทางเศรษฐศาสตร์ถอื วา่ ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์เปน็ ตลาดในอุดมคติ” ตลาดแข่งขันไม่สมบูณ์ หมายถึง ตลาดที่ผู้ซ้ือหรือผู้ขายมีอิทธิพลในการกาหนดราคา หรือปริมาณซื้อขายสินค้ากันบ้างไม่มากก็น้อย ซึ่งขึ้นอยู่กับความไม่สมบูรณ์ของตลาดจะมีมากน้อยเพียงใด ตลาดแขง่ ขันไมส่ มบูรณ์แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คอื - ตลาดผกู ขาดสมบูรณ์ (Monopoly) - ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย (Oligopoly) - ตลาดก่งึ แข่งขันกงึ่ ผ้กู ขาด (Monopolistic Competition) โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 25 เพ่ือเตรียมความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ ้ันพ้ืนฐานสอบ O-NET ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 ตลาดผูกขาด หมายถงึ ตลาดท่ีมีผูผ้ ลิตหรือผขู้ ายเพียงรายเดียวโดยสินค้าและบรกิ ารใน ตลาดเปน็ สนิ ค้าที่ไม่มีสนิ ค้าอ่นื ใดมาทดแทนกนั ไดเ้ ลย เชน่ การไฟฟ้าฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย ตลาดผ้ขู ายน้อยร้าย มีผู้ขายหรือผู้ผลิตจานวนน้อย ผผู้ ลิตในตลาดผู้ขายน้อยรายมักไม่ ต้องการร่วมมือกับผู้ผลิตรายอ่ืน และคานึงถึงผลกาไรท่ีจะได้รับ จึงต้องสนใจแนวทางการดาเนินงานของ คแู่ ข่งด้วย ตลาดก่ึงแข่งขันกึ่งผูกขาด มีผู้ขายหรือผู้ผลิตในตลาดเป็นจานวนมาก แต่ไมม่ ากเท่ากับ ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ผลิตแต่ละรายได้ส่วนแบ่งตลาดน้อย จึงไม่สามารถมีอิทธิพลต่อการกาหนดราคา สินค้ามีลักษณะแตกต่างกัน ความแตกต่างน้ีอาจเกิดจากรูปลักษณ์หรือเกิดขึ้นในความรู้สึกของผู้ซ้ือ โดยที่ ผผู้ ลิตหรือผขู้ ายสามารถเข้าออกจากตลาดไดอ้ ยา่ งเสรี ตัวอย่าง สบู่ : ลกั ซ์ นกแก้ว อิมพีเรยี ล หนา้ ทขี่ องตลาดในเชงิ เศรษฐศาสตร์ - จัดหาสนิ ค้า (Assembling) - เกบ็ รกั ษาสินคา้ (Storage) - ขายสินค้า (Selling) - กาหนดมาตรฐานของสินค้า (Standardization) - การเงนิ (Financing) - การเสีย่ งภัย (Risk) - การขนส่ง (Transportation)  ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) หมายถึงมูลค่ารวมใน ราคาตลาดของสินค้าและบริการที่เป็นสินค้าข้ันสุดท้าย (final product) ทุกประเภทท่ีผลิตได้เฉพาะ ภายในประเทศเท่าน้ัน ในระยะเวลาท่ีกาหนด (โดยทั่วไปจะมีระยะเวลา 1 ปี) ก่อนที่จะหักค่าเส่ือมราคา ทรัพย์สินอันเนื่องจากการผลิตสนิ ค้าและบริการเหล่านั้นขึ้นมา โดยไม่นับรวมผลผลิตของผู้ท่ีถือสัญชาติของ ประเทศนนั้ ไปทามาหาได้ในตา่ งประเทศ GDP = การบรโิ ภค(C) + การลงทุน (I) + รฐั บาล (G) + (การส่งออก (X) – การนาเขา้ (M)  ดังน้ัน ตัวเลขรายได้ประชาชาติจึงเป็นดัชนีสาคัญอย่างหนึ่งในการท่ีจะชี้ให้เห็นถึงระดับการ พัฒนา รวมท้ังความม่ังคั่งหรือยากจนของระบบเศรษฐกิจในประเทศหน่ึงๆ เป็นตัวเปรียบเทียบฐานะทาง เศรษฐกิจของประเทศกับประเทศต่างๆ รวมทั้งใช้เป็นเครื่องมือกาหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ และแสดงให้เหน็ ถงึ ความสาเร็จของนโยบายตา่ งๆ ท่ีไดด้ าเนินการไปแลว้  ผลิตภณั ฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) หมายถึงมูลค่ารวมในราคา ตลาดของสนิ ค้าและบริการขน้ั สดุ ทา้ ยที่ผลิตโดยประชาชาตภิ ายในระยะเวลา 1 ปี ก่อนทีจ่ ะหกั ค่าเสอ่ื มราคา โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 26 เพอ่ื เตรียมความพร้อมทดสอบระดับชาติขั้นพนื้ ฐานสอบ O-NET ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ทรัพยส์ ินอนั เนือ่ งจากการผลิตสินค้าและบริการเหล่าน้ันข้นึ มา คาว่า “ประชาชาติ” หมายถึง บุคคลที่ถือ สญั ชาตขิ องประเทศนั้นๆ ไม่ว่าจะอยใู่ นประเทศหรือนอกประเทศ GNP = GDP + (รายไดท้ ี่พลเมืองกอ่ ข้ึนในตา่ งประเทศ–รายไดท้ ี่พลเมืองทห่ี าได้ในประเทศนั้น)  รายได้ประชาชาติ (National Income : NI) คือผลตอบแทนจากปัจจัยการผลิต ซึ่งได้แก่ ค่าตอบแทนแรงงาน ผลตอบแทนจากที่ดิน ทุน และ การประกอบการโดยมีความสัมพันธ์กับผลิตภัณฑ์ ประชาชาตดิ งั น้ี NI = GNP - คา่ เส่ือมราคา - (ภาษีทางอ้อม - เงนิ อุดหนนุ )  ผลิตภัณฑม์ วลรวมประชาชาติตอ่ หวั (GNP Per Capita) คานวณจากผลิตภณั ฑม์ วลรวมประชาชาติ หารดว้ ยจานวนประชากรทั้งประเทศ  รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคน (Per Capita Income) รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคนหาได้จาก รายได้ประชาชาติหารด้วยจานวนประชากร  เงิน คือ สิ่งใดๆ ก็ตามที่สังคมยอมรับโดยทั่วไปในขณะใดขณะหนึ่ง และในเขตพื้นท่ีใดพ้ืนท่ีหนึ่งใน ฐานะเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ ท้ังนี้สิ่งน้ันจะต้องถูกกาหนดค่าขึ้นเป็นหน่วยเงินตรา และเปน็ หน่วยวดั คา่ ที่แน่นอน >> ววิ ัฒนาการของเงนิ << - เงินท่ีเปน็ ส่ิงของหรือสินค้า (Commodity Money) - โลหะและเหรียญ (Coins) - ธนบตั ร (Paper Money) - เงนิ ฝากกระแสรายวัน (Demand Deposits) >>การแลกเปลย่ี น<< - ระบบการแลกเปลยี่ นสิ่งของต่อสง่ิ ของ (Barter System) - ระบบทม่ี กี ารใชเ้ งินเปน็ สือ่ กลางในการแลกเปล่ียน (Money) - ระบบที่ใช้เครดิตเป็นส่อื กลางในการแลกเปล่ยี น (Credit) >>หนา้ ท่ขี องเงิน<< - เป็นส่ือกลางในการแลกเปลยี่ น (Medium of Exchange) - เปน็ เครอ่ื งวัดมลู คา่ (Standard of Value) - เปน็ มาตรฐานการชาระหนีใ้ นอนาคต (Standard of Deferred Payment) - เป็นเคร่ืองรักษามลู ค่า (Store of Value) โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 27 เพอื่ เตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาติข้นั พ้นื ฐานสอบ O-NET ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6  ปรมิ าณเงิน (Money Supply) ปรมิ าณเงนิ ตามความหมายแคบ M1 = เหรยี ญกษาปณ์ + ธนบัตร + เงนิ ฝากกระแสรายวนั *** ไม่รวมธนาคาร ไมร่ วมธนาคารกลาง และกระทรวงการคลัง ปริมาณเงินตามความหมายกว้าง M2 = M1 + เงินฝากออมทรพั ย์และเงินฝากประจา ปรมิ าณเงินตามความหมายกวา้ งมาก M3 = M2 + ตั๋วสญั ญาใช้เงิน ธนาคารกลาง (Central Bank) คือ สถาบันการเงินท่ีได้รับมอบอานาจจากรัฐบาลให้ ควบคุมดูแลระบบการเงนิ และเครดิตของประเทศใหอ้ ยู่ในระดบั ทเ่ี หมาะสม เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ก่เศรษฐกิจ และสังคมสว่ นรวม >>ขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งธนาคารกลางและธนาคารพาณิชย์<< - ธนาคารกลางทาหน้าทเี่ พ่อื ประโยชนข์ องประเทศเปน็ หลัก ไม่ใชแ่ สวงหากาไร - ธนาคารกลางไมด่ าเนินธรุ กิจแข่งขนั กบั ธนาคารพาณิชย์ - ลูกค้าของธนาคารกลางและธนาคารพาณิชย์เปน็ คนละประเภทกัน นโยบายการเงิน (Monetary Policy) คือ การดูแลปริมาณเงินและสินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ป้าหมายทางเศรษฐกจิ ประการใดประการหนงึ่ หรอื หลายประการ ประเภทของนโยบายการเงนิ - นโยบายการเงินแบบเขม้ งวด (Restrictive Monetary Policy) คือ การใช้เครื่องมือ ต่างๆทางการเงินเพอื่ ให้ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจลดลง - นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย (Easy Monetary Policy) คือ การใชเ้ คร่ืองมอื ตา่ งๆ ทางการเงนิ เพ่อื ใหป้ ริมาณเงนิ ในระบบเศรษฐกิจเพมิ่ ข้ึน >>เคร่ืองมือของนโยบายการเงิน<< - การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทวั่ ไป (Quantitative or General Control) โดย เครื่องมอี ท่ใี ชใ้ นการควบคมุ ทางปรมิ าณ ไดแ้ ก่ o การซ้ือขายหลักทรพั ย์ o อัตรารบั ช่วงซื้อลด o อัตราดอกเบีย้ มาตรฐาน o เงินสดสารองที่ต้องดารง - การควบคุมทางคุณภาพหรือโดยวิธีเลือกสรร (Qualitative or Selective Credit Control) เป็นการควบคุมชนิดของเครดิตซ่ึงใช้ในกรณีท่ีธนาคารจาเป็นต้องจากัดเฉพาะเครดิตบางชนิด เท่าน้นั โดยชนดิ ของเครดิตทีธ่ นาคารกลางมกั จะเลือกควบคุม ไดแ้ ก่ o การควบคมุ เครดิตเพื่อการซื้อหลักทรพั ย์ o การควบคุมเครดิตเพอื่ การอุปโภคบริโภค o การควบคมุ เครดติ เพ่อื การซื้อบ้านและทดี่ ิน โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 28 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาติขัน้ พ้นื ฐานสอบ O-NET ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ภาษีอากร เป็นรายได้ของรัฐบาบทบี่ ังคับเกบ็ จากประชาชน เพอื่ ประโยชน์ของคนในประเทศ โดย ผูจ้ ่ายไม่ได้รับประโยชนต์ อบแทนตามส่วนของเงินท่ีจ่าย โดยรายได้ของรัฐบาลไทยมากกว่าร้อยละ 80 เป็น รายไดจ้ ากภาษีอากร รายจ่ายของรฐั บาล การใช้จ่ายของรัฐบาล เป็นการใช้จ่ายในสิ่งทรี่ ฐั บาลต้องทา เพ่ือประโยชน์ของ คนท้ังประเทศ ซึ่งได้แก่ การรักษาความสงบภายในประเทศ การป้องกันประเทศและการลงทุนใน สาธารณปู โภค หนีส้ าธารณะ หน้ีของรัฐบาลท่ีเกิดจากการกยู้ ืมและการคาประกันเงินกู้โดยรฐั บาล จะเรยี กว่าหน้ี สาธารณะ เพราะหนเ้ี หล่านี้จะต้องช้าระด้วยภาษีอากร ที่เรียกเก็บจากประชาชนท้ังประเทศ หน้ีของรัฐบาลท่ี เกิดจากการกยู้ ืมโดยรัฐบาล เกดิ จากรฐั บาลมีรายไดไ้ มเ่ พยี งพอกับรายจา่ ย งบประมาณแผ่นดิน เป็นแผนในการจัดหารายรับและรายจ่ายของรัฐบาลในช่วง 1 ปี ซง่ึ เรียกว่า ปงี บประมาณ แตล่ ะประเทศจะมีวันเรมิ่ ตน้ ไม่ตรงกนั สาหรบั ประเทศไทย จะเริ่มต้นวันที่ 1 ตลุ าคม และส้ินสุด วนั ท่ี 30 กันยายน เช่น งบประมาณประจาปี 2554 จะเริ่มในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2553 และสนิ้ สุดใน วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2554 เปน็ ต้น นโยบายการคลัง เป็นแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาทางเศรษฐกิจ ด้วยการใช้มาตรการทางการคลัง ซง่ึ ไดแ้ ก่ มาตรการทางภาษี การใชจ้ า่ ยของรัฐบาล และการกอ่ หน้ีสาธารณะ - นโยบายการคลงั แบบผอ่ นคลาย >>เพิม่ การใช้จา่ ยของรัฐบาล ลดการเก็บภาษี - นโยบายการคลงั แบบเขม้ งวด >>ลดการใชจ้ า่ ยของรฐั บาลและเพ่ิมการเก็บภาษี  อัตราแลกเปลีย่ นเงนิ ตราต่างประเทศ อัตราแลกเปลยี่ นเงนิ ตราตา่ งประเทศ หมายถงึ ราคาของ เงินสกุลหน่ึงที่คิดเทียบกับเงินสกุลอ่ืน อัตราแลกเปลี่ยนในระบบอัตราแลกเปลย่ี นลอยตวั จะถูกกาหนดโดย อุปสงค์ ต่อเงินตราต่างประเทศ และอุปทานของเงินตราต่างประเทศ เช่น เงิน 30 บาท = 1 ดอลลาร์ เปลี่ยนเป็น 33 บาท = 1 ดอลลาร์ หมายถึง เงนิ บาทออ่ นค่า และ 27 บาท = 1 ดอลลาร์ หมายถงึ เงนิ บาทแข็ง คา่ ดุลการชาระเงิน เป็นการบันทึกจานวนเงินตราต่างประเทศท่ีประเทศได้รับและจ่ายในช่วงเวลา หนงึ่ ประกอบด้วยบญั ชใี หญ่ 3 บญั ชี คือ - บญั ชเี งนิ เดนิ สะพัด เปน็ บญั ชีทแี่ สดงถงึ รายได้และรายจ่ายของประเทศ - บัญชีเงินทุนเคลื่อนย้าย เป็นบัญชีที่แสดงถึงจานวนเงินลงทุน เงินกู้ยืม และเงินฝากทั้ง ระยะสั้นและระยะยาว ของชาวตา่ งประเทศทเ่ี ข้ามาลงทนุ ในประเทศ - บญั ชีเงินทนุ สารองระหวา่ งประเทศ เป็นทรัพยส์ ินทีส่ ามารถใชช้ าระหน้ีระหวา่ งประเทศได้  เงนิ เฟอ้ (Inflation) เป็นภาวะทร่ี าคาสนิ ค้าสงู ข้นึ อย่างตอ่ เนื่อง ของท่ีเราเคยซื้ออยู่ก็ปรับราคาสูงขึ้น กล่าวคือ เงินมากซื้อของไดน้ ้อย จากเดิมซื้อ ลูกอม 2 เม็ด ใช้เงิน 1 บาท แต่ตอนนี้ใช้เงิน 1 บาท ซ้ือลูกอมได้ เมด็ เดยี วทาใหผ้ ผู้ ลิตไดเ้ ปรยี บ ผมู้ รี ายไดป้ ระจาเสยี เปรยี บ โรงเรยี นเวยี งสระ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 29 เพ่ือเตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พน้ื ฐานสอบ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6  เงนิ ฝดื (Deflation) เปน็ ภาวะท่ีราคาสนิ ค้าลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ของที่เราเคยซ้ืออยกู่ ป็ รับราคาลงมา กล่าวคือ เงินน้อยซื้อของได้มาก จากเดิมซ้อื ทอง 1 บาท ราคา 10000 บาท แต่ตอนนี้ใช้เงิน 8000 บาทเพื่อ ซ้ือทอง  ดุลยภาพ (Equilibrium) ณ จดุ นี้จะไม่มใี ครไดเ้ ปรียบเสยี เปรียบ เพราะเปน็ จุดกึ่งกลางระหว่างเงิน เฟ้อกับเงินฝดื การแบง่ ช่วงของเงินเฟ้อ-เงินฝืด - 0%<x<5% = อยา่ งอ่อน - 5%<x<20% = ปานกลาง - 20%<x<50% = รุนแรง *** ประเทศไทยเฟ้อฝดื 3% ดที ี่สดุ  ระบบเศรษฐกจิ >> ระบบทนุ นิยมหรอื เสรีนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกจิ ที่เอกชนสามารถมีกรรมสิทธ์ใิ นทรัพย์สนิ ต่างๆ มีเสรีภาพในการเลอื กผลิต ว่าผลิตอะไร ผลิตอย่างไร และผลิตเพ่อื ใคร ระบบน้ีจะมีการแข่งขันระหว่างเอกชน อย่างเสรี หนว่ ยงานของรัฐจะเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งน้อยท่สี ดุ >> ระบบเศรษฐกิจแบบบังคับ เป็นระบบเศรษฐกิจที่รัฐจะเป็นผู้วางแผนการผลิตจาก ส่วนกลาง มีการจํากัดกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สินส่วนบุคคลและการทํางานของกลไกราคาแต่เน้นการกระจาย รายไดท้ ่ีเป็นธรรมแก่ประชาชนระบบนี้มี 2 รปู แบบ คอื >> ระบบสังคมนิยม คือ ระบบเศรษฐกิจที่รัฐบาลเขา้ ไปเป็นผู้ดําเนินการผลิตโดยเน้นในด้าน สวัสดิการของประชาชนในประเทศเป็นหลักรัฐบาลเป็นผู้กําหนดกิจกรรมทางเศรษฐกิจ รัฐเป็นเจ้าของปัจจัย การผลิตและกิจการขนาดใหญ่ที่สําคัญ เช่น กิจการสาธารณูปโภค เอกชนไม่มีเสรีภาพในการตัดสินใจเพื่อ ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจแต่ยังมีกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สินส่วนตัว และดําเนินกิจกรรมทาง เศรษฐกจิ ขนาดเลก็ ประชาชนท่วั ไปยังมีเสรีภาพอย่บู ้าง >> ระบบคอมมิวนิสต์ เป็นระบบเศรษฐกจิ ท่ีรัฐบาลเปน็ เจ้าของปัจจยั การผลิตทุกชนิดโดยรัฐบาลเป็น ผดู้ ําเนนิ การในการตดั สนิ ใจทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ประชาชนไม่มีเสรีภาพในการถือครองทรัพย์สิน ไม่มี เสรีภาพในการเลือกประกอบอาชีพ หรอื การเลอื กซื้อสนิ คา้ และบรกิ ารมาบริโภค >> ระบบเศรษฐกิจแบบผสม คอื ระบบเศรษฐกิจทนี่ ําลักษณะสําคญั ของระบบทุนนยิ มและสังคมนยิ ม มารวมไวด้ ้วยกนั กลา่ วคือ มที ั้งส่วนทป่ี ลอ่ ยให้เอกชนตัดสนิ ใจดําเนินการกิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง และส่วนที่ รัฐบาลเข้าไปควบคุมและวางแผนทางเศรษฐกจิ โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 30 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ นั้ พ้นื ฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 33. ข้อใดไม่จดั ว่าเปน็ ปจั จัยทุน (capital) หรอื สนิ ค้าทนุ ตามความหมายทางเศรษฐศาสตร์ 1. เงนิ ทุน 2. รถบรรทุก 3. อาคารสาํ นกั งาน 4. เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ 5. สัตว์ที่เลี้ยงไวใ้ ชง้ าน 34. ข้อใดเป็นข้อดีของระบบเศรษฐกิจแบบวางแผนจากส่วนกลางหรือสังคมนิยมเมื่อเปรียบเทียบกับระบบ เศรษฐกจิ แบบอ่นื ๆ 1. การจดั สรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพมากกวา่ 2. การกระจายรายได้และทรพั ย์สินมคี วามเท่าเทยี มกนั มากกวา่ 3. เอกชนมีเสรีภาพในการดําเนนิ กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ มากกว่า 4. ตลาดไม่ล้มเหลว เพราะกลไกราคาทาํ งานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่ 5. การตัดสนิ ใจจากส่วนกลางหรือรัฐบาลมคี วามถูกตอ้ งและแม่นยาํ มากกวา่ 35. ถ้านํ้ามันเบนซินและแก๊สโซฮอล์สามารถใชท้ ดแทนกันได้ เมื่อราคาน้ํามันเบนซินลดลง ในขณะท่ีราคาของ แกส๊ โซฮอล์ยังคงเดมิ จะเกดิ ผลตามข้อใด 1. อุปทานของแก๊สโซฮอล์จะลดลง (เส้นอุปทานของแก๊สโซฮอล์เคลอื่ นไปทางซ้าย) 2. อุปทานของนาํ้ มนั เบนซนิ จะลดลง (เสน้ อุปทานของํน้ามนั เบนซนิ เคลอื่ นไปทางซ้าย) 3. อุปสงคส์ าํ หรบั แก๊สโซฮอล์จะลดลง (เสน้ อุปสงคส์ าํ หรับแกส๊ โซฮอล์เคล่ือนไปทางซา้ ย) 4. อุปสงค์สําหรบั แก๊สโซฮอลจ์ ะเพ่มิ ขึ้น (เสน้ อุปสงค์สาํ หรับแก๊สโซฮอลเ์ คลอื่ นไปทางขวา) 5. อปุ สงคส์ าํ หรับน้าํ มันเบนซนิ จะเพิม่ ขึ้น (เสน้ อปุ สงคส์ ําหรับนํา้ มันเบนซนิ เคลอ่ื นไปทางขวา) 36. ในกรณีที่อุปทานของสินค้าลดลง แต่อุปสงค์สําหรับสินค้ายังคงเดิม จะส่งผลตอ่ การเปล่ียนแปลงในราคา และปริมาณดลุ ยภาพของตลาดสนิ ค้าน้นั อย่างไร 1. ราคาดลุ ยภาพจะลดลง และปรมิ าณดุลยภาพลดลง 2. ราคาดลุ ยภาพจะเพ่มิ ข้ึน และปรมิ าณดลุ ยภาพเพิม่ ขึ้น 3. ราคาดุลยภาพจะลดลง แต่ปริมาณดุลยภาพเพมิ่ ขึน้ 4. ราคาดลุ ยภาพจะเพมิ่ ขึ้น แตป่ รมิ าณดลุ ยภาพจะลดลง 5. ราคาดุลยภาพจะคงเดมิ แตป่ รมิ าณดลุ ยภาพลดลง โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 31 เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาติขน้ั พืน้ ฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6 37. ถ้าตลาดสินค้าชนิดหนึ่งเป็นไปตามกฎของอุปสงค์และอปุ ทานแล้ว ปรากฏการณต์ ามข้อใดไม่ใช่ผลที่เกิด จากการกําหนดราคาขนั้ สูงในตลาดสินค้าชนดิ นนั้ โดยรัฐบาล 1. สนิ คา้ ในตลาดจะเกิดภาวะความขาดแคลนขึ้น 2. ผู้ผลติ จะผลิตสินค้าออกขายในปริมาณที่นอ้ ยลง 3. ผู้ซ้ือจะมคี วามตอ้ งการซือ้ สนิ ค้าในปรมิ าณท่ีมากขึ้นกว่าเดิม 4. ราคาสินค้าท่ซี ้อื ขายกันตามกฎหมายจะตา่ํ กว่าราคากอ่ นการกาํ หนดราคาขัน้ สงู 5. ปริมาณการซอ้ื ขายกันจริงๆ จะมากกวา่ ปริมาณซื้อขายก่อนการกาํ หนดราคาข้นั สูง 38. ในสถานการณ์ใดทต่ี ลาดผูกขาดอาจสง่ ผลดตี อ่ ระบบเศรษฐกิจและสงั คมสว่ นรวมมากกว่าตลาดประเภท อืน่ ๆ บ้าง 1. สินค้าทีผ่ ลิตเปน็ สินค้าที่จาเป็นตอ่ การครองชีพ 2. การผลิตสนิ คา้ นน้ั กอ่ ใหเ้ กดิ การประหยัดจากขนาด 3. การผลิตสินค้าชนิดนน้ั กอ่ ผลกระทบเชิงลบต่อสิง่ แวดล้อม 4. ผู้บรโิ ภคในตลาดตา่ งก็มคี วามตอ้ งการสนิ ค้าในปริมาณมากๆ 5. สงั คมตอ้ งการใหก้ ารผลติ สินค้ามีประสิทธภิ าพทางเศรษฐกิจสงู สดุ 39. การจัดสรรทีด่ นิ ทากินให้กับสมาชิกที่เปน็ เกษตรกรเปน็ บทบาทสาคัญของสหกรณป์ ระเภทใด 1. สหกรณ์นคิ ม 2. สหกรณบ์ ริการ 3. สหกรณ์ประมง 4. สหกรณ์การเกษตร 5. สหกรณเ์ ครดติ ยเู นยี น 40. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติฉบบั ใดของไทย ทไี่ ดอ้ ัญเชญิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็น แนวทางการพัฒนาและบริหารประเทศ โดยไดร้ ะบไุ ว้ ในแผนอย่างชดั เจนเปน็ ครง้ั แรก 1. ฉบับท่ี 7 2. ฉบบั ที่ 8 3. ฉบบั ที่ 9 4. ฉบบั ที่ 10 5. ฉบบั ที่ 11 โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 32 เพื่อเตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาตขิ น้ั พ้นื ฐานสอบ O-NET ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 41. กาหนดให้ ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ (GDP) 300 ล้านบาท รายได้สุทธิจากต่างประเทศ -40 ล้านบาท ค่าเสอ่ื มราคา - 10 ล้านบาท ภาษที างออ้ ม 30 ลา้ นบาท เงนิ อดุ หนุน 10 ล้านบาท จานวนประชากร 3 ล้านคน จากสถานการณข์ า้ งตน้ จงคานวณผลิตภัณฑม์ วลรวมประชาชาติ (GNP) 1. 100 ลา้ นบาท 2. 230 ลา้ นบาท 3. 250 ลา้ นบาท 4. 260 ล้านบาท 5. 290 ล้านบาท 42. ขอ้ ใดหมายถึงปรมิ าณเงนิ ตามความหมายแคบ 1. เหรยี ญกษาปณ์ ธนบตั ร เงนิ ฝากประจา ห้นุ กู้ 2. ธนบตั ร เงนิ ฝากกระแสรายวนั เงนิ ฝากประจา 3. เหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวนั 4. ธนบตั ร เงนิ ฝากกระแสรายวัน เงินฝากประจา พันธบัตรรฐั บาล 5. ธนบตั ร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรพั ย์ เงนิ ฝากประจา 43. “ครอบครัวชาวนามีสมาชิกท่อี ยู่ในวัยทางาน 9 คน ช่วยกันปลกู ข้าวในที่นาของตนไดข้ ้าวปีละ 12 เกวียน ต่อมาสมาชิกในครอบครัว 2 คน แตง่ งานและย้ายภมู ิลาเนาไป อยูจ่ ังหวดั อ่ืน ทาให้เหลือสมาชิกในครอบครัว ท่คี งทาการปลกู ข้าวเพียง 7 คน แต่ก็ยังคงได้ข้าวปีละ 12 เกวียนเทา่ เดิม” จากขอ้ ความดังกล่าวเป็นประเภท ของการวา่ งงานในข้อใด 1. การว่างงานแฝง 2. การวา่ งงานช่วั คราว 3. การว่างงานตามฤดกู าล 4. การว่างงานเน่ืองจากวัฏจักรธรุ กิจ 5. การวา่ งงานเน่ืองจากโครงสรา้ งของระบบเศรษฐกจิ 44. รฐั บาลควรใชน้ โยบายงบประมาณขาดดลุ ในกรณีท่เี ศรษฐกิจของประเทศอยู่ในภาวะใดมากที่สดุ 1. เงินเฟ้อ 2. เศรษฐกจิ ปกติ 3. เศรษฐกิจตกต่า 4. เศรษฐกจิ ขยายตัว 5. ราคาสนิ ค้าเพมิ่ สงู ข้นึ อย่างรวดเรว็ และต่อเนื่อง โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 33 เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 45. ขอ้ ใดถูกตอ้ งเกยี่ วกบั การใช้เครื่องมอื ของนโยบายการเงิน ในกรณที ่ปี ระเทศเกดิ ปัญหาภาวะเงินฝดื 1. รัฐบาลลดการใชจ้ ่ายลง 2. รฐั บาลเพ่มิ การเก็บภาษี 3. รัฐบาลใชง้ บประมาณเกินดลุ 4. ธนาคารกลางขายหลกั ทรัพยข์ องรฐั บาล 5. ธนาคารกลางลดอตั ราเงินสารองตามกฎหมาย 46. ข้อใดเป็นการลงทนุ ทางตรงระหวา่ งประเทศ 1. นางเมตตานาเงนิ ของบริษัทไปฝากในต่างประเทศ 2. คนญปี่ ุ่นนาเงินทุนเข้ามาสร้างโรงงานทอผ้าในไทย 3. คนมาเลเซยี นาเงนิ ทุนไปซ้อื หลักทรัพยข์ องรฐั บาลไทย 4. บริษทั ของนางสาวกรุณากยู้ ืมเงนิ จากสถาบันการเงนิ ในต่างประเทศ 5. บริษทั ของนายมธั ยสั ถใ์ หส้ ินเชือ่ ทางการค้ากบั บริษัทคคู่ า้ ในต่างประเทศ 47. กลมุ่ ประเทศตามขอ้ ใดตอ่ ไปน้เี ปน็ สมาชิกของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (อาเซียน) 1. ไทย เวยี ดนาม ลาว เมยี นมา กมั พูชา 2. ไทย เวียดนาม ฟิลปิ ปินส์ จนี สิงคโปร์ 3. ไทย มาเลเซีย ฟิลปิ ปนิ ส์ สิงคโปร์ ญป่ี นุ่ 4. ไทย มาเลเซีย อนิ โดนเี ซยี อินเดยี สิงคโปร์ 5. ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซยี บรูไนดารสุ ซาลาม เกาหลใี ต้ 48. ข้อใดเป็นการรวมกลุม่ ทางการค้าท่มี ีการยกเลกิ ภาษีศุลกากรและข้อจากดั ทางการคา้ ระหว่างกันในกลุ่ม มกี ารใช้ข้อกาหนดอตั ราภาษีศุลกากรกับประเทศค่คู ้านอกกลุ่มใน อัตราเดียวกนั มีการเคล่อื นย้ายปัจจัยการ ผลติ ได้โดยเสรีระหว่างประเทศสมาชิก ด้วยกัน และประเทศสมาชกิ กาหนดนโยบายด้านเศรษฐกจิ ต่าง ๆ เป็น รูปแบบเดียวกัน 1. ตลาดร่วม 2. เขตการค้าเสรี 3. สหภาพศุลกากร 4. สหภาพเศรษฐกจิ 5. สหภาพการเมอื ง โรงเรยี นเวยี งสระ สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 34 เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาติขั้นพน้ื ฐานสอบ O-NET ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 สาระการเรียนรูท้ ี่ 4 ประวัติศาสตร์ ตามหลักสากล ยุคประวัติศาสตร์จะเร่มิ นับตรงท่ีมนุษย์เร่ิมมีการจดบนั ทึกเหตุการณอ์ ย่าง เป็นลาย ลักษณ์อกั ษร สว่ นกอ่ นหน้านน้ั กจ็ ะเรยี กว่ายุคกอ่ นประวัตศิ าสตร์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ตราบจนถึงทุกวันน้ีก็ยังไม่มีอะไรแน่นอน ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่เยอะมาก เพราะมีเพียงแคห่ ลกั ฐานทางวตั ถบุ างชิน้ และกไ็ มค่ อ่ ยจะสมบูรณเ์ ท่าไหร่ด้วย ส่วนยุคประวัติศาสตร์นั้น ค่อนข้างชัดเจนกว่า แต่ก็ใช่ว่าจะท้ังหมด เพราะเมื่อมีการศึกษา ประวัติศาสตร์กันมากข้ึน ก็ทาใหร้ ู้วา่ เราเคยเข้าใจผิดอะไรหลาย ๆ อยา่ งมานาน และต้องเปล่ียนความเข้าใจ ทางประวตั ศิ าสตรก์ ันใหมอ่ ยหู่ ลายครั้งกม็ ี การแบ่งสมัยในยุคประวัติศาสตร์จะแบง่ โดยใช้เหตุการณส์ าคัญที่ถือเป็นจุด เปลี่ยนของยุคสมัยเป็น ตัวแบ่ง ซึ่งมีคนแบ่งเอาไว้หลายแนวทาง เพราะมันไม่มีเส้นแบ่งท่ีชัดเจนให้เราเห็น แต่ส่วนใหญ่จะแบ่ง ออกเป็น ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (ANCIENT HISTORY) สมัย นี้นักประวัติศาสตร์มักจะรวมเอา เหตุการณ์ในยุคก่อนประวัติศาสตร์เข้าไปด้วย สมัยนี้ส่วนมากมักจะให้ส้ินสุดลงพร้อมกับการล่มสลายของ อาณาจกั รโรมนั ตะวนั ตก ซึง่ เสยี ใหแ้ กเ่ ยอรมนั ในปีค.ศ. 476 ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (MEDIEVAL HISTORY) เร่ิมเมื่อปีค.ศ. 476 แต่ระยะเวลาส้ินสุดน้ัน บางกลุ่มถือเอาตอนที่กรุงสแตนตโิ นเปิลตกเปน็ ของพวกเติรก์ ในปีค.ศ.1453 แต่บางกลุ่มก็ถอื วา่ สนิ้ สดุ เม่ือมี การคน้ พบทวปี อเมริกา ในปคี .ศ. 1492 และบางกลมุ่ ก็ถอื ว่าสิน้ สุดลงพร้อมกับการเริม่ ต้นการปฏริ ปู ต่างๆ ใน ยุโรป ประวัติศาสตร์สมยั ใหม่ (MODERN HISTORY) เริ่มต้ังแต่การสิ้นสุดของประวัตศิ าสตร์สมัยกลาง จนถึงปัจจุบัน แต่ก็มีบางกลุ่มท่ีถือว่าสมัยนี้ส้ินสุดในราวค.ศ. 1900 และได้แบ่งออกเป็นอีกสมัยหน่ึงคือ ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน เร่ิมตั้งแต่ส้ินสุดประวัติศาสตร์สมัยใหม่จนถึงปัจจุบัน เพราะระยะช่วงน้ีเกิด เหตกุ ารณท์ ีส่ าคัญ ๆ ข้ึนมากมาย มีรายละเอยี ดทม่ี ากจนสามารถแบง่ ออกเป็นอกี สมยั หนงึ่ ได้ สว่ นเร่อื งของหลักฐานทางประวัติศาตร์น้ัน มกี ารแบง่ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ออกเป็น 2 ประเภท คือ หลักฐานที่เป็นวัตถุ (MATERIAL REMAINS) กับหลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร (WRITTEN ACCOUNTS)  ยคุ ก่อนประวตั ศิ าสตร์ >> ยุคหิน เปน็ ยุคท่มี นษุ ยเ์ ร่ิมร้จู กั นาหนิ มาปรับใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือเคร่ืองใช้หรอื อปุ กรณ์ >> ยุคหินเก่า ดารงชีพด้วยการล่าสัตว์และเก็บผลไม้ป่า อาศัยตามถ้าหรือท่ีพัก หยาบๆ พ่งึ พาธรรมชาติและไม่เข้าใจปรากฎการณธ์ รรมชาติ รูจ้ ักใช้ไฟ ประกอบพิธฝี ังศพอันเป็นจุดเริ่มต้น ของศาสนา โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 35 เพ่อื เตรียมความพร้อมทดสอบระดับชาติขนั้ พ้นื ฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 >> ยุคหินกลาง เริ่มรู้จักเพาะปลูกและเล้ียงสัตว์แบบง่ายๆ ภาพจิตรกรรมผนังถ้ามีความ ซบั ซ้อนมากขึ้น จดุ มงุ่ หมายเพ่ือพธิ กี รรมความเชอื่ เร่ืองวิญญาณ >> ยุคหินใหม่ ผลิตอาหารไดเ้ อง รู้จักเก็บกักอาหาร หยุดเร่รอ่ น เครื่องมือเครื่องใช้ที่ทา ดว้ ยหินประณีตขึ้น รจู้ ักการทอผ้า เครื่องปนั้ ดนิ เผา ทาเครอ่ื งทุ่นแรง เชน่ การเสียดสีให้เกิดไฟ การประดษิ ฐ์ เรอื สร้างอนสุ าวรียห์ ิน (STONECHENGE  ยคุ โบราณ มยี คุ กรกี ยุคกลาง ยุคใหม่ กรีก (กรซี ) => เป็นยุคตํานานเทพปกรณมั ตน้ กําเนิดกีฬาโอลมิ ปิก หวั เสากรีก แบบดอริก ไอโอนกิ โครินเธียน (พรว้ิ ไหวธรรมชาติ) วิหารพาร์เธนอน มี 2 เมอื ง คือ เอเธนส์=ตน้ แบบประชาธปิ ไตย สปารต์ า=ต้นแบบเผด็จการ โรมนั (อิตาลี) => ปกครองแบบจักรวรรดิ รวมอํานาจไวท้ ซี่ ซี าร์(กษัตรยิ ์) ภายหลังขับไล่กษัตริย์โรม องค์สดุ ท้าย จึงมีการสถาปนา กฎหมาย 12 โตะ๊ (ก่ขี า?) ขึ้นมาซงึ่ เป็นแมแ่ บบกฎหมายโลกตะวนั ตก ปัจจุบัน = ตน้ แบบสาธารณรัฐ หลงั โรมนั แบ่งออกเป็นโรมันตะวันออกและโรมันตะวนั ตก ชนเผ่าเยอรมัน โจมตีโรมันตะวนั ตกกจ็ บส้นิ แตโ่ รมนั ตะวนั ออกยังอยู่ ในนามใหม่ จักรวรรดไิ บเซนไทน์ (คอนสแตนติโนเปลิ ) อยู่ในตุรกี สู่ยุคกลาง => ยคุ มดื (ดาํ ) เพราะบนั ทึกและหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรค์ รอบงาํ จากคริสตจักร ก็คอื พระสันตะปาปา ผนู้ ําศาสนาครสิ ต์โรมันคาทอลิก งา่ ยๆ ศาสนามีอาํ นาจควบคมุ เหนือกษตั ริย์ ระบบกฎหมายเปลยี่ นมาเปน็ ระบอบฟิวดลั = กระจายอาํ นาจปกครองตกในมือของขนุ นางเจา้ ของที่ดิน คือ กษัตรยิ เ์ ปน็ เจ้าของทดี่ นิ แต่ในนาม ใหท้ ่ีดินขุนนาง ขนุ นางตั้งกองทัพกันเอง กษัตรยิ ์ออ่ นแอเพราะชงิ อาํ นาจกัน จึงต้องพึง่ ขนุ าง ขนุ นางเลยเปน็ ใหญ๋ เกิดชนช้นั ลดหลั่นกัน 1. ชนนั้นปกครอง กษตั รยิ ์ อศั วนิ (ทหารยศใหญ๋) มีฐานะเจา้ ของทีด่ ินและปราสาท 2. สามญั ชน ส่วนใหญ่เป็นชาวนา เป็นเจา้ ของทด่ี ินขนาดเลก็ 3. ทาสติดดิน ชาวนาไมม่ ีทด่ี นิ ทาํ งานทใี่ นดนิ ชนชั้นปกครอง สง่ ผลผลติ ใหเ้ จ้าของทดี่ นิ และยอมให้ เจา้ นายใชแ้ รงงานดว้ ย = ระบบแมเนอร์ 4. พระและนกั บวช ชนช้นั พเิ ศษเปน็ ทศ่ี นู ยเ์ คารพ ศรัทธาของประชาชน สงครามครเู สด มสุ ลิม+คริสต์ รบกันแยง่ พนื้ ท่ดี นิ แดนศักดส์ิ ิทธ์ิ เยรูซาเล็ม (ยวิ อิสลาม ครสิ ต์) ผลัดกันแพ้ชนะแต่สุดท้ายมุสลิมก็ชนะ แต่ถ้าในปัจจุบันแล้วกลายเป็นพื้นที่ของศาสนาคริสต์ ในประเทศ อิสราเอล ผลจากสงคราม …..ขุนนางหมดอํานาจ ระบบฟิวดัลล่มสลาย กษัตริย์ฟ้ืนฟูอํานาจใหม่เป็นรัฐชาติหนึ่ง เดียวเกิดการตดิ ตอ่ โลกตะวนั ออกและตะวนั ตก ขยายตวั ทางการคา้ และเกดิ ชนช้ันกลาง (กระฎุมพี พ่อค้า แมค่ ้า ช่างฝีมือ) โรงเรยี นเวยี งสระ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 36 เพอ่ื เตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐานสอบ O-NET ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ปฏิวตั ิในองั กฤษ ต้นแบบการปกครองประชาธิปไตยแบบประธานาธบิ ดี = กฎบตั รแมกนาคาตา ต้นแบบรฐั ธรรมนูญฉบับแรกของโลก จํากดั อาํ นาจกษตั ริยไ์ วใ้ หร้ ัฐสภา ตอ่ มากษัตรยิ พ์ ยายามฟนื้ ฟูอํานาจอีก รฐั สภากบั ประชาชนจึงทํา การปฏิวัติรุ่งโรจน์ ขับกษตั ริย์คนเก่าออกไมน่ อง เลือดนะ เลือดไม่ออก 55+ คนใหม่ยอมรับอํานาจ สิ้นสุดระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (อํานาจราชาเด็ดขาด) และกําหนดให้ราชานับถือ อปุ ถมั ภ์ศาสนาครสิ ตน์ กิ ายองั กฤษ ปฏิวัติในฝร่งั เศส ต้นแบบการปกครองระบอบกึ่งประธานาธิบดีก่งึ รัฐสภา = ก่อนปฏิวัติ มีสภาฐานันดร (ตัวแทนชนช้ันต่างๆ ขุนนาง พระ ประชาชน) ขุนนางและพระเอาเปรียบ ประชาชนไม่เสียภาษีสักแดงเดียว ต่อมาจึงต้ังสภาเองวา่ สมัชชาแห่งชาติ และประกาศคําปฏิญาณสนามเทนนิส จะไมย่ ุบสภาจนกวา่ จะได้รฐั ธรรมนูญ (คุน้ ๆประเทศแถวน้ี) = การทลายคุกบาสตีย์ (สัญลักษณ์อํานาจกษัตริย์) ท่ีขังนักโทษการเมืองไว้ ไม่พอใจท่ีพระเจ้าหลุยส์ เรียกระดมทหาร สมัชชาแห่งชาตจิ ึงประกาศความเท่าเทียมของประชาชน และเลิกเอกสิทธิง์ ดเว้นภาษีนกั บวช สู่ ประกาศสทิ ธพิ ลเมอื ง วา่ เสรภี าพ เสมอภาค ภราดรภาพ  ยุคฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ = หวนกลับไปเรียนรู้อารยธรรมกรีก-โรมันใหม่ เช่น ภาพวาดโมนาลิซ่าของ ดาวินชี รปู ปัน้ เดวิดของไมเคล แองเจโล โรมโิ อแอนด์จูเลยี ตของเชค็ สเปยี ร์  อทิ ธิพลของยุโรปยุคกลาง รปู แบบเมอื งในสมยั กลางของยุโรปได้กลายเป็นแม่แบบของเมอื งในปจั จุบัน ได้รปู แบบเทศาภิบาล เก็บภาษีชาวเมือง ป้องกันตนเอง จดั ต้ังธนาคาร ตลาดนัด กําหนดวันท่ี 1 มกราคม เปน็ วันข้นึ ใหม่ เรม่ิ ยคุ ใหม่ => อิทธิพลจากการครอบงําของศาสนาทําให้ประชาชนเบื่อหนา่ ยและอพยพไปท่ีอ่นื และเสน้ ทาวน้ันก็ คือ การเดินเรือ เจมส์ คุก พบเกาะฮาวาย ยึดออสเตรเลียเป็นของอังกฤษ คริสต์ดตเฟอร์ โคลัมบัส พบทวีป อเมรกิ า บาร์โธโลมิว ดิแอซ พบแหลมกู๊ดโฮป ผลจากการเดนิ เรือ ทําใหเ้ กดิ การรุกรานและครอบครองดนิ แดนอนื่ เรียกว่า ลัทธจิ ักรวรรดินิยม เราเปน็ ใหญ่ เรา เจริญ เรามีหน้าท่ีดูแลพวกเขา เผยแผ่ศาสนา หาความม่ังค่ัง จับเข้าของดินแดนเป็นทาส ผูกขาดการค้า แลกเปลี่ยนดว้ ยเงินตรา ระบบนิเวศมีการกระจายเพราะนาํ พชื พรรณ สตั ว์ทอ่ี ย่เู ดมิ ไปเผยแพร่ตา่ งถ่ิน ปฏิวัติวิทยาศาสตร์ => มนุษย์เร่ิมใช้เหตุผล มากกว่าความเช่ือ ค้นหาความจริงโดยการทดลอง นําความรู้ไป พัฒนาเครอ่ื งมือเครอ่ื งใช้มากขึน้ ขณะเดยี วกนั กก็ อ่ ใหเ้ กดิ การปฏิวัติทางภมู ธิ รรมหรือทางภูมปิ ญั ญา จอนห์ ลอ็ ค = ประชาชนเปน็ เจ้าของอาํ นาจอธปิ ไตย มองเตสกิเออร์ = ระบบ 3 อาํ นาจ นติ บิ ัญญํติ บริหาร ตลุ าการ (แนวคดิ รัฐธรรมนูญอเมรกิ า) โทมสั ฮอบส์ = กษตั ริยม์ าจากความยนิ ยอมของประชาชน รุสโซ = เช่ือในเจตจาํ นง เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ ปฏิวัติอุตสาหกรรม => เปล่ียนจากแรงงาน สู่เคร่อื งจักร สิ่งทอสอู่ ตุ สาหกรรมเหล็ก มาจากสาเหตุที่มกี ารขยายตัว ทางการคา้ ความกา้ วหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ และเสถียรภาพทางการเมอื ง อฝั กฤษเริม่ ก่อนเพราะการเมืองเสถยี ร โรงเรยี นเวียงสระ สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 37 เพอื่ เตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาตขิ ้นั พ้ืนฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 คร้ังท่ี 1 ยคุ พลังไอน้ํา ของเจมส์ วตั ต์ ใชใ้ นการทอผา้ เปน็ หลกั คร้ังที่ 2 ยคุ เหล็กกลา้ ของเฮนร่ี เบสสเิ มอร์ เปลี่ยนเช้ือเพลงถา่ นหินมาเป็นก๊าซธรรมชาติ+นํ้ามนั จาก ถลงุ เหล็กมาใชเ้ หล็กเปน็ วตั ถดุ ิบผลติ เครื่องมือ เชน่ ต่อเรือ เครอื่ งจกั ร ครั้งท่ี 3 ยุคสมัยเคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์ มีการประดิษฐ์เคร่ืองจักรไดนาโมของไมเคิล ฟาราเดย์ เช่น ภาพยนตร์ โทรเลข โทรศัพท์ การพมิ พ์ ผลจากการปฏิวัติ…..ทาํ ใหค้ นมีงานทํา เกดิ การส่งออกสินคา้ ตดิ ตอ่ ซ้ือขายกันและเกดิ ชนชนั้ ทางสังคม ใหม่ เกิดระบบทุนนิยม(เอื้อนายทุน ค้าขายแบบเสรี มีผลต่อระบอบประชาธิปไตย) ประชาชนอยู่ดีกินดี คนจน ถูกเอาเปรียบมากข้ึน ขณะเดียวกันกเ็ กดิ ลทั ธิสงั คมนิยมทตี่ ้องการความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจ มีผลตอ่ ระบอบ คอมมวิ นสิ ต์  ศลิ ปวัฒนธรรม แบบบาโรก เนน้ พิสดาร อลงั การ หรูหรา ฟมุ่ เฟ่ือย แบบโอคลาสสกิ เน้นความสงา่ งาม ทรวดทรง องค์ประกอบภาพขนาดใหญ๋ แบบโรแมนนตกิ เนน้ รสู้ ึกตืน่ เต้น เร้าใจ สะเทอื นอารมณ์ เช่น ภาพเปลอื ย เขน่ ฆา่ แบบเน้นสจั จนยิ ม เน้นความเป็นจรงิ ประสบการณ์ตรง ปัจจัยที่สนับสนนุ ใหท้ วปี ยโุ รปมีความเจริญกา้ วหนา้ ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ - ความอุดมสมบูรณ์ของทรพั ยากรธรรมชาติ - ความเจรญิ ก้าวหน้าด้านวทิ ยาการและเทคโนโลยี - ความมเี สถียรภาพทางการเมือง - ประชากรมคี ุณภาพ - มกี ารคมนาคมขนสง่ ทที่ ันสมัย มีทา่ เรือติดต่อกับภมู ภิ าคอนื่ ๆไดส้ ะดวก - ตั้งอยใู่ นเขตอากาศอบอุ่น มปี ระมาณน้าํ ฝนเพยี งพอ อากาศไม่แหง้ แล้ง - มีพ้นื ท่สี ว่ นใหญ่เปน็ ท่ีราบอุดมสมบูรณเ์ หมาะแกก่ ารเกษตรกรรม  สงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นสงครามท่ีเกิดจากประเทศมหาอํานาจของยโุ รป 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตร ประกอบด้วย อังกฤษ ฝร่ังเศส รัสเซีย และอิตาลี กับฝ่ายมหาอํานาจกลาง ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮงั การี >> สาเหตขุ องสงครามโลกครัง้ ที่ 1 1. ลทั ธิชาตนิ ิยม 2. การแขง่ ขันในยคุ จกั รวรรดนิ ิยม 3. ความขัดแยง้ ระหว่างมหาอาํ นาจชาตมิ หาอํานาจ >>ผลจากสงครามโลกคร้ังท่ี 1 ฝ่ายสนธิสัญญาพันธไมตรีไตรภาคี ที่ประกอบด้วย เยอรมนีและ ออสเตรีย-ฮังการี เป็นฝ่ายพา่ ยแพ้สงคราม ตอ้ งทําสนธิสัญญาสงบศึก เรียกว่า “สนธิสัญญาแวร์ซายส์” โดยมี เงือ่ นไขหลายประการ ดังน้ี โรงเรยี นเวยี งสระ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 38 เพอื่ เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาตขิ น้ั พ้ืนฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 1. ดินแดน ฝ่ายพ่ายแพส้ งครามตอ้ งสญู เสยี ดนิ แดนและอาณานคิ ม 2. การทหาร ฝา่ ยพ่ายแพส้ งครามถูกลดกําลังทหารและจาํ กดั อาวธุ ยุทโธปกรณ์ 3. เศรษฐกจิ ฝ่ายพา่ ยแพส้ งครามต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจาํ นวนมาก  สงครามโลกครั้งท่ี 2 สาเหตุเกิดจากความไมเ่ ปน็ ธรรมของสนธสิ ัญญาแวร์ซายและสัญญาสนั ติภาพอ่ืนๆ ทม่ี ีต่อประเทศเยอรมนีและประเทศผู้แพ้สงครามโลกครั้งที่ 1 และองค์การสันนิบาตชาติไม่สามารถทํา หน้าท่ีรักษาสันติภาพได้สําเร็จ ทําให้ต่อมาเยอรมนีล้มเลิกสนธิสัญญาแวร์ซายส์ มีอิตาลีและญี่ปุ่นเข้า มารว่ มเปน็ พนั ธมิตร >>มาจากการท่ีเยอรมนีบุกโปแลนด์ ทําให้อังกฤษและฝรั่งเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี และ สหรฐั อเมรกิ ากห็ นั มาเขา้ ร่วมสงครามโลกครัง้ ที่ 2 นด้ี ว้ ย จากการญป่ึ นุ่ โจมตฐี านทัพเรือ เกิดการแบง่ ฝ่ายทช่ี ัดเจน 2 กลมุ่ คอื *กลมุ่ อักษะ มีประเทศเยอรมนี อติ าลี และญ่ปี ุน่ เป็นประเทศมหาอาํ นาจ *กลมุ่ พนั ธมิตร มีประเทศองั กฤษ ฝร่ังเศส และสหรัฐอเมริกา เปน็ ประเทศมหาอาํ นาจ กองทัพสหรัฐอเมรกิ าตอ้ งการเพอ่ื ใหส้ งครามยุติโดยเร็ว จึงทิง้ ระเบิดปรมาณูทเ่ี มอื งฮิโระชิมะและเมืองนะงะซะกิ ทําใหญ้ ี่ปุน่ ตอ้ งยอมจํานนสงคราม สงครามโลกครั้งท่ี 2 จงึ ยตุ ลิ ง >>ผลของสงครามโลกครง้ั ที่ 2 1. ระบอบฟาสซิสต์ในเยอรมนี อิตาลสี ิ้นสุดลงมีความเสียหายเกดิ ข้ึนอย่างมหาศาลท้ังทหารและพลเรือน ตายเป็นจํานวนมากมีผู้บาดเจ็บและพกิ าร รวมท้ังเกิดความเสยี หายตอ่ ทรัพย์สนิ อยา่ งมหาศาล 2. เกดิ ปญั หาล้ภี ยั และคนไรท้ อ่ี ยู่นับล้าน 3. ประเทศสหรฐั อเมรกิ าและประเทศรสั เซยี กลายเปน็ มหาอาํ นาจท่ียงิ่ ใหญ่ของโลก 4. ชัยชนะของลัทธิชาตินิยมและอาณานิคมส่วนใหญ่ประสบความสําเร็จในการเรียกร้องเอกราช ทําให้มี การกอ่ ตง้ั ประเทศใหมๆ่ อีกหลายประเทศ โดยเฉพาะในทวปี เอเชยี 5. ประเทศต่างๆ หลายประเทศประชุมกันทซี่ านฟรานซสิ โกเพื่อร่างกฎบตั รสหประชาชาติ  ประวตั ศิ าสตร์จนี จากบันทึกของซือหม่าเซียน ทาให้นักประวัติศาสตร์จีนมักเริ่มนับราชวงศ์เซ่ียโดยเริ่มจากเซ่ีย ขาด ประสบการณ์ มีการขดู รีด กระหายในการเสพสุข แยง่ ชงิ อานาจ > ซางทัง ปฐมกษัตริย์ราชวงศ์ซาง ใช้ข้ออ้างว่า \"ฟ้ากาหนด\" กล่าวหาเซี่ยราชวงศ์ซางกระดูกเสี่ยง ทายเป็นที่นิยม โดยใช้กระดูกวัว ม้า กระดองเต่า นาไปอบให้แตกมีการจัดระเบียบโครงสร้างของรัฐอย่าง คอ่ นขา้ งสมบรู ณ์ > เมืองอันหยาง มณฑลเหอหนาน ค้นพบสิ่งที่เรียกกันว่า กระดูกมังกร จึง จึงพบว่ากระดูกมังกรน้ัน แทท้ จ่ี ริงคือกระดูกทจี่ ารึกอกั ขระโบราณของยคุ สมัยซาง ภายหลังรู้จกั กนั ในช่ือวา่ เจ๋ยี ก่เู หวนิ โรงเรยี นเวยี งสระ สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 39 เพอ่ื เตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติข้นั พ้ืนฐานสอบ O-NET ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 > ราชวงศโ์ จว เปน็ ราชวงศ์ที่ยาวนานทส่ี ุด ด้วยเวลาทีย่ าวนานกว่า 867 ปี > กาเนิดปรัชญาเมธี เช่น ขงจ๊ือ (บรรพบุรุษ) เล่าจื๊อ เม่งจื๊อ (ธรรมชาติ) ซุนวู (สงคราม) เริ่มการ ปกครองดว้ ยระบบศกั ดินา > ราชวงศฉ์ ิน สงครามรวมชาติ นาโดย ฉนิ หวงแห่งแคว้นฉิน เข้าตีแคว้นฮั่น หลังจากน้ันพระองค์ก็ทรง นาทัพบกุ เข้าตี แคว้นจ้าว เอ๋ยี น เว่ย เย่ว์ ฉู่ และฉี และฉินอ๋องก็ทรงสถาปนาพระองคข์ ้ึนเปน็ จกั รพรรดิองคแ์ รก ของจีนทรงพระนามว่า ฉินสือ หวงต้ี เมืองหลวงคือเมืองเสียนหยาง หรือซีอาน อันเป็นท่ีตั้งของสุสานทหารดิน เผา ปฏิรปู ระบบตวั อักษร ระบบช่ัง ตวง วดั ระบบการปกครอง > ราชวงศฮ์ ่ัน ฮัน่ ตอนตน้ มเี มอื งหลวงต้งั อยู่ทน่ี ครฉางอนั จึงไดร้ บั การขนานนามว่าฮัน่ ตะวันตก ฮนั่ ตอนปลายได้ย้ายเมืองหลวงมายังนครลว่ั หยางเรยี กว่าฮ่ันตะวนั ออก ดาเนินนโยบายที่เป็นมติ รต่อประชาชน ฟ้ืนฟูและจัดระเบียบใหม่ กลับสู่ความสงบสุข รัชสมัยฮ่ันอู่ต้ี (เป็นกษัตริย์ชาวฮั่นท่ีครองบัลลังก์ยาวนานท่ีสุด) ถือวา่ เปน็ ยคุ ทองของฮ่นั ตะวนั ตก มกี ารกาหนดเหรยี ญกษาปณ์ เปิดเสน้ ทางการค้าออกไปยังดนิ แดนเอเชียกลาง อันเป็นที่รู้จักกันในนามของ เส้นทางสายไหม ช่วงปลายราชวงศ์ เกิดกบฏโพกผ้าเหลืองทางภาคเหนือนาโดย เตียวก๊ก เข้าล้มล้างราชวงศ์ฮั่นตะวันออก บรรดาเจ้าท่ีดินท่ีมีกาลังกล้าแข็งต่างก็ฉกฉวยโอกาสน้ีพากันต้ังตน เป็นใหญ่ ต่อสแู้ ย่งชิงอานาจ จนท้ายสดุ หลงเหลอื เพียง 3 กลุ่มอานาจใหญน่ ัน่ คือ วุย ง๊อ และจ๊ก หรือท่ีร้จู ักกันใน นามของ \"สามก๊ก\" น่นั เอง > ยุคทองของอกั ษรศาสตร์จนี โดยซอื หมา่ เฉยี น นักปราชญ์ผู้แตง่ หนังสือ สอื จ้ี ตาราประวตั ศิ าสตร์จนี ไช่หลุน ขนั ทีชาวจีน ผลิตกระดาษข้นึ จากแม่พิมพ์เหลก็ จางเหิง นักดาราศาสตร์ฮัน่ ตะวนั ตก คิดคน้ เคร่ืองวัดแผน่ ดนิ ไหวขนึ้ เรยี กวา่ ตจู ู้ > ราชวงศ์สุย มีการผสมผสานหลักการของศาสนาพุทธเข้ากับลทั ธขิ งจ๊อื และลัทธิเต๋า แล้วนามาพัฒนา เป็นกฎหมายของราชวงศ์ขุดคลองต้าเหวินเหอขนาดมหึมา ยาวกว่า 1,800 กิโลเมตร เชื่อมต่อกรุงปักกิ่งกับ เมืองหางโจว ใชเ้ วลาขดุ กวา่ 30 ปี ใชแ้ รงงานมนษุ ย์กว่า 6 ลา้ นคน > ราชวงศ์ถัง ยุคทองทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะพระพทุ ธศาสนา โดยมกี ารส่งคณะสมทตู ไปอนิ เดยี จักรพรรดิถังไท่จงบริหารประเทศอย่างแข็งขันทาให้ราชวงศ์ถังเจริญรุ่งเรือง ท้ังด้านการเมือง เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ในสมัยจกั รพรรดิถังเสวียนจงก็เจริญรุ่งเรืองอีกครง้ั ยุคทองของกวีนิพนธ์จีน โดยมีหลี่ไป๋และตฝู้ ู่เป็น กวีเดน่ กาเนดิ การพมิ พแ์ ละดินปืน โดยมีแทน่ พิมพ์ไม้ > ราชวงศ์ซ่ง รัฐบาลแรกในโลกที่ใช้เงินตราแบบกระดาษ ศิลปะการเขียนภาพ ศิลปะการเขียนพู่กัน การฝังเข็มยคุ ทองลัทธิขงจื๊อ กาเนิดเข็มทิศ เรียกวา่ หลัวผาน โดยช้ีทิศใต้เสมอ ยคุ แหง่ 108 ผกู้ ล้าหาญแหง่ เขา เหลียงซาน และเปาบุ้นจนิ้ > ราชวงศห์ ยวน กุบไลข่าน หลานเจงกิสขา่ น โค่นราชวงศ์ซ่งลง และเป็นจกั รพรรดมิ องโกลพระองค์ เดียวทชี่ าวจีนยอมรบั บทงวิ้ ในสมัยกบุ ไลข่านดมี าก จนไม่มบี ทง้ิวสมัยใดเทยี บได้ การตดิ ตอ่ กับต่างประเทศ ก็ เป็นไปดว้ ยดี โดยเฉพาะ มาร์โค โปโล ผู้นาไอศกรีม พลุ บะหม่ี เขม็ ทศิ แว่นตา จากจีนเข้าไปยังยุโรป โรงเรียนเวยี งสระ สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 40 เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาติข้นั พน้ื ฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 > ราชวงศ์หมิง มกี ารสารวจทางทะเลอย่างกว้างขวาง การทอผ้าไหมและการผลิตเครื่องเคลือบลาย ครามเจิ้งเหอ ซ่ึงชาวไทยเรียกกันว่าซาปอกง ได้นากองเรือจีนไปเยือนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแอฟริกา โดยนายรี าฟและสตั วแ์ อฟริกามายงั จีนด้วย สุสาน 13 จักรพรรดิ มีทางเข้าคือเส้นทางวญิ ญาณ (เซนิ เต้า) ซึ่งมียามแห่งเกียรตยิ ศเป็นผ้เู ฝ้าตลอดเสน้ ทางนี้ สองฝั่งฟาก ยามแห่งเกียรติยศรูปมนุษย์ 12 รูปเป็นเครอ่ื งหมายแทนข้าราชการและทหาร ส่วนอกี 24 รูปคือ สงิ โต ม้า อูฐ ช้าง และสัตวอ์ ่นื ๆ > ราชวงศ์ชิง ปัจฉิมบทแห่งยุคราชวงศ์อันยาวนานของจีนจักรพรรดิแมนจูยังทรงให้การอุปถัมภ์ ศาสนาพุทธแบบทิเบต แม้ว่าจะปกครองโดยใช้รูปแบบขงจื๊อ ในรัชสมัยจักรพรรดิเฉียนหลงถือเปน็ ยุคทองท่ี ร่งุ เรอื งของราชวงศ์ชงิ ใช้ระบบรฐั บรรณาการหรือจิ้มก้อง > สงครามนานาชาติ 1. สงครามฝิ่น – อังกฤษ (เสียฮ่องกง) 2. สงครามญี่ปุ่น (เสียเกาหลีและ ไต้หวัน) 3. สงครามแปดชาติ (ญ่ีปุ่น เยอรมนี รัสเซีย ออสเตรีย-ฮังการี อิตาลี สหรัฐอเมริกา สหราช อาณาจกั ร ฝรั่งเศส) รัชสมยั จักรพรรดคิ ังซี เป็นยคุ ท่ีจีนเข้มแข็ง เสด็จประพาสดินแดนทางใต้ถึง 6 คร้ัง เพ่ือสารวจปัญหาน้าท่วม มี การจัดทา พจนานุกรมรวบรวมภาษาจนี ท่ีเรยี กกนั ว่า พจนานกุ รมคงั ซี จนี ยุคใหม่ จักรพรรดิปูยี ฮอ่ งเตอ้ งค์สุดท้าย ซึง่ ยอมอยู่ภายใตอ้ าณตั ิญปี่ ุ่นทีก่ ดขคี่ นจีนอยา่ งมากถูก ดร.ซุนยัดเซ็น ปฏิวัติเป็นการส้ินสุดจีนโบราณและก้าวเข้าสู่จีนยุคใหม่ ต่อมามีการชิงอานาจกนั คอมมิวนิสต์ และประชาธปิ ไตย >> ยคุ สาธารณรฐั จนี เป็นการปกครองแบบประชาธิปไตย - สมัย ดร.ซุนยัตเซ็น เปล่ียนจากสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นประชาธิปไตยอันมีจักรพรรดิเป็น ประมุขใช้หลักไตรราษฎร์ (เอกราชของชาติ อธิปไตยของปวงชน ความยตุ ิธรรมในสังคม) และเบญจาธิปไตย (บริหาร นติ ิบัญญัติ ตลุ าการ สอบแข่งขนั ควบคุมดแู ล) - สมัย เจียงไคเช็ค หลังจาก ดร.ซุนยัตเซ็น มีการชิงอานาจระหว่างเจียงไคเซ็ค(ประชาธิปไตย)กับ เหมาเจ๋อตุง (คอมมิวนิสต์) ช่วงแรกเจียงไคเซ็คเป็นฝ่ายชนะและทาการปฏิวัตไิ ด้สาเร็จ ต่อมาถูกเหมาเจ๋อตุง ขับไลแ่ ละหนีไปยงั เกาะไต้หวนั และสถาปนาสาธารณรัฐจีน ข้ึนแทน -สมยั เหมาเจ๋อตุง ชนะสงครามกลางเมือง เปลย่ี นจีนคอมมิวนิสต์ ใชร้ ะบบนารวม และพงึ่ ตนเอง เกิด กลุม่ เรดการด์ เพื่อปฏิวฒั นธรรมจนี -สมัย เติ้งเส่ียวผิง เมื่อเหมาถึงแก่กรรม เต้ิงเสี่ยวผิงเปิดประเทศ ใช้นโยบาย 4 ทันสมัย ทหาร อตุ สาหกรรม เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์ สง่ ผลใหเ้ ศรษฐกิจจีนโตเร็ว โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 41 เพื่อเตรียมความพรอ้ มทดสอบระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐานสอบ O-NET ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6  ประวัตศิ าสตรอ์ ินเดีย แหลง่ อารยธรรมอินเดียโบราณท่ีเกา่ แก่ ได้แก่ อารยธรรมลุ่มแม่นา้ สินธุ (Indus Civillzation) ใน ประเทศปากสี ถานในปจั จบุ ัน มคี วามเจริญในช่วงประมาณ 2500-1500 ปีก่อน ค.ศ. ความเจริญทีส่ าคัญดงั น้ี 1. ซากเมืองโบราณ 2 แห่ง คือ เมืองฮารับปา (Harappa) และเมืองโมเฮนโจ-ดาโร (Mohenjo-Daro) เมอื งท้งั สองต้งั อยู่ริมฝ่ังแมน่ ้าสินธุมีการวางผังเมอื งอยา่ งเปน็ ระเบยี บ มีตลาด เขตท่อี ยูอ่ าศยั และศาสนสถาน 2. พวกทราวิท หรือดราวิเดียน (Dravidians) คือ กลุ่มชนที่รู้จกั ใช้โลหะ (ทองแดง) ทาเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ ต่างๆ ใช้อิฐกอ่ สรา้ งบ้าน ทอผา้ เพาะปลกู สรา้ งระบบการชลประทาน และการเขยี นอักษรรปู ภาพ 3. พวกอินโด-อารยัน (Indo-Aryans) เป็นชนเผ่าเรร่ ่อนอพยพมาจากตอนกลางของทวีปเอเชียเข้ารุกราน อนิ เดียเมื่อประมาณ 1500 ปกี ่อน ค.ศ. โดยขับไล่พวกดราวเิ ดียนให้ถอยร่นลงไปทางตอนใต้ ชนชาติอารยัน จึงกลายเป็นผสู้ รา้ งสรรค์อารยธรรมให้แกอ่ ินเดียในเวลาต่อมา >> สมัยพระเวท-มหากาพย์ (ประมาณ C 5-6 B.C.) ระยะน้ี คอื อารยันได้สร้างความเจริญบริเวณ ลมุ่ น้าสินธุ ไดส้ ร้างพ้นื ฐานความเจรญิ ทางศิลปวัฒนธรรม ดังนี้ คัมภีร์พระเวท คือ คัมภีร์ศกั ดิ์สิทธ์ิของพวกอารยนั ไมใ่ ช่ผลงานของมนุษย์แต่เป็นผลงานของพราหมณ์ ได้ฟัง จากโอษฐ์ของพระเจ้า แบ่งเป็น 4 เล่ม คือ ฤคเวท สามเวท ยชุรเวท และอาถรรพเวทเป็นคัมภีร์ที่กาหนดวิถี การดารงชีวิตของอารยัน และตลอดจนการบูชาเทพเจ้าหลายองค์ต่อมามีการแต่งคัมภีร์พระเวทอีก คือ พราหมณะ อารัณยกะ และอุปนิษัท เพ่ือขยายความพระเวท และเป็นที่มาของธรรมเนียมประเพณี วรรณคดี และปรัชญาจานวนมาก โดยเฉพาะคัมภีร์อุปนิษัทจะสอนเรื่องปรมาตมัน หรือความจริงท่ีเท่ียงแท้เพียง ประการเดียว วิญญาณมนุษย์เป็นเพียงส่วนหน่ึงของปรมาตมันท่ีเวียนว่ายตายเกิดไปตามกรรม เมื่อกรรม หมดไปและบรรลโุ มกษะจะรวมเป็นอันหน่ึงเดยี วกับปรมาตมัน ทาใหศ้ าสนาพราหมณ์พัฒนาเปน็ ศาสนาฮินดู ระบบวรรณะ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะของสงั คมอนิ เดยี ท่ีแบง่ ออกเป็น 4 วรรณะตามหน้าที่ คือ พราหมณ์ (นักบวช) กษตั ริย์ (นักรบ) แพศย์ พอ่ ค้า) และศทู ร (ผู้ใชแ้ รงงาน) มหากาพย์รามายณะ และมหาภารตะ เป็นวรรณคดีท่ีย่ิงใหญ่ของอินเดียโบราณเก่ียวกับการทาหน้าท่ีของ มนุษย์ให้สมบูรณ์ตามวรรณะตนเอง โดยเฉพาะมหาภารตะเปน็ เร่ืองราวของขนบธรรมเนียมประเพณี สถาบัน ทางสังคม และปรัชญา และการดารงชีวติ ได้แก่ ตอนภควทั คตี า >> สมัยมคธ-โมริยะ (ประมาณ C. 5-2 B.C.) ระยะนี้มีเหตุการณ์ที่สาคัญ คือ เป็นสมัยท่ีอินเดีย รวมตวั เปน็ อันหน่ึงอันเดียวกัน จากเป็นอาณาจกั รต่างๆ ในสมัยมคธ จนถึงอาณาจักรวรรดิคร้ังแรกของอินเดีย ในราชวงศ์โมรยิ ะและนาพระพุทธศาสนามาปกครองและเจรญิ สูงสุดวิทยาการ เชน่ ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ การแพทย์ ภาษาศาสตร์ ฯลฯ วรรณคดี ที่สาคัญ คือ คัมภีร์อรรถศาสตร์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยการปกครอง และอานาจของพระเจ้าแผ่นดิน ซ่ึงเป็นหลักการสาคัญในการปกครองสืบมาพุทธศิลป์ เนื่องจากระยะนี้พุทธ ศาสนารุ่งเรอื งในอนิ เดยี เชน่ เสาหนิ พระเจ้าอโศก (จารกึ ธรรมะท่เี สา) สถูปที่สาญจิ โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 42 เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาติข้ันพนื้ ฐานสอบ O-NET ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 >> สมยั กุษาณะ–อนั ธระ (ประมาณ C. 2 BC.–C. 4 A.D.) ราชวงศ์โมรยิ ะ เส่อื มลง ระยะน้ีอินเดีย แบ่งออกเป็น 2 พวก คอื ตอนเหนอื ได้แก่ กุษาณะ (ต่างชาติ) ซ่งึ มีความเจริญมากกว่าตอนใต้ ได้แก่ อันธระ โดยเฉพาะสมยั พระเจา้ กนษิ กะการแยกนิกายในพุทธศาสนา มกี ารสังคายพุทธศาสนาและแยกเปน็ 2 นิกาย คือ มหายานและหนิ ยาน พระพุทธรูป เป็นการสร้างพระพุทธรูปครง้ั แรก เรยี กวา่ “พระพทุ ธรูปแบบคนั ธาระ” พระโพธิสตั ว์ เป็นคตคิ วามเชือ่ เกี่ยวกับการเสวยชาตติ ่อมาของพระพทุ ธเจ้า >> สมัยคุปตะ (C. 4-6 A.D.) เป็นระยะท่ีอินเดียพยายามฟ้ืนฟูความเป็นอินเดียแท้ แบบสมัย จักรวรรดิโมริยะ อีกครั้งมีการนาเอาความเช่ือดั้งเดิมสมัยพระเวทมาปรับปรุงให้เข้ากับสภาพสังคมใหม่ (พัฒนาจากศาสนาพราหมณ์มาเปน็ ฮนิ ดู) สมยั นอี้ าจจะเรียกได้วา่ เป็นยคุ ของ อารยธรรมฮนิ ดู คอื สถาปตั ยกรรม จิตรกรรม และประติมากรรม คือ สถาปัตยกรรมในถ้า ซึง่ มีการตกแตง่ ด้วยจติ รกรรม และ ประตมิ ากรรม โดยมีท้ังเร่อื งในศาสนาพุทธ และฮินดู ท่มี ีช่ือเสียงมาก คือ ถา้ อชนั ตะเอลลอรา และเอเลฟันตา วรรณกรรม เป็นยุคทองของวรรณคดีสันสกฤต วรรณกรรม คือ บทละคร กวีเอก คือ กาลิทาส ผู้แต่งเร่ือง ศกุนตลา พระพุทธรูป สมยั นแ้ี สดงความออ่ นโยน สงบน่ิง เปน็ ความงามทเ่ี ป็นอดุ มคติแบบอนิ เดยี (มิใช่เหมือน จรงิ ตามธรรมชาติ แบบกุษาณะ) เช่น พระศกเป็นกน้ หอย จีวรเหมอื นผา้ เปยี กนา้ พระกรรณยาว >> สมัยหลังคุปตะ-โมกุล (C. 6-16 A.D.) มีเหตุการณ์สาคัญในอินเดีย คือ การเข้ามาของพวก มสุ ลมิ เชอื้ สายอาหรบั เตอร์กยึดครองอนิ เดยี ทางตอนเหนือส่วนหนึ่ง ซ่ึงมีศนู ย์กลางอยู่ทีเ่ ดลฮี เรียกว่า“สมัย สลุ ต่านแห่งเดลฮี” การสร้างสรรค์ทางศิลปวัฒนธรรมน้ันท่ีสาคัญ คือ การผสมผสานระหว่างศลิ ปวัฒนธรรม ฮนิ ดู และมสุ ลิม เชน่ > ศลิ ปะทมิฬ ปรากฏทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ เป็นศิลปะของพวกดราวิเดยี น ลักษณะเด่น คอื แสดงความตนื่ เต้น การมีอานาจ ความน่ากลัว สถาปตั ยกรรมจะมีหลังคาซ้อนกันเปน็ ช้นั ๆ > ศิลปะอินเดียภาคเหนือและตะวันออก อยู่ในช่วงเวลาใกล้เคียงกับศิลปะทมิฬ และมี ลกั ษณะคล้ายคลงึ กัน แต่มีความงามอ่อนชอ้ ยกวา่ และหลงั คาของสถาปตั ยกรรมเปน็ แบบโค้งสูง ซึง่ สร้างด้วย การก่ออฐิ เป็นช้นั ๆ > ศิลปะแบบปาละและเสนะ สมัยราชวงศ์ปาละเป็นศิลปะของพุทธศาสนามหายานรุ่น สุดท้ายก่อนท่ีจะถูกทาลายโดยพวกมุสลิม มีมหาวิทยาลัยนาลันทา เป็นศูนย์กลางทางศิลปวิทยาการ หลังจากนี้เป็นต้นไป ถือว่าศาสนาพุทธหมดบทบาทในอินเดีย(มหาวิทยาลัยนาลันทาถูกพวกมุสลิมเผา ทาลาย) สว่ นในราชวงศ์เสนะ ซึ่งนับถือศาสนาฮินดูจะเป็นศิลปะเนอื่ งในศาสนาฮนิ ดู >> สมัยโมกุล (C. 16-18 A.D.) โมกุลเป็นราชวงศ์สุดท้ายของอินเดียก่อนที่จะตกอยู่ภายใต้การ ปกครองของอังกฤษ เป็นราชวงศ์ของพวกมุสลิม (แต่เป็นมุสลิมคนละพวกกับสมัยสุลต่านแห่งเดลฮี) มีการ ผสมผสานระหว่างศลิ ปะฮนิ ดู และมุสลมิ เข้าด้วยกัน (ความเจริญรุ่งเรอื งทางศิลปวฒั นธรรมที่เด่นของสมัยโม กลุ คอื สมยั พระเจา้ อคั บารม์ หาราช) ในบรรดาศลิ ปะวฒั นธรรมทมี่ ีผลมาจากการผสมผสานน้ี ทีเ่ ด่นๆ คอื สถาปัตยกรรม คอื ทชั มาฮาล วรรณกรรมภาษาเปอร์เชียผสมกับภาษาอินเดยี กลายเปน็ ภาษาอูรดู โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 43 เพอ่ื เตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐานสอบ O-NET ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 49. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ต้อง 1. พวกฮติ ไทต์ (Mitites) ในเมโสโปเตเมีย รู้จักการถลุงเหล็กเพ่อื ทาเป็นอาวุธในยคุ โลหะ 2. ศิลปะแบบเมกกาเลเนียน (Magalerian) คือภาพวาดตามผนังถ้าและภาพแกะสลกั บนกระดูก เป็นศลิ ปะท่ีมชี ือ่ เสยี งของยคุ หินเก่า 3. มนษุ ยใ์ นยคุ หินใหมเ่ รม่ิ รู้จักการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ 4. นักโบราณคดีใช้วิธีเทอร์โมลูมิเนเซนท์ (thermoluminescence) ในการหาอายุของซากไม้ และโครงกระดกู มนษุ ย์ 5. ตวั อกั ษรลิ่ม หรอื ตัวอักษรคูนิฟอร์ม เป็นตัวอกั ษรของชาวสเุ มเรยี น 50. ข้อใดกลา่ วถกู ตอ้ งเก่ยี วกับอารยธรรมโบราณ 1. อาณาจักรฮีบรู หลงั จากเจริญถึงขีดสุดแล้ว ได้ตกอยู่ภายใต้อานาจของกรีกและโรมัน แต่ไม่เคย ถกู พวกเปอร์เซยี รกุ ราน 2. “รอยัลโรด” (Royal Road) เป็นถนนท่ีจักรพรรดิไซรัสทรงสร้างขึ้นเพื่อเชื่อมเมืองสาคัญต่างๆ เขา้ ด้วยกัน 3. พระเจ้าอัสซรู ์บานปิ าล (Ashurbanipal) กษัตริย์ของชนเผา่ อสั ซีเรียน มีรับสั่งใหส้ ร้างห้องสมุด ท่รี วบรวมผลงานของเมโสโปเตเมียเป็นจานวนมาก 4. “สวนลอยแหง่ บาบิลอน” ซ่ึงได้รบั การยกยอ่ งให้เปน็ 1 ใน 7 สิ่งมหศั จรรย์ของโลก ถูกสร้างข้นึ โดยพวกฮติ ไทต์ 5. สถาปตั ยกรรมท่ีสาคัญทสี่ ุดของชาวอัสซีเรยี นคือ “ซิกกแรต” เป็นเทวสถานทสี่ ร้างบนภูเขาจาลอง มที างขึน้ เป็นขน้ั บนั ได สรา้ งข้นึ เพ่ือบูชาเทพเจ้า 51. ขอ้ ใดไมใ่ ช่สาเหตขุ องการปฏิรปู ศาสนาในยุโรปในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 16 1. แนวคดิ ปจั เจกชนนยิ ม 2. พอ่ ค้าต้องการหากาไรจากการคา้ เพิ่มเตมิ 3. ความแตกแยกระหวา่ งศาสนาคริสต์นกิ ายโรมนั คาทอลิกและออร์โทดอกซ์ 4. กษตั ริย์ต้องการมีอานาจมากข้ึน 5. บคุ คลในศาสนจักรประพฤตติ นไม่ดี สนใจทางโลกมากกวา่ ทางธรรม 52. เหตุการณใ์ นข้อใด เกดิ ข้ึนในสมัยใหมข่ องประวัติศาสตรส์ ากล 1. การจัดต้ังองค์การสนธสิ ญั ญาแอตแลนติกเหนือ หรือองค์การนาโต 2. การสรา้ งมหาวหิ ารโนเตรอดาม (Notre-Dame) ในกรงุ ปารสี ประเทศฝร่งั เศส 3. “บิดาแห่งประวัติศาสตร์” ในโลกตะวันตกได้เขยี นผลงาน “ประวัติศาสตร์สงครามเปอร์เซีย” ข้ึน 4. การกาหนด “กฎหมายสบิ สองโตะ๊ ” (Law of the Twelve Tables) 5. ชาร์ลส์ ดารว์ ิน (Charles Darwin) เสนอทฤษฎวี ิวัฒนาการวา่ ดว้ ยการเลือกสรรของธรรมชาติ โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 44 เพื่อเตรยี มความพร้อมทดสอบระดับชาตขิ ้นั พื้นฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 53. ขอ้ ใดกล่าวไมถ่ กู ต้องเก่ยี วกบั แนวคดิ จักรวรรดินิยมในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19-20 1. ชาติจักรวรรดินิยมมุ่งเข้าครอบครองอาณานิคมทุกรูปแบบ ทั้งด้านการเมืองการทหาร เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม 2. การปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรมนบั เป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทาใหแ้ นวคดิ จกั รวรรดนิ ิยมขยายตัว อย่างกวา้ งขวางในทวปี ยุโรป 3. ญ่ีปุ่นเป็นชาติท่ีใช้แนวคิดจักรวรรดินิยมรกุ รานเพ่ือนบ้าน และสามารถรบชนะอังกฤษได้ใน ค.ศ. 1905 4. เบลเยียมเปน็ หนง่ึ ในชาตติ ะวันตกที่แสวงหาอาณานิคมในทวีปแอฟริกา และไดย้ ึดครองคองโกใน ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 5. “ภาระหน้าที่ของคนขาว” (The White Man's Burden) เป็นหน่ึงในสาเหตุท่ีทาให้แนวคิ จกั รวรรดินยิ มขยายตวั ในทวปี ยโุ รป 54. องคก์ ารในขอ้ ใดรวมตัวกันโดยมีความมุ่งหมายหลักเพ่ือรว่ มมอื กันตอ่ ต้านลัทธคิ อมมิวนสิ ต์ 1. องคก์ ารสนธิสัญญาแอนซัส 2. สันนบิ าตอาหรับ 3. สภารฐั มนตรนี อร์ดกิ 4. สหภาพแอฟริกา 5. สหภาพยโุ รป 55. ผลงานหรอื แนวคิดในขอ้ ใดไมไ่ ด้เกิดขนึ้ ในสมยั ปฏิวตั ิวทิ ยาศาสตร์ 1. การพบวา่ จลุ ินทรยี ใ์ นอากาศเป็นตน้ เหตุใหอ้ าหารเน่าเสยี 2. การผ่าตดั เอาทารกออกจากครรภม์ ารดา 3. การโคจรและการเคลอื่ นไหวในระบบสรุ ิยจักรวาลเป็นไปตามกฎแหง่ ความโน้มถ่วง 4. การสง่ เสรมิ การศกึ ษาแบบวทิ ยาศาสตรโ์ ดยวิธีการศึกษาแบบอุปนัย 5. การใช้หลกั ของเหตุผล ทอี่ ธิบายและตรวจสอบได้เชน่ เดยี วกบั หลกั ของวชิ าคณิตศาสตร์ 56. ขอ้ ใดไม่ถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั โลกในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 21 1. องคก์ ารสหประชาชาติมีบทบาทสาคัญในการแก้ปัญหาดา้ นสทิ ธิมนุษยชน 2. การเปน็ ผู้นาโลกของสหรัฐอเมริกาแต่เพียงผู้เดียวหลังสงครามเย็นสิ้นสุดลงเปน็ หน่ึงในสาเหตุท่ี ทาให้การก่อการร้ายในตะวนั ออกกลางเพมิ่ มากขึน้ 3. องค์การสหประชาชาติมีสว่ นช่วยส่งเสรมิ ใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยืนโดยผ่านแผนปฏบิ ัติการ 21 4. องค์การสหประชาชาติกาหนดว่าแรงงานเด็ก ซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่ในเอเชีย คือแรงงานท่ีมีอายุต่า กวา่ 15 ปี 5. วิกฤติเศรษฐกิจที่เกิดข้ึนท่ัวโลกใน ค.ศ. 2008 ส่งผลให้อุตสาหกรรมอาหารทะเลของไทย เจรญิ เติบโตนอ้ ยลง โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 11 จ.สุราษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 45 เพ่อื เตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติขนั้ พื้นฐานสอบ O-NET ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 57. อักษรกระดองเตา่ เปน็ อกั ษรของอารยธรรมใด 1. เมโสโปเตเมีย 2. อินเดยี 3. จนี 4. อียิปต์ 5. กรกี 58. ประเทศใดไม่ใช่สมาชิกเร่ิมแรกขององค์การสนธิสญั ญาป้องกนั เอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (South East Asia Treaty Organization: SEATO) 1. ปากสี ถาน 2. สหรฐั อเมริกา 3. ฝรัง่ เศส 4. ฟิลิปปนิ ส์ 5. มาเลเซีย 59. ดินแดนทพี่ อ่ ค้าชาวโปรตุเกสในสมยั อยธุ ยาตอนต้นเรยี กว่า ลกิ อร์( Ligor) สันนษิ ฐานว่าตรงกับเมอื งใด 1. ปัตตานี 2. นครศรีธรรมราช 3. สรุ าษฏรธ์ านี 4. นครปฐม 5. กาญจนบุรี 60. ถา้ ครอู ศิ ราตอ้ งการพานักเรยี นไปดูโบราณสถานทเ่ี ก่ียวข้องกับศิลปะลพบรุ คี รูอิศราต้องไปท่ีแหง่ ใด 1. พระราชวังนารายณ์ราชนเิ วศน์ จังหวดั ลพบุรี 2. วดั พระศรสี รรเพชญ จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา 3. วดั พระธาตุหริภญุ ชัย จงั หวดั ลาพนู 4. พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม 5. ปราสาทเมอื งสิงห์ จงั หวดั กาญจนบุรี 61. คาวา่ “สวสั ดี” ถูกกาหนดใหใ้ ช้อยา่ งเป็นทางการ ในสมยั ของนายกรัฐมนตรที ่านใด 1. จอมพล ป.พิบลู สงคราม 2. จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ 3. พระยามโนปกรณน์ ติ ธิ าดา 4. จอมพลถนอม กติ ติขจร 5. พนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา (พจน์ พหลโยธนิ ) 62. เหตกุ ารณ์ใดไมไ่ ดเ้ กิดข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 5 2. การตัง้ หอรัษฎากรพพิ ัฒน์ 1. การเสด็จประพาสต้น 4. การจดั ต้งั มณฑลเทศาภบิ าล 3. การจดั ตัง้ เคาน์ซลิ ออฟ เสตต (Council of state) 5. การสถาปนาจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย 63. “สมุดปกเหลอื ง” ในสมัยคณะราษฎร มีเน้ือหาหลกั ในดา้ นใด 4. มานษุ ยวิทยา 1. ศิลปะ 2. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ 3. เศรษฐกิจ 5. วรรณกรรม 64. “ทฤษฎโี ดมโิ นส์” มีความเก่ยี วขอ้ งกับประวตั ิศาสตรย์ ุคสมัยใด 1. ยุคสงครามโลกคร้ังที่ 1 2. ยคุ ฟื้นฟศู ิลปวิทยาการ 3. ยุคเกษตรกรรม 4. ยุคสงครามเยน็ 5. ยคุ ปฏวิ ตั ิอุตสาหกรรม โรงเรียนเวยี งสระ สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 46 เพ่อื เตรียมความพรอ้ มทดสอบระดับชาติข้นั พื้นฐานสอบ O-NET ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 สาระการเรียนรูท้ ี่ 5 ภูมิศาสตร์ แผนท่ี คือสิ่งทีเ่ ขียนลงบนพน้ื ราบ โดยใช้เส้น สัญลักษณ์และเครอื่ งหมายตา่ งๆ เพ่ือแสดงลักษณะภูมิ ประเทศและสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนพื้นโลก ให้เห็นอาณาเขต ท่ีตั้ง และความสัมพันธ์ในทางพื้นทขี่ องส่ิงต่างๆ เหล่านั้น > ชนิดของแผนท่ี 1. แผนท่ีกายภาพ (Physical Maps) เปน็ แผนท่ี ทแี่ สดง สิง่ ท่เี กิดเองตามธรรมชาติ เช่น แผนท่ีภูมิ ประเทศ แผนที่ธรณีวิทยา แผนท่ีภูมิอากาศ แผนท่ีลมฟ้าอากาศ แผนที่ทะเล มหาสมุทร แผนที่กระแสน้ํา เป็นตน้ 2. แผนที่วัฒนธรรม (Cultural Maps) เป็นแผนที่ ที่แสดงสิ่งท่ีมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น เช่น แผนที่ ประเทศ แผนทจี่ ังหวดั แผนทที่ างหลวง แผนท่ีเดนิ เรอื แผนที่การบนิ แผนท่ปี ระวัติศาสตร์ แผนท่แี สดง > สว่ นประกอบสาํ คัญของแผนที่ 1. พกิ ัดภมู ิศาสตร์ (Geographic Coordinates) พิกัดภูมิศาสตร์ คอื กําหนดตําแหน่งท่ีตั้งของจุด หนึ่งจุดใดบนพ้ืนผิวโลก เพื่อให้สามารถทราบได้ว่าจุดน้ันๆ ตั้งอยู่ ณ ท่ีใด การกําหนดน้ีอาศัยกําหนดจาก ละติจดู และ ลองจิจดู ก. ละติจูด (Latitude) ละติจูดคือการกําหนดตําแหน่งที่ต้ังของจุดหนึ่งจุดใดบนผิวโลก ว่าอยู่ห่าง จากศนู ย์สตู รมากน้อยแคใ่ ด และคดิ ค่าเปน็ องศา โดยมเี สน้ สาํ คญั ดังน้ี 1. เส้นศูนยส์ ตู ร ( Lat.0 ) แบง่ เปน็ ซีกโลกเหนอื ซกี โลกใต้ 2. เสน้ ทรอปคิ ออฟแคนเซอร์ (Lat.23 ½ N ) แบง่ เขตอากาศรอ้ นเหนือ-อบอุ่นเหนือ 3. เส้นทรอปิคออฟแคปปรคิ อร์น (Lat.23 ½S ) แบง่ เขตอากาศร้อนใต้-อบอุน่ ใต้ 4. เส้นอารค์ ติก (Lat.66 ½ N ) แบ่งเขตอากาศอบอุ่นเหนือ-หนาวเหนอื 5. เสน้ แอนตาร์กติก (Lat.66 ½ S ) แบ่งเขตอากาศอบอุ่นใต้-หนาวใต้ ข. ลองจิจูด(Longitude)ลองจจิ ูดคือการกําหนดตําแหน่งท่ีต้ังของจุดใดบนพื้นผิวโลกวา่ อยู่หา่ งจาก เส้นเมริเดยี นแรก (Prime Meridian) มากน้อยแค่ใด และคิดค่าเปน็ องศา โดยมเี ส้นสาํ คญั ดังน้ี 1. เส้นเมอรเิ ดียนปฐม(Long.0) ใชเ้ ปน็ เสน้ กําหนดเวลามาตราฐานกรีนิช ( GMT ) 2. เสน้ เขตวนั สากล ( International Date Line ) (Long.180) 3. เส้นLong.105E ใช้เปน็ เสน้ กําหนดเวลาของประเทศไทย > ประโยชนข์ องเสน้ ละตจิ ดู และลองจจิ ูด 1. เฉพาะเสน้ ละตจิ ูดใชบ้ อกเขตอากาศของสถานท่ตี า่ ง ๆ บนโลก 2. เฉพาะเสน้ ลองจิจดู ใชบ้ อกเวลาของสถานทีต่ ่าง ๆ บนโลก โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 47 เพื่อเตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาตขิ ัน้ พืน้ ฐานสอบ O-NET ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 3. ถา้ ท้งั 2 เสน้ ใช้คกู่ นั จะบอกพิกดั ภมู ิศาสตรข์ องสถานทตี่ ่าง ๆ บนโลก มาตรส่วน (Scale) คอื อัตราส่วนระหว่างระยะทางในแผนท่ี ตอ่ ระยะทางจริงบนโลก > แสดงมาตราสว่ นเป็นตวั เลข ที่เรียกวา่ เช่น มาตราสว่ น 1:150,000 หรือมาตราส่วน ซึ่งหมายความว่า ระยะทาง 1 หนว่ ยบนแผนท่ี จะเท่ากบั ระยะทางบนพน้ื ที่ 150,000 หนว่ ย >แสดงมาตราส่วนเป็นเสน้ > แสดงมาตราส่วนเป็นคําพูด เช่น มาตราส่วน 6 น้ิวต่อไมล์ (หรือ 1:10,560) มาตราส่วน 5 เซนตเิ มตร ต่อ 1 กิโลเมตร (1:20,000) เป็นต้น 4. สญั ลกั ษณ์ การแสดงสิง่ ต่างๆ ในแผนที่ไมส่ ามารถแสดงด้วยของจริงได้ จึงจําเปน็ ต้องกาํ หนดเป็น สญั ลักษณ์ 5. ทิศ เป็นการบอกให้รู้ว่าสถานทีน่ ัน้ ต้งั อยทู่ างทิศใด เมือ่ แสดงไวใ้ นแผนที่ 6. การแสดงความสูงตา่ํ ของพนื้ ท่ี  ลกู โลก โลกมีสัณฐานกลม แต่ไมก่ ลมอยา่ งแท้จริงทเี ดยี ว เพราะโลกจะป่องออกตรงกลาง (บรเิ วณศนู ย์ สูตร) เลก็ น้อย เนื่องจากแรงเหวี่ยงที่เกิดจากการหมุนรอบตวั เองของโลก ทาํ ใหเ้ สน้ ผ่าศนู ยก์ ลางของโลกวัดจาก ขั้วโลกเหนือถงึ ขั้วโลกใต้ยาว 12,714 กม. และวัดที่เส้นศูนยส์ ูตรยาว 12,757 กม.  แผนภาพ (diagram) คือ รูปที่เขียนขึ้นเพื่อประกอบคําอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ การศึกษาวิชาภมู ิศาสตร์ เช่น วัฏจักรของน้ํา การเกิดทะเลสาบรูปแอก เป็นต้น การใช้แผนภาพอธิบายจะทาํ ให้ เข้าใจเรอ่ื งราวเหลา่ นั้นไดง้ า่ ยขึน้  ขอ้ มูลสถิติ เป็นข้อเท็จจริงสําหรับใชเ้ ป็นหลักฐานในการอ้างอิงขอ้ มูลที่รวบรวมไว้ มีท้ังที่เปน็ ข้อความ และตวั เลข เชน่ ตารางสถติ ิ และกราฟ ( กราฟวงกลม กราฟแท่ง กราฟเสน้ )  การถา่ ยภาพทางอากาศ (aerial photography) คือ การถา่ ยภาพจากท่ีสูงในอากาศเหนือพื้นโลกโดย ใช้เครื่องบิน หรือบอลลูน เมื่อบันทึกภาพน้ันไว้แล้ว จึงนํามาเรียงต่อกันก็จะเห็นรายละเอียดของสิ่งต่างๆ ท่ี ปรากฏอยู่จริงบนผิวโลก  การถา่ ยภาพจากดาวเทียม (satellite imagery) คือ การถ่ายภาพและบันทึกขอ้ มูลจากดาวเทียมแล้ว สง่ ข้อมูลเหล่าน้ันมายังสถานีรับภาคพื้นดิน แต่ภาพที่ปรากฏไม่สามารถแปลความหมายได้ง่ายเหมือนภาพถ่าย ทางอากาศ ตอ้ งอาศัยผเู้ ช่ียวชาญและเคร่ืองมอื ในการช่วยแปลความหมาย ปัจจุบันเทคโนโลยีการถา่ ยภาพจาก ดาวเทยี มไดพ้ ัฒนาไปมาก จนสามารถถ่ายภาพได้รายละเอียดและชดั เจนเท่าภาพถ่ายทางอากาศ  ดาวเทยี มทค่ี วรรู้ - Landsat สาํ รวจทรัพยากรธรรมชาติ - Ikonos สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ - Theos สาํ รวจทรัพยากรธรรมชาติ ( ดวงแรกของไทยท่ใี ช้สํารวจทรัพยากรธรรมชาติ )  NOAA อุตุนิยมวทิ ยา โรงเรียนเวยี งสระ สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 48 เพอื่ เตรยี มความพรอ้ มทดสอบระดับชาติข้ันพน้ื ฐานสอบ O-NET ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6  MOS สาํ รวจพน้ื โลก , พืน้ น้ํา  NPOESS สํารวจขวั้ โลก  ระบบกาํ หนดตําแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning System – GPS) คอื การนาํ คลื่นสัญญาณ จากดาวเทียมบอกตําแหน่งมาบอกค่าพิกัดของสิ่งต่างๆ บนพื้นโลก ระบบน้ีจึงมีประโยชน์ต่อการบอกตําแหน่ง และทศิ ทางการเดินทางท้งั ทางบก ทางนํา้ และทางอากาศ  ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System – GIS) คือ เคร่ืองมือทาง ภูมิศาสตร์ท่ีช่วยในการจัดเก็บ จัดการ จัดทํา วิเคราะห์ ทําแบบจําลองและการแสดงข้อมูลเชิงพื้นท่ีด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เปน็ เคร่ืองมือทมี่ ีประสิทธิภาพสูงท่ีช่วยในการวิเคราะห์และวางแผน ในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาในดา้ นต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน  โครงสรา้ งทางธรณีวิทยาของประเทศไทย 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ที่ราบ ที่ราบสงู และภูเขา 1. ที่ราบ เป็นโครงสร้างทางธรณีวทิ ยาที่ใหม่ท่ีสุด เกิดในมหายุคชโี นโซอกิ การทับถมของตะกอน มกั จะยังไม่แขง็ ตวั เรียกวา่ “ตะกอนควอเตอร์นารี” ถา้ แขง็ ตัวเป็นหนิ เรียกว่า “หินกระบี่” 2. ท่ีราบสูง เป็นโครงสร้างทางธรณีวิทยากลาง ๆ เกิดในมหายุคมีโซโซอกิ หมู่หินท่ีพบเป็นพวก หมู่หนิ ลาปางและหม่หู ินโคราช 3. ภเู ขา เปน็ โครงสร้างเกา่ แก่ที่สุด เกดิ ในมหายคุ พาเลโอโซอกิ หม่หู ินที่พบในบริเวณภูเขาเป็นหมู่ หินราชบุรี หมู่หนิ ตะนาวศรี หมู่หนิ ทุง่ สง และหมู่หินตะรุเตา ทีร่ าบ (Plain) 1. ท่ีราบชายฝ่ังทะเล คือ ท่ีราบท่ีอย่ชู ิดกบั ชายฝั่งทะเล เกิดจากการยกตัวของเปลือกโลกหรือการ ทับถมของตะกอน เช่น ท่ีราบรอบอา่ วไทย ทรี่ าบชายฝ่ังอันดามัน 2. ทร่ี าบเชงิ ภูเขารูปพัด คือ ทีร่ าบท่อี ยู่บรเิ วณเชงิ เขา เกิดจากตะกอนท่ีแม่น้ําพามาจากภเู ขาทับถม กนั เช่น บริเวณแอ่งที่ราบในภาคเหนือ 3. ที่ราบลุ่มแม่น้ํา คือ ท่ีราบเกิดจากการทับถมของตะกอนบริเวณ 2 ฟากฝ่ังแม่นํ้าและการกัดเซาะ ได้แก่ – ที่ราบน้ําท่วมถึง เช่น ล่มุ แมน่ ้าํ เจ้าพระยาตงั้ แตน่ ครสวรรคถ์ งึ อ่าวไทย – ที่ราบดนิ ดอนสามเหล่ียมปากแมน่ า้ํ เชน่ ทีร่ าบภาคกลางตอนลา่ ง ลุ่มแม่นํา้ เจา้ พระยา ตง้ั แต่ชัยนาท ถึงอา่ วไทย – ทร่ี าบขนั้ บนั ได เชน่ ท่ีราบภาคกลางตอนบนและที่ราบลุม่ แมน่ า้ํ ป่าสกั – ท่ีราบลูกฟกู เช่น ทร่ี าบภาคกลางตอนบน 4. ทีร่ าบสงู (Plateau) ในประเทศไทยมีทเี่ ดียวในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ เรยี กว่า “ทีร่ าบสงู โคราช” เกิดจาก การยกตัวของเปลือกโลกใต้ทะเล ที่เชื่อเช่นนี้เพราะสภาพของดินเค็ม ฟอสซิล และโครงสร้างของหินเหมือน เปลอื กโลกใต้อ่าวไทย ทร่ี าบสูงนีเ้ ป็นท่รี าบสงู รูปโตะ๊ หรอื ท่ีราบสงู ทวปี โรงเรียนเวียงสระ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎร์ธานี Wingsa world class standard School

เอกสารประกอบการสอนวชิ าสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 49 เพื่อเตรยี มความพร้อมทดสอบระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐานสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 5. ภเู ขา (Mountain) ไดแ้ ก่ 1. เทอื กเขาทเ่ี กิดจากรายคดโค้ง เช่น เทือกเขาในภาคเหนอื ภาคตะวันตก ภาคใต้ 2. ภเู ขายอดตดั หรอื ภูเขาบล๊อก เชน่ ภูกระดึง ภหู ลวง ภเู รอื ภขู ้ีเถ้า ในจงั หวดั เลย 3. ภูเขารูปโดม เช่น ภูเขาโดด ๆ ในภาคกลางตอนบนและดอยเตา่ 4. ภูเขาไฟ เช่น ภูพนมรุ้ง ภอู ังคาร ภูกระโดง (บุรีรัมย์) ม่อนจําปาแดด มอ่ นหนิ ฟู (ลําปาง) - ทะเลสาบ (Lake) ไดแ้ ก่ 1. ทะเลสาบชายฝง่ั ทะเล (Lagoon) ช่น อ่าวคงุ้ กระเบน จังหวัดจนั ทบรุ ี 2. ทะเลสาบปากปล่องภูเขาไฟ (Creter Lake) เชน่ ทะเลสาบบนภูกระโดง จังหวดั บรุ รี มั ย์ 3. ทะเลสาบทเ่ี กิดจากการทรดุ ตวั ของเปลือกโลก เช่น กวา๊ นพะเยา บึงบอระเพ็ด หนองหาน 4. ทะเลสาบท่มี นษุ ยส์ ร้างขึน้ (Reservoir) เช่น อา่ งเกบ็ น้ํา ทะเลสาบเหนือเขอ่ื น 5. ทะเลสาบเกดิ จากการเปล่ยี นทางเดนิ ของแมน่ ้าํ (Ox Box Lake) เช่น กุดต่าง ๆ ในภาคอสี าน 6. ชายฝ่งั ทะเล (Shore Line) ไดแ้ ก่ 1. ชายฝงั่ ทะเลโผลห่ รอื ชายฝงั่ ทะเลยกตวั (Emerged Coast Line) เช่น ชายฝ่งั ด้านอ่าวไทย 2. ชายฝ่งั ทะเลจมหรอื ชายฝงั่ ทะเลทรดุ (Submerged Coast Line) เช่น ชายฝง่ั ทะเลดา้ นอันดามัน 3. ชายฝงั่ ทะเลเป็นกลางเกดิ จากการทบั ถมของตะกอน เช่น แหลมตะลุมพกุ จังหวดั นครศรีธรรมราช 7. เกาะ (Island) ไดแ้ ก่ 1. เกาะริมทวปี อยู่ใกล้แผ่นดินใหญ่เกิดจากการผนั แปรของเปลอื กโลก เชน่ เกาะต่างๆ ในน่าน น้าํ ไทย 2. เกาะกลางมหาสมุทร อยู่ไกลแผ่นดินใหญ่เกิดจากการทับถมของปะการังหรือภูเขาไฟใต้ทะเล เกาะ ประเภทนไ้ี มม่ ใี นไทย  การแบ่งเขตภูมิอากาศ สามารถแบ่งได้ดงั นี้ 1. เขตภูมิอากาศร้อน (tropic zone) เป็นเขตภูมิอากาศท่ีมีอุณหภูมิของอากาศโดยเฉล่ียสูงเกือบ ตลอดทง้ั ปี ไมม่ ีเดอื นใดท่ี อุณหภูมิของอากาศตาํ่ กวา่ 18 องศาเซลเซียส 2. เขตภูมิอากาศอบอุ่น (temperate zone) เป็นเขตภูมิอากาศที่ปรากฏอยู่ในบริเวณละติจูดกลาง อณุ หภมู ิของอากาศเดอื นที่หนาวท่สี ุดเฉลย่ี ตาํ่ กว่า 18 องศาเซลเซียสแต่สงู กวา่ –3 องศาเซลเซียส 3. เขตภูมิอากาศหนาว (polar zone) เป็นเขตภูมิอากาศท่ีไม่มีฤดูร้อนและไม่มีเดือนใดที่อุณหภูมิ เฉลี่ยสูงกว่า 8 องศาเซลเซียส เป็นภูมิอากาศที่ปรากฏในเขตละติจูดสูง คือบรเิ วณที่อย่รู ะหว่างละตจิ ดู 66 องศา เหนอื หรอื ใต้ ไปยังขัว้ โลก  การแบ่งเขตภมู อิ ากาศตามระบบเคปิ เปน นักอตุ อนยิ มวทิ ยาชาวออสเตรียชอื่ วัลดเี มยี ร์ เคปิ เปน ไดใ้ ช้ หลกั เกณฑ์ตอ่ ไปนีใ้ นการแบ่ง ก. อณุ หภมู ขิ องอากาศ ข. ปริมาณความชน้ื โรงเรยี นเวียงสระ สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 จ.สรุ าษฎรธ์ านี Wingsa world class standard School


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook