Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

รายงานผลการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562

Published by jewly0014, 2020-06-19 10:18:33

Description: รายงานผลการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 256

Search

Read the Text Version

รายงานผลการจดั กจิ กรรมชมุ ชน แห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี กลุ่ม “PLC for Social Study” กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562

รายงานผลการจดั กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning Community : PLC ) กล่มุ “PLC for Social Study” กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนเวียงสระ สานกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 11 กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ รายงานผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC ) จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอแนวทางในการดำเนินงานของกลุ่ม “PLC for SocialStudy” ระดับช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ีตอนต้นและชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เพ่ือ แก้ไขปญั หาเรอ่ื ง นักเรยี นขาดแรงจงู ใจ กระตือรือรน้ ในการเรียน โดยความรว่ มมือจากครปู ระจำวชิ าและเปน็ การสร้าง ความรู้ความเข้าใจเรื่องการปฏิบัติด้วยกระบวนการ PLC เพื่อแก้ไขปัญหาด้านพฤติกรรม รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การติดตามและประเมนิ ผลในการดำเนินงานของโรงเรยี นเวยี งสระ ของครูผูส้ อนในโรงเรยี น หวงั เปน็ อยา่ งยิ่งว่าเอกสารเลม่ น้ี จะเกดิ ประโยชนต์ อ่ ผู้ครผู สู้ อน ผู้บริหารสถานศกึ ษาและบุคลากรทางการ ศึกษา รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป ในการนำไปใช้เพื่อศึกษาเรียนรู้สร้างความเข้าใจและปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้เป็น อย่างดี กลุม่ “PLC for SocialStudy”

ผลการดำเนินกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ 1. หลกั การและเหตุผล ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (Professional Learning community : PLC) หมายถึง การรวมกลุ่ม กันของครูผู้สอนและบุคลากรทางการศึกษา ในลักษณะของชุมชนเชิงวิชาการที่มีเป้าหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษา โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรจู้ ากการปฏิบตั ิ การถอดบทเรยี น และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ร่วมกันอย่างตอ่ เน่ือง (ราชบัณฑิตยสถาน, 2558) จากผลการวิจัยของ สุรพล ธรรมร่มดี (2553) ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่การ เปลี่ยนแปลงเชงิ คุณภาพทั้งดา้ นวชิ าชีพและผลสัมฤทธิ์ของนกั เรียน โดย มีผลดีทัง้ ต่อครูผู้สอนและนักเรียน ในแง่ผลดี ต่อครูผู้สอน พบว่า PLC ส่งผลต่อครูผู้สอนกลา่ วคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวในงานสอนของครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันตอ่ พนั ธกิจและเปา้ หมายของโรงเรียนมากขนึ้ โดยเพมิ่ ความกระตือรือรน้ ท่ีจะปฏิบัติให้บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิด ความรู้สึกว่า ต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการโดยรวมของนักเรียน ถือเป็นพลังการเรียนรู้ซึ่งส่งผล ให้การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียนให้มผี ลดียิ่งขึ้น รวมทั้งเข้าใจบทบาทและพฤติกรรมการสอนที่จะช่วยให้นักเรียนเกิด การเรียนรู้ได้ดีที่สุด ซึ่งจะเกิดจากการคอยสังเกตอย่างใส่ใจในแง่ของผลดีต่อผู้เรียนพบว่า PLC สามารถลดอัตราการ ตกซ้ำชั้น และจำนวนชั้นเรียนทีต่ ้องเลื่อนหรือชะลอการจัดการเรียนรูใ้ ห้น้อยลง อัตราการขาดเรียนลดลงมีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ประวัติศาสตร์และวิชาการอ่านที่สูงขึ้นอย่างเด่นชัด สุดท้ายคือมีความแตกต่างด้าน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระหว่างกลมุ่ นักเรียนท่มี ีภมู หิ ลงั ไมเ่ หมือนกนั ลดลงอย่างชัดเจน จากการศึกษาประโยชน์ของกระบวนการดังกล่าว ผู้จัดทำจึงเกิดความคิดที่จะนำกระบวนการ PLC (Professional Learning Community) เพื่อเป็นการปรับปรุงแก้ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมกัน พัฒนานวัตกรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แก่นักเรียนในแต่ละกิจกรรมการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนา ทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยได้เริ่มดำเนินกิจกรรมกับนักเรียนระดับช้ัน มัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในห้องเรียน คือ ปัญหานักเรียนขาดแรงจูงใจ กระตือรือร้นในการ เรียน สง่ ผลให้นักเรียนไมป่ ระสบผลสำเรจ็ ในการเรียนและเป็นอุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอน 2. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้นักเรยี นเกดิ สมาธิจติ ใจจดจ่อในการเรยี น 2. เพื่อให้นักเรียนมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในระดับที่สูงขนึ้ 3. เพื่อปรับพฤติกรรมของนักเรียนทม่ี ปี ัญหาให้เปลี่ยนไปในทางที่ดีข้ึน 4. มนี วัตกรรมหรอื คู่มือการใช้ทีม่ ีความเหมาะสมและเรา้ ความสนใจของผเู้ รียน 3. วิธกี ารดำเนินงาน ➢ แนวทางการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการสร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) 1. แบง่ กล่มุ ย่อย ตามความเหมาะสม 2. ใหแ้ ต่ละกลุ่มคิดแนวทางแก้ไขปัญหา 1 เร่ืองจากประเด็นต่อไปนี้ 2.1 ปญั หาการเรยี นรู้ของนกั เรียน 1 เรื่อง/กล่มุ 2.2 ปญั หาดา้ นการจัดการเรยี นการสอนของครู หรือเทคนคิ วธิ ีการสอนท่ีครูควรพัฒนา 1 เร่ือง/กลุ่ม

3. จดั ทำโครงการ/กิจกรรม การสรา้ งชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ➢ กระบวนการของ PLC ขน้ั ตอนท่ี 1 Community สรา้ งทมี ครู ขัน้ ตอนท่ี 2 Practice จัดการเรยี นรู้ เช่นการวิเคราะหห์ น่วยการเรียนรู้ รว่ มกนั ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ ในการจดั ทำแผนการเรยี นรู้ เพอื่ แกป้ ัญหา หรอื พฒั นา และนำสกู่ ารปฏิบัติ โดยมีการเปดิ ห้องเรยี น เพอ่ื การสังเกตการณ์สอน เครอ่ื งมือในการประเมนิ - แบบบนั ทึกกจิ กรรม (PLC) ขั้นตอนท่ี 3 Reflection สะทอ้ นคิดเพื่อการพฒั นาการปฏิบัติ ขัน้ ตอนที่ 4 Evaluation ประเมนิ เพ่อื พฒั นาสมรรถนะครู ขั้นตอนที่ 5 Network Development สรา้ งเครือข่ายการพฒั นา ➢ บทบาทหน้าท่ขี องสมาชิกกลมุ่ ตามกระบวนการ PLC - Model Teacher หมายถึง ครผู รู้ ับการนเิ ทศ หรอื ครผู ้สู อน - Buddy Teacher หมายถึง ครูคูน่ ิเทศ หรอื ครรู ว่ มเรียนรู้ - Mentor หมายถงึ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ - Expert หมายถงึ ผู้เชยี่ วชาญ เช่น ครู คศ.3 นักวชิ าการ อาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ - Administrator หมายถงึ ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น - Recorder หมายถงึ ผูบ้ นั ทกึ รายงานการประชมุ 4. วัน เวลา สถานที่ ในการดำเนินงาน ระยะเวลา : ต้งั แต่ วนั ท่ี 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 – 20 มีนาคม พ.ศ. 2563 สถานที่ : โรงเรยี นเวียงสระ 5. สรุปผลการดำเนนิ งาน ❖ ประเดน็ ด้านผเู้ รียน - พฤติกรรมของนักเรียนที่มีปัญหาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นตามข้อตกลงที่ตั้งไว้ นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนมากขึ้น ซึ่งดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่างๆ ที่แสดงถึงด้าน ความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการคดิ กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรยี นตา่ งๆ ของนักเรียน - ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกล้า ที่จะนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และมี ความคดิ ทหี่ ลากหลายในการออกแบบชิ้นงานของตนมากข้ึน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ครกู ับนักเรยี น และนกั เรยี นกับนักเรียนดว้ ยกันเองเพิ่มมากขึน้ - นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับฟังความ คดิ เหน็ ของผอู้ ่ืนมากขน้ึ

❖ ประเดน็ ดา้ นกิจกรรม - ลักษณะ ความเหมาะสม ประสทิ ธภิ าพของกจิ กรรม ขนั้ ตอนของกระบวนการเรยี นการสอน วธิ ีการสอน เทคนิคการสอนต่างๆ มีประสิทธภิ าพสอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์ กจิ กรรมการเรียนรู้ และการวดั และประเมนิ ผล - การบริหารจดั การช้ันเรียน การจดั ชน้ั เรียน วิธกี ารคมุ ชนั้ เรยี น หรอื การจดั กลมุ่ เพือ่ ทำกจิ กรรม - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไปโดยเน้น ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นรู้ - กิจกรรมการเรียนรู้นำไปสู่การพฒั นาความสามารถของผู้เรียน โดยผ้เู รียนไดล้ งมือปฏบิ ัติด้วยตนเองและ สามารถสอนผู้อืน่ หรือชว่ ยเหลอื เพ่อื นได้ ❖ ประเดน็ ด้านครู - ครมู ีการใชค้ ำถาม คำสั่ง คำอธิบาย หรือการใช้สือ่ - ครมู กี ารเรียงลำดบั ขน้ั ตอนการนำเสนอประเดน็ คำถาม คำส่งั หรือคำอธบิ าย - ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรียน จากการนำตัวอย่างผลงาน และการทำตัวเองเป็น ตวั อย่างในการพดู หนา้ ชนั้ เรียน ❖ ประเดน็ ส่อื การสอน - นักเรียนได้ใช้เคร่ืองมือที่ตนถนัด คือ เทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ เมื่อได้ใช้หรือทำอะไรที่ตนชอบหรอื ถนัด จึงทำให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้าเรียนด้วยตนเองได้อย่างอัตโนมัติ ผู้เรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมเป็นไป ตามทค่ี รูตอ้ งการให้เกดิ ข้ึนในตัวผเู้ รยี น ❖ ประเดน็ ด้านบรรยากาศ - สภาพแวดล้อมของชั้นเรียน หรือสถานที่เรียนมผี ลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรยี นการสอนและการ เรยี นรขู้ องผู้เรียน - การยอมรบั ความคิดเห็น การตงั้ คำถามการพูดคยุ ถกเถยี ง และการช่วยเหลือของผเู้ รียน 6. อภิปรายผลการดำเนินงาน 6.1 ผลลพั ธท์ ่ีเกดิ จากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ เทคนิค และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชนก์ ับผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม (สมาชกิ เครือข่ายมีการนำไปใชไ้ ด้อย่างชดั เจน) 6.2 ผลลัพธ์ที่เกดิ กับผเู้ รียน / ครู / สมาชกิ ทีเ่ ข้ารว่ มเครอื ขา่ ย PLC 1) ผู้เรยี นได้การเรียนร้ตู ามเป้าหมาย และวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ทกุ ประการ และมคี วามชัดเจน 2) กจิ กรรมทุกกจิ กรรมของสมาชกิ ในกลุ่ม PLC ส่งผลให้ผ้เู รียนเกดิ แรงบันดาลใจ เปน็ ผใู้ ฝเ่ รียนรู้ มีความ กระตอื รอื รน้ ในการเรียน 3) สมาชกิ ทีเ่ ข้าร่วมเครือข่าย PLC ทุกคนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ และการดูแล ผู้เรยี น

6.4 คุณค่าทเ่ี กิดต่อวงการศกึ ษา เป็นกระบวนการที่มปี ระโยชน์และคมุ้ ค่า สะทอ้ นผลเชิงวชิ าชีพ โดยการพดู คุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการ เรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผลทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วย พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ พฒั นาทกั ษะนกั เรียนและสง่ ผลใหน้ ักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึน้ 3) กิจกรรมทกุ กจิ กรรมของสมาชิกในกลุ่ม PLC ส่งผลให้ผู้เรยี นเกดิ แรงบันดาลใจ เป็นผูใ้ ฝเ่ รียนรู้ มคี วามกระตือรือร้น ในการเรยี น 7. ผลทเี่ กิดจากการดำเนินงาน 6.1 ไดน้ วัตกรรมในการแก้ไขปัญหา 6.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนดขี ้นึ หรอื เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่ตกลงกนั ไว้ 6.3 พฤตกิ รรมของนักเรยี นที่มีปญั หาเปลย่ี นไปในทางทีด่ ีขึ้นตามข้อตกลงทต่ี ้ังไว้ 6.4 นำไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และรวบรวมสง่ เพ่ือเกบ็ เปน็ หลักฐานในการรายงานต่อไป 8. รอ่ งรอย/หลกั ฐาน 8.1 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชิกกลมุ่ PLC และภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน 8.2 แบบสงั เกตการณ์จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน 9. บทเรยี นที่ไดจ้ ากการดำเนินงาน ครูผู้สอนได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่หลากหลายในห้องเรียน และพฤติกรรมของนักเรียนที่แตกต่างกันในแต่ละ บุคคล รวมไปถึงเรียนรู้ที่จะหาแนวทางในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ท่ีแตกต่างกันผา่ นการอภิปรายร่วมกนั กับเพื่อน ครูและนกั เรยี น 10. สิ่งท่ีจะดำเนินการต่อไป จากการแก้ปัญหาเบื้องตน้ ดา้ นนักเรียนขาดทกั ษะการนำเสนอผลงาน พบว่านักเรียนตระหนักถึงความสำคัญ ในการเรียนและตั้งใจเรียนมากขึ้น มีความคิดสร้างสรรค์ในการนำเสนอผลงานตนเองในรูปแบบที่หลากหลาย จึง ต้องการเผยแพร่เทคนิคในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงานหรือชิ้นงานและบริหารชั้น เรยี นใหก้ ับเพ่อื นครใู นชนั้ เรยี นอน่ื ๆ และผู้ทส่ี นใจตอ่ ไป 11. ปญั หา /อปุ สรรค การพบปะพูดคุยระหว่างครูผู้สอนประจำวิชาไม่ค่อยต่อเนื่องเท่าที่ควร เนื่องด้วยคาบสอนตรงกัน และใน บางครั้งครูผสู้ อนมีภาระนอกเหนอื งานสอนมาก จงึ ไม่สะดวกในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 12. ขอ้ เสนอแนะ 1. ควรมีเครือขา่ ยออนไลน์เปน็ สอ่ื กลางในการตดิ ต่อแลกเปลย่ี นประสบการณร์ ะหว่างครทู ่ที ำงานรว่ มกนั 2. เพิ่มชั่วโมงแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละระดับชัน้ นอกเหนอื จากช่ัวโมงแลกเปล่ียนเรียนรู้ที่ทางวิชาการจัดให้ ในแตล่ ะกลุ่มสาระ

บนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวียงสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ที่ 1 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดอื น/ปี : 28,29 พฤศจิกายน 2563 เรม่ิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 1 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังนีอ้ ยู่ความสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง )  ข้นั ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู เี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายชือ่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื 1. นางฐติ มิ า นาครพัฒน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผเู้ ช่ยี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจ้ง ผู้เชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวภิ า ไกรวัฒนพงศ์ ผู้เช่ยี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ลู ย์ หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จันทรส์ ะอาด ครผู สู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มุสิก ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทพิ ย์ สุขอนนั ต์ ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อนิ ทร ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสิรวิ รรณ ทพิ ย์โอสถ ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิริลกั ษณ์ เพ็งแพง ครผู ูร้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher)

1. งาน/กจิ กรรม การคน้ หาปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา 2. ประเดน็ ปัญหา/สง่ิ ท่ตี ้องการพัฒนา (เน้นท่ีหอ้ งเรยี น) พูดคุยในเร่อื งของปัญหาของเดก็ ทีเ่ กิดจากตวั ครู ซึง่ ไมจ่ ำเป็นตอ้ งเป็นเดก็ ท้ังห้อง เป็นเฉพาะกลมุ่ กไ็ ด้ โดยการ สรุปเป็นปัญหาเดียวกันในกลุ่ม เป็นปัญหาเร่งด่วนที่ควรแก้ไขก่อน เพื่อลดความโดดเดี่ยวในการทำงาน และไม่ใช่ ปัญหาจากความไมพ่ ร้อมของส่อื วัสดอุ ปุ กรณ์ของหอ้ งเรียน 3. สมาชิกในกลุ่มนำเสนอปัญหา 1) ครนู รศิ จันทร์สะอาด - นักเรียนขาดแรงจูงใจ ความกระตือรอื รน้ ในการเรียน 2) ครกู ฤติชยั ราชพิบลู ย์ - นักเรียนขาดทักษะในการนำเสนอผลงาน ไม่มรี ูปแบบนำเสนอท่ี หลากหลาย 3) ครสู มทรง อำไพเมือง - นกั เรยี นไมใ่ ห้ความสนใจกับสิ่งท่เี รียนเทา่ ท่ีควร 4) ครศู ศวิ รรณ มสุ กิ -นกั เรียนไมช่ อบการนำเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรยี น ขาดทกั ษะการจบั ใจความในการนำเสนอ 5) ครกู นกทิพย์ สขุ อนันต์ - นกั เรียนบางคนไม่มสี ว่ นรว่ มในการนำเสนอผลงานหน้าชน้ั เรยี น ขาดการ เตรียมตวั ในการนำเสนอ 6) ครวู ิชชตุ า เตาวโต – นักเรยี นบางส่วนไมม่ ีบทบาทในการพดู หน้าชัน้ เรยี น 7) ครทู ิวาพร ศรีกรด - นกั เรยี นเข้าเรยี นสาย ทำให้เรยี นไม่ทนั เพ่อื น 8) นางอมรรตั น์ แจม่ แจ้ง - นักเรียนขาดแรงจงู ใจในการเรยี น ขาดการเตรยี มตัวพูดหน้าช้ันเรยี น 9) นางวภิ า อินทร - นกั เรียนไมช่ อบการบรรยายเนื้อหา 10) นางสิรวิ รรณ ทพิ ยโ์ อสถ - นักเรียนไมเ่ ขา้ ใจบทเรียน บางส่วนเล่นโทรศัพท์ในห้องเรียนก่อความ วนุ่ วาย 11) นางสาวสวุ ภิ า ไกรวัฒนพงศ์ - นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจเนอื้ หา เนื้อหาน่าเบ่ือ 12) นางอารญั ญา บญุ มาก - นกั เรยี นมีความกังวลตอ่ เนื้อหาท่เี รยี นที่มคี วามซ้ำไมแ่ ปลกใหม่ 13) นางสาวศริ ิลกั ษณ์ เพง็ แพง - นกั เรยี นไม่เขา้ ใจเนอื้ หาบทเรยี น ทีเ่ ปน็ ความจำในวิชาประวตั ศิ าสตร์ 4. สมาชิกเลอื กปัญหา ที่จะนำมาแก้ไขร่วมกัน จำนวน 1 ปัญหา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชน้ิ งาน 5. สมาชกิ รว่ มกันวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา โดยสาเหตุของปญั หาท่เี กิดจากข้อสรปุ ของกลุ่ม สาเหตเุ กดิ จากกระบวนการจัดการเรยี นการสอน และสาเหตุ ไม่ใชป่ ัญหาเกดิ จากความไมพ่ ร้อมของสื่อ วัสดอุ ปุ กรณ์ของห้องเรียน - วธิ ีการสอนของครูไมส่ ามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ และวธิ ีการสอนของครูไมม่ ีการโน้มน้าวจิตใจ ก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน ยังคงเป็นวธิ กี ารสอนแบบเดิมๆที่ผ่านมาครูผู้สอนเตรียมตวั สอนไม่เต็มท่ี การสอน ในลักษณะนี้ครูผู้สอนเตรียมตัวสอนมาน้อย ศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาน้อย ทำให้การอธิบายยังไม่แจ่มแจ้งพอ ทำให้ ผเู้ รียนเกดิ ความไมช่ ดั เจนในเนื้อหารสาระทีส่ อน - ครูผู้สอนไม่สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยทั่วไปในท้ายบทเรียนครูผู้สอนและผู้เรียนจะต้อง สรุปบทเรียนร่วมกัน เพื่อสรุปประเด็นเนื้อหาในภาพรวม จะส่งผลต่อผู้เรียนได้เข้าใจในเนื้อหาที่สอนอย่างชัดเจน

รวมถงึ ครผู ู้สอนยงั ไม่ได้เน้นกระบวนการสร้างสรรค์ในการให้นักเรียนมีโอกาสแสดงออกในการนำเสนอผลงานท่ีเกิดข้ึน จากกระบวนการเรยี นรู้ของตัวผเู้ รยี น ขาดตวั อยา่ ง รปู แบบการนำเสนอผลงาน - ครจู ะตอ้ งศึกษาพ้ืนฐานหรือประสบการณ์เดิมของผู้เรยี น หากผู้เรยี นบางคนไม่มีพน้ื ฐานในรายวชิ าท่ีสอน ก็ จะต้องมีการเสรมิ การเรียนรู้พ้ืนฐานให้กับผูเ้ รียนเหล่านั้น เพราะความรู้พื้นฐานหรือประสบการณ์มสี ่วนสำคัญตอ่ การ เรยี นรูใ้ นเรอื่ งใหม่ ๆ 6. ผลท่ไี ด้จากการจดั กจิ กรรม หวั หน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายใหค้ รูร่วมเรียนรู้ไปศึกษาแนวทางการแก้ไขปญั หาจากงานวจิ ยั หรอื รูปแบบท่ีมี ผู้พัฒนาแล้ว เพ่ือนำมารว่ มประชมุ ครั้งตอ่ ไป เลิกประชุมเวลา 16.00 น. ลงช่อื .......................................................... ครูผสู้ อน/ผบู้ ันทกึ ( นายนรศิ จันทร์สะอาด ) ลงช่อื .......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพิบูลย์ ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นเวียงสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครั้งที่ 2 ภาคเรียนที่ 2/2562 วัน/เดือน/ปี : 6 ธันวาคม 2563 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสรจ็ สิ้นเวลา 16.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 1 ชวั่ โมง กจิ กรรมครง้ั น้ีอยู่ความสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ข้นั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขนั้ ที่ 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See)  ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เขา้ ร่วมกิจกรรม 14 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1. นางฐติ มิ า นาครพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผูเ้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรัตน์ แจ่มแจง้ ผ้เู ชยี่ วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผ้เู ช่ยี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพิบูลย์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มุสิก ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าท่ี ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนนั ต์ ครูผูร้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพย์โอสถ ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บญุ มาก ครผู ูร้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ ักษณ์ เพง็ แพง ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. งาน/กิจกรรม แนวทางแกไ้ ขปญั หา และ การออกแบบกิจกรรม 2. ประเด็นปัญหา/ส่ิงทีต่ ้องการพัฒนา นกั เรยี นขาดทกั ษะการนำเสนอผลงาน หรือช้ินงาน

3. สมาชิกในกลุม่ นำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา สมาชิกในกลมุ่ รว่ มศึกษาปญั หา แนวทางแก้ไขปัญหา หรอื กระบวนการที่จะใช้ในการแก้ไขปญั หา ดงั น้ี 1) นำหลักการของการจัดการเรียนรมู้ าประยุกตใ์ ช้ เช่น การเสรมิ แรงของ skinner และทฤษฎกี ารเรียนรู้ของ กาเย่ การสร้างแรงจงู ใจให้นักเรียนอยากจะเรยี นในสงิ่ ที่ครูจะสอน ส่งเสริมปฏสิ ัมพันธ์ทด่ี ีระหวา่ งครกู ับนักเรยี น 2) ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ฝึกการคิด ให้นักเรียนได้เลน่ โดยหาสื่อทีเ่ หมาะกับวัยของนักเรียน ใช้ ทฤษฎีลองผดิ ลองถกู ของธอร์นไดน์ 3) นำหลกั การของทฤษฎีพหปุ ัญญาของ โฮวารด์ การด์ เนอร์ ที่เสนอแนวคิดสติปัญญาของมนุษย์มีหลายด้าน ท่มี ีความสำคัญเท่าเทยี มกัน ขน้ึ อยกู่ ับว่าใครจะโดดเด่นในด้านไหนบา้ ง แล้วแตล่ ะด้านผสมผสานกนั แสดงออกมาเป็น ความสามารถในเร่อื งใด เป็นลักษณะเฉพาะตวั ของแตล่ ะคนไป มาประยุกตใ์ ชใ้ นการใหน้ ักเรยี นแสดงออกทางความคิด ในการนำเสนอผลงานตามท่ีตวั เองถนดั 4) ใช้กิจกรรมการสอนในลักษณะของสื่อประสม คือ การใช้สื่อในหลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น ข้อความ เสียง รูปภาพ หรือ ภาพเคลื่อนไหว การนำสื่อหลายๆมาเปน็ ตัวกลางในการนำเสนอขอ้ มลู เน้ือหาความรโู้ ดยครมู บี ทบาทมาก ขนึ้ ในการนำนักเรียนรว่ มสนทนาและแสดงออกทางความคิดในกจิ กรรมเน้ือหาใหม้ ากขน้ึ 4. สมาชิกรว่ มกันออกแบบกจิ กรรมในการแก้ไขปญั หา ออกแบบการจัดการเรียนการสอนแบบต่างๆ เช่น Learning by doing, , Active Learning, กิจกรรมกลุ่ม กจิ กรรมอภิปราย เป็นตน้ 1) การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดยการนำเทคนิคการนำเสนอผลงาน ตัวอย่างผลงาน ชิ้นงาน มาเป็นต้นแบบ การพัฒนาการสอนที่เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงออกมากขึ้นและมีส่วนร่วมทุก คนในห้องเรียน 2) จัดกิจกรรมที่หลากหลายให้ตอบสนองต่อการดงึ ดูด สรา้ งแรงจงู ใจให้เกดิ ขึ้นแกน่ กั เรียน 5. ผลทไี่ ดจ้ ากการจดั กจิ กรรม จากการประชุมได้ข้อสรุปว่าให้ครูนั้นดำเนินกิจกรรมที่ครูแต่ละคนถนัดให้มากขึ้นเพื่อสร้างแรงจูงใจแก่ นกั เรยี นได้มกี ารนำเสนอผลงาน ชน้ิ งานท่ีหลากหลาย เลิกประชมุ เวลา 16.30 น. ลงช่ือ.......................................................... ครผู ู้สอน/ผ้บู ันทกึ ( นายนริศ จันทร์สะอาด ) ลงชือ่ .......................................................... ( นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ลู ย์ ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดอื น/ปี : 9 ธนั วาคม 2563 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 16.30 น. รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 1 ชว่ั โมง กจิ กรรมครง้ั นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขน้ั ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู เ่ี ข้าร่วมกิจกรรม 14 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชอ่ื 1. นางฐิตมิ า นาครพฒั น์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจ้ง ผเู้ ชี่ยวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชยั ราชพบิ ูลย์ หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ครูผ้สู อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มสุ ิก ครผู ้รู ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. วา่ ที่ ร.ต. หญิง กนกทพิ ย์ สุขอนนั ต์ ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชุตา เตาวโต ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรกี รด ครผู ูร้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อินทร ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสิริวรรณ ทิพย์โอสถ ครูผูร้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บุญมาก ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพ็งแพง ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher)

1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชิ้นงาน 2. งาน/กิจกรรม การวางแผนกจิ กรรม 3. สมาชกิ ในกลุ่มร่วมกนั จัดทำแผนกจิ กรรม จากการประชุมกลุ่มในกิจกรรม PLC ในสัปดาหท์ ีผ่ ่านมาได้หวั ขอ้ การพฒั นานักเรยี น คือ นักเรียนขาดทักษะ การนำเสนอผลงาน หรือชนิ้ งาน เพือ่ กระตุ้นทกั ษะ ความสามารถ ในการนำเสนอผลงานหรือทำช้นิ งานจากการเรียนรู้ จึงไดม้ ีการวางแผนงาน เพ่ือจัดทำแผนกิจกรรมดังนี้ 1. คณะครผู เู้ ข้ารว่ มประชุม ร่วมกนั แสดงความคดิ เห็น พดู คยุ เกย่ี วกบั ปัญหาในการจัดการเรียนการสอน 2. ปญั หาที่ทุกคนมีเหมือนกัน คือ นกั เรยี นขาดทกั ษะการนำเสนอผลงาน หรอื ช้ินงาน 3. คณะครูได้ข้อสรุปร่วมกันคือ ควรจะมีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรมส่ือประสม ที่ทำให้ นักเรยี นเกดิ การเรียนรตู้ ามวัตถปุ ระสงค์ท่ีกำหนด ได้ฝกึ ฝนเทคนิคหรือทักษะพัฒนาการเรียนรสู้ ่ิงต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง 4. ครูแต่ละท่านได้นำวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรมการสอนที่หลากหลาย เทคนิค การสอนการนำเสนอผลงาน การทำชิ้นงานที่ตอบสนองตรงตามความสามารถของนักเรียน ศึกษาแล้วนำมาเสนอ ร่วมกันออกแบบกิจกรรมการใช้กิจกรรมสื่อประสม ในการทำแผนการจัดการเรียนรู้ หรือแผนการจัดกิจกรรมใน สัปดาหถ์ ดั ไป 5. นำผลทไ่ี ดจ้ ากการจัดกจิ กรรมมาอภปิ รายและสรุปผลร่วมกัน 4. ผลทไี่ ดจ้ ากการจดั กิจกรรม นำผลการประชุมไปดำเนนิ การกจิ กรรมประชุมครั้งตอ่ ไป เลิกประชมุ เวลา 16.30 น. ลงชื่อ.......................................................... ครูผูส้ อน/ผบู้ ันทกึ ( นายนรศิ จันทร์สะอาด ) ลงชือ่ .......................................................... ( นายกฤตชิ ัย ราชพิบลู ย์ ) หัวหนา้ กลุม่ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชือ่ กลุ่ม PLC for Social Study ครั้งที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2/2562 วนั /เดือน/ปี : 12,13 ธันวามคม 2562 เร่ิมดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทง้ั สนิ้ 1 ชว่ั โมง กิจกรรมคร้ังน้อี ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง )  ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ข้ันท่ี 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่เี ข้าร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่อื 1. นางฐิติมา นาครพฒั น์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจ้ง ผู้เชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวภิ า ไกรวัฒนพงศ์ ผูเ้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชยั ราชพบิ ูลย์ หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มสุ กิ ครูผูร้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สุขอนนั ต์ ครผู ้รู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชตุ า เตาวโต ครูผ้รู ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรีกรด ครูผูร้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพยโ์ อสถ ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บญุ มาก ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิริลกั ษณ์ เพง็ แพง ครูผ้รู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปัญหา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชนิ้ งาน 2. งาน/กิจกรรม การนำสูก่ ารปฏบิ ตั ิ และ การสะท้อนผล

3. สมาชิกในกล่มุ ร่วมกันจดั ทำแผนกิจกรรม จากปัญหาทส่ี ำคญั ท่สี ุดของกลมุ่ คือ “นกั เรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชนิ้ งาน” สมาชิกในกลุ่มจึง ร่วมกันนำเสนอองค์ประกอบ กำหนดทิศทาง และแนวทางการแกป้ ัญหาในรายวชิ าของตนโดยยึดตามความเหมาะสม ของผู้เรยี น และนำมาสะท้อนผลลพั ธ์ร่วมกันในวธิ ีการเทคนิคทีไ่ ดน้ ำมาใช้กับนักเรยี นเพื่อเป็นต้นแบบ ค่มู ือให้ครูแต่ละ ระดับชั้นนำไปใชพ้ ัฒนานักเรียนในชั้นเรียนที่สอนต่อไป ซึ่งนำมาซึ่งกิจกรรมหัวใจหลัก คือ “การพัฒนารูปแบบการ จัดการเรียนการสอน โดยเทคนิคพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงานหรือชิ้นงานของนักเรียน” ซึ่งสมาชิกในกลุ่ม เสนอแนวทาง ดังนี้ 1) ครนู ริศ จนั ทร์สะอาด เทคนิคการเลา่ เร่อื ง storyline ชว่ ยลำดบั เรอ่ื งราวทส่ี ำคญั จบั ใจความ ให้แก่ผู้เรยี น สามารถสรา้ งองค์ความรู้ออกมาผ่านการนำเสนอผลงานได้ 2) ครกู ฤตชิ ยั ราชพบิ ูลย์ เทคนิคกระบวนการอภปิ รายกล่มุ แล้วใหม้ กี ารแสดงความคิดเห็นเปน็ รายบุคคลเพื่อกระต้นุ ทักษะการนำเสนอ 3) ครสู มทรง อำไพเมือง เทคนคิ การอภิปรายในรปู แบบแผนผงั ความคดิ จะช่วยจับใจความสำคัญ ของเนื้อหาท่เี รยี นร้ไู ด้มากข้ึน 4) ครศู ศิวรรณ มุสกิ เทคนิคการแสดงบทบาทสมมติ สอนใหผ้ ้เู รียนได้เรียนรู้จากกาแสดงออก ท้ังจากการแสดงออกทางกายและการเรยี นรคู้ วามรู้สกึ นึกคิดผา่ นตวั ละคร เรือ่ งราว สถานการณ์ ตามสภาพความเปน็ จริง 5) วา่ ที่ ร.ต.กนกทิพย์ สขุ อนันต์ เทคนคิ Powerpoint การสอนและนำเสนอผลงานผา่ นโปรแกรม เทคโนโลยที ี่ทันสมยั จะช่วยดงึ ดูดความสนใจผเู้ รียนและพัฒนา ทักษะการนำเสนอผลงานได้ 6) ครวู ิชชุตา เตาวโต เทคนิคกระบวนการกลุม่ ชว่ ยให้นักเรยี นมสี ่วนรว่ มในการทำงานและ ช่วยกันค้นควา้ นำเสนอผลงานออกมาได้จากข้อค้นพบของกลุ่ม 7) ครูทวิ าพร ศรีกรด เทคนิคกจิ กรรมแผนผงั ความคดิ มโนทัศน์ ช่วยรวบรวมความคิดรวบยอด ทตี่ ้องใช้ความเข้าใจที่ชัดเจนและแม่นยำท้ังในเรื่องความหมาย และ ความเชือ่ มโยงของความคดิ รวบยอดจึงทำให้การเรียนรอู้ อกมามี ประสิทธิภาพ กล้านำเสนอความคิดของตนเอง 8) นางอมรรัตน์ แจ่มแจ้ง เทคนิคกระบวนการจับคู่ เพื่อนช่วยเพอ่ื น ซึ่งชว่ ยส่งเสริมความคดิ เหน็ ซงึ่ กันและกัน ร่วมกนั แสดงออกได้มากขน้ึ กลา้ นำเสนอผลงานหรื ออกแบบชิน้ งานท่หี ลากหลายมากข้นึ 9) นางวิภา อนิ ทร เทคนิคการอภปิ รายกลุ่ม แลว้ ยอ่ ยมานำเสนอรายบคุ คลจากการรว่ ม อภิปรายกลมุ่ เปน็ การช่วยลดความประหม่าการพูดหนา้ ช้ันเรยี นได้ 10) นางสิรวิ รรณ ทพิ ย์โอสถ เทคนคิ การแสดงบทบาทสมมติ ใหน้ ักเรยี นมสี ทิ ธิแสดงออกมากย่งิ ขึ้น 11) นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ เทคนิคการสอนการสรปุ จับใจความสำคัญของเนื้อหาดว้ ยแผนพบั เพอื่ ให้เห็นความสำคัญในแต่ละประเดน็ เปน็ การพัฒนาทกั ษะการ ออกแบบชนิ้ งานและนำเสนอผลงานหน้าช้นั เรียนได้ 12) นางอารัญญา บุญมาก เทคนิคอภิปรายกล่มุ รว่ มกับการระดมสมอง(Brainstorming

13) นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพง็ แพง เทคนคิ การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ เป็นการจัดการเรียนรโู้ ดย ใช้ความรู้ ความเขา้ ใจ และทักษะในวิชาตา่ งๆ มากกวา่ หน่ึงวชิ าข้นึ ไป เพ่ือแกป้ ญั หาหรอื แสวงหาความรู้ ความเข้าใจ เรือ่ งใดเร่ืองหนึ่งทำใหผ้ ้เู รียนได้ประยุกต์ใชค้ วามคิด และสบการณ์ ความสามารถ และทักษะต่างๆ ในเวลาเดยี วกนั ทำใหไ้ ดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจลกั ษณะองค์รวม 4. ผลทไี่ ดจ้ ากการจดั กิจกรรม หัวหน้ากลุ่มสาระฯ มอบหมายให้ครูร่วมเรียนรู้ศึกษาเพิ่มเติมแนวทางการแก้ไขปัญหา และเตรียมพร้อม สำหรับเข้าสงั เกตการณก์ ารจดั การเรียนการสอนและสะท้อนผลลัพธ์ตอ่ ไป เลกิ ประชุมเวลา 16.00 น. ลงช่อื .......................................................... ครผู สู้ อน/ผบู้ ันทึก ( นายนริศ จันทร์สะอาด ) ลงชอื่ .......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพบิ ลู ย์ ) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทกึ กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวยี งสระ ช่ือกลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดอื น/ปี : 16 ธนั วาคม 2562 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 13.30 น. เสรจ็ สิน้ เวลา 14.30 น. รวมระยะเวลาทง้ั ส้ิน 1 ช่ัวโมง กิจกรรมครง้ั นอ้ี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้นั ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan)  ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ตั ิและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See)  ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม 14 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ที่ ชือ่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางฐติ ิมา นาครพฒั น์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผูเ้ ช่ยี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรัตน์ แจม่ แจง้ ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวภิ า ไกรวัฒนพงศ์ ผเู้ ชี่ยวชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชัย ราชพบิ ูลย์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ครูผู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มสุ ิก ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนนั ต์ ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรีกรด ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพย์โอสถ ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพง็ แพง ครผู ้รู ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กล่มุ ปญั หา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชิน้ งาน 2. งาน/กิจกรรม ปฏบิ ตั ิการสอน ใชเ้ วลาในคาบเรยี นตนเองตามตารางสอน

3. ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูนริศ จันทร์สะอาด ในการจดั การเรียนการสอนรายวิชาประวัติศาสตร์ รหัสวิชา ส23104 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ใช้กระบวนการเรียนการสอนกิจกรรมโดยการใช้การเล่าเรื่อง storyline พบว่า ครูผู้สอนมีการนำเข้าสู่บทเรียนที่ทำให้นักเรียนเกิดความสนใจเป็นอย่างดี ซึ่งในชั่วโมงของการ สังเกตครูผู้สอนให้ตัวแทนนักเรียน พูดคุยแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นร่วมกันระหว่างในชั้นเรียน เกี่ยวกับเหตุการณ์สำคัญ ของประวัตศิ าสตรโ์ ลกแลว้ รว่ มกันนำเสนอออกมาในรปู แบบแผนผงั ความคดิ ให้นักเรียนออกมานำเสนอ แล้วมีครูและ เพื่อนกั เรียนสงั เกตการนำเสนอรวมถึงถามคำถามจากเพ่ือนท่นี ำเสนอ หลังจากท่ีอภิปรายผลนำเสนอแล้ว มีการสรุปร่วมกันเพื่อสรุปบทเรียน แต่ในขณะที่อภิปรายผล มีนักเรียน บางคนที่ยังขาดความสนใจ ไม่ฟังเพื่อน ซึ่งต้องให้นักเรียนกลุ่มนี้ได้มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมากยิ่งขึ้น และอาจมี การเพ่มิ ระยะเวลาในการอภิปราย เพ่อื ใหน้ ักเรียนสามารถสรปุ องค์ความร้รู ่วมกันได้ 3.1 จดุ เด่นในการจัดการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) นกั เรียนมีปฏสิ ัมพันธ์กบั เพ่อื นในกล่มุ พูดคยุ แลกเปลี่ยนขอ้ คิดเหน็ 2) นักเรียนมคี วามร่วมมือ รว่ มใจ ในการแบ่งหน้าที่กันในการทำงาน 3) ครผู ู้สอนทำหนา้ ทีใ่ นการเปน็ ที่ปรึกษาและให้คำแนะนำ 3.2 จดุ ท่ตี ้องพฒั นาในการจดั การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 1) ครผู สู้ อนควรเพ่ิมหรือเผ่ือเวลาให้นกั เรยี นแตล่ ะคนได้อภปิ รายกับกลุ่มอนื่ ๆ ด้วย 2) ควรมวี ิธีการจดั เข้ากลมุ่ ท่ีคละกัน เด็กเก่ง เด็กปานกลาง และเด็กออ่ น เลกิ ประชุมเวลา 14.30 น. ลงช่อื .......................................................... ครผู ้สู อน/ผู้บนั ทึก ( นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงช่อื .......................................................... ( นายกฤติชยั ราชพบิ ูลย์ ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนเวียงสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครัง้ ท่ี 6 ภาคเรียนที่ 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 19,20 กรกฎาคม 2562 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสน้ิ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาท้งั สิ้น 1 ชว่ั โมง กิจกรรมครงั้ นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครอื่ งหมาย ✓ลงในช่อง ) ข้นั ท่ี 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ข้นั ที่ 2 ปฏิบัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See) ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 14 คน โดยมรี ายชอ่ื และบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ 1. นางฐติ มิ า นาครพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจง้ ผเู้ ชยี่ วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผเู้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชยั ราชพบิ ลู ย์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จันทรส์ ะอาด ครผู สู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มุสกิ ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. วา่ ท่ี ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนนั ต์ ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครูผ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรกี รด ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพยโ์ อสถ ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บุญมาก ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ิลักษณ์ เพง็ แพง ครูผูร้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปัญหา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชน้ิ งาน 2. งาน/กจิ กรรม สะท้อนผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน (AAR)

3. ครูผูส้ อนหลกั (Model Teacher) แสดงความรู้สึก/ความเห็น การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรมการเล่าเรื่อง โดยจัดการเรียนรู้ภายในหัวข้อเรื่อง (Theme) เดยี วกนั มกี ารผกู เรอ่ื งเป็นตอนๆ (Episode) แตล่ ะตอนจะมีลำดับเหตุการณ์ (Sequence) หรอื “เส้นทาง การเดินเรื่อง” (Topic line) และใช้คำถามหลัก (Key question) เป็นตัวนำไปสู่กิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ซึ่ง กิจกรรมเหล่านี้จะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ตามสภาพจริง ลงมือปฏิบัติจริง เน้นทักษะกระบวนการคิด การ วิเคราะห์ การตัดสินใจ กระบวนการกลุ่ม ตลอดจนการสร้างความรู้ดว้ ยตนเองออกมาในรูปแบบชิ้นงานและได้ทักษะ การนำเสนอผลงาน เม่ือนำเสนอเสร็จเรียบร้อยครูผูส้ อนและนักเรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหา 4. สมาชิกร่วมกันสะท้อนผล การจัดกจิ กรรม เป็นกิจกรรมที่ทำให้นักเรียนเกิดความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียน มีการใช้กระบวนการกลุ่มเข้ามามี สว่ นชว่ ยในการทำกจิ กรรม ( เดก็ เก่งช่วยเดก็ อ่อน ) สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเกิดความเขา้ ใจและนำเสนอผลงานออกมาได้ 5. กิจกรรมท่ีไดร้ ว่ มทำ ครผู ู้สอนนำเสนอผลการปฏิบตั กิ ารจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง เหตุการณส์ ำคัญประวัตศิ าสตรโ์ ลก จากน้ันครู ร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้ คำแนะนำในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ครูผู้สอนบันทึกผลการ สะท้อนผลหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นให้มาร่วมกันปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ เครอ่ื งมือการสอนในครัง้ ตอ่ ไป 6. สมาชิกรว่ มกันปรบั ปรุงแบบกจิ กรรมตามที่ไดส้ ะทอ้ นผล และ ปรบั แผนกจิ กรรม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง storyline เพื่อกระตุ้นความสนใจในการ เรียน ทำให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียนและยังสามารถค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่ตนเองไม่เข้าใจ ได้ ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง มีการช่วยเหลือกันของสมาชิกในกลุ่ม ทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ร่วมกัน นักเรียนสร้าง องคค์ วามรู้ สรา้ งชน้ิ งานนำเสนอได้ มีทักษะการนำเสนอจากการสัมผัสกบั กจิ กรรมเลา่ เร่ือง storyline ดังนัน้ ครูแต่ละ คนจึงนำแนวทางไปปรับใช้ในเหมาะสมกับรายวิชาของตนเอง และมีการแลกเปลี่ยนให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดทำ แผนการจดั การเรียนรู้ของแตล่ ะคนใหม้ ีความถกู ตอ้ งและเหมาะสมต่อไป 7. ผลลพั ธท์ ่ีไดจ้ ากกิจกรรม ครูผสู้ อนหลกั และสมาชกิ ในกลุ่ม PLC ได้เรียนรเู้ กย่ี วกบั การปฏบิ ตั กิ ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8. แนวทางการนำความร้ไู ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนำผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพ่ือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสำเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้องพัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เลิกประชุมเวลา 16.00 น. ลงช่อื .......................................................... ครผู ้สู อน/ผบู้ นั ทกึ ลงชอ่ื .......................................................... ( นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ) ( นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ลู ย์ ) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวยี งสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study คร้งั ท่ี 7 ภาคเรยี นที่ 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 23 ธันวาคม 2562 เริม่ ดำเนนิ การเวลา 14.20 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 15.20 น. รวมระยะเวลาท้งั สิน้ 1 ชัว่ โมง กิจกรรมคร้ังนอี้ ยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่อื 1. นางฐติ ิมา นาครพฒั น์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เช่ยี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจง้ ผ้เู ชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวัฒนพงศ์ ผเู้ ช่ียวชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชยั ราชพิบูลย์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จันทรส์ ะอาด ครผู ้สู อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มสุ ิก ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทิพย์ สุขอนนั ต์ ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชตุ า เตาวโต ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อินทร ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ ิวรรณ ทพิ ย์โอสถ ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิรลิ ักษณ์ เพง็ แพง ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปัญหา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชิ้นงาน 2. งาน/กิจกรรม การทดลองของสมาชกิ ในทีม ครูผ้รู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครูรว่ มเรยี นรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรยี นรทู้ ก่ี ำหนดไว้ ชอ่ื ครรู ่วมเรียนรู้ทท่ี ดลองสอน นางสาวศศิวรรณ มุสิก

4. สมาชกิ สังเกตการสอน บันทกึ ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูศศิวรรณ มุสิก ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา เศรษฐศาสตร์ เรื่อง สทิ ธิผูบ้ ริโภค ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2/2 ใช้กระบวนการเรยี นการสอนโดยการใช้กิจกรรมการแสดงบทบาท สมมตุ ิ การแสดงละครเกี่ยวกับสทิ ธผิ ู้บรโิ ภค พบว่า ครจู ะมีการอธิบายเน้ือให้กบั เรยี น ใช้คำถามท่เี ก่ยี วกับสถานการณ์ ปัจจุบัน แล้วแบ่งกลุ่มนักเรียนทำกิจกรรมแสดงละครเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคเพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับสิทธิที่ตนเองพึงจะ ได้รับโดยตรงจากประสบการณ์ ผลลัพธ์นักเรียนจะมีการใช้กระบวนการคิด การจัดลำดับเรื่องราวในการแสดงละคร การแสดงออกทางความคิดสร้างสรรค์ในการนำเสนอผลงาน เลกิ ประชมุ เวลา 15.20 น. ลงชอ่ื .......................................................... ครผู ูส้ อน/ผบู้ นั ทึก ( นายนริศ จันทร์สะอาด ) ลงชื่อ.......................................................... ( นายกฤติชยั ราชพบิ ูลย์ ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทึกกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครั้งท่ี 8 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 26 ธันวาคม 2562 เร่ิมดำเนนิ การเวลา 13.30 น. เสรจ็ สนิ้ เวลา 14.20 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิ้น 1 ช่ัวโมง กิจกรรมครง้ั นอ้ี ยู่ความสอดคล้องกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขัน้ ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชื่อ 1. นางฐิตมิ า นาครพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจง้ ผเู้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชัย ราชพิบลู ย์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ครูผู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มสุ กิ ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. วา่ ท่ี ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนันต์ ครผู ูร้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชุตา เตาวโต ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อนิ ทร ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพย์โอสถ ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บุญมาก ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิริลกั ษณ์ เพง็ แพง ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปญั หา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชนิ้ งาน 2. งาน/กจิ กรรม การทดลองของสมาชิกในทีม ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ว่ มเรียนรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ี่กำหนดไว้ ชอ่ื ครรู ่วมเรยี นรู้ทที่ ดลองสอน ว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทพิ ย์ สุขอนนั ต์

4. สมาชกิ สังเกตการสอน บันทึกผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทิพย์ สุขอนันต์ ในการจัดการเรียนการสอน รายวิชา ประวัติศาสตร์ เรอ่ื ง อารยธรรมโลก ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6/4 โดยใชก้ ระบวนการเรยี นการสอนโดยการ นำเสนอผลงานผ่านการสรปุ เน้ือหาดว้ ย Powerpoint พบวา่ ครผู ู้สอนได้ตรวจสอบรายช่ือนักเรยี นท่ีเข้าเรียน และครู อธบิ ายเนื้อหา เลา่ ความสำคัญของแตล่ ะอารยธรรม เส้นทางอารยธรรมโลก จากนัน้ แบง่ กลุ่มนกั เรียนศกึ ษาแตล่ ะอารย ธรรมแล้วนำมานำเสนอหน้าชั้นเรียนในกิจกรรมค้นพบที่ตนเองได้ศึกษา ผ่านการสรุปเนื้อหาด้วย Powerpoint จากนั้นครูผู้สอนและนักเรียนช่วยกันสรุปเนื้อหา โดยจดบันทึก เทคนิค แนวการที่เป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน จาก ข้อแนะนำของครูผู้สอน พร้อมทง้ั สรุปความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการเรียน เลิกประชุมเวลา 14.20 น. ลงชือ่ .......................................................... ครูผ้สู อน/ผบู้ นั ทึก ( นายนริศ จนั ทร์สะอาด ) ลงชอื่ .......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพบิ ลู ย์ ) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นเวียงสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครั้งท่ี 9 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดอื น/ปี : 27 ธนั วาคม 2562 เรม่ิ ดำเนินการเวลา 13.30 น. เสร็จส้ินเวลา 14.20 น. รวมระยะเวลาทัง้ สน้ิ 1 ช่วั โมง กิจกรรมครั้งนอ้ี ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นที่ 1 วิเคราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ข้ันที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขนั้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายชอื่ และบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นางฐติ ิมา นาครพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผูเ้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรัตน์ แจม่ แจ้ง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผูเ้ ช่ยี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ลู ย์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จันทรส์ ะอาด ครูผู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มสุ กิ ครผู ้รู ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนนั ต์ ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชตุ า เตาวโต ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อนิ ทร ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทพิ ย์โอสถ ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บุญมาก ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิริลกั ษณ์ เพ็งแพง ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ช้นิ งาน 2. งาน/กิจกรรม การทดลองของสมาชกิ ในทีม ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ่วมเรียนร้ทู ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้ ชื่อครรู ว่ มเรียนรู้ทท่ี ดลองสอน นางวภิ า อินทร

4. สมาชกิ สงั เกตการสอน บันทึกผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครู วิภา อินทร ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สังคมศึกษา เรื่อง หน้าที่พลเมืองดี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 /5 โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยการอภิปรายกลุ่ม พบว่า ครูผู้สอนได้ตรวจสอบรายชือ่ นักเรยี นที่เข้าเรียน มีการพูดคุยถึงเหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน บทบาทหน้าที่พลเมอื งดที ่ี เราจะสามารถกระทำได้ บคุ คลทเ่ี ปน็ ตัวอยา่ งของพลเมืองดีทนี่ ักเรียนร้จู ัก จากนั้นครมู กี ารให้นักเรียนทำกิจกรรมกลุ่ม ตามหาบุคคลที่เป็นพลเมืองดีที่นักเรียนยึดเป็นแบบอย่างได้ ครูใช้คำถามตอบกับนักเรียนถึงตัวอย่างเหตุการณ์หน้าที่ พลเมือง มีความสำคัญอย่างไรบ้าง ให้ตัวแทนนักเรียนออกมานำเสนอบทบาทหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดีทีน่ ักเรยี น เคยกระทำมา และเราจะตอ่ ยอดนำมาสร้างเปน็ ชน้ิ งานสรุปจากการเรียนรู้ในชัน้ เรยี น เลิกประชุมเวลา 13.40 น. ลงชือ่ .......................................................... ครูผสู้ อน/ผ้บู ันทกึ ( นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงช่ือ.......................................................... ( นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ูลย์ ) หัวหนา้ กล่มุ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวียงสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ที่ 10 ภาคเรียนที่ 2/2562 วนั /เดือน/ปี : 3 มกราคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 09.20 น. เสร็จส้นิ เวลา 10.20 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 1 ชวั่ โมง กจิ กรรมคร้ังนีอ้ ยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ข้นั ท่ี 2 ปฏิบัตแิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ข้ันที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม 14 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชื่อ 1. นางฐิตมิ า นาครพัฒน์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชีย่ วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจง้ ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวิภา ไกรวัฒนพงศ์ ผเู้ ชี่ยวชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ูลย์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มุสกิ ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าท่ี ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สุขอนันต์ ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชุตา เตาวโต ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรกี รด ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทิพย์โอสถ ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพง็ แพง ครผู ูร้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลุม่ ปญั หา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชิ้นงาน 2. งาน/กิจกรรม การทดลองของสมาชกิ ในทีม ครูผูร้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ว่ มเรียนรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ ก่ี ำหนดไว้ ช่ือครรู ่วมเรยี นรู้ทที่ ดลองสอน นางสาววิชชตุ า เตาวโต

4. สมาชกิ สงั เกตการสอน บันทกึ ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูวิชชุตา เตาวโต ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ประวัติศาสตร์ เรื่อง ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรม กลมุ่ พบวา่ ครผู ู้สอนไดต้ รวจสอบรายช่ือนักเรียนที่เข้าเรยี น ถามถงึ ยุคลสมัยต่างๆท่ีนักเรียนรู้จัก ใช้คำถามในลักษณะ นำสเู่ นอ้ื หา เชน่ นักเรยี นคิดว่ายุคสมยั เราเขาเรียกวา่ กลมุ่ เจเนอเรชนั่ เทา่ ไร แลว้ คิดวา่ ยคุ สมยั เหล่านี้ในอดตี มียุคสมัย อะไรบ้าง นักเรียนรู้ไหมว่าเป็นลักษณะอย่างไร แต่ละภาคของไทยจะมียุคสมัยอะไรทางประวัติศาสตร์เกิดขึ้นบ้าง จากนั้นทำกิจกรรมกลุ่มค้นหายุคสมัยทางระวัติศาสตร์แต่ละยุคว่าค้นพบสิ่งใดบ้าง แล้วทำเป็นชิ้นงานกลุ่ม พร้อมนำ นำเสนอข้อคน้ พบของกลมุ่ จากนนั้ ครแู ละนักเรียนพร้อมสรุปความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการเรียน เลิกประชมุ เวลา 10.20 น. ลงชอื่ .......................................................... ครูผสู้ อน/ผ้บู ันทกึ ( นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงชอ่ื .......................................................... ( นายกฤติชยั ราชพิบลู ย์ ) หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทึกกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ท่ี 11 ภาคเรียนที่ 2/2562 วัน/เดือน/ปี : 6 มกราคม 2563 เรมิ่ ดำเนนิ การเวลา 13.30 น. เสร็จสนิ้ เวลา 14.30 น. รวมระยะเวลาท้ังสิ้น 1 ชว่ั โมง กจิ กรรมครงั้ นอี้ ยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขนั้ ท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู เี่ ข้าร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือชื่อ 1. นางฐิติมา นาครพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผเู้ ชี่ยวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจ้ง ผู้เชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวภิ า ไกรวัฒนพงศ์ ผเู้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤติชัย ราชพบิ ลู ย์ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ครผู สู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มุสิก ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทิพย์ สขุ อนันต์ ครผู ้รู ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชุตา เตาวโต ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรีกรด ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อินทร ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ ิวรรณ ทพิ ยโ์ อสถ ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิริลกั ษณ์ เพง็ แพง ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชิน้ งาน 2. งาน/กิจกรรม การทดลองของสมาชกิ ในทีม ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ว่ มเรียนรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ีกำหนดไว้ ชอ่ื ครูร่วมเรียนรู้ทท่ี ดลองสอน นางสาวทวิ าพร ศรกี รด

4. สมาชิกสงั เกตการสอน บันทกึ ผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูทวิ าพร ศรีกรด ในการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา พระพุทธศาสนา เรื่อง หลักอริยสัจ 4 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยการใช้กิจกรรมแผนผังความคิด มโนทัศน์ พบว่า ครูผู้สอนได้ตรวจสอบรายชื่อนกั เรยี นท่ีเข้าเรียน และครูอธิบายถึงหลักการของอริยสจั 4 ให้นักเรียน แล้วยกตัวอย่างในชีวิตประจำวันให้นักเรียนเห็นภาพ และทำกิจกรรมให้นักเรียนแยกอริยสัจ 4 โดยจับเข้ากับ เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ซึ่งจากการสังเกตช่วยสร้างความตื่นเต้นให้กับนักเรียน นักเรียนมีความกระตือรือร้นมาก ขน้ึ แล้วให้นักเรียนนำเสนอหน้าชนั้ เรียน ช่วยฝึกทักษะการนำเสนองาน การพดู หน้าชนั้ เรยี น ทำให้นักเรียนต้องมีการ ฝกึ การเตรยี มตวั วิเคราะห์ขอ้ มูล การจบั ประเด็น จากนนั้ ครผู สู้ อนและนกั เรียนชว่ ยกันสรปุ เนือ้ หา ความรทู้ ไ่ี ด้จากการ เรียน เลกิ ประชุมเวลา 14.30 น. ลงช่อื .......................................................... ครผู สู้ อน/ผูบ้ ันทึก ( นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงชอ่ื .......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพบิ ลู ย์ ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทกึ กจิ กรรมชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ที่ 12 ภาคเรียนที่ 2/2562 วัน/เดือน/ปี : 17 มกราคม 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 09.20 น. เสร็จสิน้ เวลา 10.20 น. รวมระยะเวลาทั้งสิน้ 1 ช่ัวโมง กจิ กรรมครัง้ นีอ้ ย่คู วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกนั (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ข้นั ท่ี 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ข้นั ที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม 14 คน โดยมรี ายช่อื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชือ่ -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชอ่ื 1. นางฐติ ิมา นาครพัฒน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจ้ง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผู้เชยี่ วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ัย ราชพบิ ูลย์ หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มุสิก ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทพิ ย์ สขุ อนนั ต์ ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชตุ า เตาวโต ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรีกรด ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อนิ ทร ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสิริวรรณ ทิพยโ์ อสถ ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บุญมาก ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิรลิ กั ษณ์ เพง็ แพง ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปัญหา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ช้นิ งาน 2. งาน/กิจกรรม การทดลองของสมาชกิ ในทีม ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ว่ มเรียนรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรียนรทู้ กี่ ำหนดไว้ ชอ่ื ครรู ว่ มเรยี นรู้ทท่ี ดลองสอน นางสริ ิวรรณ ทิพย์โอสถ

4. สมาชิกสงั เกตการสอน บันทกึ ผลการสังเกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูสิริวรรณ ทิพย์โอสถ ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา พระพุทธศาสนา เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทย นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2/2 โดยใหน้ ักเรียนบอกถึงวัฒนธรรมไทยที่นักเรียน รจู้ ักในชีวิตประจำวนั โดยครูยกตวั อยา่ งอาหารพืน้ บา้ นทีเ่ รารบั ประทานกันในชีวติ ประจำวนั ถอื วา่ เปน็ วฒั นธรรมอย่าง หนงึ่ โดยใหน้ ักเรียนช่วยกนั ยกตัวอยา่ งอาหารทร่ี จู้ ัก แลว้ เชอื่ มโยงไปถงึ วฒั นธรรมอน่ื ๆ รอบตวั ของนักเรยี น วัฒนธรรม การแต่งกาย ศาสนาประเพณี เปน็ ต้น หลังจากนั้นให้นกั เรียนทำกจิ กรรมกล่มุ เก่ยี วกับวัฒนธรรมไทย ออกมาพดู แสดง ละครเกี่ยวกับวัฒนธรรมไทย โดยยกตัวอย่างมานำเสนอเป็นบทบาทสมมุติ จากนั้นครูตั้งคำถามเมื่อนักเรียนจบการ นำเสนอ เพือ่ เปน็ การสรุปทบทวนเนือ้ หาที่นกั เรยี นนำเสนอ เลกิ ประชุมเวลา 12.00 น. ลงชอื่ .......................................................... ครูผสู้ อน/ผู้บันทึก ( นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ) ลงช่อื .......................................................... ( นายกฤติชยั ราชพิบลู ย์ ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรยี นเวียงสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครง้ั ท่ี 13 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดอื น/ปี : 24 มกราคม 2563 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 14.20 น. เสรจ็ ส้นิ เวลา 15.20 น. รวมระยะเวลาทง้ั สิน้ 1 ช่วั โมง กิจกรรมครง้ั นี้อยูค่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ข้ันท่ี 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขนั้ ที่ 2 ปฏิบตั ิและสงั เกตการเรยี นรู้ (Do & See) ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเขา้ รว่ มกิจกรรม 14 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ที่ ชอ่ื -สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือช่ือ 1. นางฐิติมา นาครพัฒน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผ้เู ชย่ี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรัตน์ แจ่มแจง้ ผ้เู ชี่ยวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวัฒนพงศ์ ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพิบูลย์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มุสกิ ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าท่ี ร.ต. หญิง กนกทพิ ย์ สุขอนันต์ ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชตุ า เตาวโต ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อินทร ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทพิ ยโ์ อสถ ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บญุ มาก ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิรลิ กั ษณ์ เพง็ แพง ครูผ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลมุ่ ปัญหา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชนิ้ งาน 2. งาน/กจิ กรรม การทดลองของสมาชิกในทีม ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครูรว่ มเรยี นร้ทู ดลองสอน ตามแผนการจดั การเรียนรทู้ ่กี ำหนดไว้ ช่ือครูรว่ มเรยี นรู้ทที่ ดลองสอน นางอารญั ญา บุญมาก

4. สมาชกิ สงั เกตการสอน บันทึกผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูอารัญญา บุญมาก ในการจัดการเรียนการสอนรายวิชา สังคมศึกษา เรื่อง รัฐสภา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/7 โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนโดยอภิปรายกลุ่ม พบว่า ครูผู้สอนได้ ตรวจสอบรายชื่อนกั เรียนที่เขา้ เรียน และครูอธิบายการเปิดไฟล์วิดีโอ เกี่ยวกับรูปแบบรัฐสภา จาก youtube มาเปิด ให้นักเรียนดู แล้วใช้กระบวนการอภิปราย อภิปรายซักถามถึงความเป็นรัฐของประเทศที่ศึกษาว่ามีองค์ประกอบของ ความเป็นรัฐสภาครบหรือไม่เพราะเหตุใด ใช้เทคนิคการระดมสมอง(Brainstorming) จากนั้นร่วมกันจำแนกและ ยกตัวอย่างรปู แบบของรฐั ลงในแบบฝกึ ปฏบิ ัติในสมุด จากนน้ั ออกมานำเสนอและอภิปรายรว่ มกนั กบั นักเรียนและครู เลกิ ประชมุ เวลา 15.20 น. ลงชือ่ .......................................................... ครูผูส้ อน/ผบู้ ันทึก ( นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ) ลงชื่อ.......................................................... ( นายกฤตชิ ัย ราชพบิ ูลย์ ) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทึกกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวยี งสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครงั้ ที่ 14 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 14.20 น. เสรจ็ สน้ิ เวลา 15.20 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 1 ชว่ั โมง กจิ กรรมครงั้ นีอ้ ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเคร่อื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขัน้ ท่ี 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See) ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมรี ายชื่อและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื 1. นางฐิตมิ า นาครพัฒน์ ผ้อู ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจ้ง ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพิบลู ย์ หวั หน้ากลุ่มสาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทรส์ ะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มุสกิ ครผู ูร้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนันต์ ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววชิ ชตุ า เตาวโต ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรีกรด ครผู รู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อนิ ทร ครูผ้รู ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ ิวรรณ ทิพยโ์ อสถ ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บุญมาก ครผู ู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ ักษณ์ เพ็งแพง ครผู รู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรอื กลมุ่ ปญั หา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชน้ิ งาน 2. งาน/กจิ กรรม การทดลองของสมาชิกในทีม ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 3. ครรู ว่ มเรยี นรทู้ ดลองสอน ตามแผนการจัดการเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไว้ ช่อื ครูร่วมเรยี นรู้ทที่ ดลองสอน นางสาวศริ ิลกั ษณ์ เพ็งแพง

4. สมาชิกสงั เกตการสอน บันทกึ ผลการสงั เกต จากการไปสังเกตการณ์การสอนของครูศิริลักษณ์ เพ็งแพง ในการจัดการเรียนการสอนรายวชิ า กิจกรรมการ เรยี นรู้รายวชิ าประวัตศิ าสตรส์ โุ ขทัย ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/2 โดยใชก้ ระบวนการเรียนการสอนการเรียนการสอน แบบบูรณาการ พบว่า ครูอธิบายเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาการในสมัยสุโขทัย จากนั้นตั้งคำถามให้ นักเรียนช่วยกันตอบ แล้วค้นคว้าปัจจัยต่างๆ แล้วออกมาอธิบายหน้าชั้นเรียน แล้วสรุปทำ mind mapping จากน้ัน สรุปบทเรียนอกี ครั้ง และ เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นซักถามขอ้ สงสัยเพิ่มเติม เลิกประชุมเวลา 15.20 น. ลงช่อื .......................................................... ครูผ้สู อน/ผูบ้ ันทึก ( นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงชื่อ.......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพิบลู ย์ ) หวั หนา้ กล่มุ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวยี งสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครง้ั ท่ี 15 ภาคเรยี นที่ 2/2562 วัน/เดือน/ปี : 13,14 กุมภาพนั ธ์ 2563 เริ่มดำเนนิ การเวลา 15.30 น. เสร็จสิน้ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทงั้ สิ้น 1 ช่วั โมง กจิ กรรมครง้ั นอ้ี ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพฒั นาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในช่อง ) ขั้นท่ี 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ที่ 2 ปฏบิ ตั แิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See) ขัน้ ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 14 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทต่อกิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอ่ื -สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือช่อื 1. นางฐติ ิมา นาครพัฒน์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชย่ี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรัตน์ แจ่มแจ้ง ผเู้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวฒั นพงศ์ ผเู้ ชยี่ วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ยั ราชพิบลู ย์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จันทร์สะอาด ครผู ู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มสุ ิก ครผู รู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าท่ี ร.ต. หญงิ กนกทิพย์ สขุ อนันต์ ครูผ้รู ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรีกรด ครผู ้รู ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อินทร ครูผูร้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทพิ ย์โอสถ ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บุญมาก ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิรลิ กั ษณ์ เพง็ แพง ครูผรู้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 1. งาน/กจิ กรรม สรปุ รายงานผล คร้งั ท่ี 1 (การอภิปรายผล) 2. ประเด็นปัญหา/ประเด็นการพฒั นา จากปัญหาที่สำคัญที่สุดของกลุ่ม คือ “นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชิ้นงาน” ซึ่งการจัดการ เรยี นการสอนในรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมในหอ้ งเรียนนน้ั มีเนอื้ หาทีเ่ ยอะและมคี วามซับซ้อน เนอ้ื หา

ค่อนข้างหลากหลาย กว้างและเป็นความจำเป็นส่วนใหญ่ ทำให้นักเรียนเรียนไม่เข้าใจเนื้อหาที่เรียน ไม่สามารถสรุป องค์ความรู้ออกมาเป็นผลงานหรือช้ินงานได้ ครูผู้สอนและสมาชิกในกลุ่ม PLC ได้แลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละร่วมกันเสนอ แนวทางเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แล้วนำไปใช้จัดกจิ กรรมให้แก่ผู้เรียน จากนั้นสมาชกิ ในกลุ่ม PLC จึงร่วมกนั สะท้อน ความคิดจากการสังเกต เพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบเทคนิคการสอนที่เพิ่มเติมให้สมบูรณ์และแก้ขุดท่ี บกพร่องอยู่ รวมถึงเป็นผลให้ครูผู้สอนนำต้นแบบเทคนิคของครูแต่ละคนไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา ทกั ษะการนำเสนอผลงานหรอื ชิน้ งานได้ 3. สาเหตุของปญั หา - วธิ ีการสอนของครูไมส่ ามารถดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้ และวธิ ีการสอนของครูไม่มีการโน้มน้าวจิตใจ ก่อนเริ่มกิจกรรมการเรียนการสอน ยังคงเป็นวธิ กี ารสอนแบบเดมิ ๆที่ผ่านมาครูผู้สอนเตรียมตัวสอนไม่เต็มที่ การสอน ในลักษณะนี้ครูผู้สอนเตรียมตัวสอนมาน้อย ศึกษาค้นคว้าข้อมูลมาน้อย ทำให้การอธิบายยังไม่แจ่มแจ้งพอ ทำให้ ผู้เรยี นเกิดความไมช่ ดั เจนในเนือ้ หารสาระที่สอน - ครูผู้สอนไม่สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยทั่วไปในท้ายบทเรียนครูผู้สอนและผู้เรียนจะต้อง สรุปบทเรียนร่วมกัน เพื่อสรุปประเด็นเนื้อหาในภาพรวม จะส่งผลต่อผู้เรียนได้เข้าใจในเนื้อหาที่สอนอย่างชัดเจน รวมถึงครูผสู้ อนยงั ไม่ได้เน้นกระบวนการสร้างสรรคใ์ นการใหน้ ักเรยี นมโี อกาสแสดงออกในการนำเสนอผลงานท่ีเกิดขึ้น จากกระบวนการเรยี นรขู้ องตัวผูเ้ รยี น ขาดตวั อย่าง รปู แบบการนำเสนอผลงาน - ครูจะต้องศึกษาพ้ืนฐานหรือประสบการณเ์ ดิมของผูเ้ รียน หากผู้เรยี นบางคนไม่มีพ้ืนฐานในรายวชิ าท่ีสอน ก็ จะต้องมีการเสริมการเรียนรู้พ้ืนฐานให้กบั ผู้เรียนเหล่านั้น เพราะความรู้พื้นฐานหรือประสบการณ์มีส่วนสำคัญตอ่ การ เรียนรู้ในเรอื่ งใหม่ ๆ 4. ความรหู้ รอื หลักการท่นี ำมาประยุกต์ใช/้ แนวทางการแก้ไขปัญหา ชมุ ชนแห่งการเรยี นรเู้ ชงิ วชิ าชีพรว่ มกนั สะทอ้ นความคดิ ทัง้ จุดเด่น จุดด้อย ปญั หา-อุปสรรค รวมทง้ั แนะนำ วิธกี ารแกป้ ัญหาโดยใชส้ ุนทรียสนทนา คอื การพฒั นารปู แบบการจัดการเรียนการสอน โดยเทคนิคพัฒนาทักษะการ นำเสนอผลงานหรอื ช้นิ งานของนักเรียน เพ่ือแก้ปัญหานักเรียนขาดทกั ษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชน้ิ งาน จึงไดร้ ว่ มกนั จัดทำ เสนอแนวทางเทคนิคการสอนในรายวชิ าของตนเองร่วมกัน จากการพฒั นารูปแบบการจดั กิจกรรมการเรียนการ สอนข้างต้น แสดงให้เหน็ ว่าการนำเทคนคิ การเข้าใขความหลายทางความสามารถของนักเรยี นแตล่ ะบุคคลตามทฤษฎี พหุปัญหา ทเ่ี ป็นการส่งเสริมใหค้ รผู สู้ อนเหน็ ความสำคัญของการแสดงออกทางความสามารถของนักเรยี นผ่านผลงาน หรอื ชิ้นงาน ซงึ่ เปน็ เทคนคิ ทีช่ ่วยพัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ของสมองซีกขวาที่ครสู ามารถนำไปปรบั การสอนแบบเดิม ได้ผลลพั ธท์ ีด่ มี ากย่ิงขน้ึ 5. กิจกรรมทไี่ ดร้ ่วมทำ (อธบิ ายลักษณะของกิจกรรม) ผู้สอนนำเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ ผู้เชี่ยวชาญให้ข้อคดิ เห็นเกย่ี วกับจดุ เด่น จดุ ด้อย ปัญหาและอุปสรรค รวมทัง้ ให้คำแนะนำในการพฒั นาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคิดแล้ว ผู้สอนบันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรบั ปรุงเพอื่ พัฒนารปู การสอนให้ดีย่งิ ขน้ึ ต่อไป

6. สมาชิกร่วมกันอภปิ รายผล จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคตามทฤษฎีพหุปัญหา ตามความเหมาะสมของนักเรียนและ ธรรมชาติของรายวิชาในการช่วยให้นักเรียนเข้าใจเนื้อ เรียนรู้เข้าใจ และสามารถสรุปองค์ความรู้ออกมาผ่านทาง ผลงานหรือชิน้ งานได้เปน็ เป็นพฒั นาทักษะการนำเสนอผลงานของนักเรียนได้มากขน้ึ ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community) เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และคุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ ที่จะก่อให้เกิดผลทางบวกต่อการ เรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศึกษา หรือช่วยพัฒนาการจัดการเรียนรู้และส่งผลให้นักเรียนมี ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้นึ เลิกประชมุ เวลา 16.00 น. ลงชอื่ .......................................................... ครูผู้สอน/ผ้บู ันทกึ ( นายนริศ จนั ทร์สะอาด ) ลงชื่อ.......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพิบลู ย์ ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บนั ทกึ กิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนเวียงสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครัง้ ท่ี 16 ภาคเรยี นท่ี 2/2562 วนั /เดือน/ปี : 27,28 กมุ ภาพันธ์ 2563 เร่มิ ดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสน้ิ เวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 1 ช่วั โมง กิจกรรมครง้ั น้ีอยคู่ วามสอดคล้องกับการพฒั นาบทเรียนร่วมกัน (Lesson study) (ทำเครอ่ื งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ที่ 1 วิเคราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขนั้ ที่ 2 ปฏิบัติและสังเกตการเรยี นรู้ (Do & See) ข้ันท่ี 3 สะท้อนความคดิ และปรับปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรม 14 คน โดยมรี ายชอื่ และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ที่ ชื่อ-สกุล บทบาทหน้าที่ ลายมือชื่อ 1. นางฐิตมิ า นาครพฒั น์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เชี่ยวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจ่มแจง้ ผ้เู ช่ียวชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวภิ า ไกรวฒั นพงศ์ ผู้เชีย่ วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ัย ราชพบิ ูลย์ หวั หน้ากลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนรศิ จนั ทร์สะอาด ครผู ู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศิวรรณ มุสิก ครผู รู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญงิ กนกทพิ ย์ สขุ อนนั ต์ ครูผรู้ ว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรกี รด ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อนิ ทร ครูผูร้ ว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ วิ รรณ ทพิ ยโ์ อสถ ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารัญญา บุญมาก ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ิลกั ษณ์ เพง็ แพง ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลมุ่ ปญั หา นักเรียนขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชิน้ งาน 2. งาน/กจิ กรรม สรุปรายงานผล ครงั้ ท่ี 2 (การสรุปผล)

3. สรปุ สังเคราะหก์ ารเรยี นรจู้ ากสมาชิกในทีม จดุ อ่อน จดุ เด่นของการดำเนนิ การ 3.1 ประเดน็ ดา้ นผูเ้ รียน - พฤติกรรมของนักเรียนที่มีปัญหาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นตามข้อตกลงที่ตั้งไว้ นักเรียนมีคะแนนเฉล่ีย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนมากขึ้น ซึ่งดูผลได้จากหลักฐานผลงานต่างๆ ที่แสดงถึงด้าน ความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการคิด กระบวนการเรยี นรู้ และผลการเรยี นตา่ งๆ ของนักเรียน - ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีความกล้า ที่จะนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และมี ความคิดท่ีหลากหลายในการออกแบบช้ินงานของตนมากขึ้น - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง เรียนอย่างมีความสุขและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ครูกบั นกั เรยี น และนกั เรียนกบั นักเรยี นดว้ ยกนั เองเพ่ิมมากขึ้น - นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์หลายประการ เช่น ได้พูดคุย ถกเถียง อย่างมีเหตุผล และยอมรับฟังความ คิดเห็นของผอู้ ่ืนมากขน้ึ 3.2 ประเดน็ ด้านกิจกรรม - ลกั ษณะ ความเหมาะสม ประสทิ ธภิ าพของกิจกรรม ขั้นตอนของกระบวนการเรยี นการสอน วิธีการสอน เทคนิคการสอนตา่ งๆ มปี ระสทิ ธิภาพสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ กจิ กรรมการเรยี นรู้ และการวัดและประเมนิ ผล - การบรหิ ารจดั การช้ันเรยี น การจดั ชนั้ เรยี น วธิ ีการคุมชั้นเรียน หรอื การจดั กลุม่ เพ่อื ทำกิจกรรม - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้บรรยากาศการเรียนสอนดำเนินไปโดยเน้น ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนรู้ - กจิ กรรมการเรยี นรู้นำไปสู่การพฒั นาความสามารถของผู้เรียน โดยผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองและ สามารถสอนผ้อู ื่นหรอื ชว่ ยเหลอื เพือ่ นได้ 3.3 ประเดน็ ด้านครู - ครมู ีการใช้คำถาม คำส่ัง คำอธิบาย หรือการใช้ส่ือ - ครมู ีการเรียงลำดบั ข้นั ตอนการนำเสนอประเดน็ คำถาม คำสงั่ หรือคำอธบิ าย - ครูจะทำหน้าเป็นผู้อำนวยที่คอยให้ความช่วยเหลือ คำปรึกษา และดึงศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถ เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจในการเรียน จากการนำตัวอย่างผลงาน และการทำตัวเองเป็น ตัวอย่างในการพดู หนา้ ชัน้ เรยี น 3.4 ประเด็นสื่อการสอน - นักเรยี นไดใ้ ช้เคร่อื งมือที่ตนถนัด คอื เทคโนโลยีการส่ือสารสมัยใหม่ เมอ่ื ได้ใชห้ รือทำอะไรท่ตี นชอบ หรือถนัด จงึ ทำให้ผูเ้ รียนศึกษา คน้ คว้าเรยี นด้วยตนเองได้อยา่ งอัตโนมัติ ผ้เู รียนเกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเป็นไป ตามท่ีครตู ้องการใหเ้ กดิ ขึ้นในตัวผู้เรยี น 3.5 ประเด็นด้านบรรยากาศ - สภาพแวดล้อมของชั้นเรียน หรือสถานที่เรียนมีผลต่อประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน และการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น - การยอมรับความคดิ เหน็ การต้งั คำถามการพดู คุย ถกเถยี ง และการชว่ ยเหลอื ของผู้เรียน

4. ผลการดำเนนิ งาน 4.1 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นของนกั เรยี นดขี ึน้ หรือเป็นไปตามเกณฑ์ทตี่ กลงกนั ไว้ 4.2 พฤตกิ รรมของนักเรียนทีม่ ปี ญั หาเปล่ียนไปในทางที่ดีข้นึ ตามขอ้ ตกลงท่ีตั้งไว้ 4.3 นำไปสู่ต้นแบบตัวอย่างเทคนิคการพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชิ้นงานนักเรียนในปีการศึกษา ต่อไป 5. รอ่ งรอย/หลกั ฐาน 5.1 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชกิ กลมุ่ PLC 5.2 ภาพกจิ กรรมการเรียนการสอน 5.3 แบบสังเกตการณ์จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน เลิกประชุมเวลา 16.00 น. ลงชอ่ื .......................................................... ครผู ู้สอน/ผ้บู นั ทกึ ( นายนริศ จันทร์สะอาด ) ลงชอ่ื .......................................................... ( นายกฤตชิ ยั ราชพบิ ลู ย์ ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทกึ กิจกรรมชุมชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนเวยี งสระ ชอ่ื กลุ่ม PLC for Social Study ครัง้ ท่ี 17 ภาคเรยี นที่ 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 16,17 มนี าคม 2563 เริ่มดำเนินการเวลา 15.30 น. เสร็จสิ้นเวลา 16.00 น. รวมระยะเวลาทง้ั สน้ิ 1 ช่วั โมง กจิ กรรมครัง้ นี้อยคู่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน (Lesson study) (ทำเครื่องหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขั้นที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจดั การเรียนรู้ (Analyze & Plan) ขั้นที่ 2 ปฏิบัติและสงั เกตการเรียนรู้ (Do & See) ข้นั ที่ 3 สะท้อนความคดิ และปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทเี่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกุล บทบาทหน้าท่ี ลายมือช่อื 1. นางฐติ มิ า นาครพัฒน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผูเ้ ชย่ี วชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจ้ง ผเู้ ชยี่ วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสวุ ิภา ไกรวัฒนพงศ์ ผ้เู ชี่ยวชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ัย ราชพบิ ูลย์ หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จันทร์สะอาด ครผู ู้สอน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มสุ กิ ครผู ้รู ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าที่ ร.ต. หญิง กนกทพิ ย์ สขุ อนันต์ ครผู ู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชตุ า เตาวโต ครผู ูร้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทิวาพร ศรกี รด ครูผูร้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวภิ า อนิ ทร ครูผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสิริวรรณ ทิพย์โอสถ ครผู ู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บุญมาก ครูผู้รว่ มเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพ็งแพง ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลุ่มปัญหา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชิ้นงาน 2. งาน/กิจกรรม สรุปรายงานผล ครงั้ ที่ 3 (การเขียนรายงาน)

3. สมาชิกแต่ละคนเสนอผลการสอน/การจดั กจิ กรรมตามแบบ และ แผนกิจกรรม ไปใช้ 3.1 ผลลัพธท์ ีเ่ กดิ จากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ เทคนิค และประเด็นความรู้ที่น่าสนใจ ที่เกิดขึ้นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิก เครือข่าย ที่เป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชนก์ ับผู้เรียนได้อย่างเป็นรูปธรรม (สมาชิกเครือขา่ ยมีการนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งชดั เจน) 3.2 ผลลัพธ์ทเี่ กดิ กบั ผ้เู รียน / ครู / สมาชกิ ทเี่ ข้ารว่ มเครือขา่ ย PLC 1) ผู้เรียนไดก้ ารเรียนรตู้ ามเปา้ หมาย และวตั ถุประสงคท์ ก่ี ำหนดไว้ทกุ ประการ และมีความชัดเจน 2) กิจกรรมทกุ กจิ กรรมของสมาชกิ ในกลุ่ม PLC ส่งผลใหผ้ ้เู รียนเกิดแรงบนั ดาลใจ เป็นผู้ใฝเ่ รยี นรู้ มีความ กระตอื รอื รน้ ในการเรยี น 3) สมาชิกทเี่ ขา้ ร่วมเครือข่าย PLC ทุกคนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ และการดูแล ผู้เรยี น 4. สมาชกิ รว่ มกนั อภปิ รายและ สรุปผล เป็นกระบวนการที่มีประโยชน์และคุ้มค่า สะท้อนผลเชิงวิชาชีพ โดยการพูดคุยสนทนากันระหว่างสมาชิกใน ชมุ ชนการเรยี นรู้ ทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กิดผลทางบวกต่อการเรียนการสอนและคุณภาพการจัดการศึกษาในสถานศกึ ษา หรือชว่ ย พฒั นาการจัดการเรยี นรู้ พัฒนาทกั ษะนกั เรียนและสง่ ผลให้นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสงู ขึน้ เลกิ ประชมุ เวลา 16.00 น. ลงชอื่ .......................................................... ครผู ู้สอน/ผบู้ นั ทกึ ( นายนรศิ จันทร์สะอาด ) ลงชอ่ื .......................................................... ( นายกฤติชัย ราชพิบูลย์ ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

บนั ทกึ กจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรยี นเวยี งสระ ชอื่ กลุ่ม PLC for Social Study ครัง้ ที่ 18 ภาคเรียนที่ 2/2562 วัน/เดอื น/ปี : 20 มนี าคม 2563 เร่มิ ดำเนนิ การเวลา 10.00 น. เสร็จสิน้ เวลา 12.00 น. รวมระยะเวลาทัง้ สนิ้ 2 ช่วั โมง กิจกรรมครงั้ นอี้ ยูค่ วามสอดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกนั (Lesson study) (ทำเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ) ขัน้ ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจดั การเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขน้ั ท่ี 2 ปฏบิ ัติและสังเกตการเรียนรู้ (Do & See) ขน้ั ที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ี่เขา้ รว่ มกจิ กรรม 14 คน โดยมีรายชอ่ื และบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังนี้ ท่ี ช่ือ-สกุล บทบาทหนา้ ที่ ลายมือชือ่ 1. นางฐติ มิ า นาครพฒั น์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน (Administrator) 2. นางสาวสมทรง อำไพเมือง ผู้เช่ียวชาญ ( Expert) 3. นางอมรรตั น์ แจม่ แจง้ ผู้เชีย่ วชาญ ( Expert) 4. นางสาวสุวิภา ไกรวัฒนพงศ์ ผู้เช่ยี วชาญ ( Expert) 5. นายกฤตชิ ัย ราชพิบลู ย์ หัวหน้ากลุม่ สาระฯ (Mentor) 6. นายนริศ จนั ทร์สะอาด ครูผสู้ อน (Model Teacher, (Recorder) 7. นางสาวศศวิ รรณ มุสกิ ครผู ู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 8. ว่าท่ี ร.ต. หญงิ กนกทพิ ย์ สขุ อนันต์ ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 9. นางสาววิชชุตา เตาวโต ครผู ้รู ่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 10. นางสาวทวิ าพร ศรกี รด ครูผู้ร่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 11 นางวิภา อินทร ครูผู้รว่ มเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 12 นางสริ ิวรรณ ทพิ ยโ์ อสถ ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 13 นางอารญั ญา บญุ มาก ครูผรู้ ่วมเรียนรู้ (Buddy Teacher) 14 นางสาวศิรลิ ักษณ์ เพง็ แพง ครูผู้ร่วมเรยี นรู้ (Buddy Teacher) 1. สภาพหรือกลุ่มปญั หา นักเรยี นขาดทักษะการนำเสนอผลงาน หรอื ชนิ้ งาน 2. งาน/กิจกรรม เผยแพร่รายงานกจิ กรรม/ชิ้นงาน

3. ผลการดำเนนิ งาน 3.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนดีขน้ึ หรือเป็นไปตามเกณฑท์ ต่ี กลงกนั ไว้ 3.2 พฤติกรรมของนักเรียนทีม่ ปี ญั หาเปลยี่ นไปในทางท่ดี ีขน้ึ ตามขอ้ ตกลงท่ีตั้งไว้ 3.3 นำไปสู่ต้นแบบตัวอย่างเทคนิคการพัฒนาทักษะการนำเสนอผลงาน หรือชิ้นงานนักเรียนในปีการศึกษา ต่อไป 4. ร่องรอย/หลักฐาน 4.1 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชิกกลุม่ PLC และภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.2 แบบสังเกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 5. การเผยแพร่กจิ กรรม/ชนิ้ งาน/นวัตกรรม 5.1 รวบรวมเอกสารร่องรอยหลักฐานต่าง ๆ ที่เกิดจากการจัดกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ภาค เรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 5.2 จัดทำรูปแบบการนำเสนอเป็นเลม่ รายงานนำเสนอตามลำดับผูเ้ กีย่ วข้องและผ้บู งั คบั บัญชาของโรงเรียน 5.3 จดั ทำในรปู แบบเล่มหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Book เพื่อการนำเสนอทนี่ ่าสนใจ และเผยแพร่ไฟล์หนังสือ อเิ ลก็ ทรอนกิ สอ์ อนไลน์ เลิกประชมุ เวลา 16.00 น. ลงชอ่ื .......................................................... ครูผสู้ อน/ผบู้ นั ทกึ ( นายนริศ จนั ทรส์ ะอาด ) ลงชอ่ื .......................................................... ( นายกฤติชยั ราชพบิ ลู ย์ ) หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

บรรณานกุ รม ประภาลกั ษณ์ เพียมะ.(2562).รายงานกจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ทางวชิ าชพี กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงาน อาชพี และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวิทยาสีสกุ หวาดจวนอุปถัมภ์.สืบค้นจาก https://www.facebook.com/KruMintPrapaluck แหลง่ เรียนรู้ By ครมู ิ้นท์ ประภาลกั ษณ์.เมอ่ื วนั ท่ี 9 มนี าคม 2563. สรุ พล ธรรมรม่ ดี, ทัศนีย์ จันอินทร์, และคงกฤช ไตรยวงค.์ (2553).อาศรมศิลปว์ ิจัย : การวิจยั และพัฒนาชุมชน แหง่ การเรียนรู้ แนวจิตตปญั ญา. โครงการเอกสารวิชาการการเรยี นรู้สู่ การเปลี่ยนแปลง ลำดบั ที่ 8. นครปฐม: เอมี่ เอน็ เตอร์ไพรส์ จำกัด.

ภาคผนวก ก. • บนั ทึกขออนญุ าตจัดตัง้ กลมุ่ PLC • ปฏทิ ินการดำเนนิ งานชมุ ชนการเรียนรวู้ ชิ าชีพ (PLC) • แบบสงั เกตการณ์จัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

ภาคผนวก ข. • ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชกิ กลุ่ม PLC และภาพกิจกรรมการเรยี นการสอน