Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการอบรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูผลิตสื่อการสอนสามมิติ

คู่มือการอบรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูผลิตสื่อการสอนสามมิติ

Published by narongpon.a, 2017-05-30 01:37:39

Description: คู่มือการอบรม โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครูผลิตสื่อการสอนสามมิติ

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการอบรมโครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารเรอื่ ง การพฒั นาศกั ยภาพครูผลติ สอ่ื การสอนสามมติ ิ โ โดย…ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี วนั ท่ี 8, 16, 22 มิ.ย. และ 14 ก.ค. 60 ณ โรงเรียนวดั หนัง วทิ ยากรโดย อ.ณรงคพ์ ล เออื้ ไพจติ รกุล และ อ.วรรณภา โพธ์ิผลิ

2โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร เรื่อง การพัฒนาศักยภาพครผู ลิตสื่อการสอนสามมิติ หัวข้อการอบรม 1. การสร้างสอื่ ความจริงเสมือน (Augmented Reality) ดว้ ยโปรแกรม 2. การตดั ต่อวดี ิทศั น์เพอ่ื การนาเสนอ โดยโปรแกรม 3. การนาเสนอวีดทิ ศั น์ด้วยคลงั สื่อวีดทิ ัศน์ออนไลน์ 4. การสร้างแบบทดสอบออนไลน์ดว้ ยโปรแกรม1. การสร้างส่ือความจริงเสมอื น (Augmented Reality) ด้วยโปรแกรม Aurasma ส่ือความจริงเสมือน (Augmented Reality) หรือท่ีเรียกว่า AR เป็นการสร้างสื่อสามมิติ มีการนาเสนอเน้ือหาในลักษณะของมัลติมีเดีย ที่มีการเพิ่มเติมโดยผสมผสานกับโลกแห่งความเป็นจริง ซ่ึงต้องอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่นTablet หรือ Smartphone ในการประมวลผล และแสดงผลสื่อเสมือนจรงิ แทรกบนโลกแหง่ ความเปน็ จรงิ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากภาพท่ี 1 ในสภาพแวดลอ้ มจรงิ นั้นมีกระดาษวางไว้บนโต๊ะสแี ดง หากมองดว้ ยหาเปล่าก็จะมองเห็นดังท่ีกลา่ วมา แตเ่ ม่ือมองผ่าน Tablet ดังในภาพก็จะมีการแสดงผลของวัตถุสามมิติขึ้นในหน้าจอ จากหลักการดังกล่าวน้ันทาให้การประยุกต์ใช้ ARในด้านต่างๆ เป็นไปอย่างแพร่หลาย รวมถึงในด้านของการศึกษาด้วยที่สามารถเปล่ียนสภาพแวดล้อมบนโลกความเปน็ จริงเป็นสื่อการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ และมีการเรียนแบบกระตือรือร้นซ่ึงประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับช้ัน และทุกสาขาวชิ า ภาพที่ 1 การแสดงผลสือ่ AR ผา่ นทางอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เออ้ื ไพจติ รกลุ

3 1.1 การใชโ้ ปรแกรม Aurasma ในการสรา้ งส่อื ความจริงเสมอื น (AR) โปรแกรม Aurasma นั้นเป็นโปรแกรมท่ีออกแบบมาสาหรับให้บุคคลท่ัวไปสามารถสร้างส่ือ AR ได้ง่ายโดยไม่จาเป็นต้องมีทักษะในด้านคอมพิวเตอร์มากนัก โดยโปรแกรม Aurasma นั้นใช้คุณสมบัติของการประมวลผลบนกลมุ่เมฆ (Cloud Computing) ทาให้มีความสะดวกสะบายในการใช้งาน โดยไม่จาเป็นต้องติดต้ังโปรแกรมลงในเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งาน แต่จะต้องมีการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตในการใช้งานตลอดเวลา สาหรับข้ันตอนในการสร้างส่ือ ARดว้ ยโปรแกรม Aurasma นนั้ มรี ายละเอยี ดดังน้ี 1.1.1 เขา้ สเู่ วบ็ ไซต์ Aurasma (https://www.aurasma.com) 1.1.2 ทาการสมคั รเพื่อใชง้ านโดยคลิก “Sign Up” ดงั ภาพท่ี 2 ภาพที่ 2 การสมัครบัญชผี ้ใู ชโ้ ปรแกรม Aurasma 1.1.3 ทาการระบุข้อมูลของบัญชีผู้ใช้ให้ครบถ้วน และทา เคร่อื งหมายยอมรับกฎระเบยี บนโยบายของ ทางโปรแกรม Aurasma จากนัน้ กดปมุ่ “Sign Up” ดังภาพท่ี 3 *หมายเหตุ* Username และ Password นั้นใช้ สาหรับการเข้าสู่ระบบทุกครั้งเพ่ือเข้าใช้โปรแกรม ดังนัน้ ต้องจดจา หรอื ควรจดบันทึกไว้เช่นกนั สาหรบั e-mail ที่ระบุนั้นใช้ในการยืนยันตัวตนเพื่อเข้าใช้ งาน และรับข้อมูลเพิ่มเติมจากทางบริษัท หรือหาก ลืม Password สามารถให้ส่งข้อมูลไปยัง e-mail ท่ี ระบไุ ด้เช่นกัน ภาพท่ี 3 การระบุรายละเอียดในการสมัครบัญชีผู้ใช้ 1.1.4 หากดาเนินการสมัครบัญชีผู้ใช้สาเร็จแล้วจะเข้าสู่โปรแกรมดังภาพท่ี 4 แต่หากไม่สาเร็จจะยังคง อยใู่ นสว่ นของการสมคั รดังภาพท่ี 3 ซึ่งอาจเกิดจากเหตผุ ลหลายประการ เช่น Username ท่รี ะบุ ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอือ้ ไพจิตรกุล

4 มีการใช้แล้ว, password และ การระบุ password เพ่ือยืนยัน (Confirm Password) ไม่ตรงกัน เป็นตน้ ภาพที่ 4 โปรแกรม Aurasma หลงั การลงชื่อเขา้ ใชง้ าน 1.1.5 เขา้ ไปยงั e-mail ที่ไดร้ ะบไุ ว้ในข้ันตอนที่ 1.1.3 จากนน้ั คลิก “Verify Address” ดงั ภาพท่ี 5 ภาพที่ 5 การยนื ยนั บัญชผี ูใ้ ช้ผา่ นทาง e-mail ที่ระบไุ ว้ 1.1.6 ภายในโปรแกรม Aurasma น้ันจะประกอบไปดว้ ยคลังฐานข้อมลู สว่ นสาคญั 3 ส่วนของโปรแกรม ซงึ่ มีรายละเอียดดังภาพที่ 6 • Discover เป็นส่วนของหน้าที่เข้าไปเพื่อค้นหาสื่อ AR ที่บุคคลอื่นๆ ที่ได้ใช้โปรแกรม Aurasma ในการ สร้างและได้แบ่งปันชิ้นงานให้บุคคลอื่นๆ สามารถภาพท่ี 6 คลงั ฐานข้อมูลของโปรแกรม Aurasma 3 สว่ นของ เข้าถงึ งานได้โปรแกรม • Assets เป็นส่วนท่ีมีการจัดเก็บสื่อต่างๆ หรือทรัพยากรส่วนบุคคลในการนามาใช้เพื่อสร้าง สอ่ื AR เช่น ภาพ วีดิทัศน์ ภาพสามติ ิ เปน็ ตน้ โดยจดั เกบ็ ไว้เปน็ คลงั ส่ือ • My AURAS เป็นส่วนที่มีการจัดเก็บงานส่ือ AR ไว้เป็นลักษณะของคลังส่ือ สามารถเรียกดู หรอื ปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานได้ ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เออ้ื ไพจิตรกุล

5 1.1.7 เรมิ่ ต้นการสร้างส่อื AR โดยคลิก “Create new aura” หรอื “My Auras” ทาความเข้าใจเบื้องต้นก่อนการสรา้ งสอ่ื AR สาหรับการสร้างส่ือ AR นั้นจะมีส่วนประกอบในการสรา้ งสอ่ื2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คือ Trigger เป็นลักษณะของสัญลักษณ์ ภาพ ที่ใช้เป็นจุดเช่ือมโยงหรือเป็นประตูท่ีจะให้สื่อเสมือนจริงนั้นแสดงผลขึ้นมา ส่วนท่ี 2 คือ Overlay เป็นส่ือเสมือนจริงท่ีซ้อนทับ Trigger ในการแสดงผล อาจจะเปน็ วดี ิทศั น์ หรือสามมติ ิ หรอื สอื่ มลั ติมเี ดียท่มี กี ารเช่ือมโยงไวใ้ นรูปแบบของ link ดงั น้ันในการแสดงผลอาจสรปุ หลกั การอยา่ งง่ายไดด้ ังนี้ คือ เม่อื นากล้องไปสแกนท่ี trigger (รหัสภาพ)ก็จะมีแสดงสว่ นทีซ่ ้อนทับ (Overlay) ซงึ่ อาจจะอย่ใู นรูปแบบของวดี ิทัศน์ หรอื ส่ือสามมิติตามท่ีกาหนดไว้ 1.1.8 เพ่ิมรหัสภาพ หรือ Trigger ที่จะใช้เป็นจุดเชื่อมโยง โดยคลิก “Click to Upload Trigger Image” เม่ือต้องการเพ่ิม Trigger ใหม่ เข้าสู่พื้นที่จัดเก็บข้อมูล หรือเลือก Trigger ที่มีอยู่แล้ว จากพืน้ ท่จี ัดเกบ็ ขอ้ มลู โดยคลิก “Click to Select Existing” **หมายเหตุ** การเลือก Trigger ควรเลือกภาพ Trigger ที่มีคุณภาพสูง มีความคมชัด และมี รายละเอียดของภาพที่มาก มีความแตกต่างจากภาพอื่นๆ ท่ีชัดเจน ซึ่งคุณสมบัติท่ีกล่าวมาของ ภาพจะชว่ ยเพ่ิมประสิทธภิ าพในการสแกน และนาเสนอ Overlay ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ภาพท่ี 7 การเพ่ิม Trigger เพื่อสร้างสอื่ AR 1.1.9 ทาการสร้าง folder เพ่ือเก็บ Trigger ไว้เปน็ หมวดหมู่ โดยคลิก คลกิ “Create New folder” จากนนั้ ต้ังชื่อ folder เม่อื ระบุชื่อ folder แลว้ ทาการคลิกเลือก folder ทส่ี ร้างใหม่ เพื่อ เป็นการะบุวา่ Trigger ทีเ่ พ่ิมเข้ามานัน้ จะอยใู่ น folder ตามทกี่ าหนด ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอ้ือไพจิตรกลุ

6 ภาพที่ 8 การสรา้ ง folder เพ่ือจดั เกบ็ Trigger ไว้เปน็ หมวดหมู่1.1.10 ทาการคลิก “Browse” เพื่อเลอื กภาพจากในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ เพ่ือ upload เข้าสูพ่ ื้นทจี่ ดั เก็บ ขอ้ มูล จากนน้ั คลิก “Save” ภาพที่ 9 การเลือกไฟล์ Trigger จากเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์1.1.11 ทาการสรา้ งหนา้ กาก (Mask) สาหรับปดิ บังส่วนท่ไี มม่ รี ายละเอยี ดใดๆ ของภาพ เน่ืองจาก โปรแกรมจะไมท่ าการประมวลผลในส่วนที่มวี ตั ถุ Mask ปดิ บังอย่ทู าใหส้ ามารถประมวลผลได้ รวดเรว็ ขึ้น ทาการวาด Mask รูปรา่ งตา่ งๆ ได้แก่ สี่เหล่ยี ม วงกลม polygon ลงบนพนื้ ทีว่ ่างๆ ของภาพ ดงั ภาพที่ 10 ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอื้อไพจิตรกุล

7 ภาพท่ี 10 การวาด mask เพ่ือปดิ บังส่วนท่ีไมต่ ้องการให้ประมวลผล1.1.12 ทาการเพม่ิ Overlay โดยคลกิ “Click to Upload Overlay” ทาการคลิก “Browse” เพ่อื เลือก Overlay ที่ต้องการ สาหรับ Overlay ทส่ี ามารถเลือกไดน้ ั้น มีดว้ ยกัน 4 ประเภท ไดแ้ ก่ วดี ทิ ัศน์, รูปภาพ, เว็บในรูปแบบของ Link (webpage) และ วัตถุสามมิติ (3D Model) จากน้ันทาการ แก้ไขชื่อ Overlay เนื่องจากต้องมีการอ้างอิงชื่อ Overlay ในขั้นตอนต่อๆ ไป ในขั้นตอนสุดท้าย คลกิ “Save” ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เออ้ื ไพจติ รกลุ

8 ภาพที่ 11 การเลือก overlay1.1.13 จะเห็นได้ว่ามี Overlay ขึ้นมาซ้อนทับ Trigger จากน้ันทาการปรับขนาดและตาแหน่ง Overlay ที่ซ้อนทับ Trigger ใหม้ ีความเหมาะสม จากนน้ั ทาการ Lock view การแสดงผล เพอ่ื แก้ปญั หาใน ระหว่างที่ทาการสแกน Trigger และ Overlay แสดงผลแล้ว จาเป็นท่ีจะต้องสแกน Trigger ตลอดเวลาที่นาเสนอ การ Lock view จะช่วยให้ Overlay นั้นแสดงผลต่อเน่ืองไปถึงแม้จะนา Smartphone ออกมาจาก Trigger แล้วก็ตาม ในการ Lock view สามารถทาได้ โดยคลกิ “Add lock view” จากนน้ั จะปรากฎหน้าต่างสี่เหล่ียมของ Lock view ลอ้ มรอบ Trigger ไว้ จึงทาการ ปรับตาแหนง่ การแสดงผลว่าตอ้ งการใหอ้ ยใู่ นลักษณะใด ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เออ้ื ไพจิตรกลุ

9 ภาพท่ี 12 การต้งั คา่ การ lock view1.1.14 เมือ่ มีการเพิม่ Overlay เขา้ มาแล้ว สามารถกาหนดปฏสิ ัมพันธ์ระหวา่ ง Overlay กับผใู้ ชไ้ ด้ เช่น การแตะ overlay เพือ่ หยุดการเล่น Video ช่วั คราว หรอื ให้ขยายเตม็ หน้าจอ เป็นตน้ ในการกาหนดปฏสิ มั พนั ธน์ น้ั ให้ทาการคลิก “Add action” จากนน้ั ทาการเลือกปฏสิ ัมพันธท์ ี่ ต้องการ ดังต่อไปนี้ • เมอ่ื แตะที่ Overlay (When Overlay is tapped) • เมอื่ แตะสองครง้ั ที่ Overlay (When Overlay is double-tapped) • หลงั จาก Overlay คอ่ ยๆ แสดงข้ึนมา (After Overlay has faded in) • หลักจาก Overlay ไดเ้ ริ่มต้นขึ้น (After Overlay has started) • หลังจาก Overlay แสดงผลเสรจ็ สนิ้ (When Overlay has finished) • หลงั จากเวลาผ่านไป จานวน (วินาที) (After a time delay (S)) ภาพท่ี 13 กาหนดปฏสิ ัมพันธ์ทต่ี อ้ งการ ศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เออื้ ไพจติ รกลุ

101.1.15 จากน้นั คลิก “Add action” อกี ครั้งหนึ่ง จากนนั้ ทาการเลือกผลการปฏิสัมพนั ธท์ ี่กาหนด ได้แก่ • เล่น Overlay (Start an Overlay) • หยุด Overlay (Stop an Overlay) • หยุดเลน่ Overlay ชว่ั คราว (Pause an Overlay) • ทาการเรียกตาม URL ที่กาหนด (Load a URL in Native Browser) • ขยาย Overlay ใหเ้ ต็มหนา้ จอพื้นหลงั สดี า (Make an Overlay full screen) • ขยาย Overlay ใหเ้ ต็มหน้าจอ โดยกลอ้ งยังคงทางานในการจบั ภาพพน้ื หลงั (Full screen with camera active) • ยกเลิกการขยายหน้าจอ (Take an Overlay off full screen) • ทาการสมุ่ ผลลพั ธ์ (Perform a random Action)1.1.16 จากน้ันทาการคลกิ “Add Overlay” เพ่ือเลือก Overlay ที่ต้องการ และคลิก “Save” ภาพที่ 14 การกาหนดผลลัพธ์ของปฏสิ มั พนั ธ์ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอ้อื ไพจติ รกุล

11 1.1.17 คลกิ “Next” เพอ่ื ไปยังข้ันตอนสดุ ท้าย สาหรับขน้ั ตอนสุดท้ายคอื ขนั้ ตอนของการตงั้ ชือ่ ช้ินงาน ติดป้ายชอื่ ของชนิ้ งานวา่ เกีย่ วขอ้ งกบั เร่ืองใด เพื่อช่วยให้บุคคลอนื่ สามารถค้นเจอและเข้าถึงช้นิ งานของเราไดง้ า่ ย ข้นึ โดยการพมิ พ์ #ตามดว้ ย Keyword เช่น #AR Environment เป็นตน้ จากนั้นทาการเผยแพร่ชน้ิ งานโดยคลิก “Share” ดังภาพที่ 15 ภาพที่ 15 การตงั้ ช่ือ ตดิ ป้ายช่ือ และเผยแพรช่ ิน้ งาน 1.1.18 ในการเขา้ ถงึ หรือใช้งานสื่อ AR ดว้ ยโปรแกรม Aurasma ทส่ี รา้ งไว้ ต้องดาเนนิ การติดต้งัApplication Aurasma ลงในอปุ กรณ์พกพา ทาความเข้าใจก่อนการเข้าถึงช้ินงาน ในการเข้าถึงงานส่ือ AR ที่สร้างไว้นั้นจาเป็นที่จะต้องเช่ือมต่ออนิ เทอรเ์ นต็ เพ่ือดึงข้อมลู ท่จี ดั เกบ็ ไว้บนฐานข้อมลู ของ Aurasma จากนัน้ ตอ้ งทาการตดิ ตาม (Follows) ในชอ่ ง (Channel)ของผู้สร้างสรรค์ชน้ิ งานท่สี รา้ งไว้ โดยจาเป็นทจี่ ะต้องทราบ Username ของผ้สู ร้างสรรค์ หากไมไ่ ด้ทาการติดตามช่องของผู้สรา้ งสรรคช์ น้ิ งานสอ่ื AR จะไมส่ ามารถแสดงผลได้ ข้นั ตอนในการเข้าถงึ สื่อ AR ด้วยโปรแกรม Aurasma มีขน้ั ตอนดงั นี้ • เขา้ สู่ Application บน Smart Phone โดยคลิก ศนู ย์ศึกษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอื้อไพจิตรกุล

12• เข้าสูก่ ารตง้ั ของโปรแกรม ดว้ ยการคลกิ• ทาการคน้ หาผ้สู รา้ งสรรคช์ ้ินงาน โดยคลกิ รูปแว่นขยาย• ทาการพิมพ์ Username ของผู้สร้างสรรคช์ ้ินงาน ภาพท่ี 16 การตติ ามผ้สู รา้ งสรรคผ์ ลงาน• คลกิ เลือกช่องของผสู้ รา้ งสรรค์ผลงาน ซ่ึงจะมีการระบใุ นลักษณะของ username ตามด้วย Public Auras จากน้ัน ทาการคลิก “Follow” สถานะของปุ่มจะเปลีย่ นแปลงไปเปน็ ได้มีการติดตามแลว้ “Following” ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอื้อไพจิตรกลุ

13ศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอ้ือไพจิตรกลุ

142. การตดั ต่อวีดิทศั นเ์ พื่อการนาเสนอ โดยโปรแกรม Stupeflix โปรแกรม Stupeflix เปน็ โปรแกรมสาหรบั ตดั ต่อ และสรา้ งสรรค์งานวีดทิ ศั นท์ ่ีมีการใหบ้ ริการเบอ้ื งตน้ ฟรี และสามารถใชง้ านไดง้ า่ ย โดยมีการประมวลผลบนเวบ็ หรือ Cloud Computing ทาใหม้ ีความสะดวกในการใช้งาน จดั เก็บและเผยแพร่ผลงานไดห้ ลากหลาย โดยจาเปน็ ตอ้ งมกี ารเช่ือมต่ออนิ เทอร์เน็ตตลอดการใช้โปรแกรมเชน่ กนั ขนั้ ตอนในการสรา้ งสรรคง์ านวดี ิทัศน์ด้วยโปรแกรม Stupeflix มขี ัน้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 2.1 เขา้ สู่เว็บไซต์ Stupeflix (https://studio.stupeflix.com) 2.2 คลกิ Login เข้าลงช่ือเขา้ ใช้งานโปรแกรม ภาพท่ี 17 การลงชื่อเข้าใชง้ านโปรแกรม Stupiflixศนู ย์ศึกษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอือ้ ไพจติ รกลุ

15 2.3 ทาการเลือกการลงช่ือเข้าใช้งานดว้ ยบัญชีของ Facebook, Google หรอื สร้างบัญชีใหมเ่ ฉพาะของโปรแกรมStupeflix ดว้ ยการคลิก Create a Stupeflix Account ภาพที่ 18 การลงชื่อเขา้ ใช้โปรแกรม (ต่อ) 2.1 เรมิ่ ตน้ สร้างงานวดี ิทศั น์ของตนเองโดยคลกิ “Make a video” จากนั้นทาการเลอื กรปู แบบของวดี ทิ ัศนท์ ี่ทาง โปรแกรมได้สรา้ งมาให้อัตโนมัตแิ ล้ว หรือทาการสร้างวีดทิ ัศนตามรูปแบบของตนเองโดยคลกิ “Outline” จากน้นั คลกิ “Make a video” ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอ้ือไพจติ รกลุ

162.2 ทาการเพมิ่ ส่อื ที่ต้องการลงในวีดิทศั น์ เช่น ภาพ วีดิทศั น์ สไลด์ข้อความ แผนท่ี หรือ เพิ่มการเปล่ียนสไลด์ โดย คลิกเครื่องหมายถูกดังภาพดา้ นล่าง และคลกิ เลือกวตั ถุตามท่ตี อ้ งการ โดยหลกั การการทางานของโปรแกรมจะ เป็นการเชอ่ื มต่อระหว่างสไลด์ โดยวตั ถุ (วีดทิ ัศน์) จะอยู่ในรูแบบของสไลด์ ภาพที่ 19 การเลือกวตั ถทุ ีต่ อ้ งการเพือ่ สร้างวีดิทศั น์2.3 ในการใส่เสียงเพลงให้กับวดี ิทัศนน์ ้ันสามารถ upload เพลงท่ีมอี ยู่แลว้ หรือเลือกเพลงทโี่ ปรแกรมจัดเตรียมไว้ ให้ โดยคลิก “Add a Soundtrack” จากน้นั คลิก “Browse our audio library” ทาการเลือกเสยี งเพลงที่ ตอ้ งการโดยคลกิ “Add to timeline” ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอือ้ ไพจติ รกุล

17 ภาพท่ี 20 การใสเ่ สียงเพลงใหก้ บั ช้นิ งาน2.4 ในการตง้ั คา่ ระยะเวลาในการแสดงผลของสไลดแ์ ต่ละสไลด์ใหท้ าคลิกสองคร้ังท่สี ไลด์ จากนน้ั ทาเคร่ืองหมายท่ี Custom duration จากนั้นกาหนดระยะเวลาที่ตอ้ งการซงึ่ มีหน่วยเป็นวนิ าทีดังภาพที่ 21 ภาพที่ 21 การปรบั เวลาการแสดงผล2.5 สาหรบั การตัดตอ่ วดี ิทศั นน์ ้นั ใหท้ าการคลิกสองครั้งทีส่ ไลด์วีดิทัศน์ ซึ่งสามารถปรับความดังของเสยี งวีดิทัศน์ หรือเพมิ่ ลด ความเรว็ ในการเลน่ ของวีดทิ ัศน์ได้ สาหรับการตัดต่อนนั้ เลือก “Trim & cut” การตดั ต่อวีดทิ ัศน์ นน้ั จะมีเคร่ืองมือ 2 ลักษณะคือ การลากขยายเข้า - ออก ในช่วงต้น และทา้ ยของวดี ทิ ศั นต์ ามทต่ี ้องการ หรือ ทาการคลิกในระหวา่ งของวีดทิ ัศน์ จากน้ันคลิกเลอื ก “Split in 2 clips” เพ่ือแบ่งวีดิทศั นอ์ อกเปน็ 2 สว่ น จากนั้นคลกิ “Apply” ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เอ้ือไพจิตรกลุ

18 ภาพท่ี 22 การตดั ต่อวดี ิทัศน์ด้วยเคร่อื งมือ Trim & Cut 2.6 ในการเผยแพร่ชิ้นงานวีดทิ ัศน์ทสี่ ร้างสรรคไ์ ว้ ทาการคลกิ “Produce & Save” จากน้นั ทาการเลอื กคุณภาพ ของวีดิทัศนท์ ี่ต้องการว่าตอ้ งการแบบคุณภาพสูง (HD) หรือ คุณภาพทัว่ ไป (SD) ซึ่งคุณภาพของวดี ทิ ัศน์ท่ี เพิม่ ขนึ้ ก็จะทาให้ขนาดไฟลน์ ั้นใหญ่มากข้นึ เชน่ กัน ภาพท่ี 23 การเผยพร่วดี ทิ ศั น์ 2.7 โปรแกรมจะทาการประมวลผลวดี ทิ ัศน์ เพือ่ เผยแพร่ ซ่ึงระยะเวลาขนึ้ อยู่กบั จานวนสไลด์ในช้ินงาน เม่ือทาการประมวลผลเสรจ็ ส้นิ จะปรากฎหนา้ ตา่ งเพื่อให้เลือกชอ่ งทาง การบันทกึ และเผยแพรท่ างสอื่ สงั คมตา่ งๆ ดงั ภาพท่ี 24 ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เออ้ื ไพจติ รกุล

19 ภาพที่ 24 การเลือกช่องทางการเผยแพร่วีดิทศั น์ 3. การนาเสนอวดี ิทศั น์ด้วยคลงั สือ่ วีดทิ ศั นอ์ อนไลน์ Youtube การเผยแพรว่ ีดิทัศนผ์ ่านทางคลงั ส่อื วดี ิทศั น์ออนไลน์ Youtube สามารถทาไดง้ า่ ยได้ โดยจะต้องมีบัญชี ผ้ใู ช้ของ Google เสยี กอ่ น โดยข้ันตอนการเผยแพร่น้ันสามารถทาไดง้ ่ายเพียงไม่ก่ีขน้ั ตอนดังน้ี 3.1 เขา้ สูเ่ วบ็ ไซต์ Youtube (https://www.youtube.com) 3.2 ลงชื่อเขา้ ใช้งานโดยคลิก 3.3 ทาการคลิกปุม่ 3.4 ทาการเลอื กสถานะของวดี ิทัศน์จากนน้ั คลิก “Select files to upload” ซงึ่ สถานะทจ่ี ะทาการเผยแ่ พร่มีดงั น้ี o Public การเผยแพร่สาธารณะทุกคนสามารถสบื คน้ และเข้าถึงได้ o Unlisted เป็นการไม่กาหนดไมเ่ ผยแพรส่ าธารณะ แต่สามารถเขา้ ถึงได้ผ่านทาง links o Private เปน็ สว่ นตัวทกุ คนไม่สามารถเขา้ ถงึ ชิ้นงานได้ภาพที่ 25 การเลือกสถานะของวีดิทัศน์ท่ี upload ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เออ้ื ไพจติ รกลุ

20 3.5 เม่อื ทาการ upload วดี ิทัศน์แลว้ สามารถเข้าไปแก้ไขวดี ิทัศนไ์ ด้ โดยคลกิ ที่ “Video Manager” จากนัน้ คลิก “edit” เพ่ือเข้าไปแกไ้ ขรายละเอียดตา่ งๆ ไดเ้ ช่น ชื่อวีดทิ ศั น์ รวมถึงการกาหนดคาสาคัญ (Keyword) เพื่อ ช่วยใหผ้ ้อู ่ืนสามารถเข้าถึงชน้ิ งานของเราได้งา่ ยขึ้น หากมใี ช้คาค้นทีใ่ กลเ้ คียงกับท่ีกาหนดไว้ ดังภาพที่ 26 3.6 ภาพท่ี 26 การแก้ไขการตัง้ ค่าวีดทิ ัศน์บน Youtube 4. การสรา้ งแบบทดสอบออนไลนด์ ว้ ยโปรแกรม Google Forms โปรแกรม Google Forms นั้นเป็นโปรแกรมย่อยหน่ึงในหมวดของ Google Apps for Education ซึ่งทางบริษัท Google พัฒนาข้ึนขึ้นมาเพ่ือสนับสนุนในการจัดการเรียนรู้ และในด้านของการศึกษา ซ่ึง Google forms นั้นสามารถนามาใช้ในการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ที่เข้ามาช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการส่ง การจัดเก็บ และการนามาประมวลผล ผ่านเครื่องคอมพวิ เตอร์หรืออุปกรณ์พกพาโดยต้องอาศัยเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ตในการรับส่งข้อมูลที่รวดเร็ว ทั้งนี้Google Forms สามารถนามาประยุกต์ใช้ในด้านของการสร้างแบบทดสอบออนไลน์ในการประเมินผลผู้เรียน หรือเพ่ือให้ผูเ้ รยี นได้มโี อกาสตอบสนอง เพ่ือปรบั การเรียนรขู้ องตนเอง จากการทาแบบฝกึ หดั ทผ่ี ู้สอนเตรยี มไว้ จากขอ้ ดขี องแบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบท่ีช่วยนามาพัฒนาผู้เรียนได้น้ัน ในการอบรมน้ีจึงได้นาเสนอ Google Forms ในการสร้างแบบทดสอบออนไลน์ ซึ่งมีขั้นตอนในการสรา้ งดังนี้ 4.1 ลงช่ือเข้าใชง้ านบัญชีของ google โดยเข้าที่ https://www.google.co.th ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอือ้ ไพจติ รกุล

214.2 เข้าสู่ Google drive โดยคลิกท่ี4.3 เข้าสู่โปรแกรม Google Forms โดยคลิกท่ี “Drive” คลิก “New”เพ่ือเพ่ิมช้ินงานใหม่ และคลิกท่ี “Google Forms” ภาพที่ 27 การเขา้ ส่โู ปรแกรม Google Forms4.4 ทาการสร้างหัวแบบทดสอบ โดยการเปลย่ี นชอื่ กล่องข้อความทีม่ กี ารสรา้ งไว้แล้ว (Untitled form) จากน้ัน เลือกประเภทของแบบทดสอบตอบทีต่ ้องการ โดยคลิกในส่วนของ “Multiple choice” ซึง่ มรี ายละเอียดดังน้ี • เป็นการสรา้ งคาถามแบบตอบสั้น (Short answer) • เป็นการสรา้ งคาถามที่เวน้ พื้นทใ่ี ห้ตอบในลักษณะของความเรยี ง (Paragraph) • เปน็ คาถามแบบเลือกตอบ (Multiple choice) • เป็นการสรา้ งกล่องสาหรบั เลือกทาเคร่ืองหมาย (Checkboxes) • การสร้างแบบรายการเลือก (Dropdown) • เป็นส่วนท่ีอนญุ าตใหผ้ ู้ตอบ Upload ขอ้ มลู เข้าสู่ พ้ืนท่จี ดั เก็บขอ้ มูล (File upload) ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงคพ์ ล เออ้ื ไพจิตรกุล

22• เป็นการสร้างคาถามแบบไล่ลาดับ (Linear scale)• เปน็ การสร้างคาถามเลือกตอบในรูปแบบเส้นตาราง (Multiple choice grid)• เปน็ การให้ระบวุ ันท่ี (Date)• เป็นการใหร้ ะบุเวลา (Time) ภาพที่ 28 การสรา้ งข้อคาถามประเภทตา่ งๆ สาหรบั การสรา้ งแบบฝึกหัด หรอื แบบทดสอบนัน้ ควรทจี่ ะมีการเลือกข้อคาถามแบบปรนัย หรอื มีข้อถูกตอ้ งที่ ชดั เจน เชน่ คาถามแบบเลือกตอบ การสร้างกล่องสาหรบั เลือกทาเครื่องหมาย เป็นตน้ จากการเลือกข้อคาถาม แบบปรนยั นนั้ จะช่วยใหก้ ารกาหนดคาตอบทถี่ ูกต้อง เพ่ือตรวจคาตอบของผเู้ รียนที่ทาแบบทดสอบอัตโนมตั ิได้ ในการกาหนดใหม้ ีการตรวจคาตอบแบบอัตโนมัตนิ นั้ มีขั้นตอนในการต้งั คา่ ดังนี้4.5 ทาการตง้ั คา่ ของแบบสอบถามในการเปดิ การใชง้ านในลกั ษณะของแบบทดสอบ (Quizzs) โดยคลิก4.6 จากนัน้ จะปรากฎหนา้ ต่างการตัง้ ค่า ซงึ่ มรี ายละเอยี ดในการต้งั ค่า ดังนี้ 4.6.1 เมนู General เป็นการตงั้ ค่าทั่วไปของแบบทดสอบ ประกอบไปด้วย - Collect email address เปน็ การเก็บข้อมูล e-mail ของผู้ทาแบบทดสอบ - Limit to 1 response เป็นการกาหนดจานวนการทาแบบทดสอบไดเ้ พียงคร้ังเดยี ว ศนู ย์ศึกษาการพัฒนาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบรุ ี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอือ้ ไพจิตรกุล

23 - Edit after submit ผู้ทาแบบทดสอบสามารถแก้ไขหลังจากทาแบบทดสอบได้ ภายหลงั - See summary charts and text reponses ผู้ทาแบบทดสอบสามารถรบั การ สรปุ ผลในรูปแบบของผลป้อนกลบั และแผนภาพได้4.6.2 เมนู Presentation เป็นการตงั้ คา่ ในระหว่างการนาเสนอแบบทดสอบ ประกอบไปด้วย - Show progress bar เปน็ การแสดงสถานะความกา้ วหนา้ ของการทาแบบทดสอบ เชน่ ขอ้ ท่ี 1/10 - Shuffle question order เปน็ การสลบั ลาดับของคาถาม - Show link to submit another response เป็นการแสดง link ใหผ้ ู้ทา แบบทดสอบทาอีกครั้ง - Confirmation message เปน็ การนาเสนอข้อความยนื ยันการรับข้อมูล4.6.3 เมนู Quizzs เป็นการต้ังค่าเก่ียวกับแบบทดสอบ ซ่ึงควรเปิดการทางานของแบบทดสอบเป็นลาดับ แรก โดยคลิก “Make this a quiz” จากน้ันทาเครื่องหมายในสว่ นของ “Immediately after each submission” เพ่ือกาหนดให้ผู้ทาแบบทดสอบสามารถทราบผลคะแนนในทันที ดังในภาพที่ 29 ใน ตารางสีเ่ หลย่ี ม คือข้อมูลท่แี สดงต่อผู้ทาแบบทดสอบ เชน่ คาตอบทถ่ี ูกต้อง ข้อทไ่ี มไ่ ด้ทา และคะแนน ทไี่ ดร้ ับในแตล่ ะขอ้ - ภาพที่ 29 การต้งั ค่าแบบทดสอบ ศูนย์ศึกษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอื้อไพจิตรกุล

244.7 ทาการตั้งค่าเกย่ี วกบั คาตอบในแต่ละข้อโดยคลิก “Answer Key” จากน้นั ทาการกาหนดคะแนนท่ผี ู้เรยี นไดร้ ับ เมอื่ ตอบถูก ดงั ภาพที่ 30 ภาพที่ 30 การเขา้ สู่การตัง้ คา่ การเฉลยคาตอบ4.8 คลกิ และทาเคร่ืองหมายบนข้อที่ถูกต้อง จากนน้ั ทาการคลิก “Add answer feedback” เพอ่ื ระบผุ ล ปอ้ นกลับเมื่อผเู้ รยี นตอบถูก และเม่ือผู้เรียนตอบผิด โดยการพิมพข์ ้อความลงในช่องวา่ ง จากน้นั คลกิ “Edit question” เพือ่ กลับสกู่ ารโหมดการสร้างข้อคาถาม ดงั ภาพท่ี 31 ศนู ภยาศ์ พึกษทา่ี ก3า1รพกฒัารนเาฉคลรยู คคณาตะคอรบศุ าแสลตะร์กมาหหานวทิดยผาลลปัยร้อานชกภลฏั ับธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เออ้ื ไพจติ รกุล

25 4.9 เม่อื เพ่มิ เติมข้อคาถามในแต่ละข้อจนครบแลว้ สามารถตกแต่งแบบทดสอบให้สวยงามมากยิ่งขน้ึ โดยคลิก เพ่ือ เลอื กสพี นื้ หลงั ของหัวแบบทดสอบตามท่ีกาหนด หรอื คลกิ เพ่อื เลือกรูปภาพต่างๆ มาแสดงบนสว่ นหวั ของแบบทดสอบ ดังภาพที่ 32 ภาพที่ 32 การออกแบบส่วนหวั ของแบบทดสอบ 4.10 หากต้องการดูตัวอย่างการแสดงผลแบบทดสอบสามารถคลกิ เพือ่ แสดงตวั อยา่ งโดยการเพมิ่ หนา้ ต่าง 4.11 ในการเผยแพร่แบบทดสอบ หรอื นาแบบทดสอบไปใชน้ ้ัน ตอ้ งทาการคลิก “Send” สามารถเลอื กรูปแบบการเผยแพร่อยา่ งง่ายใน 2 ลักษณะ คือ การเผยแพร่ในลักษณะรายบุคคลผา่ นทาง e-mail หรือ การเผยแพรผ่ า่ นทาง Linkซงึ่ สามารถนาไปเผยแพรผ่ า่ นทางสอ่ื สังคม ชอ่ งทางการติดตอ่ ออนไลนต์ ่างๆ ได้ ดงั ภาพที่ 33 เผยแพรร่ ายบคุ คลผา่ นทางการพิมพ์ e-mail ทาการคัดลอก link และวางข้อความผ่าน ทางชอ่ งทางการติดตอ่ ส่ือสารเพ่ือเผยแพร่ ผา่ น link ภาพที่ 33 การเผยแพร่แบบทดสอบ ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาครู คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบุรี : จัดทาโดย...ณรงค์พล เอื้อไพจิตรกุล