Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ครุสารธนบุรี ฉบับที่ 7

ครุสารธนบุรี ฉบับที่ 7

Published by narongpon.a, 2017-05-30 02:03:43

Description: ครุสารธนบุรี ฉบับที่ 7

Search

Read the Text Version

๗๐ ปี แพหร่งะกปารรีชคารมอหงารจาักชยรี์ฉบับที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๘ - มนี าคม ๒๕๕๙ ครสุ ารธนบรุ ี 1

2 ครสุ ารธนบรุ ี

ส า ร บั ญ บทบรรณาธิการ วิชาชีพครู 4 ครุสารธนบุรีฉบับนี้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู • คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ีใหป้ รญิ ญา ขอร่วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ด์ิ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษาแด่ เนอื่ งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเทพศาสนาภิบาล เจา้ อาวาสวดั ไรข่ ิง พระอารามหลวง พระเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติครบ ๗๐ ป ี • โครงการอบรมพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 4 ในวันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๕๙ ซึ่งตลอดระยะเวลาท่ี กอ่ นแตง่ ตั้งให้มีและเล่อื นเปน็ วทิ ยฐานะครชู ำนาญการพิเศษ พระองค์ทรงครองราชย์ทรงประกอบพระราชกรณียกิจ รุ่นท่ี 7 นานัปการ อีกทั้งทรงมีโครงการพระราชดำริในด้าน การจัดการศึกษาอันเป็นคุณประโยชน์อย่างใหญ่หลวง ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาครู 5 ต่อการพัฒนาการศึกษาของไทยเป็นที่ประจักษ์แก่ อาณาประชาราษฎร์ตลอดมา • Google Apps for Education กองบรรณาธิการได้รับความร่วมมือจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ และคณาจารย์ในสาขาวิชาต่างๆ ของ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ท่วั ไป 5 คณะครุศาสตร์ ในการรวบรวมกิจกรรม โครงการ 6 บทความ องค์ความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์ทางด้าน • ขา่ วกจิ กรรมสาขาวิทยาศาสตรท์ ่วั ไป การศึกษา เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ • ราชินีแห่งเส้นใย ผ้อู ่านอยา่ งตอ่ เนอื่ ง กองบรรณาธกิ ารจงึ ขอขอบพระคุณ ผู้มีส่วนร่วมในการจัดทำครุสารธนบุรีให้สำเร็จลุล่วง สาขาวิชาจติ วิทยาและการแนะแนว 7 อย่างสมบรู ณ์มา ณ โอกาสน้ี • เมอื่ ครูแนะแนวจะขอเล่ือนวทิ ยฐานะ สาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 8ท่ปี รึกษากองบรรณาธกิ าร :ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปนดั ดา ยมิ้ สกุล คณบดี / อาจารย ์ • Baidu PC Faster ดร.วาสนา สงั ข์พุ่ม ผชู้ ว่ ยอธิการบดี / อาจารย์นฤมล ปภัสสรานนท์,อาจารย์ ดร.นภิ าภรณ์ คำเจรญิ , อาจารยส์ มชาย ศรรี กั ษ์ รองคณบดี / สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 10อาจารย์ ดร.สมจนิ ตนา จริ ายกุ ลุ ผอู้ ำนวยการศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาครูกองบรรณาธกิ าร : • English Skills Problems of the Thai Students อาจารย์ ดร. สมจนิ ตนา จิรายุกลุ / อาจารยว์ รรณนภา โพธ์ผิ ลิ / อาจารย์ภทั ราภรณ์ ชอ้ ยหริ ัญ / อาจารยณ์ ชิ ชา ชำนยิ นต์ / สาขาวิชาภาษาไทย 11อาจารยส์ ชุ าติ คมุ้ สทุ ธ์ิ / อาจารย์สมิทธิ์ เจือจินดา / อาจารยณ์ รงคพ์ ล เออื้ ไพจติ รกลุ • คุณธรรมสำคัญในวรรณกรรมเยาวชน พิสูจน์อักษร :อาจารย์ภทั ราภรณ์ ช้อยหิรัญ สาขาวิชาสงั คมศกึ ษาจดั ทำรปู เลม่ :นายรณเกติ ชนิ ตานนท์ / นางสาวกรกมล สว่างจติ ต์ • ความหมายและความแตกตา่ งของทกุ ข์เวทนาและทุกขอ์ รยิ สัจ 12ช่างภาพนายวรวชั ร เพชรคง สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัยพิมพท์ ี่ :บริษัท พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกดั โทร. 0 2424 3249 • ความเข้าใจเก่ียวกับการเตรยี มความพรอ้ มในเด็กปฐมวยั 13 สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ 14 • เร่ืองของถังขยะ บทความทางการวิจัย 15 • การตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมือที่ใช้ในการวิจัย • สอนด้วย PDCA แลว้ วิจยั ดว้ ย PAOR: หน่ึงแนวทางเพื่อใชก้ ารวจิ ัยเปน็ สว่ นหน่งึ ของ กระบวนการเรียนรู้คนดคี นเก่งครุศาสตร์ คนดคี นเก่งครศุ าสตร ์ 18 ภาพกจิ กรรม 19 ครุสารธนบรุ ี 3

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบุรี ให้ปรญิ ญาครศุ าสตรดุษฎบี ณั ฑติ กติ ติมศกั ดิ์ สาขาการบรหิ ารการศึกษา แด่ พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไรข่ ิง พระอารามหลวง ด้วยคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ดำเนินการเสนอให้ พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง พระอารามหลวงให้ได้รบั ปริญญาครุศาสตรดุษฎบี ัณฑิตกติ ติมศกั ดิ์ สาขากา รบรหิ ารการศกึ ษา ดว้ ยเลง็ เหน็ ถึงกศุ ลกรรมท่ี เป็นคณุ ความดี บำเพญ็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม ต่อสงั คม ประเทศชาติ และพระพุทธศาสนา เป็นอเนกประการในดา้ นการเปน็ นกั พัฒนา และนักบริหารการศกึ ษา โดยมวี ิสยั ทศั น์ในการเป็นผูบ้ รหิ ารระดับสงู ในการบริหาร ตลอดจนควบคุม และสง่ เสริม การศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา ความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาท้ังพระภิกษุ สามเณร และเยาวชนในองคร์ วม ในการเป็นผู้บริหารการศึกษาน้ัน เป็นท่ีประจักษ์ชัดจากสถิติการศึกษา และการสอบพระปริยัติธรรมท้ังแผนกธรรม และแผนบาลีของสำนักเรียนวัดไร่ขิง รวมท้ังคุณภาพการบริหารงาน และการจัดการศึกษาต่าง ๆ ภายในสำนัก อีกทั้ง สนับสนุนการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี เข้าฝึก ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ตลอดจนอบรมคณุ ธรรมใหก้ บั นกั ศึกษ าเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิตน ดว้ ยคณุ ความดจี ากกรณยี กจิ อนั เปน็ ประโยชนต์ อ่ วงการการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี จึงเห็นสมควรว่า พระเทพ ศาสนภิบาล เป็นผู้ท่ีสมควรแก่การยกย่องให้ได้รับปริญญาครุศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักด์ิ สาขาการบริหารการศึกษา เพ่ือเป็นการบูชา กติ ตคิ ณุ สืบไป วิ ช า ชี พ ค รู เม่อื วนั ท่ี 4 – 5 และ 7 - 8 เมษายน 2559 ท่ีผ่านมา คณะครุศาสตร์ โดย ผศ.ดร.ปนดั ดา ยมิ้ สกุล คณบดคี ณะครศุ าสตร์ ได้จัดอบรมหลักสูตรพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้มีและเล่ือนเป็นวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ รุ่นท่ี 7 โดยมีท่านอธิการบดี ผศ.ดร.ยุวลักษณ์ เวชวิทยาขลัง เป็นประธาน ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ อาคาร 2 ช้ัน 8 วัตถุประสงค์เพื่อเป็นหน่วยดำเนินการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้ังให้มีและเลื่อนเป็นวิทยฐานะครู ชำนาญการพิเศษ ให้เป็นไปตามหลักสูตร คู่มือ และแผนการจัดการเรียนรู้และได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ4 ครสุ ารธนบรุ ี

ศู น ย์ ศึ ก ษ า ก า ร พั ฒ น า ค รู Google Apps for Education โดย...อาจารย์ณิชชา ชำนยิ นต์ หากจะพูดถึงเทคโนโลยีท่ีนำมาใช้ในการเรียนการสอนแบบออนไลน์มีอยู่หลายประเภท หลากหลายชนิดด้วยกัน ท้งั น้ขี ึ้นอยกู่ ับลักษณะการนำไปใช้งานวา่ จะใช้ในลกั ษณะใด จะบริหารจัดการการเรียนการสอนอย่างไร ปัจจุบันนี้กม็ ีโปรแกรม อยู่หลายประเภทด้วยกันให้เราได้เลือกสรร โปรแกรมหน่ึงตัวที่น่าสนใจและกำลังได้รับความนิยมอยู่ในขณะน้ีคือ Google Apps for Education ซึ่งเปน็ ชดุ เคร่อื งมือการทำงานรว่ มกนั และ การสื่อสารรว่ มกนั ทัง้ ครู อาจารย์ เจา้ หน้าที่ และนกั เรียน นักศึกษา โดย Google Apps ซึง่ ถือเป็นเครอ่ื งมือหน่งึ ท่จี ะช่วยใหท้ ุกคนสามารถจัดเก็บงานได้อย่างเปน็ ระบบ เขา้ ถึงข้อมูลได้ ทุกที่ทุกเวลา การสร้างบทเรียนออนไลน์ การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ การตรวจการบ้านนักเรียนนักศึกษาได้สะดวกข้ึน การสร้างห้องเรยี นออนไลน์ และท่ีสำคญั ทำให้เราไม่พลาดการติดตอ่ นดั สำคัญด้วยระบบแจ้งเตือนกิจกรรมนัดสำคญั ผ่าน SMS โดยไม่มีค่าใชจ้ า่ ยใดๆทัง้ สนิ้ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาทักษะการใช้งานเทคโนโลยีดังกล่าว จึงจัด อบรมประชุม สัมมนาเชิงปฏิบัติการเร่ือง พัฒนาทักษะการใช้งานเทคโนโลยีสาร สนเทศ Google APPs For Education ข้ึนเม่ือวันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน 2559 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ อาคาร 2 ชัน้ 13 ส า ข า วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ท่ั ว ไ ปโครงการปฐมนิเทศ และปรับพน้ื ฐานความรู้นกั ศึกษาใหมป่ ีการศกึ ษา 2559 เมื่อวนั พุธท่ี 29 มถิ ุนายน 2559 สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป ได้จดั โครงการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ปีการศึกษา 2559 โดยอาจารย์อริสรา จุลกิจวัฒน์ ประธานสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ได้กล่าวต้อนรบั นกั ศกึ ษาใหม่ พูดคุยทำความเขา้ ใจเกี่ยวกบัหลกั สูตร รวมถึงใหข้ ้อคิดและวธิ ีการปรบั ตวั สรู่ วั้ มหาวทิ ยาลยั แก่นักศกึ ษา รบั การตรวจประเมินและประกนั คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสตู รหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป ได้รับการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2558ในวันศกุ รท์ ี่ 27 พฤษภาคม 2559 งานวันสถาปนามหาวทิ ยาลัยเน่อื งด้วยวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีทางมหาวิทยาลัยจึงได้จัดงาน “วันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลยั ครบรอบ 68 ป”ี ครุสารธนบุรี 5

ส า ข า วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ท่ั ว ไ ป ราชินแี ห่งเสน้ ใย โดย...อาจารย์อริสรา จลุ กิจวฒั น์ สินค้าจากเส้นไหมเป็นเครื่องช้ีสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในทวีปเอเชียหลายประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงในอดีตกาลท่ีประเทศจีนมีติดต่อค้าขายผ้าไหมกับนานาประเทศ เร่ิมตั้งแต่เมืองจีน ต่อเนื่องถึงอินเดียไปจนกระทั่งส้ินสุดยังทะเลเมดเิ ตอร์เรเนยี น จนเกิดเปน็ เส้นทางคา้ ขายสายมรดกโลกทเ่ี รยี กว่า “เสน้ ทางสายไหม (silk road)” ด้วยลกั ษณะเสน้ ใยท่ีมคี วามมันเงา แวววาวสวยงาม จึงทำให้เส้นไหมไดร้ ับการขนานนามว่า “เป็นราชินีแหง่ เสน้ ใย” (Queen of Fiber) มูลนิธิศิลปาชีพในพระบรมราชินูปถัมภ์ ได้รับการจัดต้ังขึ้นเพ่ืออนุรักษ์สืบสานและส่งเสริมงานฝีมือภูมิปัญญาไทยทุกแขนงดั่งเช่น ผ้าไหม ซึ่งเป็นศิลปะอีกแขนงหน่ึงท่ีสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิพระบรมราชินาถทรงให้ความสำคัญ พระองค์ทรงเปน็ แบบอย่างในการเผยแพร่ชือ่ เสียงของไหมไทย โดยการทรงฉลองพระองค์ด้วยผ้าไหมไทย ไม่ว่าจะอยู่ในประเทศหรือเสด็จต่างประเทศก็ตาม ซ่ึงมีส่วนสำคัญในการสร้างกระแสความนิยมไหมไทยในหมู่ชาวไทยและชาวต่างประเทศเพิ่มมากข้ึนนอกจากนพี้ ระองคย์ งั ทรงมีพระราชดำรใิ ห้จดั ต้ังโครงการปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหม ควบคู่ไปกับการส่งเสรมิ การทอผา้ ดว้ ย เส้นไหมท่นี ำมาทอผา้ นน้ั แทจ้ รงิ แลว้ กค็ ือเสน้ ใยโปรตีนทพ่ี น่ ออกมาจากปากของตัวหนอนไหม (Bombix mori L.)ท่ีโตเต็มวัย เพ่ือมาห่อหุ้มตัวป้องกันศัตรูทางธรรมชาติในขณะท่ีหนอนไหมลอกคราบจากหนอนไหมเป็นตัวดักแด้ และไม่ สามารถเคล่ือนท่ีได้ เส้นไหมเป็นเส้นใยโปรตีนธรรมชาติท่ีมีโครงสร้างโปรตีนทุติยภูมิแบบ β-sheet ท่ปี ระกอบดว้ ย 2 องค์ประกอบ คือ ส่วนของเส้นใยไฟโบรอิน (Fibroin fiber) ซึ่ง เป็นเส้นใยหลักของเส้นไหม ประกอบขึ้นจากกรดอะมิโนชนิดต่างๆ เช่น กรดอะมิโนไกล ซีน(Glycine) และอะลานีน(Alanine) มาจัดเรียงตัวในโพลิเมอร์โปรตีน (Protein polymer) และโดยท่วั ไปแลว้ เสน้ ใยไฟโบรอินจะเปน็ องค์ประกอบในเส้นไหมประมาณ 70- 75% ซ่ึงเป็นโปรตีนที่ไม่ละลายน้ำ แต่จะถูกย่อยสลายในด่างแก่ และเป็นส่วนท่ีต้องการใช้ ในการทอผา้ เทา่ น้ัน สว่ นอีกองคป์ ระกอบหนึ่งทพ่ี บในเสน้ ไหมคือ สารเซรซิ ิน (Sericin) ซง่ึเป็นโปรตีนท่ีละลายน้ำร้อนและด่างอ่อนได้ทำหน้าท่ีคล้ายกาว “gum-like-protein” ค่อยยึดเหนย่ี วเส้นใยไฟโบรอนิให้อยู่ด้วยกัน องค์ประกอบทางเคมีของสารเซริซินประกอบด้วยกรดอะมิโนที่มีขั้วหลายชนิดแต่ส่วนมากท่ีพบได้แก่ เซรีน(Serine) โดยทั่วไปเซริซีนมีอยู่ในเส้นไหมประมาณ 25-30% (ปยิ รตั น์, 2551) ดังนัน้ กอ่ นจะไดเ้ ส้นไหมเพ่อื นำมาทอเป็นผนื ผ้าจงึ ต้องมีการผา่ นกระบวนการ 3 ขน้ั ตอน คอื กระบวนการลอกกาวเส้นไหม (Scouring หรือ Degumming) ขบวนการย้อมสี (Dyeing) และกระบวนการตกแต่งสำเร็จเส้นไหมและผ้าไหม(Finishing) ซ่ึงแต่ละข้ันตอนน้ันต้องใช้ระยะเวลาและความพิถีพิถัน เพ่ือให้ได้เส้นไหมท่ีสวยงามและมีคุณภาพเหมาะสมต่อการผลิตเป็นสงิ่ ทอ ปัจจุบันนอกจากประโยชน์ในการผลิตส่ิงทอแล้ว ยังมีการนำเส้นไหมมาเป็นส่วนประกอบของเคร่ืองสำอาง วัสดุทางการแพทย์ เช่น ผิวหนังเทียม คอนแทคเลนส์ กระดกู เทียม วสั ดคุ วบคมุ การกระจายตวั ของยา (ปิยรตั น์, 2551) และผลิตเป็นแผน่ โปรตีนรกั ษาแผล (พรอนงค์ และคณะ, 2555) ไดอ้ ีกด้วยเอกสารอ้างองิ ปยิ รัตน์ มูลศร.ี 2551. การเตรยี มผงไฟโบรอินชนิดไม่ละลายน้ำระดบั ไมโคร-นาโนเมตรจากปยุ ไหม. รายงานการวิจยั . มหาวทิ ยาลยัราชภัฏเพชรบูรณ์.พรอนงค์ อร่ามวิทย์, โศรดา กนกพานนท์, ศิริพร ดำรงศักด์ิกุล และธีระพล ศรีชนะ. 2555. การพัฒนาแผ่นโปรตีนเส้นไหมเคลอื บดว้ ยสารมฤี ทธท์ิ างชีวภาพเพือ่ ใชใ้ นการรกั ษาแผล. บทคดั ย่อ.6 ครสุ ารธนบรุ ี

ส า ข า วิ ช า จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร แ น ะ แ น ว เมื่อครูแนะแนวจะขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะ โดย...ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สธุ ิดารตั น์ มัทธวรตั น์ จากประสบการณ์ท่ีได้ยิน ได้ฟัง ได้เห็น และได้อ่าน เกี่ยวกับผลงานทางวิชาการของครูแนะแนวเพื่อการขอเล่ือนวิทยฐานะ พบว่าครแู นะแนวทีไ่ ม่ผ่านการประเมนิ ส่วนใหญ่ มักเกิดจากสาเหตทุ ่คี รแู นะแนวเหลา่ น้ันมีความไม่เข้าใจ ดังน้ี 1. ไม่เข้าใจตนเอง หมายความว่า ไม่เข้าใจว่าตนเองน้ันมีความรู้ ความสามารถ ความชำนาญหรือความเช่ียวชาญเร่ืองใดหรือด้านใดของการแนะแนว รวมทั้งไม่เข้าใจว่างานที่ตนเองปฏิบัติได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติ มีอะไรบ้างท่ีเก่ียวข้องกับการแนะแนว 2. ไม่เข้าใจกระบวนการวิจัย หมายความว่า ครูส่วนใหญ่มักจะพยายามหาว่าตนเองควรจะทำวิจัยอะไรท่ีเหมาะสมในการพิจารณาให้เล่ือนวิทยฐานะ โดยพบว่าครูส่วนใหญ่จะพยายามเขียนบทนำ หรือสภาพปัญหา ด้วยการพยายามอา้ งองิ พระราชบัญญัติการศกึ ษา มาตรฐานการศึกษา คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ หรอื นโยบายของรฐั โดยแทบจะไมอ่ ธบิ ายว่าปัญหาในห้องเรียนที่ตนเองทำหน้าที่สอนนั้นเป็นอย่างไร นอกจากนี้ท่ีพบเป็นปัญหามากท่ีสุดคือ พยายามเลือกคุณลักษณะใดลักษณะหน่ึงของเด็กมาทำเป็นหัวข้อวิจัย โดยขาดความตระหนักว่า ระยะเวลาเพียง 1 ภาคเรียน นักเรียนจะสามารถพัฒนาคณุ ลักษณะน้ันแบบหนา้ มือเป็นหลังมอื ไดจ้ รงิ หรอื ไม่ เชน่ การพัฒนาความฉลาดทางอารมณจ์ ากคนท่ีมคี วามฉลาดทางอารมณ์ตำ่ สามารถเปล่ียนเปน็ คนทม่ี คี วามฉลาดทางอารมณส์ ูง ภายใน 1 ภาคเรียน เปน็ ต้น 3. ไมเ่ ขา้ ใจคำวา่ นวตั กรรม หมายความว่า ครสู ว่ นใหญม่ กั ใช้การนำแผนการเรียนรูจ้ ากหนงั สือ ตำรา หรือ เอกสารทางวิชาการต่าง ๆ มาเปล่ียนชอื่ เรอ่ื ง ช่อื กจิ กรรม และชอื่ ตวั ละครใหม่ แลว้ บอกว่านค่ี ือนวัตกรรมทต่ี นเองสร้างข้นึ ถึงแมว้ ่าจะมคี รจู ำนวนมากอา้ งอิงว่านำมาจากที่ใดแลว้ กต็ าม ความไม่เข้าใจดงั กลา่ ว มกั นำไปสู่ความผิดหวงั ในการขอเล่อื นวิทยฐานะอยู่เสมอ ดังนัน้ ครแู นะแนวทต่ี ้องการจะทำผลงานทางวชิ าการเพือ่ ขอเลื่อนวทิ ยฐานะ จำเปน็ จะต้องเข้าใจในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี 1. เขา้ ใจตนเอง หมายความวา่ - เขา้ ใจวา่ ตนเองนัน้ ไดท้ ำหนา้ ทอ่ี ะไร ที่ไดร้ ับมอบหมายอยา่ งเปน็ ทางการย้อนหลังอยา่ งนอ้ ย 1 ปี โดยต้องมีความตอ่ เน่อื งในปีที่เขียนขอผลงานทางวชิ าการดว้ ย - เข้าใจว่าอะไรคือความชำนาญ หรือความเช่ียวชาญของตนเอง เช่น หากจะขอความชำนาญหรือความเช่ียวชาญในเรื่องการพัฒนาคุณลักษณะความฉลาดทางอารมณ์ของนักเรียน ครูจำเป็นจะต้องแสดงให้เห็นว่าความชำนาญหรือความเช่ียวชาญในเรอ่ื งนข้ี องครูดูได้จากอะไร ไม่ใช่เพียงดจู ากคะแนนของนักเรยี นจากการทดสอบตา่ ง ๆ เทา่ น้ัน แต่ตอ้ งมีการแสดงร่องรอยของการกระทำที่เก่ียวข้องกับเร่ืองความฉลาดทางอารมณ์มาอย่างน้อย ไม่ต่ำกว่า 1 ปี เพราะจะแสดงให้เห็นว่าครูได้มีส่วนร่วมในเร่ืองนี้มาโดยต่อเนื่อง จนครูเกิดเป็นความรู้ ความเข้าใจ จนชำนาญหรือเช่ียวชาญสามารถที่จะคิดค้นสิ่งที่เรยี กวา่ นวัตกรรม เพือ่ ใช้ในการพัฒนาหรือแกป้ ัญหาของนกั เรียนของตนเองได้ 2. เข้าใจกระบวนการวจิ ัย หมายความวา่ - ครูต้องเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า บทนำหรือสภาพปญั หานนั้ เกิดขึน้ จากหอ้ งเรียนท่ีครูสอนอยู่ เช่นนักเรียนของครูจำนวนหนึ่งมีปัญหาด้านความฉลาดทางอารมณ์ และครูเห็นว่าถ้าไม่แก้ไข เด็กเหล่าน้ีจะกลายเป็นเด็กมีปัญหา และอาจจะส่งผลกระทบต่อสังคมได้ ดังนน้ั เน้อื หาทจี่ ะเขยี นจงึ ตอ้ งนำเสนอในส่วนนีแ้ ละควรมหี ลกั ฐานอา้ งองิ ของปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้น เชน่ มีนกั เรยี นร้อยละเทา่ ไรทมี่ ปี ญั หา ครูร้ปู ัญหาน้โี ดยดูจากส่งิ ใด กน็ ำมาอา้ งอิง ครูดนู านเท่าไรจึงสรุปวา่ เร่อื งน้ีเป็นปญั หา หรอื เปน็เร่ืองท่ตี ้องมีการพฒั นา ก็ต้องแสดงหลกั ฐานอา้ งองิ ดว้ ย น่ันกแ็ สดงว่า ครูต้องวางแผนลว่ งหน้าทีจ่ ะทำผลงานทางวชิ าการ และมีการเก็บร่องรอยหรือหลักฐานต่าง ๆ มาอย่างเป็นระบบ ส่วนการอ้างอิง กฎ ระเบียบ มาตรฐาน พระราชบัญญัติ หรือข้อความจากหนังสือ ตำรา บทความต่าง ๆ ในการเขียนบทนำนั้นจะนำมาใช้เพียงเพ่ือช้ีให้เห็นว่า สังคมเขาก็สนใจ หรือให้ความสำคัญในเรอื่ งนดี้ ว้ ยเช่นเดียวกัน - ครูแนะแนวควรตระหนักและเข้าใจว่า คุณลักษณะต่างๆ นั้น มีข้อเท็จจริงในการพัฒนาขึ้นอย่างไร เช่นการมีวนิ ยั การร้จู กั และเข้าใจตนเอง การพัฒนาความถนดั ฯลฯ ระยะเวลาทจ่ี ะมกี ารพัฒนาให้เกดิ ข้ึนไดจ้ ริง ๆ ต้องใช้ระยะเวลาประมาณไหน เช่น สนใจจะทำผลงานเรื่องความฉลาดทางอารมณ์ กต็ ้องไปศึกษาวา่ การเปลี่ยนแปลงของพฤตกิ รรมน้เี กดิ ครุสารธนบุรี 7

ส า ข า วิ ช า จิ ต วิ ท ย า แ ล ะ ก า ร แ น ะ แ น ว ขึน้ ได้ยากง่ายอยา่ งไร จะได้วางแผนในการทดลองปฏบิ ัตไิ ด้ถกู ต้อง หากครมู ีเวลาทำผลงานทางวชิ าการเพยี ง 1 ภาคเรยี น ก็จะ ต้องร้วู า่ จะตอ้ งเลอื กพฤตกิ รรมหรือคณุ ลกั ษณะใดมาทำการศกึ ษา - ครูแนะแนวต้องรู้ว่า มีหลายคุณลักษณะหรือหลายพฤติกรรม ท่ีต้องใช้แบบวัดที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ดังนั้นหลาย ๆ พฤติกรรม แบบวัดท่ีครูสร้างเองอาจจะไม่ตอบโจทย์ ทำให้ขาดความน่าเช่ือถือ ดังน้ันจึงควรเลือกใช้แบบวัด มาตรฐานทมี่ ีอยู่แล้ว โดยอา้ งอิงว่านำมาจากแบบวดั ทีใ่ ครสรา้ งขึ้น เนน้ เรอ่ื งความน่าเชื่อถือเป็นสำคัญ - ครูแนะแนวควรตระหนักว่า ภาระงานของครูแนะแนวน้ัน ส่วนใหญ่เป็นเรื่องของการพัฒนาคุณลักษณะ ทางกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญาของเดก็ เป็นหลัก ดังนนั้ การนำไปเชื่อมโยงกับการพัฒนาระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน ของเด็ก จำเป็นต้องตระหนักว่า เมื่อพัฒนาคุณลักษณะดังกล่าวแล้ว นำไปสู่การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของเด็กได้ จริงหรือไม่และอย่างไร ขอย้ำว่าต้องไม่ใช่การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาแนะแนว เพราะการพัฒนาผู้เรียนเน้นการวัด คุณลักษณะที่พึงประสงค์ หรือเน้นการเปลี่ยนแปลงของความคิด เจตคติ หรือพฤติกรรม เป็นหลัก และเราไม่เรียกว่าผลสัม ฤทธ์ทิ างการเรยี น - การแก้ปัญหาพฤติกรรมเด็ก ไม่จำเป็นต้องเน้นเรื่องปริมาณ แต่เน้นเร่ืองวิธีการ กระบวนการในการ เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมเปน็ หลกั เชน่ หากกลุ่มเดก็ ที่มปี ัญหาเรื่องความฉลาดทางอารมณ์มเี พยี งแค่ 5 คน หรอื 10 คน และครู เห็นวา่ มคี วามสำคญั จำเป็นตอ้ งแก้ไขพฤติกรรมนี้ เพราะหากไม่แกแ้ ล้วจะเกิดสง่ิ โนน้ สิง่ นี้ขึ้น ครกู ็สามารถทำวิจยั กลุ่มเลก็ ๆ ได้ 3. เข้าใจเรื่องนวัตกรรม หมายความวา่ “นวัตกรรม” คือ ส่ิงท่ีถูกคิดค้นขึ้นใหม่ หรือมีการพัฒนาต่อยอดจากสิ่งที่มีอยู่เดิม จนกลายเป็นผลงานใหม่ท่ีมี คุณภาพและมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ดังน้ันครูจำเป็นต้องศึกษาค้นคว้ามาจากแหล่งเรียนรู้หลายๆแหล่ง แล้วประยุกต์ให้เป็นของ ใหม่ เพื่อใช้เฉพาะในห้องเรียนของเราให้ได้ เพราะถ้าใช้แก้ปัญหาจริงในห้องเรียนได้ ก็สามารถนำไปสู่การแก้ปัญหาแบบ เดยี วกันในหอ้ งเรียนอืน่ ได้ ผู้เขียนเช่ือว่า หากครูแนะแนวเป็นนักเก็บรวบรวมข้อมูล และได้ปฏิบัติตนเป็นนักแนะแนว ตามหลักการ แนะแนวที่ไดเ้ รียนมาแลว้ ย่อมเป็นการง่ายทีค่ รแู นะแนวจะประสบความสำเร็จในการขอเล่ือนวทิ ยฐานะอยา่ งแน่นอน ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ศึ ก ษ า Baidu PC Faster โดย...อาจารย์ ดร. ญาณีรัตน์ หาญประเสรฐิ ท่านคงได้ยินและได้เห็นโปรแกรมหน่ึงท่ีแพร่ระบาดเข้ามาอยู่ ในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือโน๊ตบุ๊คของใครหลายๆ คน ไม่ว่าจะโดยความ ต้ังใจของเจ้าของเคร่ืองเองหรือไม่ก็ตาม หรือมาจากร้านซ่อม คอมพิวเตอร์ที่หลายๆ ท่าน ชอบใช้บริการ เมื่อติดต้ังระบบปฏิบัติการ วินโดว์ก็มักจะพบโปรแกรมนี้ติดมา รวมถึงการติดต้ังโปรแกรมฟรี ท่ี ดาวน์โหลดมาจากอินเตอร์เน็ตก็จะมีโปรแกรมนี้แอบแฝงมาให้ติดต้ังด้วย โปรแกรมน้ันช่ือว่า Baidu PC Faster พร้อมคำ โฆษณาชวนเช่ือว่ามันจะทำให้เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของทา่ นรวดเรว็ ขึน้ Baidu(ไป่ตู้) เป็นเว็บเซอร์วิซ (web service) เป็น Search Engine อันดับหน่ึงของประเทศจีนหรือพูดให้เข้าใจ ง่ายๆ ก็คือเป็น google ของจีนน่ันเอง Baidu มีบริการมากมายหลายอย่างอาทิ Baidu map , Baidu Know เป็นต้น Baidu PC Faster คืออะไร Baidu PC Faster คอื ซอฟท์แวรท์ ท่ี ำหนา้ ทเ่ี ร่งความเร็วการบูทเครอ่ื ง โดยมันจะมคี ำแนะนำมาให้ เราปิด Services ท่ีเราไม่ค่อยได้ใช้หรือ “ไม่จำเป็นท่ีจะต้องบูทขึ้นมา” ซึ่งในทางทฤษฎีแล้ว การท่ีเครื่องไม่ต้องโหลด8 ครสุ ารธนบุรี

ส า ข า วิ ช า ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ศึ ก ษ าServices จำนวนมากมันก็จะทำให้เครื่องน้ันบูทตัวเองเข้าสู่ภาวะพร้อมใช้งานได้เร็วขึ้นจากปกติที่ต้องใช้เวลาซัก 3 นาทีก็อาจจะเหลอื แค่ 1 นาทีแบบนีเ้ ปน็ ต้น แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นหลังจากมีการทดสอบการใช้งาน [http://www.ict.rmutt.ac.th/wpcontent/uploads/2014/06/Baidu-PC-Faster.pdf] พบว่า1. ปิด service ม่วั ทำให้ระบบสำคญั ๆของ windows พงั 6. ทำการแสกนไฟลอ์ ย่ตู ลอดเวลาทำให้เครอ่ื งทำงานชา้ ลง2. ปิด startup มั่ว ทำใหโ้ ปรแกรมทำงานไม่สมบรู ณ์ 7. แจ้งไฟล์สำคัญบางไฟล์ว่าเป็นไวรัสและทำการลบออกส่ง3. แก้ไขการต้ังค่ามั่ว ทง้ั ใน registry และอื่นๆ ยากต่อการ ผลให้ระบบโดยรวมรวนไปหมด เชน่ ระบบเชอ่ื มต่ออัตโนมัติแก้ไข ของ USB ส่งผลให้เช่ือมต่ออุปกรณ์ USB เช่น เมาส์4. แก้ไขหนา้ homepage browser ทั้งหมดเปน็ Hao123 คียบ์ อรด์ หรอื แฟลชไดร์ฟไม่ได้5. โหลดไฟลท์ เี่ ป็นไวรสั ลงเครอ่ื ง จากการทดสอบของผู้ใช้อีกท่านหน่ึง[http://pantip.com/topic/32263690: สืบค้นเมื่อวันท่ี 1 สิงหาคม 2559]พบว่า เป้าหมายคอื “เมือ่ ไรคอมจะพังเพราะ Baidu” โดยมีผลการทดสอบในแต่ละวนั ดงั นี้ วันที่ 1 โปรแกรม Acronis True Image 2014 มีปญั หาใชแ้ รมเยอะข้นึ 200 MB แตย่ ังไม่พงั วนั ท่ี 2 ยงั ไม่มีอาการอะไรเกิดขน้ึ นอกเหนอื จากวนั แรก ช้าข้ึนและจุกจิกข้นึ (โฆษณา) เลก็ น้อย แตค่ อมฯ ยังไมพ่ งั วนั ที่ 3 ยังไมพ่ ังอยู่ดี Scan แบบเรง่ ด่วน ยังไมม่ ีปญั หาใดๆ วันท่ี 4 ยงั ไม่พงั อดสงสยั ไม่ไดว้ ่ามนั จะพงั ไดย้ งั ไง วนั ท่ี 5 ก็ยังไม่พัง แต่หลายคนนั้นไม่เชอ่ื วนั ที่ 6 โปรแกรมที่ทำงานไม่ไดค้ อื CCleaner ไมส่ ามารถรันโปรแกรมใหม้ นั ทำงานได้ วันท่ี 7 เรมิ่ มอี าการเพย้ี นตอ่ เน่ือง ล่าสดุ เปิดเคร่ือง ดสิ ว่ิง 100% ประมาณ 15 วนิ าที วันท่ี 12 พงั สนิทใจ นอกจากนี้ในชุดของ Baidu ยังก่อความน่ารำคาญติดตามมาอีกก็คือ Hao123 และ PC App store ซ่ึงส่งผลต่อความสามารถในการทำงานของเคร่ืองแม้จะไม่มากเท่า PC Faster แต่ก็ไม่เหมาะท่ีจะติดตั้งเอาไว้ ซ่ึงถ้าหากพบว่าเครื่องของท่านติดโปรแกรม Baidu PC Faster ก็ให้ทำการถอดถอนการติดตงั้ โดยสามารถอดถอนการตดิ ตง้ั โดยใช้ด้วย Control Panelธรรมดา หรอื โดยใช้โปรแกรมช่วยถอดถอนก็ได ้ วธิ ีถอดถอนการตดิ ตั้ง วิธถี อดถอนการตดิ ตัง้ Baidu PC Faster ดว้ ย Control Panel ภายในวินโดว์ 1. ไปที่ Start -> Control Panel -> Add or remove program (สำหรบั XP) หรือ program and Features (สำหรบั วนิ โดว์ 7 ) 2. เลือกโปรแกรมที่ต้องการ กด Remove/Uninstall ในท่ีนใ้ี หเ้ รามองหา Baidu PC Faster ที่อยูใ่ นลสิ รายชอื่ ซอฟแวรท์ ี่ติดต้งั อยู่ในเคร่ืองของเรา 3. เมื่อเลือกแล้วจะปรากฏหนา้ ต่างเมนดู งั ภาพ ทำตามลำดบั เลือกไปที่ I want to uninstall PC Faster จากนนั้เลือกไปท่ี Uninstall และตามดว้ ย OK จากนัน้ ก็รอ เม่ือถอนเสรจ็ กส็ ัง่ Restart ครง้ั กเ็ ปน็ อนั เสร็จเรียบรอ้ ยดงั น้ันขอใหท้ กุ ๆ ทา่ นพึงระวังเอาไวถ้ งึ ภยั คุกคามทีแ่ ฝงมาในรปู แบบของโปรแกรมฟรี ลักษณะเชน่ นี้ ถึงแมม้ ันจะไม่ใชไ่ วรัส แต่การทีม่ นั เขา้ ไปยุ่งกับ System หรือ Registy มากๆ ก็ส่งผลใหเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอร์ของเรามปี ัญหาได้เหมือนกัน ทั้งน้ีตอ้ งหม่ันสงั เกตวา่ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ของเรา มโี ปรแกรมอะไรแปลกๆ เพ่มิ ขึ้นมาบา้ งโดยที่เราไมไ่ ดต้ ง้ั ใจตดิ ตั้งลงไปหรือเปลา่ ซงึ่ จะช่วยป้องกันปัญหาพวกนี้ได้ในระดับหนงึ่ ที่มา : http://www.ict.rmutt.ac.th/wp-content/uploads/2014/06/Baidu-PC-Faster.pdf http://pantip.com/topic/32263690 ครุสารธนบรุ ี 9

ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ English Skills Problems of the Thai Students Dr.Kris Phattaraphakin At present, Thai people have far more opportunities to interact with foreigners. This is as a result of the considerable increase in the import-export and tourism businesses. The Thai government has been promoting foreign investments in Thailand in various types of businesses. Due to the economic crisis in Thailand, Thai university students have been very concerned about unemployment. After graduating, they have to be prepared to encounter fierce competition in hunting for jobs. For this reason, international or foreign organizations are becoming better options for them. To have the chance to be employed in a foreign company, a graduate is required to have a good command of English, as this is considered the international business language. As a result, there has been a significant increase in language related businesses in Bangkok and other big cities in Thailand such as language centers, language schools, or language institutes in both public and private educational institutions. English has long been announced as the official language of ASEAN community and it is the international language widely used all around the world as well. Therefore, the Thai government has been enforcing academic institutes of all levels to add English language as compulsory courses in all grades of education. All Thai students must learn English so that they can use it as a tool to earn a living after their graduation. They must be able to communicate with foreigners. This will help them to cope with the high competition in their careers as well as to get ready for ASEAN or international community in the near future. It was found that the level of English proficiency of graduates from Thailand was lower than the TOEFL score of 550, which is the required international standard for acceptance in overseas graduate studies. In contrast, the average TOEFL scores of graduates from Singapore and the Philippines were above 550, while the scores of graduates from Malaysia, Indonesia, Myanmar, Vietnam and Cambodia were above 500. Graduates from Thailand who wanted to further their studies abroad, as well as graduates from Laos, had average TOEFL scores below 500. Therefore, Thai graduates who want to further their studies either in Thailand or overseas urgently need to develop their English knowledge and skills in order to be able to catch up with their peers from the neighboring countries and with the world community in general, for knowledge and information exchange (Prappol, K. & Ophanon-amata, P. 2010: Abstract). It was found that the degree of learning satisfaction experienced by the learners was considered one of the most important factors for the achievement of English learning. Success in learning encouraged learners to put in even more efforts in learning English. Learners were always curious to learning new things (Savigon. 1997: 24). Nowadays, the Communicative Approach in Learning English as a foreign language has been used widely. This approach focuses on communicating in English in real-life situations. This learning method focuses on various kinds of learning activities as well as learning materials (Littlewood. 1995: 120-121). References Littlewood, W. (1981). Communicative Language Teaching. Prappol, K. & Ophanon-amata, P. (2010). An Investigation of English Proficiency of Thai Graduates. Abstract. Savigon, S.J. (1997). Communicative Competence Theory and Classroom Practice. New York: McGraw Hill.10 ครสุ ารธนบรุ ี

ส า ข า วิ ช า ภ า ษ า ไ ท ยคณุ ธรรมสำคัญในวรรณกรรมเยาวชน อาจารย์จรี ภัทร อาดนารี วรรณกรรมเยาวชนเป็นงานเขียนประเภทหน่ึงซึ่งให้ความ บันเทิง ให้ความรู้ ให้ข้อคิดคำสอนท่ีเก่ียวข้องกับการดำเนินชีวิต รวมทั้งช่วยสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตและส่งเสริมจินตนาการใน การอ่านให้แก่เยาวชน ดังจะเห็นได้จากหน่วยงานของภาครัฐและ เอกชนได้สง่ เสรมิ ผลงานดังกลา่ วโดยจัดโครงการประกวดตา่ งๆ อาทิ หนังสือดีเด่นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รางวัลแว่นแก้ว รางวัลนายอินทร์อะวอร์ด ฯลฯ โดยเนื้อหาสำคัญประการหน่ึงในวรรณกรรมเยาวชนคือเร่ือง ของคุณธรรม ซึ่งเป็นคุณงามความดีท่ีเยาวชนพึงมีเพ่ือใช้เป็น แนวทางสำหรับการดำเนินชีวิตในสังคม จากการศึกษาวรรณกรรมเยาวชนเรอื่ งตา่ งๆ พบว่ามคี ุณธรรมหลายด้าน โดยแบง่ เป็น 2 ลักษณะ ไดแ้ ก่ คุณธรรมท่ีเกีย่ วกับจติ ใจและคณุ ธรรมท่แี สดงออกทางพฤตกิ รรม โดยสรปุ สาระสำคญั ได้ดงั น ้ี 1. การมนี ำ้ ใจ คือ ความเอือ้ เฟอ้ื เผ่ือแผ่ ความโอบ 7. ความซ่ือสัตย์ คือ ความซ่ือตรงทางกาย วาจาอ้อมอารี การให้ การช่วยเหลือ การเห็นอกเห็นใจหรือการ ใจ ไมค่ ดิ คดทรยศ ไมค่ ดโกง ไม่ลกั ขโมย ไมห่ ลอกลวงทัง้ ตอ่แบง่ ปันสิ่งตา่ งๆ ใหแ้ ก่ผ้อู ่ืน ตนเองและผ้อู ่ืน 2. ความสภุ าพ คือ ความออ่ นโยน ความอ่อนนอ้ ม 8. ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ คือ การรักษาถ่อมตน มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ มีกิริยาวาจาสุภาพ เกียรติของชาติ การเคารพรักเทิดทูนและจงรักภักดีต่อเรยี บร้อยหรอื มีมารยาททดี่ ีงาม สถาบันพระมหากษัตริย์ การประพฤติปฏิบัติตามหลักคำ 3. ความกตัญญู คือ การระลึกถึงบุญคุณหรือการ สอนของศาสนาตอบแทนบุญคณุ ดว้ ยวิธกี ารตา่ งๆ ตอ่ ผมู้ พี ระคณุ 9. ความพอเพียง คือ การดำเนินชีวิตโดยใช้หลัก 4. ความเมตตากรุณา คอื ความปรารถนาทจี่ ะให้ผู้ สำคัญ 3 ประการ ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผลอ่ืนเป็นสุขหรือความสงสารคิดอยากจะช่วยเหลือให้ผู้อื่นพ้น ในการดำเนินการเร่อื งต่างๆ และการมีภมู ิคุ้มกันในตวั ทด่ี ี จากความทุกข์ 10. การมีวินัย คือ การยึดมั่นในกฎเกณฑ์ ข้อ 5. ความขยัน คือ ความมุ่งม่ันตั้งใจ ความเอาใจใส่ บงั คบั ระเบยี บแบบแผนของสงั คมหรอื การไมฝ่ า่ ฝนื กฎหมาย หรือความเพียรพยายามในการกระทำส่ิงต่างๆอย่างต่อเน่ือง คุณธรรมเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยปลูกฝังความดีงามให้และสม่ำเสมอ เกิดข้ึนในจิตใจของเด็กและเยาวชนซึ่งถือว่าเป็นกำลังสำคัญ 6. ความรบั ผดิ ชอบ คือ การกระทำสิ่งใดสิง่ หนงึ่ ให้ ของชาติในอนาคต และคุณธรรมยังเป็นสิ่งหล่อหลอมให้บรรลุผลสำเร็จตามความมุ่งหมายหรือการยอมรับผลจากส่ิง เยาวชนตระหนักรู้ในส่ิงผิดชอบช่ัวดี สามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมทีต่ นเองได้กระทำทัง้ ที่เปน็ เรอ่ื งดีและเร่อื งไม่ด ี กับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขและสร้างสรรค์สิ่งท่ีดีงามให้กับ สังคมต่อไป ทมี่ าภาพ : http://pongwut-spock.exteen.com/category/Activities/page/5 ครสุ ารธนบุรี 11

ส า ข า วิ ช า สั ง ค ม ศึ ก ษ า ความหมายและความแตกต่างของทกุ ขเ์ วทนาและทกุ ข์อริยสัจ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประพนั ธ์ สหพัฒนา พระพุทธศาสนามีคำสอนหลักซ่ึงสามารถสรุปได้เป็นเร่ืองทุกข์และการดับทุกข์เท่านั้น หากฟังการสรุปที่สั้นเพียงน้ี พุทธ ศาสนิกชนหลายคนไม่เข้าใจแน่นอนว่าทำไมจึงกล่าวเช่นน้ี ทำไมพุทธศาสนาจึงมองทุกอย่างเป็นเร่ืองของทุกข์ ทำไมไม่สนใจเรื่อง ความสุขเลยหรือ ดังน้ันหากฟังไม่แยบคายอาจมองพุทธศาสนาไม่น่าสนใจเพราะสนใจแต่เรื่องทุกข์ ในขณะที่มนุษย์ปุถุชนย่อมหวัง สุขไมห่ วังทกุ ข์แน่นอน ก่อนอื่นท่ีจะเข้าใจถึงความหมายของทุกข์และความแตกต่างของทุกข์เวทนากับทุกข์อริยสัจน้ัน จำเป็นต้องเข้าใจถึงเรื่อง ปรมัตถ์ธรรมก่อน ปรมัตถ์ธรรมน้ันคือธรรมอันยิ่ง สภาพของรูปนามที่เป็นองค์ธรรมอันประเสริฐ ไม่มีการผิดแปลกผันแปรอย่างไร ซ่งึ มอี ธิบายไวใ้ นคัมภีร์พระอภธิ รรมอันเปน็ ปิฎกท่ี ๓ ในพระไตรปิฎก ปรมตั ถธ์ รรมนน้ั ไดแ้ ก่ ๔ อยา่ งดงั ตอ่ ไปนเี้ ท่านนั้ คือ 1. จติ คอื สภาพนามธรรมทีร่ อู้ ารมณ์ นบั ไดท้ ั้งสนิ้ ๘๙ ดวง 2. เจตสิก คอื สภาพนามธรรมทปี่ รงุ แตง่ เกิดและดับพร้อมกับจติ ทำใหจ้ ติ นนั้ ร้อู ารมณ์ได้ มีทง้ั สน้ิ ๕๒ ดวง 3. รปู คอื สภาพรปู ธรรมทเ่ี กิดพรอ้ มกบั นามธรรม นบั ไดท้ ้ังส้นิ ๒๘ รปู 4. นพิ พาน คอื สภาพท่ีสงบ ระงับ การเกดิ และการดบั ของรูปธรรมนามธรรมทั้งปวง มีเพียง ๑ เทา่ น้ัน ในบรรดาปรมัตถ์ธรรมท้ัง ๔ น้ัน ๓ สิ่งแรกคือ จิต เจตสิก และรูป น้ัน ล้วนเป็นทุกข์สัจจะท้ังส้ินในความหมายของ พระพุทธศาสนา เพราะเป็นสภาพที่ทนอยู่ในสภาพเดิมไมไ่ ด้ ดงั นน้ั ชวี ิตมนุษย์ อัตภาพการเกิดเปน็ คน สตั ว์ทงั้ ปวง ซึ่งเป็นการรวม ตัวของนามธรรม จิต เจตสกิ และรูปธรรมนั้นจงึ เป็นทุกข์ทงั้ สน้ิ ในความหมายแหง่ พทุ ธศาสนา เพราะว่าเราจะเหน็ ไดว้ ่าคน สตั ว์ ท้งั หลายต้องมีการเปลย่ี นแปลง ทนอยใู่ นสภาพเดิมไม่ได้ มกี ารเปลี่ยนแปลง จากหนมุ่ สาว ก็กลายเปน็ แก่ การตาย ลงในทสี่ ุด ดงั นน้ั สภาพรูปธรรมและนามธรรมธรรมท้ังส้ินจึงเป็นความหมายของทุกข์สัจจะในพระพุทธศาสนาทั้งส้ิน ส่วนพระนิพพานเท่าน้ันท่ีไม่ เป็นทกุ ข์สัจจะ เพราะพระนพิ พานไมม่ กี ารเกดิ ดับ มสี ภาวะที่เทีย่ งแทแ้ น่นอน ไมเ่ ปลี่ยนแปลง ในบรรดา จิต เจตสกิ และรปู ท่ีเปน็ ปรมตั ถ์ธรรม ๓ ข้อตน้ นัน้ แท้จรงิ กค็ ือขันธ์ ทัง้ ๕ ท่ปี ระกอบเปน็ มนษุ ย์ และสตั วท์ ง้ั หลายในภมู ิท่มี ีขนั ธ์ ๕ กล่าวคอื 1. จติ ทงั้ สิน้ ๘๙ ดวง เป็นวิญญาณขนั ธ์ 2. เวทนาเจตสิก ๑ ดวงเทา่ นน้ั เป็น เวทนาขันธ์ 3. สญั ญาเจตสกิ ๑ ดวงเทา่ นั้น เป็น สญั ญาขันธ์ 4. เจตสิกที่เหลือท้งั ส้ิน ๕๐ ดวง เป็น สงั ขารขันธ์ 5. รูปท้งั หมด ๒๘ รูป เป็น รูปขนั ธ์ ความทกุ ข์ ความสุข ในชวี ิตมนษุ ย์เรา ทค่ี นในสังคมนน้ั เข้าใจ ล้วนเป็นเวทนา ซงึ่ ก็คือเวทนาเจตสิก หรอื เวทนาขันธ์ทง้ั ส้นิ ดังนั้น ความทุกข์ทางกาย อันได้แก่ความเจ็บป่วย ความปวด ความล้า ความเม่ือย ความไม่สบายกาย ท้ังปวง จัดเป็นทุกขเวทนา ทางกาย ส่วนความทุกขท์ างใจ อนั ไดแ้ ก่ ความเสียใจ ความไมส่ มหวงั ความผิดหวงั ความเครยี ด ความเบอื่ หน่ายทง้ั มวล ล้วนเปน็ ความทกุ ขท์ างใจหรือความทุกขเวทนาทางใจ ดังน้นั เราจงึ เห็นวา่ ความทกุ ขท์ ค่ี นท่ัวไปในสงั คมเข้าใจ ก็คอื ทุกขเ์ วทนาเท่านั้น ซงึ่ เปน็ เพียงสว่ นหน่ึงของทกุ ข์ในอริยสจั จะของพระพทุ ธศาสนาเท่านัน้ ในขณะเดียวกนั ความสุขเวทนาไมว่ า่ จะเป็นความสุขเวทนาทางกาย และทางใจก็ตามกจ็ ัดเปน็ ทกุ ข์ในอรยิ สัจจะของพระพุทธศาสนาด้วยเช่นกัน ซึ่งทั้งความสขุ เวทนาและความทุกขเ์ วทนานัน้ กเ็ ปน็ ทุกข์ อยู่ในสภาพท่ที นไมไ่ ด้ ตอ้ งเปลีย่ นแปลงไปตามเหตุ ปัจจยั ท้งั สิน้ ประโยชน์สูงสุดของการเข้าใจเรื่องความทุกข์น้ัน ก็คือเม่ือเรามีความทุกข์ใจ หรือสุขใจ เราควรตระหนักรู้อยู่เสมอว่า แท้จรงิ แลว้ ความรูส้ ึกเหล่านนั้ ล้วนเปน็ ทุกข์สจั จะทัง้ ส้นิ ไม่นานก็ต้องสญู สิน้ ไป ทนอยูใ่ นสภาพเดิมไม่ได้ ความทกุ ขท์ างกาย หรือ ความทุกข์ทางใจ ทกี่ ำลังเผชญิ อย่นู ัน้ ไม่นานกห็ มดไป เม่ือเกดิ ขึน้ ต้งั อยู่ แลว้ กต็ อ้ งดบั ไป ในขณะเดียวกันเม่ือเผชิญกบั ความสุข ก็ ไม่หลงระเริงไปในความสุขเพราะคิดว่าความสุขนั้นจะอยู่กับเราตลอดไป ซ่ึงมันไม่จริงเพราะความสุข ทางกายหรือสุขทางใจท่ีกำลัง ได้รับอยู่น้ัน ไม่นานก็ต้องสูญส้ินไป ทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ และสุดท้ายก็คือเข้าใจว่า ความสุขความทุกข์เป็นเพียงเวทนาซ่ึงล้วน เปน็ ทุกขส์ ัจจะเทา่ นนั้ เมอ่ื เกดิ ขึ้น ตั้งอยู่ แลว้ กด็ บั ไป ทนอยใู่ นสภาพเดิมไม่ได้ทง้ั สน้ิ 12 ครสุ ารธนบุรี

ส า ข า วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า ป ฐ ม วั ย ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั การเตรยี มความพรอ้ มในเดก็ ปฐมวัย อาจารย์ดวงใจ รงุ่ เรอื ง การเตรียมความพร้อมเป็นคำท่ีใครหลายคน คงเคยได้ยินและได้ฟังมาบ่อยคร้ังสำหรับการเริ่มต้นทางการศึกษาให้สำหรับเด็กในระดับปฐมวัย ดังน้ัน พ่อแม่ผู้ปกครองหรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับเด็กปฐมวัยจึงควรทำความเข้าใจกับ คำว่า “การเตรยี มความพรอ้ มในเด็กปฐมวยั ” ในแง่ของการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย ความพร้อมถือเป็นข้ันหน่ึงของลำดับ พัฒนาการในขั้นการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 3 ส่ิง คือ วุฒิภาวะ ประสบการณ์เดิม และแรงจงู ใจ วุฒิภาวะ หมายถึง สภาวะของบุคคลท่ีมีความสามารถในการจัดกระทำอะไรก็ตาม ได้ด้วยตนเองตามธรรมชาติ โดยท่ีความสามารถนั้นไม่ได้เกิดจากการฝึกฝน วุฒิภาวะของ บุคคลสามารถแสดงออกมาได้ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ในการพัฒนา หรือส่งเสริมวุฒิภาวะให้กับเด็กในระดับปฐมวัยนั้น คุณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครอง รวมท้ังคุณครู หรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับตัวเด็กนั้น มีส่วนช่วยในการส่งเสริมวุฒิภาวะได้ ด้วยการเป็นแบบ อย่างหรือต้นแบบที่แสดงออกทางด้านพฤติกรรม ความคิดให้เหมาะสมถูกต้อง เพ่ือส่งเสริม ให้เด็กได้เรียนรู้ซึมซับประสบการณ์ตรงจากบุคคลผู้ใกล้ชิดจากตัวเด็ก ทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้จากสถานการณ์ต่าง เด็กจะเร่ิมเรยี นรู้กฎเกณฑ์เบือ้ งตน้ ในสังคม โดยการเลียนแบบผูใ้ หญ่ ทำให้เกดิ แนวคิดหรอื ความคดิ รวบยอดเกีย่ วกับเรื่องนัน้ ๆ ในการเลยี นแบบพฤตกิ รรมท่เี หมาะสมจนกลายเปน็ ลักษณะทางบคุ ลิกภาพของตวั เดก็ ประสบการณ์เดิม ถือเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ท่ีต้องอาศัยประสบการณ์เดิมต่อยอดในการเรียนรู้เพ่ิมเติมเพื่อปรับโครงสร้างในสมองให้เกิดการเรียนรู้ท่ีมีการเชื่อมโยงจากประสบการณ์เดิมไปสู่ประสบการณ์ใหม่ ที่มีคุณค่ากับตัวเด็ก ซ่ึงเด็กในช่วงปฐมวัยนั้น ยังมีความรู้หรือประสบการณ์เดิมที่จำกัด ดังน้ันคุณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครองรวมทง้ั คุณครู หรอื ผทู้ ม่ี ีส่วนเกยี่ วข้องกบั ตัวเดก็ นัน้ ควรจะเสรมิ เพม่ิ เตมิ ประสบการณใ์ หก้ บั เดก็ ด้วยการสร้างประสบการณใ์ หม่ให้กับเด็กด้วยการสอนจากสิ่งที่อยู่ใกล้ตัวเด็กก่อน เพ่ือให้เด็กเรียนรู้และเข้าใจจากสิ่งใกล้ตัวซ่ึงถือเป็นวิธีการหนึ่งที่ทำให้เด็กเขา้ ใจตนเองเพมิ่ มากข้ึน เม่ือเด็กเรียนรูแ้ ละเข้าใจในตนเองสามารถรบั รู้เก่ียวกับตนเองและเรอื่ งใกล้ๆ ตัวได้ คุณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครอง รวมท้ังคุณครู หรือผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับตัวเด็กควรเสริมเพิ่มเติมประสบการณ์ใหม่ตามสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน การเรยี นรู้ประสบการณ์ใหมท่ ีอ่ าศยั ประสบการณ์เดิมนัน้ ทางจติ วทิ ยาเรยี กว่าเกิด “การถา่ ยโยงการเรยี นร้”ู ซ่งึ ทักษะเดิม ความรู้เดิม นีถ้ อื เปน็ พนื้ ฐานทำใหเ้ กิดความพรอ้ มในการเรยี นในระดบั ต่อไป. แรงจูงใจ คือ ความเต็มใจหรือความใคร่ท่ีจะเรียนรู้ ถือเป็นปัจจัยหน่ึงที่ทำให้ใครหลายคนประสบความสำเรจ็ ในชวี ิต รวมท้ังเด็กในช่วงปฐมวยั แรงจงู ใจถือเป็นสง่ิ สำคญั ในการส่งเสรมิ การเรียนร้แู ละการเตรยี มความพรอ้ มให้กับเดก็ ดงั นน้ั คณุ พอ่ คุณแม่ ผูป้ กครอง รวมทง้ั คุณครู หรือผทู้ ีม่ สี ว่ นเกย่ี วข้องกับตัวเดก็ นั้น ควรมีวธิ กี ารในการสร้างแรงจงู ใจท่ีดีใหก้ ับเด็ก ซ่ึงต้องอาศัยความเข้าใจในธรรมชาติของเด็ก ซ่ึงเด็กในวัยนี้เป็นวัยอยากรู้อยากเห็น มีความสงสัยในส่ิงต่างๆ ชอบถามจนกว่าจะได้คำตอบที่ชัดเจน เด็กวัยนี้เร่ิมแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมาให้เห็นเด่นชัด เด็กวัยนี้ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง มักแสดงอารมณ์ออกมาอย่างเปิดเผยและเปลี่ยนแปลงอารมณ์ได้ง่าย ดังน้ัน การสร้างแรงจูงใจท่ีด ี คือ การสนองความต้องการของเดก็ ดว้ ยเหตแุ ละผล ใชก้ ิจกรรมปรับเปลย่ี นพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสมให้กลายเปน็ พฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคต์ ามช่วงวยั เป็นท่ียอมรบั ของสังคม ดังนั้น การเตรียมความพร้อมในเด็กปฐมวัย จึงถือเป็นภารกิจหลักของคุณพ่อคุณแม่ ผู้ปกครอง คุณครูและผู้ที่เก่ียวข้องกับตัวเด็กปฐมวัย ท่ีจะช่วยส่งเสริมให้เด็กมีความพร้อมในการเข้าสังคมและการเรียนรู้ในระดับท่ีสูงข้ึน ซี่งวิธีการหรือแนวคิดต่างๆ ในการเตรียมความพร้อมในเด็กปฐมวัยน้ัน ได้ถูกออกแบบมาในรูปแบบของกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละวันภายในโรงเรียนอนุบาลหรือสถานรับเลี้ยงเด็กท่ีได้มาตรฐาน โดยมีกิจกรรมให้เด็กคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ลงมือทำกิจกรรมด้วยตนเอง โดยใชป้ ระสาทสัมผสั มีการทำกจิ กรรมร่วมกนั กับครแู ละเพอื่ นรว่ มช้นั เรียนเพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรูใ้ นการใชช้ วี ติ ในสังคมรวมท้ังการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่างๆรอบตัวจากนิทาน บทเพลง หรือสื่อที่ครูผู้สอนได้สร้างขึ้น เพ่ือให้เด็กมีความพร้อมในการเรียนรู้ มคี วามรพู้ ้นื ฐานที่พร้อมกบั การเรยี นในระดับทสี่ งู ขนึ้ ครุสารธนบรุ ี 13

ส า ข า วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เรื่องของถงั ขยะ อาจารย์สธุ ิดา ชาญวารินทร์ภาพท่ี 1 ต้องยอมรับกันเลยว่าปัจจุบันมนุษย์เราได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดไปกับ การผลติ ขา้ วของเคร่อื งใช้ไดอ้ ย่างส้ินเปลอื งและไม่คุ้มค่า สิ่งประดษิ ฐ์หนง่ึ ทเี่ รามกั พบเหน็ แทบทุกสถานที่คือถังขยะ ในท่ีน้ีขอกล่าวถึงถังขยะเพียงแบบหน่ึงเท่าน้ัน คือถังขยะที่มี ลักษณะเป็นโครงเหล็กและมีถุงพลาสติกอยู่ภายในโครงถังขยะ (ดังภาพที่ 1) เม่ือเรามี ทรัพยากรที่ใช้อยู่อย่างจำกัด ทางหนึ่งที่เราจะช่วยในการแก้ปัญหาการขาดแคลน ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมได้คือการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด จึง เกิดคำถามข้ึนว่า “หากเรามีวัตถุดิบในการผลิตโครงถังขยะอยู่อย่างจำกัด เราจะใช้ วัตถุดิบในการผลิตโครงถังขยะที่มีอยู่อย่างจำกัดน้ันอย่างไร เพื่อให้ได้ถังขยะที่ สามารถบรรจจุ ำนวนขยะได้มากทส่ี ดุ ” เราสามารถใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ในเร่ืองของอนุพันธ์พิสูจน์จนได้ว่า ลูก บาศกเ์ ปน็ รูปทรงปริซมึ ฐานสเ่ี หลย่ี มจตรุ สั ท่มี ีปริมาตรมากทสี่ ุด เมอื่ กำหนดความยาวเสน้ รอบรูป หมายความวา่ หากเรามคี วามยาวเสน้ รอบรูปหรือวัตถดุ บิ ในการผลิตโครงถังขยะ อยู่อย่างจำกัด ถังขยะรูปทรงลูกบาศก์จะเป็นถังขยะท่ีสามารถบรรจุจำนวนขยะได้มาก ที่สุดในบรรดาถงั ขยะทเ่ี ปน็ รปู ทรงปรซิ มึ ฐานสเ่ี หล่ยี มจตุรสั นนั่ เอง ผู้เขียนได้ใช้โปรแกรม The Geometer’s Sketchpad (GSP) ในการช่วย ยืนยันคำตอบดังกล่าว โดยการสมมุติว่า เรามีเส้นรอบรูปหรือวัตถุดิบในการผลิตโครงถัง ขยะอยู่ 48 เซนติเมตร จะเหน็ ไดช้ ดั เลยว่า รปู ทรงปรซิ มึ ฐานส่ีเหลย่ี มจตั รุ สั จะมีปรมิ าตร มากสุดคือ 64 ลูกบาศก์เซนติมาตร เม่ือมีความยาวด้านและความสูงเท่ากันคือ 4 เซนติเมตร ซ่ึงก็คือรูปทรงลกู บาศก์นน่ั เอง (ดังภาพที่ 2) ภาพที่ 2 ดังนั้นเมื่อใดก็ตามที่เราต้องการผลิตถังขยะในแบบท่ีผู้เขียนได้นำเสนอไปและต้องการประหยัดทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกดั ดว้ ยแลว้ นนั้ ถงั ขยะทไ่ี ด้ก็ควรมีหน้าตาเป็น “รูปทรงลกู บาศก”์ อนึ่ง การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดเป็นการช่วยลดปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรสิ่ง แวดล้อมของโลก ถือเป็นหน้าท่ีของประชากรทุกคนบนโลกท่ีจะต้องช่วยกัน เพ่ือให้เราได้มีทรัพยากรไว้ใช้ประโยชน์ได้อย่าง ยาวนาน 14 ครสุ ารธนบุรี

ง า น วิ จั ย การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการวิจยั อาจารย์สธุ ดิ า ชาญวารนิ ทร์ โดยทั่วไปการพัฒนาเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยแต่ละประเภทใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ ต้องคำนึงถึงหลักการวัดท่ีสำคัญ คือ ความตรง (Validity) ความเที่ยง (Reliability) และเลือกใช้วิธีการวัดด้วยเครื่องมือแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับลักษณะหรือสิ่งที่ต้องการวัดตามสถานการณ์ การสร้างเคร่ืองมือท่ีมีคุณภาพตามหลักการดังกล่าวผู้วิจัยหรือผู้ประเมินต้องมีความรู้และประสบการณส์ ูง ขั้นตอนสำคัญในการพัฒนาเครื่องมอื เก็บรวบรวมขอ้ มลู ทตี่ อ้ งดำเนินการสม่ำเสมอคือ การตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ ถา้ ใชเ้ คร่ืองมือทม่ี ีคุณภาพ ผลการวัดจงึ จะเชื่อถือได้ แตถ่ ้าเคร่ืองมือขาดคณุ ภาพ เมอื่ นำขอ้ มูลมาวิเคราะห์และแปลความหมายแล้ว ผลท่ไี ด้อาจไม่สอดคล้องกับปัญหาวิจัยทีต่ ้องการหาคำตอบ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแต่ละประเภทก่อนนำไปใช้จริงต้องเลือกใช้วิธีการท่ีแตกต่างกันตามความเหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่าเคร่ืองมือมีคุณภาพเพียงพอก่อนท่ีจะนำไปใช้ปฏิบัติงานต่างๆ ซึ่งเครื่องมือท่ีใช้มีด้วยกันหลายชนิด ได้แก่ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบวดั เจตคติ แบบวัดความถนดั แบบประเมินการปฏบิ ตั ิงานหรือแบบทดสอบภาคปฏบิ ัติ และเคร่ืองมอื อน่ื อกี หลายประเภท ดงั นนั้ ผวู้ จิ ยั ครู ผบู้ รหิ าร ศกึ ษานเิ ทศก์และผูเ้ กย่ี วข้องที่มีหน้าทีห่ รอื มสี ่วนร่วมในการปฏบิ ัติงานวิจัยตอ้ งตระหนักถึงความสำคัญและสามารถตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือและพัฒนาใหม้ ีคุณภาพ วธิ ีการตรวจสอบคณุ ภาพเครอ่ื งมอืดงั กล่าวดำเนินการได ้ 2 ลกั ษณะดังน้ี 1. วธิ ีการพจิ ารณาโดยผู้เช่ียวชาญ (Rationale Approach) ผู้เช่ียวชาญควรประกอบด้วยทั้งผู้เชี่ยวชาญด้านเน้ือหาในแต่ละสาขาวิชาหรือเรื่องที่จะทำการวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคการสร้างเครื่องมือวัดและการประเมิน เพื่อทำการประเมินด้านความรู้ หรือประเมินงานลักษณะอ่ืน โดยตรวจสอบความตรงและความเป็นปรนัยของเครื่องมือนั้นๆ เช่น การประเมินการปฏิบัติงานหรือแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ควรพิจารณาตามข้ันตอนการวิเคราะห์งานคอื ● งานท่ีกำหนดสะท้อนทักษะการปฏิบัติงานที่สำคัญซึ่งเป็นตัวแทนทักษะต่างๆ ในสาขาวิชาชีพน้ันๆ ระบุเง่ือนไข หรือ ขอบเขตการปฏบิ ตั ิงานใหช้ ดั เจน ● ระบปุ ระเดน็ สำคัญในการปฏิบัติงานทต่ี อ้ งประเมนิ (เกณฑ์การตรวจให้คะแนน) ● พัฒนาแบบประเมินการปฏิบัติงานโดยใช้มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales) หรือ แบบตรวจสอบรายการ (Checklists) และกำหนดเกณฑ์หรือวธิ กี ารให้คะแนนที่เปน็ ปรนยั 2. วธิ กี ารทดลองใช้หรอื ใชข้ อ้ มูลเชิงประจักษ์ (Empirical Approach) วิธีการนำเครื่องมือแต่ละประเภท เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบวดั เจตคติ แบบประเมินการปฏบิ ัติงานหรอื แบบทดสอบภาคปฏิบัติหรืออื่นๆ ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างหรือกลุ่มท่ีเป็นเป้าหมายในการวิจัย เช่น กลุ่มผู้เรียน แล้วนำมาพิจารณาตรวจสอบผล โดยพจิ ารณาจาก 2.1) การนำไปใช้ได้กับกลุ่มผู้เรียนจริง (Practicality) เคร่ืองมือเก็บรวบรวบข้อมูลสำหรับการวิจัย นอกจากจะใช้รวบรวมข้อมูลเพ่ือสรุปผลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้แล้ว กระบวนการสร้างและบริหารเครื่องมือต้องมีประสิทธิภาพคือ สามารถปฏิบัติได้จริง ได้ผลดี ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เช่น ถ้าใช้กับกลุ่มผู้เรียน เคร่ืองมือต้องสามารถใช้กับผู้เรียนหรือกลุ่มตัวอย่างได้จริงตามสถานการณ์และเวลาการปฏิบัติงานที่กำหนด 2.2) นำผลการทดลองใช้ ผลการปฏิบัติงานหรือข้อมูลท่ีได้จากการนำเคร่ืองมือไปใช้มาวิเคราะห์หาคุณภาพเคร่ืองมือในดา้ นต่อไปนี้ ● ความตรง (Validity) ● ความเท่ยี ง (Reliability) ● ความยาก (Difficulty) ● อำนาจจำแนก (Discrimination) ดังน้ันเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยควรต้องมีการตรวจสอบคุณภาพก่อนที่จะนำไปใช้ทุกครั้ง เพ่ือให้มั่นใจว่าเคร่ืองมือน้ันมีคุณภาพเพียงพอท่ีจะทำให้ผลของการวิจัยมีความถูกต้องเชื่อถือได้ ในการหาคุณภาพของเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ต้องมีการตรวจสอบคุณสมบตั ิในเร่อื งความตรง ความเท่ยี ง ความเปน็ ปรนยั ความยาก และอำนาจจำแนกแล้วแต่ละชนิดของเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ ซึ่งเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยบางชนิดอาจไม่ต้องตรวจสอบคุณภาพครบทั้ง 5 เรื่องก็ได้ หรือบางชนิดต้องตรวจสอบคุณภาพครบท้ัง 5 เรื่อง เช่น แบบทดสอบ เปน็ ต้น นอกจากนี้ยังมีการตรวจสอบคุณภาพส่ือหรอื นวตั กรรมการเรียนการสอน การหาคา่ ดชั นีประสทิ ธิผลและอน่ื ๆ อกี ด้วย ครุสารธนบุรี 15

ง า น วิ จั ย สอนด้วย PDCA แลว้ วิจัยดว้ ย PAOR: หนง่ึ แนวทางเพื่อใชก้ ารวิจัยเปน็ ส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ดิเรก สุขสนุ ัย ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 24 ซ่ึงสนับสนุนให้ใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ น้ัน สามารถตีความได้ว่า การพัฒนาผู้เรียนมีกระบวนการหลัก คือ การจัดการเรียนรู้ โดยมีกระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียให้มีคุณภาพหลักสูตรต้องการอีกกระบวนการหน่ึง บทความน้ีผู้เขียนจึงมีจุดมุ่งหมายเพือ่ นำเสนอแนวทางหนงึ่ สำหรับการใช้การวจิ ยั เป็นส่วนหนงึ่ ของกระบวนการเรียนรู้ โดยปกตแิ ล้วในกระบวนการจดั การเรยี นรไู้ ว้ 3 องค์ประกอบ คอื การกำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนร้ ู การจัดการเรยี นการสอนและ การวัดผลและประเมนิ ผล ดังภาพด้านลา่ งน้ี โดยการกำหนดจุดประสงค์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ก็คือการวางแผน (plan) นั่นเอง เพราะการวางแผนก็คือ การ กำหนดจุดประสงค์ หรือ วัตถุประสงค์ การวดั ผลและประเมนิ ผล การจดั การเรยี นการสอน ไว้ล่วงหน้าว่าต้องการให้ได้สิ่งใด หรือ ต้องการให้เกิดส่ิงใดข้ึนมา ในระดับใดแลว้ จึงกำหนดวิธีการ สถานที่ เวลา กิจกรรม ผู้ปฏบิ ตั ิ นน้ั คือตอ้ งมีการเตรยี มการจัดการเรยี นรูใ้ หพ้ รอ้ ม จากน้ันจงึ ดำเนินการตามท่ีเตรียมการหรือวางแผนไว้ (do) ก็คือการนำแผนการจัดการเรียนรู้มาใช้จัดการเรียนเรียนรู้ แล้วจากนั้นต้องมีการวัดผลและประเมินผล (check) เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อมูลบง่ ชว้ี า่ ผู้เรยี นมีคณุ ภาพตามทีก่ ำหนดไวใ้ นระดบั ใด จากท่ีกล่าวมาน้ัน ดูเหมือนกับว่ากระบวนการจัดการเรียนรู้นั้นเสร็จส้ินแค่การได้ทราบผลการวัดและประเมินผู้เรียนเทา่ น้ัน แต่โดยความจริงแลว้ ผู้สอนยงั ไดล้ งมอื แกไ้ ข หรอื พัฒนาผู้เรียน (act) ให้มคี ณุ ภาพถึงระดับทีต่ ้องการ โดยวิธกี ารต่างๆ ดังนั้นเม่ือเติมขั้นการลงมือปฏิบัติการแก้ปัญหาหรือพัฒนาผู้เรียน (act) ลงไปในแผนภาพ กระบวนการจัดการเรียนรู้วงจรดังกลา่ วจงึ มีขนั้ ตอนเหมอื นกบั วงจรคุณภาพของ Demming หรอื วงจร PDCA นนั่ เอง ดังนั้นหากกระบวนจัดการเรียนรู้นำวงจรน้ีมาใช้ สิ่งท่ีครูต้องดำเนินเพิ่มเติมจากขั้นตอนเดิมคือ การลงมือแก้ปัญหานักเรียนในห้องเรียนทันทีหลังจากการวัดผลประเมินผลแล้ว ซ่ึงการวัดผลประเมินผลในห้องเรียนน้ันสามารถทำได้โดยการให้คะแนนจากแบบฝึกหดั การถามใหต้ อบ การปฏิบัติงานของนักเรียน ฯลฯ สว่ นการลงมือแก้ปัญหา (act) ในห้องเรียนก็สามารถทำได้หลายวิธีการ เช่น การอธบิ ายเพิ่มเตมิ การให้ศึกษาเอกสารอา่ นประกอบ การให้เพอื่ นช่วยเพ่อื น เป็นตน้ การจัดเรียนรู้แตล่ ะคร้ังผสู้ อนจึงต้องจัดสัดส่วนของเวลาให้มีขั้นตอนการวัดผลประเมินผล และ การแก้ปญั หาผู้เรยี นไว้ด้วยทุกคร้ัง เพ่ือเป็นการประกันคุณภาพการจัดการเรียนรู้ว่าผู้เรียนมีคุณภาพถึงระดับที่ต้องการทุกคน แต่เมื่อดำเนินการในข้ัน act เพื่อการแก้ปัญหาหรือพัฒนารายคนแล้ว แล้วยังไม่สามารถมีคุณภาพตามท่ีครูต้องการได้ ครูจำเป็นต้องหาเทคนิควิธีการใหม่เพื่อแก้ปัญหาให้ นักเรียนเหล่าน้ีจึงถูกนำเข้าสู่กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีต้องการให้จงได้การวิจัยท่ีใช้ในห้องเรียนเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามที่ต้องการ คือ วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน (classroom actionresearch: CAR) ทั้งน้ีเพราะการวิจัยประเภทน้ี มีจุดมุ่งหมายเพ่ือการแก้ปัญหา หรือ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามท่ีเป้าหมายกำหนดไว้ ลักษณะของการวิจัยรูปแบบนี้คือ การแก้ปัญหาโดยเร่งด่วน เพราะผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ในสาระความรู้ที่ยากขึน้ เร่ือยๆ หากยงั ขาดความรคู้ วามเข้าในเน้ือหาแรกๆ แล้วกจ็ ะสง่ ผลเสยี ต่อการเรียนรใู้ นเนอ้ื หาท่ยี ากขน้ึ 16 ครุสารธนบุรี

ง า น วิ จั ย ข้ันตอนของวิจัยปฏิบัติการที่นิยมใช้กันคือ PAORโดย P=Plan A=Action O=Observe และ R = Reflect โดยในข้ัน P คือ วางแผนเพื่อดำเนินการแก้ปัญหาให้นักเรียน เป็นขั้นตอนของการกำหนดว่าต้องการพัฒนานกั เรียนในเรื่องใด ใหม้ คี ณุ ภาพระดบั ใด ด้วยวิธีการใด จะใช้สอื่ วสั ดอุ ุปกรณ์ ทแี่ ตกตา่ ง แปลกใหม่กว่าวธิ ีการท่ใี ชจ้ ัดการเรียนรู้มาแล้ว ซ่ึงอาจเรียกว่า “นวัตกรรม” ก็ได้ จากน้ันจึงเป็นขั้นตอน A – Action คือลงมือปฏิบัติการพัฒนาผู้เรียนตามที่วางแผนไว้ โดยข้ันตอนต่อมาคือ การสังเกตผล (O-Observe) ซึ่งเป็นการวัดผล ประเมินผลนักเรียนว่ามีคุณภาพถึงระดับตามท่ีต้องการหรือยัง หากมีผู้เรียนคนใดมีคุณภาพยังถึงไม่ถึงระดับท่ีต้อง ผู้สอนดำเนินการวางแผนเพ่ือแก้ปัญหาให้นักเรียนด้วยเทคนิค วิธีการใหม่จากการพัฒนาครั้งแรกเพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพถึงระดับท่ีต้องการให้ได ้ ในวงจรวิจัยปฏบิ ัตกิ ารนน้ั มขี ้นั ตอน R-Reflection หรอื การสะท้อนความคิด เป็นการตรวจพจิ ารณา ใครค่ รวญถึงการดำเนนิ การพฒั นาผเู้ รียนในทกุ ระบวนการ ตง้ั แต่ P D และ C วา่ มขี อ้ ดี ขอ้ เสีย จุดแข็ง จดุ บกพรอ่ งอะไรบา้ งอะไรบ้าง เพ่อืใหเ้ กดิ การเรียนร้สู ำหรับเปน็ บทเรียนในการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป อนั เป็นไปตามแนวคดิ learning by doing คือ การเรียนรู้จากการปฏบิ ัตงิ าน หรอื เรียนรจู้ ากการกระทำ ที่กลา่ วมาจะเหน็ วา่ ทัง้ จร PDCA และ PAOR นัน้ มุ่งดำเนนิ การให้เกิดคุณภาพให้ถงึ ระดบั ทตี่ อ้ งทัง้ คู่ โดยวงจร PDCAนนั้ ใชเ้ ป็นวงจรแรกหรือวงจรหลกั ท่ีใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ และ ใชว้ งจร PAOR สนบั สนุนการแกป้ ัญหานกั เรยี นรายบคุ คล ดว้ ยนวัตกรรม ท่แี ตกตา่ งจากท่ีใช้ในวงจร PDCA อนึ่ง การพัฒนาผู้เรียนด้วยวงจร PAOR น้ันอาจใช้ได้ท้ังเพ่ือแก้ไขปัญหานักเรียนท่ีมีคุณภาพไม่ถึงระดับที่ต้องการหรือ ใช้ได้ทง้ั ในการยกระดับคุณภาพผเู้ รยี นให้สงู ข้ึนถงึ ขึดสดุ ความสามารถของผเู้ รียน ซึง่ ท้ังสองแนวทางกค็ ือการพฒั นาผูเ้ รียนเช่นกนั การใช้วงจรวิจัยปฏิบัติการในช้ันเรียนนอกจากจะทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนาแล้ว ยังก่อให้เกิดองค์ความรู้ถึงเทคนคิ วธิ กี าร หรือ นวัตกรรม กบั ความสามารถในการพฒั นาผู้เรียน ว่าสามารถปญั หาได้ หรือ ไม่ได้ ครทู ว่ี ิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในช้ันเรียนจึงเป็นผู้ที่สะสมเทคนิวิธีการมากมายสำหรับการพัฒนาผู้เรียนท่ีมีประสิทธิภาพ จึงเป็นครูมืออาชีพอย่างแท้จริง และเป็นครูท่ีสามารถทำให้การจัดการเรียนรู้และการวิจัยควบคู่กันไปตามจตนารมณ์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 เพื่อการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งท่ีกล่าวมาน้ัน ผู้เขียนเห็นว่าน่าจะเป็นแนวทางหนึ่งสำหรับการใช้การวิจัยเพ่ือการสนับสนุนกระบวนการจ ดั การเรยี นรู้เอกสารอ้างองิ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาต.ิ (2545). พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545.กรงุ เทพมหานคร: พรกิ หวานกราฟฟคิ . Deming, W. Edwards (1986). Out of the Crisis. MIT Center for Advanced Engineering Study. Kemmis, S. & McTaggert, R. (1988). The action research planner. 3rd ed. Victoria, Australia: Deakin University Press. Retrieved March 30, 2004, available from:http://www.stanns.org/RT/Action%20Research%20Spiral.pdf ครุสารธนบรุ ี 17

คนดีคนเกง่ ครุศาสตร์คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุรี ขอแสดงความยินดีเนอื่ งในโอกาสท่ี คณาจารย์ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นงเนาว์ อทุ ุมพร อาจารย์ ดร.สมจินตนา จิรายุกุล ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพนั ธ์ สหพัฒนาไดร้ บั รางวัลนกั วิจัยดีเดน่ คณะครุศาสตร์ ได้รับรางวัลบุคลากรสายสอนดีเด่น ไดร้ ับรางวลั นกั วิจยั ทีม่ ีผลงานเปน็ ทย่ี อมรับในวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ในวนั คลา้ ยวันสถาปนามหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี ในวนั คล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559 ประจำปี พ.ศ. 2559 ประจำปี พ.ศ. 2559อาจารย์ ดร.นภิ ากรณ์ คำเจริญ อาจารย์ ดร.กรชิ ภทั รภาคนิ อาจารย์ ดร.กรชิ ภัทรภาคิน อาจารย์ สมิทธิ์ เจอื จนิ ดา ได้รบั รางวลั นักวจิ ยั ไดร้ บั รางวลั นกั วจิ ยั ไดร้ บั รางวัลนกั วิจยั ไดร้ ับรางวลั นักวจิ ัย ท่มี ีผลงานเปน็ ท่ียอมรับ ทม่ี ผี ลงานเปน็ ทย่ี อมรบั ทีม่ ีผลงานเป็นท่ยี อมรับ ที่มผี ลงานเป็นท่ียอมรบั ในวันคล้ายวนั สถาปนา ในวนั คลา้ ยวนั สถาปนา ในวนั คลา้ ยวันสถาปนา ในวนั คลา้ ยวันสถาปนา มหาวิทยาลยั ราชภัฏธนบุรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ธนบรุ ี มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบุรี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏธนบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559 ประจำปี พ.ศ. 2559 ประจำปี พ.ศ. 2559 ประจำปี พ.ศ. 2559 นกั ศึกษา นางสาวสุลาวลั ย์ บุรจี นั ทร์ นายอธริ าช มบี ญุ ไดร้ ับรางวลั เกยี รตินยิ มอนั ดับ 1 เหรียญทอง นกั ศึกษาสาขาวชิ าภาษาไทย ได้รบั รางวลั นกั ศึกษาปัจจบุ ันดเี ดน่ ในงานพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ในวันคล้ายวนั สถาปนามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏธนบรุ ี มหาวิทยาลัยราชภฏั ธนบรุ ี ประจำปีการศึกษา 2558 ประจำปี พ.ศ. 255918 ครสุ ารธนบุรี

ภาพกิจกรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2559กิจกรรมแหเ่ ทยี นพรรษา กจิ กรรมปฐมนเิ ทศนักศึกษาใหม่ โครงการอบรมคุณธรรม จรยิ ธรรม โครงการพัฒนาข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา และจรรยาบรรณวิชาชีพครู กอ่ นแตง่ ต้ังให้มีและเลื่อนเปว็ ทิ ยฐานะครูเชย่ี วชาญ รุ่นท่ี 2แกน่ กั ศกึ ษาหลักสูตรปรญิ ญาบัณฑิตวิชาชพี ครู ครุสารธนบรุ ี 19

20 ครุสารธนบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook