Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore presentiom

presentiom

Published by supawadee.no2525, 2019-06-16 03:50:47

Description: presentiom

Search

Read the Text Version

การนาเสนอผลงาน ทางวชิ าการ อาจารย์วนั จรัตน์ เดชวลิ ยั [email protected]

การเตรียมการหรือการวางแผนนาเสนองาน • หน้าทข่ี องผู้นาเสนองาน • การวเิ คราะห์ผู้ฟัง • การกาหนดเนือ้ หา • ข้นั ตอนการนาเสนอ

การนาเสนอ (Presentation) • การถ่ายทอดความคดิ ในเร่ืองหน่ึงเร่ืองใดท่ีมี วตั ถุประสงค์แน่ชัดให้ผู้ฟังเข้าใจ ภายในเวลา จากดั

วตั ถุประสงค์ในการนาเสนอ • การนาเสนอเพอื่ เสนอข้อมูลข่าวสาร • การนาเสนอเพอื่ แลกเปลยี่ นความเห็นหรือข้อความ เห็นชอบ • เพอื่ แนะนาข้อมูลต่าง ๆ • เพอ่ื โน้มน้าว หรือ เพอื่ การตดั สินใจ

รูปแบบการนาเสนอ แบบท่ี 1 การถ่ายทอดความรู้ จากผู้พูดสู่ผู้ฟัง แบบท่ี 2 การรายงาน เป็ นการนาเสนอข้อมูลเกย่ี วกบั การ ปฏบิ ตั งิ านตลอดจนความก้าวหน้าในการปฏบิ ตั งิ าน แบบท่ี 3 การนาเสนอผลงาน หรือ โครงการ ท่ศี ึกษาค้นคว้า แบบที่ 4 การนาเสนอความคดิ เป็ นการนาเสนอความคดิ ของ ตนต่อกล่มุ หรือทปี่ ระชุม

องค์ประกอบในการ นาเสนอ • บทเสนอ (script) หรือเนือ้ หาสาระท่นี าเสนอ • ระยะเวลาท่นี าเสนอ ไม่เกนิ 20 นาที • ผู้นาเสนอ • อุปกรณ์ประกอบการนาเสนอ ได้แก่ คอมพวิ เตอร์และ เคร่ืองฉาย ภาพ ฯลฯ •การฝึ กซ้อมนาเสนอตามบทนาเสนอ

การเตรียมการหรือการวางแผนนาเสนองาน • หน้าทข่ี องผู้นาเสนองาน • การกาหนดเนือ้ หา • การวเิ คราะห์ผู้ฟัง • ข้นั ตอนการนาเสนอ

เราใช้ “ทกั ษะ” อะไรบ้างในการเสนองาน 1. ทกั ษะในการวางแผน&จดั รูปแบบการนาเสนอ การเตรียมตวั “Planning & Organizing” Skill นาเสนอ 2. ทักษะในการคดิ ”และ การขายความคดิ การพฒั นา ข้อเสนอ 3. ทักษะในการส่ือสาร “Communication Skill การนาเสนอ

ทักษะในการนาเสนอ “Planning & Organizing” Skill การจดั ทาเอกสารและการเลอื กใช้ สื่อ ประกอบการนาเสนอ

Human Perception 83% 10% 4% 2% 1%

การเตรียมส่ือPower Point การนาเสนอ 1. การร่าง (Outline) 2. ส่วนประกอบภาพน่ิง (Slide Structure) 3. แบบตัวอกั ษร (Fonts) 4. สีของตัวอกั ษร (Colour) 5. ภาพพนื้ หลงั (Background)

การเตรียมส่ือPower Point การนาเสนอ 6. ตาราง (Graphs) 7. การสะกดคาและไวยากรณ์ (Spelling and Grammar) 8. ส่วนสุดท้ายของการนาเสนอ (Conclusions) 9. คาถาม (Questions)

การร่าง (Outlines) ส่วนประกอบภาพนิ่ง (Slide Structure) 1. ร่างภาพนิ่งทจี่ ะใช้นาเสนอ 1-2 แบบก่อนทาของจริง 2. กาหนดหัวข้อสาคญั ก่อนจะร่าง 3. นาเสนอ 1-2 สไลด์ ต่อนาที 4. เนือ้ ความเขยี นในรูปแบบหัวข้อ มี 4-5 หัวข้อ ต่อสไลด์ 5. หลกี เลย่ี งการใช้คาฟ่ ุมเฟื อย ใช้คาทส่ี าคญั และจาเป็ น

การร่าง (Outlines) ส่วนประกอบภาพนิ่ง Slide Structure 6. ควรนาเสนอทลี ะหัวข้อเพอื่ ช่วยให้ผู้นาเสนออธิบายได้ ตรงกบั หัวข้อน้ันๆ 7. การนาเสนอควรมกี ารยกตวั อย่างประกอบ 8. หลกี เลยี่ งการใช้ภาพเคลอื่ นไหวถ้าจะใช้ควรใช้ ภาพเคลอื่ นไหวทม่ี คี วามเกยี่ วข้องกบั เร่ืองท่ีนาเสนอ

แบบตัวอกั ษร Fonts 1. ใช้ขนาดตัวอกั ษรควร 32 p ขนึ้ ไป 2. ควรใช้ขนาดตัวอกั ษรท่แี ตกต่างกนั ระหว่างหัวข้อหลกั และหัวข้อรอง 3. ถ้าใช้ตวั อกั ษรทเี่ ลก็ การนาเสนอจะไม่น่าสนใจ 4. ใช้ขนาดตวั อกั ษรใหญ่เมือ่ ต้องการเน้นข้อความเท่าน้ัน แบบตัวอกั ษรควรใช้แบบเดียวกนั ตลอดเนือ้ หา ไม่ควรใช้แบบอกั ษรทีอ่ ่านยาก

สีของตวั อกั ษร Colour 1. ใช้สีตวั อกั ษรให้แตกต่างกบั ภาพพนื้ หลงั 2. ใช้สีกาหนดความสาคญั ของตวั อกั ษร 3. ใช้สีเน้นข้อความสาคญั 4. อย่าใช้สีตัวอกั ษรทม่ี ีความคล้ายคลงึ กบั ภาพพนื้ หลงั 5. อย่าใช้สีตัวอกั ษรเพอ่ื ตกแต่งภาพนิ่งมากเพราะจะทา ให้ผู้ชมเกดิ ความราคาญหรือใช้สีตวั อกั ษรทแี่ ตกต่าง กนั เกนิ ความจาเป็ น

ภาพพนื้ หลงั Background และตารางGraphs 1. เลอื กใช้ภาพพนื้ หลงั ทด่ี ูเรียบง่ายสบายตา หรือ เลอื กใช้ภาพพนื้ หลงั ที่โทนสีมีความสว่าง 2. ควรใช้ภาพพนื้ หลงั แบบเดียวกนั หมดในการนาเสนอ 3. หลกี เลยี่ งภาพพนื้ หลงั ทที่ าให้ยากต่อการอ่าน 4. ควรใช้ตารางในการนาเสนอเพราะเข้าใจง่าย 5. เม่อื นาเสนอตารางควรใส่หัวข้อทุกคร้ัง 6. ตารางอย่าให้เลก็ เกนิ ไป

ข้นั สุดท้ายการเตรียมและการนาเสนอ (Conclusion ) 1. ก่อนจบเนือ้ หาควรมีหน้ารองสุดท้ายของภาพนิ่ง 1.1 สรุปหัวข้อสาคญั ของการนาเสนอ 1.2 เสนอแนะเนือ้ หาทนี่ าเสนอ 2. ตรวจสอบภาพนิ่งเพอื่ ตรวจสอบการสะกดการันต์ พร้อม แก้ไขให้ถูกต้องก่อนนาเสนอ 3. Questions? คาถาม? 3.1 จบการนาเสนอด้วยคาถามง่ายๆ 3.2 เชิญผู้ฟังการนาเสนอ ต้งั คาถามทสี่ งสัย

ทกั ษะในการคดิ ”และ การขาย” ความคดิ

โครงสร้างของการนาเสนอ(ข้อเสนอใหม่ๆ) 1.หัวข้อในการนาเสนอทม่ี า 2.สถานการณ์ปัจจุบัน 3. ข้อวพิ ากษ์วจิ ารณ์สาหรับ สถานการณ์ปัจจุบัน 4. จุดมุ่งหมาย ความต้องการ 5. ข้อเสนอแนะหรือประโยชน์ทจ่ี ะได้รับ 6. คาสรุปจบ

ทกั ษะในการสื่อสาร “Communication” Skill การนาเสนอผลงานทางวชิ าการ

ลกั ษณะการนาเสนอผลงานที่ดี ทฤษฎี 3 สบาย ฟังสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ

ข้นั ตอนการนาเสนอ เตรียมผู้ฟัง กจิ กรรมนาเสนอ รายละเอยี ด เวลา/สื่อ เทคนิค เสนอเนือ้ หา กระตุ้นความสนใจ 10% แจ้งวตั ถุประสงค์ ตอบคาถาม นาเสนอเนือ้ หา 80% สรุป ตัวอย่าง ตอบคาถาม 10% สรุปเนือ้ หา

การเตรียมตวั ในการนาเสนอ 1. วเิ คราะห์สภาพการณ์ 2. ผู้ฟัง ( เพศ อายุ การศึกษา / อาชีพ จานวน ) 3. เนือ้ หา / ข้อมูลในการนาเสนอ 4. กาหนดอปุ กรณ์ประกอบการนาเสนอ 5. ซักซ้อม ทาโครงร่างในการนาเสนอ

การวางแผนการนาเสนอ 1. ผู้ฟัง : จานวน, เพศ , วยั , อาชีพ , ระดบั การศึกษา 2. การวเิ คราะห์โอกาสและเวลา : 2.1 โอกาสทจ่ี ะมีการชุมนุมกนั น้ันเป็ นโอกาสอะไร 2.2 สถานท่ี หอประชุม กลางแจ้ง 2.3 มรี ายการอน่ื ๆอกี หรือไม่ 2.4 เวลาทก่ี าหนดให้ 3. จุดมุ่งหมายในการพูด 25

ข้นั ตอนการนาเสนอผลงานทางวชิ าการ • คาปฏิสันถารกบั ผู้ฟัง (Address) • การนาเข้าสู่เรื่อง (Approach) • เนือ้ เรื่อง (Body) • สรุป (Conclusion) 26

โครงร่างในการนาเสนอ • ช่ือเร่ือง............................................................................... • จุดมุ่งหมาย......................................................................... • อารัมภบท  ประโยคเรียกความสนใจผู้ฟัง  การสร้างความสัมพนั ธ์  ประเดน็ สาคญั ที่จะนาเสนอ

การปฏิสันถาร การปฏิสันถาร ทางการ - ตาแหน่งในพธิ ีการ ตาแหน่งรอง กล่มุ ผู้ฟังกล่มุ ใหญ่ – ( ทุกคน ทุกท่าน ท้งั หลาย ) ไม่เป็ นทางการ - สวสั ด/ี เรียน / กราบเรียน – ตาแหน่งในพธิ ี - ตาแหน่งรองลงมา – กล่มุ ผู้ฟังกล่มุ ใหญ่ – ทร่ี ัก/ที่เคารพ/ ที่นับถือ ( ทุกคน ทุกท่าน ท้ังหลาย ) 28

ตวั อย่างคาปฏสิ ันถาร “ “ทา่ นผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทา่ นผู้พพิ ากษา หวั หน้าศาล และทา่ นผมู้ เี กยี รตทิ ุกทา่ น “”” “ทา่ นอธกิ ารบดี ทา่ นคณาจารย์ และนกั ศึกษาที่ รกั ทุกทา่ น….” ถ้าผู้ฟังเป็ นบคุ คลกลุม่ เดยี วกนั ควรหาคามา ทกั ทายให้มคี วามหมายเหมาะสมกบั คุณสมบตั ิ ของผฟู้ งั ส่วนใหญ่ เช่น “ เพอ่ื นชาว…..รกั ทกุ ทา่ น…” 29

ตวั อย่างคาปฏิสันถาร • ท่านอธิการบดี ท่านอาจารย์ และนักศึกษาทร่ี ักทุกท่าน • ท่านผู้ว่าราชการจงั หวดั ท่านผู้พพิ ากษาหัวหน้าศาลและท่านผู้มี เกยี รตทิ ุกท่าน ถ้าผู้ฟังเป็ นกล่มุ เดยี วกนั ควรหาคามาทกั ทายให้มีความหมาย เหมาะสมกบั คุณสมบตั ขิ องผู้ฟังส่วนใหญ่ • เพอื่ นชาว.....ทร่ี ักทุกท่าน • คุณผู้หญงิ ทรี่ ักความงามทุกท่าน

หลกั การเปิ ดฉากการพูด 31 หลกั การเปิ ดฉาก - ไม่ยดื ยาว - เข้าเนือ้ หา - พาจดจ่อ รูปแบบการเปิ ดฉากการพูดทด่ี ี - พาดหัวข่าว - คาถาม - คาชม - - คารื่นเริง - คาเชิงกวี – เสนอตัวอย่าง รูปแบบการพูดทไี่ ม่ดี - การออกตวั ถ่อมตวั -เยนิ่ เย้อ นอกประเดน็ หรือ - “ วนั นีจ้ ะพดู เร่ือง ”

เนือ้ หาในการนาเสนอ • กาหนดประเดน็ ให้ชัดเจน • เตรียมเน้นตอนสาคญั ให้เด่นชัดด้วยการพูดซ้า • การนาตัวอย่างมาประกอบเนือ้ เรื่องต้องให้มีความ เหมาะสม 32

โครงร่างในการนาเสนอ 1. ประเดน็ หลกั 1 ประเดน็ ย่อย 1 , 2 (พร้อมตวั อย่างสนับสนุน) 2. ประเดน็ หลกั ประเดน็ ย่อย 1 , 2 (พร้อมตวั อย่างสนับสนุน) 3. ประเดน็ หลกั ประเดน็ ย่อย 1 , 2 (พร้อมตวั อย่างสนับสนุน)

สรุปเนือ้ หา • สรุปความ : เป็นการเนน้ ย้าเฉพาะจุดสาคญั ท่ีสุดของเร่ืองอีกคร้ัง • แบบคารมปาก : คือจบดว้ ยการนาเอาสุภาษิต คาพงั เพย โคลง กลอนมาใช้ เช่น “ผมเป็นคนเดินชา้ แต่ผมไม่เคยเดินถอยหลงั ” • แบบฝากให้คดิ : เพ่ือการสานต่อเจตนารมณ์ 34

สรุป หรือ คาลงท้าย : ไม่เหมาะสม • “คงจะไดค้ วามรู้ไม่มากกน็ อ้ ย” • “ขออภยั ที่พดู ไม่ดีเพราะกาลงั ไม่สบาย” • “ขอจบเพียงเท่าน้ี” • “สมควรแก่เวลาแลว้ ขอขอบคุณ” • “เร่ืองท่ีพดู กม็ ีเท่าน้ีมีใครจะถามอะไรไหม ” • “สุดทา้ ยน้ีขอขอบคุณทุก ๆ ท่านที่ต้งั ใจฟังจนจบ” 35

ทกั ษะพนื้ ฐานในการพดู มี ๕ ประการ • การใช้สายตา • การวางท่า • การใช้ท่าท่างประกอบ • การเคลอ่ื นไหว • การแสดงออกทางสีหน้า

ข้อห้ามในการใช้สายตา • อย่าจ้องมองไปทใี่ ดทห่ี นึ่ง จุดใดจุดหนึ่ง • อย่าจ้องมองหรือใช้สายตาอย่างไร้จุดหมาย • อย่ากวาดสายตาให้เป็ นระบบจนผู้ฟังจบั ได้ • จงละเว้นสายตาทไ่ี ม่สุภาพ • ไม่ควรละเว้นสายตาจากผู้ฟังกล่มุ หน่ึงนานจนเกนิ ไป • ไม่ควรตนื่ เต้นและตกใจกบั สายตาของผู้ฟังทป่ี ระสานมา 37

บุคลกิ ภาพท่าทาง : ข้อแนะนา • บุคลกิ ภาพท่าทาง ต้องให้เป็ นธรรมชาติ การแต่งกายสุภาพดู สบายตา และท่าทางไม่ฝื นทาหรือเลยี นแบบผู้อน่ื • ใช้ท่าทางให้สัมพนั ธ์กบั เนือ้ ความการพดู • เท้าแยกจากกนั เลก็ น้อย เพอื่ ง่ายต่อการทรงตวั • การทรงตัวทีด่ ตี ้องไม่เกร็ง ไม่โค้งงอ และไม่เอนเอยี ง • ไม่เท้าแขนทแ่ี ท่นพูด หรือใช้แท่นเป็ นทพี่ กั ผ่อน • ถ้าไม่จาเป็ นกไ็ ม่ควรจบั ไมโครโฟน อาจวางมอื ทแ่ี ท่นได้ 38

การใช้มอื และนิว้ ประกอบท่าทาง • มอื เคลอื่ นไหวประกอบการพูดให้ความหมายของข้อความท่ี กาลงั พูดเด่นชัดขนึ้ ได้ • การใช้นิว้ : การบอกทศิ ทาง การเน้นความสาคญั • การยกมอื ท้งั สอง : เพอ่ื แสดงระดบั ว่าส่ิงหน่ึงสูง ส่วนอกี ส่ิง หนง่ึ ตา่ กว่า หรือเท่าเทียมกนั • การผายมือ : การเชิญชวน หรืออนุญาต • การแบบมือ : การให้ หรือขอร้อง 39

ข้อพงึ ปฏิบตั ใิ นการใช้ท่าทาง • พงึ ระวงั การใช้ท่าทางทตี่ รงกนั ข้ามกบั คาพดู เช่น การชี้ผดิ ทาง หรือ แสดงท่าทางว่า เลก็ , ใหญ่ • ฝึ กการใช้ท่าทางประกอบให้คล่องแคล่วและมั่นใจ • ไม่ควรเลยี นแบบท่าทางใครมาท้งั หมด จนขาดความเป็ นตวั ของตวั เอง • การพูดในหลายโอกาสห้ามใช้ท่าทางประกอบ การกล่าว รายงานอย่างพธิ ีกร การให้โอวาท การอ่านข่าวทางโทรทศั น์ 40

การเคลอ่ื นไหว • “ มนุษย์ชองสิ่งทเี่ คลอื่ นไหว และเบอ่ื หน่ายง่ายในสิ่งทีไ่ ม่ เคลอื่ นไหว ” การเคลอื่ นไหวในขณะทพ่ี ดู หมายความว่า การ เคลอ่ื นย้ายตาแหน่งจากการทผี่ ู้พดู อยู่ ณ จุดหนึ่งไปยงั อกี จุด หนง่ึ เช่น • การเคลอื่ นเข้าไปใกล้ผู้ฟังหรือการเคลอ่ื นย้ายไปข้าง ๆ • การถอยหลงั กลบั สู่ทเี่ ดมิ • ตลอดจนเคลอ่ื นไปยงั แผนภูมิ เพอ่ื ชี้หรือยา้ สิ่งใดส่ิงหนึ่ง 41

การใช้เสียงในการนาเสนอ • เสียงจะมที ่วงทานอง • เสียงจะต้องเป็ นเสียงทเ่ี สนาะหู • เสียงควรมชี ่วงเวลาแตกต่างกนั มากพอ • เสียงมีความชัดเจนและถูกต้อง • เสียงต้องดงั พอสมควร 42

สรุปข้อบกพร่องทพี่ บในการนาเสนอ • บุคลกิ ภาพไม่ดี • ไม่สามารถนาเสนอได้ตามแผนที่วางไว้ • ใช้ภาษาไม่ถูกต้อง /เหมาะสม • การใช้นา้ เสียงเบา จงั หวะพูดไม่น่าสนใจ • ควบคุมสถานการณ์ขณะนาเสนอไม่ได้ • ปัญหาเทคนิคการใช้สื่อ / ไม่เปิ ดโอกาสให้ผู้ฟังมสี ่วนร่วม

สรุป การ นาเสนอ ฟังสบายหู ดูสบายตา พาสบายใจ

Kobkoon /Ka


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook