Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore KM แก้ไขระเบียบข้อบังคับ

KM แก้ไขระเบียบข้อบังคับ

Published by CIG Chanthaburi, 2021-08-25 04:31:43

Description: KM แก้ไขระเบียบข้อบังคับ

Search

Read the Text Version

KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM) เรื่อง แนวทางการปฏบิ ตั ิเกยี่ วกับ การแก้ไขข้อบังคับ และระเบยี บของสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัดจนั ทบรุ ี สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จันทบุรี

คำนำ สหกรณ์ คือ คณะบุคคลซึ่งร่วมกันดำเนินกิจการเพ่ือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 และสหกรณ์ท่ีได้จดทะเบียนแล้วมีฐานะเป็นนิติบุคคล ดังน้ัน “สหกรณ์” จึงเป็นนิติบุคคลซ่ึงมีขึ้นด้วยอาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 มิใช่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดังเช่นนิติบุคคลอื่น ๆ ทั่วไป เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด มูลนิธิ หรือสมาคม แต่สหกรณ์ ก็มีสิทธิและ หน้าท่ีเช่นเดียวกับนิติบุคคลอื่น ๆ ดังกล่าวตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และพระราชบัญญัติสหกรณ์หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าที่หรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัติ หรอื กำหนดไว้ในกฎหมาย ขอ้ บังคับ หรือตราสารจัดตั้ง สหกรณ์ดำเนินกิจการภายใต้กรอบแห่งกฎหมายทั้งปวง แต่ต้องไม่ขัดกับข้อบังคับสหกรณ์ และพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขเพ่ิมเติมฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2562 ซ่ึงกำหนดให้สหกรณ์ มีอำนาจกระทำการตามวัตถุประสงค์ และกฎหมาย สหกรณ์ ดังนั้นสหกรณ์จำต้องมีข้อบังคับและระเบียบ เป็นกรอบในการดำเนนิ งาน การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับ การแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ จัดทำข้ึนโดยคณะทำงานของ สำนักงานสหกรณ์จงั หวัดจันทบรุ ี โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติเก่ียวกับการแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ ให้เป็นไปตามกฎหมาย และตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และเพ่ือให้ผู้เก่ียวข้อง ใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะการแนะนําเกี่ยวกับการแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ หวังว่าการจัดการความรู (Knowledge Management : KM) เรื่อง แนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับ การแก้ไข ข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ คงจะเป็นประโยชน์แก่สหกรณ์และผู้มีหน้าท่ีแนะนําส่งเสริมและกำกับ ดูแลสหกรณในการใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหน้าที่ และไม่สงวนสิทธิ์สำหรับผู้สนใจศึกษาเพื่อเป็นความรู้ หรอื นําไปใชป้ ระโยชนในการทำงานตอ่ ไป คณะผจู้ ดั ทำ สงิ หาคม 2564 สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบรุ ี

สารบัญ หน้า บทที่ 1 : บทนำ 1 • หลกั การและเหตผุ ล 1 • คำนยิ าม 2 • มลู เหตุของการจดั การความรู้ 2 • วตั ถุประสงค์ 2 • องค์ความร้ทู ีเ่ กยี่ วขอ้ ง 3 บทที่ 2 : แนวปฏิบตั ใิ นการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บังคับของสหกรณ์ 6-7 • แผนผงั แสดงการปฏบิ ัติการแก้ไขเพิม่ เตมิ ข้อบังคบั 8 • วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการแกไ้ ขเพ่ิมเติมขอ้ บังคบั 9 บทท่ี 3 การขอจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเตมิ ข้อบังคบั บางขอ้ 10 – 11 บทที่ 4 การขอจดทะเบียนแก้ไขเพ่มิ เติมโดยเปล่ียนแปลงใช้ขอ้ บังคบั ใหม่ 11 - 12 • ตัวอยา่ งการขอจดทะเบยี นแก้ไขเพ่มิ เตมิ โดยเปลย่ี นใช้ขอ้ บงั คับใหม่ 13 - 21 บทท่ี 5 ตัวอย่างการจัดทำข้อบังคบั สหกรณ์ ฉบับแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ 21 • ตวั อยา่ งการจดั บันทกึ รายงานการประชุม 31 บทที่ 6 รายละเอียดของข้อบังคับทีต่ ้องตรวจสอบเปน็ พิเศษหรอื ผิดพลาดบ่อย 33 บทท่ี 7 : แนวปฏิบตั ใิ นการแกไ้ ขเพม่ิ เติมระเบยี บของสหกรณ์ 35 36 • แผนผงั แสดงการปฏบิ ตั ิการกำหนดระเบยี บสหกรณ์ (กรณรี ะเบียบทน่ี ายทะเบียนสหกรณไ์ มต่ ้องให้ความเหน็ ชอบ) 37 • แผนผงั แสดงการปฏบิ ัติการกำหนดระเบยี บสหกรณ์ (กรณีระเบียบที่นายทะเบยี นสหกรณ์ใหค้ วามเหน็ ชอบ) บทท่ี 8 การกำหนดระเบียบสหกรณ์ 38 • รูปแบบของระเบยี บ 39 - กรณสี หกรณ์ไม่เคยกำหนดระเบียบน้นั ๆ ขนึ้ ถือใชม้ าก่อน หรอื กำหนดข้ึนถือใชค้ ร้งั แรก 40 - กรณีสหกรณ์เคยกำหนดระเบยี บในเรอื่ งนั้นๆ ขึ้นถือใช้แล้ว แตม่ กี ารแก้ไขเพม่ิ เตมิ 42 43 • คำแนะนำการแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ระเบยี บต่างๆ ของสหกรณ์ 44 • ตัวอยา่ งตารางเปรียบเทยี บการแก้ไขเพิ่มเตมิ ระเบยี บ (แบบ ท.ข.3) • คำแนะนำการจดั ทำระเบียบการรบั เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ เงินฝากประจำ และเงนิ ฝากประจำที่ไดร้ บั การยกเว้นภาษี สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี

ภาคผนวก ภาคผนวก 1 หน้า • ระเบยี บ คำสั่ง หนังสอื คำแนะนําต่าง ๆ ของนายทะเบยี นสหกรณ และกรมสงเสริมสหกรณ 48-49 ภาคผนวก 2 50 • หนงั สอื กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ที่ กษ 1115/048 ลงวนั ท่ี 29 มิถนุ ายน 2553 51 เรอื่ ง เห็นชอบใหส้ หกรณถ์ ือใชร้ ะเบยี บว่าด้วยการรับฝากเงินจากสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์ • หนงั สอื กรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ที่ กษ 1115/6062 ลงวนั ท่ี 9 มถิ นุ ายน 2560 52 เรื่อง เหน็ ชอบให้สหกรณถ์ ือใชร้ ะเบยี บว่าดว้ ยการใหส้ หกรณ์อ่ืนกยู้ ืมเงนิ (สำหรับสหกรณท์ ุกประเภทยกเวน้ สหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ียนขนาดใหญ่ที่มีสนิ ทรัพยม์ ากกว่า 5,000 ล้านบาท) • หนังสอื กรมส่งเสริมสหกรณ์ ท่ี กษ 1110/ว.1 ลงวันท่ี 16 มีนาคม 2541 53 -54 เรอ่ื ง เหน็ ชอบใหส้ หกรณ์ถือใชร้ ะเบียบว่าดว้ ยเงนิ ฝาก • หนงั สือกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ที่ กษ 1115/6062 ลงวันที่ 1 มิถนุ ายน 2560 55 เรือ่ ง เหน็ ชอบใหส้ หกรณ์ถือใชร้ า่ งระเบยี บว่าด้วยการให้สหกรณ์อ่นื กยู้ ืมเงิน (สำหรบั สหกรณ์ออมทรพั ย์ และสหกรณเ์ ครดิตยเู นี่ยนขนาดใหญ่ ท่มี สี นิ ทรัพยม์ ากกว่า 5,000 ลา้ นบาทขึน้ ไปถือใช้) • หนังสอื กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ที่ กษ 1115/6060 ลงวนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2560 56 เร่อื ง เหน็ ชอบให้สหกรณถ์ อื ใช้ระเบียบว่าด้วยการรบั ฝากเงนิ จากสหกรณ์อ่นื • หนังสือกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ท่ี กษ 1115/67 ลงวันท่ี 27 พฤษภาคม 2562 57 เรอื่ ง เห็นชอบให้สหกรณ์ถอื ใชร้ ะเบยี บวา่ ด้วยการรบั ฝากเงนิ จากนิติบุคคล • ประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ เรอ่ื ง กำหนดอตั ราดอกเบี้ยเงินรับฝากของสหกรณ์ 58 ประกาศ ณ วันท่ี 29 เมษายน 2564 • หนังสือกรมสง่ เสรมิ สหกรณ์ ท่ี กษ 1108/346 ลงวันที่ 15 มกราคม 2550 59-60 เร่ือง การกำหนดระเบยี บขนึ้ ถอื ใช้ของสหกรณ์ • รา่ งระเบียบสหกรณ์ (นายทะเบียนสหกรณ์เห็นชอบ) 61 - ระเบยี บว่าดว้ ยการรับเงินฝากออมทรัพย์และเงนิ ฝากประจำ 62-67 - ระเบียบว่าดว้ ยเงนิ ฝากออมทรัพย์พิเศษ 68-71 - ระเบียบว่าด้วยเงนิ ฝากประจำ 24 เดือน 72-74 - ระเบียบวา่ ดว้ ยการรบั ฝากเงินจากสหกรณ์อ่ืน 75-78 - ระเบยี บวา่ ดว้ ยการให้สหกรณอ์ ่ืนกยู้ ืมเงนิ 79-81 (สำหรบั สหกรณ์ทกุ ประเภทยกเว้นสหกรณอ์ อมทรัพยแ์ ละสหกรณเ์ ครดติ ยูเนย่ี นขนาดใหญ่ ทมี่ สี นิ ทรัพยม์ ากกวา่ 5,000 ลา้ นบาท) - ระเบียบว่าด้วยการให้สหกรณอ์ นื่ กูย้ ืมเงิน 82-84 (สำหรับสหกรณอ์ อมทรัพย์ และสหกรณเ์ ครดติ ยูเน่ยี นขนาดใหญ่ ท่ีมสี นิ ทรัพย์มากกวา่ 5,000 ล้านบาทขึน้ ไปถอื ใช)้ - ระเบยี บวา่ ด้วยการรบั ฝากเงินจากสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์ 85-88 - ระเบยี บวา่ ด้วยการรับฝากเงินจากนิตบิ คุ คล 89-92 • รา่ งระเบยี บอืน่ ๆ สามารถดาวน์โหลด ไดท้ ่ีเว็บไซต์ สำนักนายทะเบยี นและกฎหมาย กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ http://office.cpd.go.th/rlo/index.php/2016-05-23-07-13-21/2016-06-02-02-11-30/2016-06-02-02-27-11 สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จันทบุรี

๑ บทท่ี 1 บทนำ การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) แนวทางการปฏบิ ัตเิ กีย่ วกบั การแก้ไขข้อบงั คบั และระเบียบของสหกรณ์ 1. หลกั การและเหตผุ ล สหกรณ์คือ คณะบุคคลซ่ึงร่วมกันดำเนินกิจการเพ่ือประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยช่วยตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน และได้จดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ และสหกรณ์ท่ีได้จดทะเบียนแลว้ มฐี านะเป็นนติ ิบุคคล ดงั น้ัน “สหกรณ์” จงึ เปน็ นิตบิ ุคคลซงึ่ มีขึ้นด้วยอาศัย อำนาจแห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ มิใช่ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ดังเช่นนิติบุคคลอ่ืน ๆ ทั่วไป เช่น ห้างหุ้นส่วนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล บริษัทจำกัด มูลนิธิ หรือสมาคม แต่สหกรณ์ กม็ สี ิทธิและหน้าที่เชน่ เดียวกับนิติบุคคลอ่ืน ดังกล่าวตามบทบญั ญัตแิ หง่ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และพระราชบัญญัติสหกรณ์หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบแห่งอำนาจหน้าท่ีหรือวัตถุประสงค์ดังได้บัญญัติ หรือกำหนดไวใ้ นกฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดต้ังสหกรณ์ดำเนินกิจการภายใต้กรอบแห่งกฎหมายท้งั ปวง แต่ต้องไม่ขัดกับข้อบังคับสหกรณ์และพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 ซ่ึงกำหนดให้สหกรณ์มีอำนาจ กระทำการตามวตั ถปุ ระสงค์ และกฎหมาย สหกรณ์ ดงั นี้ “มาตรา ๔๖ เพ่อื ปฏบิ ัตใิ ห้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ใหส้ หกรณ์มอี ำนาจกระทำการดงั ตอ่ ไปน้ไี ด้ (๑) ดำเนินธุรกิจ การผลิต การค้า การบริการ และอุตสาหกรรมเพื่อประโยชน์ ของสมาชิก (๒) ให้สวัสดิการหรอื การสงเคราะห์ตามสมควรแก่สมาชิกและครอบครวั (๓) ให้ความช่วยเหลือทางวชิ าการแก่สมาชิก (๔) ขอหรือรับความช่วยเหลือทางวิชาการจากทางราชการ หน่วยงาน ของตา่ งประเทศหรือบคุ คลอื่นใด (๕) รับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจากสมาชิกหรือสหกรณ์อ่ืน หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ ซ่ึงมีสมาชิกของสมาคมน้ันไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงเป็นสมาชิกของสหกรณ์ ผู้รับฝากเงิน หรือนิติบุคคลซึ่งมีบุคลากรหรือลูกจ้างไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของนิติบุคคลน้ันเป็นสมาชิก ของสหกรณ์ผู้รบั ฝากเงิน ท้งั น้ี ตามระเบยี บของสหกรณ์ที่ได้รบั ความเห็นชอบจากนายทะเบยี นสหกรณ์ (๖) ให้กู้ ให้สินเช่ือ ให้ยืม ให้เช่า ให้เช่าซื้อ โอน รับจำนองหรือรับจำนำ ซึ่งทรัพย์สนิ แกส่ มาชกิ หรอื ของสมาชกิ (๗) จัดให้ได้มา ซื้อ ถือกรรมสิทธ์ิหรือทรัพยสิทธิ ครอบครอง กู้ ยืม เช่า เช่าซื้อ รับโอนสิทธกิ ารเชา่ หรือสิทธกิ ารเช่าซ้อื จำนองหรือจำนำ ขายหรอื จำหน่ายดว้ ยวธิ ีอน่ื ใดซึง่ ทรัพย์สิน (๘) ให้สหกรณ์อ่ืนกู้ยืมเงินได้ตามระเบียบของสหกรณ์ท่ีได้รับความเห็นชอบ จากนายทะเบียนสหกรณ์ (๙) ดำเนินกิจการอย่างอ่ืนบรรดาท่ีเกี่ยวกับ หรือเนื่องในการจัดให้สำเร็จ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องสหกรณ์ ดังน้ันสหกรณ์ จำต้องมีข้อบังคับและระเบียบเพ่ือเป็นก รอบในการดำเนินงาน ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์สำคัญของการปฏิบัติงานและเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้เกิดการควบคุมภายในที่ดีภายในองค์กร และมีการจัดทำเป็นหมวดหมู่ง่ายต่อการทำความเข้าใจ เพื่อนำมาใช้การปฏิบัติงาน ตลอดจนให้มีความถูกต้อง และทนั สมัยตลอดเวลา สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบรุ ี

๒ 2.คำนิยาม “กฎหมาย” หมายถึงคำสั่งหรือข้อบังคับความประพฤติของมนุษย์ ซ่ึงผู้มีอำนาจสูงสุด หรอื รฏั ฐาธปิ ตั ยเ์ ป็นผูบ้ ญั ญตั ิข้นึ ผูใ้ ดฝา่ ฝนื มสี ภาพบังคับ ข้อบังคับ หมายถึง “บทบัญญัติท่ีเป็นช้ันข้อบังคับ ซ่ึงกำหนดข้ึนไว้เป็นระเบียบ ในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย” ขอ้ บังคับ หมายถงึ “กฎเกณฑห์ รอื รายละเอียดทีก่ ำหนดใหผ้ ทู้ เ่ี ก่ยี วข้องต้องปฏบิ ัติ ข้อบังคับ หมายถึง “บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับซึ่งกำหนดขึ้นไว้เป็นระเบียบในการ ปฏิบตั ิหรอื ดำเนินการตามกฎหมาย ปจั จุบนั นยิ มใชว้ ่า ขอ้ บังคับ” ข้อบังคับสหกรณ์ หมายถึง “บทบัญญัติ หรือกฎเกณฑ์หรือรายละเอียดที่สหกรณ์กำหนด ตราขึ้น ตามกฎหมายสหกรณ์ตลอดจนกฎหมายอ่ืนทเ่ี กีย่ วข้อง เพื่อใช้บงั คับหรอื เปน็ กรอบในการดำเนินงาน ของสหกรณ์” ระเบียบ หมายถึงแบบแผนท่ีวางไวเ้ ป็นแนวปฏิบตั เิ พื่อควบคุมให้เปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน ระเบยี บ หมายถึง กฎเกณฑ์ ที่กำหนดไวเ้ ป็นแนวปฏบิ ตั ิงาน หรอื ดำเนนิ การ ระเบียบ หมายถึง ข้อกำหนดทีว่ างไว้เปน็ แนวปฏิบตั ิหรือดำเนินการ ระเบียบสหกรณ์ หมายถึงข้อกำหนด หรือ กฎเกณฑ์ หรือแบบแผน ท่ีคณะกรรมการดำเนินการ ของสหกรณ์จัดทำขึ้นเพ่ือเป็นกรอบในการปฏิบัติงานหรือดำเนินการ ให้เป็นไปตามข้อบังคับของสหกรณ์ และกฎหมายสหกรณต์ ลอดจนกฎหมายอื่นทเ่ี กยี่ วข้อง 3. มลู เหตขุ องการจัดการความรู้เกย่ี วกับแนวทางการปฏิบัตเิ กยี่ วกบั การแก้ไขขอ้ บงั คับและระเบยี บของ สหกรณ์ 1. เน่ืองจากการแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์มีหลายข้ันตอน ทำให้สหกรณ์ ปฏิบตั ิไมถ่ กู ตอ้ ง 2. บุคลากรของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดจันทบุรี ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการท่ีได้รับ การบรรจุใหมย่ ังขาดความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับการแก้ไขขอ้ บังคบั และระเบยี บของสหกรณ์ 3. การแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ ไม่เป็นไปตามกฎหมาย และตามคำสั่ง ระเบียบประกาศ นายทะเบียนสหกรณ์และรูปแบบไมเ่ ป็นไปในทศิ ทางเดียวกนั คณ ะทำงานการจัดการความรู้สำนักงานสหกรณ์ จังหวัด จันทบุรี (Knowledge Management) ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้รวบรวมองค์ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ซึ่งเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ของบุคคลในองค์กรและความรู้ท่ีชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ตามคู่มือต่างๆ ท่ีสามารถรวบรวมจากเอกสาร คู่มือต่าง ๆ นำมาจัดทำองค์ความรู้ แนวทาง การแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ ให้กับสหกรณ์และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ใช้เป็นคู่มือ และแนวทางในการปฏิบัตงิ าน 4.วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติเก่ียวกับการแก้ไขข้อบังคับและระเบียบของสหกรณ์ ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย และตามคำสงั่ นายทะเบยี นสหกรณ์ เปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน 2. เพ่ือให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์และผู้เก่ียวข้องใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน การแนะนำเกีย่ วกบั การแก้ไขขอ้ บังคบั และระเบียบของสหกรณ์ 3. เพ่ือให้การแก้ไขข้อบังคบั และระเบียบของสหกรณ์เป็นไปตามกฎหมาย และตามคำสั่ง ระเบยี บประกาศ นายทะเบยี นสหกรณ์และมีรปู แบบเปน็ ไปในทิศทางเดยี วกัน สำนักงานสหกรณ์จังหวดั จนั ทบุรี

๓ 5. องคค์ วามรู้ท่ีเกย่ี วขอ้ ง 5.1 การแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ มาตรา ๓5 แหง่ พระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดว่า “การขอจดทะเบียนสหกรณ์ ให้คณะผู้จัดตั้งสหกรณ์ลงลายมือชื่อในคำขอจดทะเบียน ตามแบบทน่ี ายทะเบยี นสหกรณ์กำหนด ยนื่ ตอ่ นายทะเบยี นสหกรณ์พรอ้ มเอกสารดังต่อไปนี้ (๑) สำเนารายงานการประชมุ ตามมาตรา ๓๔ จำนวน 2 ชุด (๒) แผนดำเนินการตามมาตรา ๓๔ (๒) จำนวน 2 ชดุ (๓) บัญชีรายช่ือผู้ซึ่งจะเป็นสมาชิกพร้อมลายมือชื่อและจำนวนหุ้นที่แต่ละคน จะถือเมอื่ จดั ตั้งสหกรณแ์ ล้ว จำนวน 2 ชุด (๔) ขอ้ บังคบั ตามมาตรา ๓๔ (๔) จำนวน 4 ชดุ ” มาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดวา่ “ขอ้ บังคับของสหกรณ์ อยา่ งนอ้ ยต้องมีรายการ ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ชอื่ สหกรณ์ ซงึ่ ต้องมีคำวา่ “จำกัด” อยู่ทา้ ยชอื่ (๒) ประเภทของสหกรณ์ (๓) วตั ถปุ ระสงค์ (๔) ท่ีต้งั สำนักงานใหญ่และทีต่ ้ังสำนักงานสาขา (๕) ทุนซึ่งแบ่งเป็นหุ้น มูลค่าของหุ้น การชำระค่าหุ้นด้วยเงินหรือทรัพย์สินอื่น การขายและการโอนหนุ้ ตลอดจนการจา่ ยคืนคา่ หนุ้ (๖) ขอ้ กำหนดเก่ยี วกบั การดำเนนิ งาน การบญั ชี และการเงนิ ของสหกรณ์ (๗) คณุ สมบัติของสมาชกิ วธิ รี บั สมาชิก การขาดจากสมาชกิ ภาพ ตลอดจนสิทธิ หน้าทข่ี องสมาชิก (๘) ข้อกำหนดเก่ยี วกบั การประชุมใหญ่ (๙) การเลือกตั้ง การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่งและการประชุม ของคณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ (๑๐) การแต่งต้ัง การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การกำหนดอำนาจหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้จดั การ มาตรา ๔๔ แหง่ พระราชบญั ญตั สิ หกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดวา่ “การแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ จะกระทำได้ก็แต่โดยมติของท่ีประชุมใหญ่และต้อง นำข้อบังคับท่ีได้แก้ไขเพิ่มเติมไปจดทะเบียนต่อนายทะเบียนสหกรณ์ภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีที่ประชุมใหญ่ลงมติ เมอื่ นายทะเบยี นสหกรณไ์ ดจ้ ดทะเบยี นแลว้ ใหม้ ีผลใช้บังคับได้ ในกรณีท่ีมีการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับโดยการเปลี่ยนช่ือสหกรณ์ ให้สหกรณ์คืนใบสำคัญ รับจดทะเบยี น และใหน้ ายทะเบียนสหกรณ์ออกใบสำคัญรับจดทะเบียนการเปล่ยี นชอื่ ให้แกส่ หกรณ์ด้วย การแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับและการเปล่ียนชื่อของสหกรณ์น้ัน ย่อมไม่กระทบกระเทือน ถงึ สทิ ธิหรอื ความรบั ผดิ ใด ๆ ของสหกรณ์ ให้นำความในมาตรา ๓๖ มาตรา ๓๗ และมาตรา ๓๘ มาใช้บังคับแก่การแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบงั คบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๔๕ แหง่ พระราชบัญญตั ิสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนดว่า “ในกรณีมีปัญหาเกี่ยวกับการตีความในข้อบังคับ ให้สหกรณ์ขอคำวินิจฉัย จากนายทะเบียนสหกรณ์ และใหส้ หกรณถ์ ือปฏิบตั ิตามคำวนิ จิ ฉยั นัน้ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จนั ทบรุ ี

๔ การแก้ไขเพม่ิ เตมิ ข้อบงั คับ ตามข้อบงั คับของสหกรณ์ กำหนดวา่ “การแกไ้ ขเพ่ิมเติมขอ้ บังคบั จะกระทำไดก้ ็แต่โดยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการ ดงั ต่อไปน้ี (1) ต้องกำหนดในระเบียบวาระการประชุมใหญ่เป็นเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะและให้แจ้งไปยัง สมาชิกพรอ้ มหนังสือแจ้งระเบียบวาระการประชมุ ใหญ่ (2) คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์จะเสนอวาระแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับได้ เม่อื มีการพิจารณาเร่ืองทจ่ี ะขอแก้ไขเพ่ิมเติมน้ันในท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์ ซ่ึงมีกรรมการ ดำเนินการมาประชุมเต็มจำนวนของคณะกรรมการดำเนินการที่มีอยู่ในขณะน้ัน โดยมติให้แก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบังคับน้ันให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนกรรมการดำเนินการท่ีมาประชุม ซ่ึงลงลายมือชื่อ เขา้ ประชมุ แต่ถา้ สมาชกิ ไมน่ ้อยกว่าหน่ึงในสบิ ของจำนวนสมาชิกท้ังหมด หรือไม่น้อยกว่าห้าสิบคนลงลายมือ ชื่อทำหนังสือร้องขอต่อคณะกรรมการดำเนินการก่อนการประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าสามสิบวันให้แก้ไข เพ่มิ เติมข้อบังคับกย็ อ่ มทำได้ โดยต้องระบขุ อ้ ความที่ขอแกไ้ ขเพิ่มเตมิ น้ันพร้อมด้วยเหตผุ ล (3) การพิจารณาวาระการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ให้กระทำได้แต่เฉพาะในการประชุม ใหญ่ที่มีองค์ประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจำนวนสมาชิก หรือของผู้แทนสมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่า หนง่ึ รอ้ ยคน แล้วแต่กรณี (4) ข้อความใดท่ีท่ีประชุมใหญ่ได้ลงมติแก้ไขเพิ่มเติมแล้ว หากปรากฏภายหลังว่า ข้อความน้ันขัด หรือแย้งกับกฎหมาย หรือไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสหกรณ์ หรือเจตนารมณ์ แหง่ กฎหมายนายทะเบียนสหกรณอ์ าจแก้ไขข้อความน้นั แลว้ รบั จดทะเบียนสหกรณ์ (5) ข้อบังคับท่ีนายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียนสหกรณ์แล้ว หากยังไม่ได้กำหนด ระเบียบ หรือคำส่ังให้สอดคล้องกันก็ให้นำความท่ีได้กำหนดไว้ในข้อบังคับแล้วน้ันมาบังคับใช้ และให้ผู้เกย่ี วขอ้ งถือปฏบิ ตั ิ การตีความในข้อบังคับ ตามข้อบังคับของสหกรณ์ กำหนดว่า “ถ้ามีปัญหาเก่ียวกับ การตีความในข้อบังคับข้อใด ให้สหกรณ์เสนอปัญหาน้ันต่อนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อขอคำวินิจฉัย และใหส้ หกรณถ์ อื ปฏิบัตติ ามคำวินจิ ฉัยนนั้ ” การประชุมและองค์ประชุม ตามข้อบังคับของสหกรณ์ กำหนดว่า “ให้คณะกรรมการ ดำเนินการประชมุ กนั ตามคราวท่มี กี ิจธุระ แต่ต้องให้มกี ารประชมุ เดอื นละหนง่ึ คร้ังเปน็ อยา่ งน้อย ให้ประธานกรรมการ หรือรองประธานกรรมการ หรือเลขานุการ เรียกประชุม คณะกรรมการดำเนินการได้ ในกรณีท่ีเป็นการประชุมเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงแก้ไขระเบียบ ข้อบังคับ และเร่อื งทส่ี ำคัญอ่ืนๆ ของสหกรณ์ให้แจง้ เจา้ หน้าท่ีของกรมสง่ เสริมสหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบด้วยทุกคราว ในการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ต้องมีกรรมการดำเนินการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ของจำนวนกรรมการดำเนนิ การทั้งหมด จงึ จะเป็นองค์ประชมุ ” การวินิจฉัยปัญหา ตามข้อบังคับของสหกรณ์ กำหนดว่า “เว้นแต่จะได้กำหนดไว้ เป็นพิเศษในข้อบังคับนี้ การวินิจฉัยปัญหาต่าง ๆ ในที่ประชุมใหญ่ หรือที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ หรอื ทปี่ ระชมุ คณะกรรมการอ่นื ๆ ใหถ้ อื คะแนนเสยี งข้างมาก ถา้ คะแนนเสียงเท่ากนั ใหป้ ระธานในทป่ี ระชมุ ออกเสียงเพ่ิมข้ึนอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงช้ีขาด เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองในสาม ของจำนวนสมาชิกหรือผแู้ ทนสมาชิกซ่ึงมาประชุม 1. การแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บงั คับ 2. การเลกิ สหกรณ์ 3. การควบสหกรณ์ 4. การแยกสหกรณ”์ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบรุ ี

๕ ในกรณีที่ข้อบังคับน้ีมิได้กำหนดข้อความเร่ืองใดไว้ ให้สหกรณ์รับบทบัญญัติที่กำหนด ไว้ในกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ ตลอดจนคำส่ังหรือคำแนะนำและระเบียบปฏิบัติของนายทะเบียนสหกรณ์ มาใชเ้ ป็นสว่ นหน่งึ แห่งขอ้ บังคบั น้ดี ้วย 5.2 การแก้ไขเพ่ิมเติมระเบียบของสหกรณ์ ต ามข้อ บั งคั บ ของส ห ก รณ์ กำห น ด ว่ า “ให้ ค ณ ะกร รม การด ำเนิ น การ มีอ ำน าจ กำหนดระเบียบต่าง ๆ เพ่ือดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์แห่งข้อบังคับนี้ และเพ่ือความสะดวก ในการปฏบิ ตั ิงานของสหกรณร์ วมทง้ั ในขอ้ ตอ่ ไปน้ี (1) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรบั เงนิ ฝากจากสมาชิกสหกรณ์ (2) ระเบียบวา่ ด้วยการรับเงนิ ฝากจากสหกรณ์อน่ื (3) ระเบยี บว่าดว้ ยการใหเ้ งนิ กูแ้ ก่สมาชิกสหกรณ์ (4) ระเบยี บว่าดว้ ยการใหเ้ งินกูแ้ ก่สหกรณ์อ่นื (5) ระเบยี บว่าด้วยการรบั ฝากเงนิ จากสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะห์ (6) ระเบียบว่าดว้ ยการรบั ฝากเงนิ จากนิตบิ ุคคล (7) ระเบียบว่าด้วยกลมุ่ สมาชิก (8) ระเบียบว่าดว้ ยสมุดประจำตวั สมาชกิ (9) ระเบยี บวา่ ดว้ ยการรับจา่ ยและเก็บรักษาเงิน (10) ระเบียบว่าดว้ ยเจ้าหน้าทแ่ี ละข้อบงั คับเกี่ยวกับการทำงาน (11) ระเบยี บวา่ ดว้ ยการใชท้ ุนสาธารณประโยชน์ (12) ระเบยี บวา่ ดว้ ยสวัสดกิ าร (13) ระเบียบว่าด้วยท่ปี รกึ ษาและที่ปรึกษากติ ตมิ ศักดิ์ (14) ระเบียบวา่ ดว้ ยสมาชกิ สมทบ (15) ระเบียบอื่น ๆ ท่ีคณะกรรมการดำเนินการเห็นสมควรกำหนด ไว้ให้มเี พอื่ สะดวกและเป็นแนวทางในการปฏบิ ัติงานของสหกรณ์ เฉพาะระเบียบใน (1) (2) (4) (5) และ (6) ต้องได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียน สหกรณ์ก่อนจึงจะใช้บังคับได้ ส่วนระเบียบอ่ืนเมื่อคณะกรรมการดำเนินการกำหนดใช้แล้วให้ส่งสำเนา ให้นายทะเบยี นสหกรณ์ กรมสง่ เสริมสหกรณ์ และกรมตรวจบญั ชีสหกรณท์ ราบ สำนักงานสหกรณ์จังหวดั จันทบุรี

๖ บทท่ี 2 แนวปฏบิ ัตใิ นการแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ข้อบงั คบั ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์ ต้องดำเนินงานภายใต้กรอบแห่งกฎหมายทั้งปวง แต่ต้องไม่ขัดกับข้อบังคับสหกรณ์และพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 ซึ่งกำหนดให้สหกรณ์มีอำนาจ กระทำการตามวัตถุประสงค์ และกฎหมายสหกรณ์ ซ่ึงสหกรณ์จำต้องมีข้อบังคับและระเบียบเป็นกรอบ ในการดำเนินงาน ตามมาตรา 35 และมาตรา 43 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และหาก สหกรณ์ประสงค์จะแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ตามมาตรา ๔๔ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ นั้น มแี นวปฏบิ ัติในการแกไ้ ขเพิ่มเตมิ ข้อบังคับ ดงั นี้ มูลเหตุในการแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ข้อบงั คบั 1. มีการแกไ้ ขพระราชบญั ญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และกฎหมายอื่นทเี่ กยี่ วข้อง 2. มีการแกไ้ ขกฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศ คำส่งั นายทะเบียนสหกรณ์ 3. ข้อบงั คบั ของทีส่ หกรณ์ถอื ใชอ้ ยไู่ มเ่ หมาะสมสอดคล้องกบั สถานการณใ์ นปจั จุบนั 4. สมาชกิ เสนอให้แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ขอ้ บงั คับ ข้นั ตอนการแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ ข้อบังคับ เพือ่ ให้การแก้ไขเพ่มิ เติมข้อบังคับของสหกรณ์ เป็นไปตามมาตรา ๔๔ แหง่ พระราชบญั ญัติ สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และข้อบังคับของสหกรณ์ ตลอดจนระเบียบ ประกาศ คำส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ คณะทำงานการจัดการความรู้ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบุรี ได้กำหนดแนวทางข้ันตอนการแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ข้อบงั คบั ดงั นี้ ท่ี ขัน้ ตอนการ รายละเอียด เอกสาร/ตวั อย่างเอกสาร ดำเนนิ การ 1. เสนอเรื่องท่ีจะขอแก้ไข 1. เสนอเรื่องท่ีจะขอแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ 1.รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ เพ่ิมเติมข้อบังคับต่อท่ี ต่อที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ 2. ห นังสือสมาขิกร้องขอต่อ ประชุมคณะกรรมการ สหกรณ์ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ใ ห้ ดำเนิ นการสห กรณ์ 2. ท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ต้อง แก้ไขเพม่ิ เติมขอ้ บังคบั เพ่อื พจิ ารณา มีกรรมการดำเนินการมาประชุมเต็มจำนวน ข อ งค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ท่ี มี อ ยู่ ใน ขณะนั้น โดยมติให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ น้ันให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของ จำนวนกรรมการดำเนินการที่มาประชุมซึ่ง ลงลายมอื ชอ่ื เขา้ ประชุม 3. แต่ถ้าสมาชิกไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของ จำนวนสมาชิกทั้งหมดหรือไม่น้อยกว่าห้า สิบคนลงลายมือชื่อทำหนังสือร้องขอต่อ คณะกรรมการดำเนินการก่อนการประชุม ใหญ่ไม่น้อยกว่าสามสิบวันให้แก้ไขเพิ่มเติม ข้อบังคับก็ย่อมทำได้โดยต้องระบุข้อความที่ ขอแกไ้ ขเพ่ิมเติมนนั้ พรอ้ มด้วยเหตุผล สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบรุ ี

๗ ท่ี ขั้นตอนการ รายละเอยี ด เอกสาร/ตัวอยา่ งเอกสาร ดำเนินการ 2. เสนอเรือ่ งที่จะขอแก้ไข 1. เม่ือคณะกรรมการดำเนินการ มีมติให้ เพ่ิมเติมข้อบังคับต่อที่ แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ แล้วให้นำเสนอเร่ือง ประชุมใหญ่ (ท่ีประชุม ที่จะขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับต่อที่ประชุม ใหญส่ ามัญ/วสิ ามญั ) ใหญ่ (ทีป่ ระชุมใหญ่สามัญ/วสิ ามญั )เพ่อื พิจารณา เพอ่ื พจิ ารณา 2. การพิจารณาวาระการแก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบังคับ ให้กระทำได้แต่เฉพาะในการ ประชุมใหญ่ที่มีองค์ประชุมไม่น้อยกว่าก่ึง หนึ่งของจำนวนสมาชิก หรือของผู้แทน สมาชิกทั้งหมด หรือไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยคน แล้วแต่กรณี 3. เส น อ น าย ท ะ เบี ย น 1. ส่งข้อบังคับที่ขอแก้ไขเพ่ิมเติม พร้อม - หนังสือสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) ส ห ก ร ณ์ เพื่ อ รั บ จ ด เอกส ารป ระกอ บ การขอจด ท ะเบี ย น จำนวน 2 ฉบับ ทะเบียนข้อบังคับท่ีขอ ให้นายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา ภายใน - สำเนารายงานการประชุมใหญ่ แก้ไขเพ่ิมเติม 30 วนั นับแตว่ ันที่ที่ประชุมใหญ่มีมติอนุมัติ จำนวน 2 ชดุ ให้สหกรณ์แก้ไขเพ่ิมเตมิ ขอ้ บงั คับ - แบบ ท.ข.2 จำนวน 2 ชุด ข้อบังคับสหกรณ์ ฉบับแก้ไข เพ่มิ เติม จำนวน 4 ฉบับ - บันทึกการรับรองของประธาน และเลขานกุ าร 4 ฉบบั สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบุรี

๘ แผนผังแสดงการปฏบิ ัติการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคบั สหกรณ์จดั ใหม้ ีการประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ การ (องค์ประชมุ เต็มจำนวน) เพ่อื พจิ ารณาแกไ้ ขข้อบังคับสหกรณ์ ก่อนนำเขา้ ท่ปี ระชมุ ใหญ่ มตทิ ่ใี ชต้ อ้ งไม่นอ้ ยกวา่ สองในสามของที่ประชุม กรณแี ก้ไขเพ่มิ เติมขอ้ บงั คบั สหกรณ์โดยเปลย่ี นช่ือ สหกรณ์ใหม่ สหกรณ์จะต้องขอจองช่ือใหมข่ องสหกรณ์ ที่สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัด สหกรณจ์ ดั ใหม้ ีการประชมุ ใหญโ่ ดยมีวาระการประชุมเรอื่ งแก้ไขเพิ่มเตมิ ข้อบังคับสหกรณ์ มติทีใ่ ช้ตอ้ งไม่น้อยกว่าสองในสามของที่ประชมุ สหกรณ์นำข้อบังคับทีไ่ ด้แก้ไขเพ่มิ เติมไปจดทะเบยี นต่อนายทะเบยี นสหกรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วนั ท่ีทป่ี ระชมุ ใหญล่ งมติ เม่อื นายทะเบียนสหกรณ์ได้จดทะเบยี นแล้วให้มีผลใชบ้ งั คับได้ สหกรณจ์ ังหวัดรบั เรอื่ งแลว้ ประทบั ตรารบั ในหนงั สือสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) ๒ ฉบับ กลมุ่ จัดต้ังและสง่ เสรมิ สหกรณต์ รวจเอกสารและข้อบงั คับ นายทะเบยี นสหกรณร์ ับจดทะเบียนและลงนาม กลมุ่ จดั ตง้ั และสง่ เสริมสหกรณ์บนั ทกึ ลงในระบบจดทะเบียนของกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ❖ แจ้งผลการรับจดทะเบยี นแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บังคบั ใหส้ หกรณท์ ราบ ❖ แจ้งผลการรับจดทะเบยี นแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ขอ้ บงั คับใหส้ ำนักงานตรวจบญั ชีสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จันทบุรี

๙ วิธีปฏิบัตใิ นการแก้ไขเพ่ิมเตมิ ข้อบังคับ 1. สหกรณ์โดยคณะกรรมการดำเนินการพิจาณาเร่ืองท่ีจะขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับน้ัน ในท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินการซ่ึงมีกรรมการดำเนินการมาประชุมเต็มจำนวนของคณะกรรมการ ดำเนินการที่มีอยู่ในขณะนั้น โดยมติให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับน้ัน ให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองในสาม ของกรรมการดำเนนิ การ 2. สหกรณ์จัดให้มีการประชุมใหญ่ โดยสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกแล้วแต่กรณี และต้องกำหนดในระเบียบวาระการประชุมใหญ่เป็นเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ และมติให้แก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับน้ัน ให้ถือเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกซึ่งมาประชุม มาตรา 59(1) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ อน่ึง สหกรณ์ต้องปฏิบัติตามข้อบังคับท่ีกล่าวไว้ว่า เม่ือมีการประชุมใหญ่ ทุกคราว ให้สหกรณ์มีหนังสือแจ้งวันเวลา สถานที่และเรอ่ื งที่จะประชุม ให้บรรดาสมาชิกหรอื ผู้แทนสมาชิก ทราบลว่ งหน้าไมน่ ้อยกว่า 7 วนั แตถ่ า้ การประชุมนั้น เป็นการดว่ นอาจแจ้งลว่ งหนา้ ไดต้ ามสมควร 3. สหกรณ์ต้องรายงานขอจดทะเบียนแก้ไขขอจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ภายใน สามสบิ วนั นับตง้ั แตว่ นั ท่ปี ระชมุ ใหญม่ มี ติ (มาตรา 44) โดยย่ืนเอกสารทสี่ ำนกั งานสหกรณจ์ ังหวัด 4. สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัดรับเรื่องแล้วประทับตรารบั ในหนังสือสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) ทัง้ 2 ฉบบั 5. สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั ตรวจเอกสารและขอ้ บังคับ 5.1 เอกสารและข้อบังคับไม่ถูกต้องไม่ครบถ้วน จะต้องส่งเร่ืองคืนสหกรณ์ เพอ่ื แก้ไข หรือไม่รับการจดทะเบียนแก้ไขขอ้ บังคับท้ังหมดหรอื บางส่วน แลว้ แต่กรณี 5.2 เอกสารและข้อบังคับถูกต้องครบถ้วนกลุ่มจัดต้ังสหกรณ์ เสนอเรื่อง ให้สหกรณ์จังหวัดในฐานะรองนายทะเบียนสหกรณ์ปฏิบัติการแทนนายทะเบียนสหกรณ์ ลงนามรับจดทะเบียน แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ โดยหนังสือท่ีแจ้งสหกรณ์ทราบผลการรับจดทะเบียนข้อบังคับต้องระบุวันท่ี รับจดทะเบียน เช่น “ท้ังนี้ ตั้งแต่บัดน้ีเป็นต้นไป” หรือ “ทั้งนี้ ต้ังแต่วันท่ีนายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียน แกไ้ ขเพ่มิ เติมข้อบังคับ” เปน็ ต้นไป 5.2.1 การแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคบั บางข้อ เจ้าหน้าที่จะต้องประทับตราสำนักงาน สหกรณ์จังหวัด พร้อมท้ังลงลายมือชื่อกำกับและระบุวันท่ีไว้ทุกหน้าในส่วนที่เป็นเนื้อหาข้อบังคับ และต้อง ประทบั ตรายกเลิกข้อบงั คบั ขอ้ ท่ีมีการแกไ้ ขในข้อบงั คับฉบับเดิมดว้ ย 6. หากนายทะเบียนสหกรณ์ไม่รับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับบางข้อหรือบางข้อความ ให้เจ้าหน้าที่ขีดข้อความนั้นออกและประทับตราสำนักงานสหกรณ์จังหวัดพร้อมทั้งลงลายมือชื่อกำกับ และระบุวันทด่ี ้วย 7. เมื่อรบั จดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับแล้ว ให้จัดเก็บเอกสารประกอบการพิจารณา จำนวน 1 ชุดและข้อบังคับคู่ฉบับ จำนวน 1 เล่ม ไว้ท่ีสำนักงานสหกรณ์จังหวัด และจัดส่งเอกสาร ใหห้ น่วยงานตา่ งๆ ดงั นี้ 7.1 แจ้งผลการรับจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ พร้อมท้ังต้นฉบับข้อบังคับ สหกรณ์ ให้กบั สหกรณ์ 7.2 แจ้งผลการรับจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับ พร้องท้ังข้อบังคับคู่ฉบับ ใหส้ ำนกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ์ 7.3 แจ้งผลการรับจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ โดยแนบสำเนาหนังสือ ที่แจง้ สหกรณ์ขอ้ บังคับค่ฉู บบั และเอกสารประกอบการพจิ ารณา จำนวน 1 ชุด ให้นายทะเบียนสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวดั จันทบุรี

๑๐ บทท่ี 3 การขอจดทะเบยี นแกไ้ ขเพ่มิ เติมข้อบงั คบั บางขอ้ ๑. เอกสารท่ีสหกรณ์ต้องส่งให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดเพื่อนำมาประกอบการ พจิ ารณา 1. หนงั สือสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) 2 ฉบับ 2. สำเนารายงานการประชมุ ใหญ่ 2 ชดุ 3. แบบ ท.ข.2 2 ชุด 4. ข้อบังคับสหกรณ์ ฉบบั แก้ไขเพิ่มเติม 4 ฉบับ 5. บนั ทึกการรบั รองของประธานและเลขานุการ 4 ฉบบั 6. บันทึกผ้อู ำนวยการกลุ่มจดั ตง้ั และส่งเสรมิ สหกรณ์ 4 ฉบบั ๒. เอกสารที่สหกรณ์จะต้องจัดทำ - วันท่ีของหนังสือต้องไม่เกิน 30 วัน นับจากวันประชุมใหญ่ โดยให้นับวันถัดจาก วนั ประชุมใหญ่ เป็นวนั ท่ี 1 ซึง่ สหกรณค์ วรส่งใหท้ ันภายในกำหนด - ประธานกรรมการเป็นผู้ลงลายมือชื่อในหนังสือหากเป็นรองประธานกรรมการ ดำเนินการให้ระบุว่าปฏบิ ัตหิ นา้ ท่แี ทนประธานกรรมการ ๓. สำเนารายงานการประชมุ ใหญ่ - ระบุให้ชัดเจนวา่ เปน็ การประชมุ ใหญ่ประจำปีหรือประชมุ ใหญ่วสิ ามญั - กรณีเป็นการนัดประชุมครั้งท่ีสอง ต้องบันทึกในรายงานการประชุมให้ชัดเจนว่า ได้นัดประชุมใหญ่คร้ังแรกเม่ือใด มีสมาชิกมาประชุมกี่คน ซ่ึงไม่ครบองค์ประชุม ส่งผลให้ต้องมีการ นัดประชุมอีกครั้ง (คร้ังที่ 2) ซึง่ การประชุมอีกครั้งให้ทำภายใน 14 วัน นับแต่วันที่นัดประชมุ ใหญ่คร้ังแรก (มาตรา 58 แห่งพระราชบัญญตั สิ หกรณ)์ - ระบุจำนวนสมาชิกหรือจำนวนผู้แทนสมาชิกทั้งหมดมี จำนวนเท่าใด เพ่ือตรวจสอบองค์ประชุมให้เป็นไปตามมาตรา 57 (ปกติ) หรือมาตรา 58 (คร้ังท่ี 2) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ แล้วแตก่ รณี - มติของท่ีประชุมต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเอกฉันท์หรือเกินกว่าสองในสาม กรณมี มี ติเกนิ กวา่ สองในสามต้องระบจุ ำนวนเสยี งของสมาชิกวา่ เห็นด้วยกี่เสยี ง ไมอ่ อกก่เี สยี ง (ถา้ มี) - ประธานที่ประชุม หรือประธานกรรมการ หรือเลขานุการ ต้องรับรองสำเนารายงาน การประชมุ ใหญ่ ๔. แบบ ท.ข. 2 - ตรวจสอบขอ้ ความเดมิ และข้อความที่ขอแก้ไขเพิ่มเติมใหถ้ ูกตอ้ ง ๕. ขอ้ บังคับฉบบั ใหม่ ( ต้นฉบับ 1 ฉบับ ค่ฉู บบั 3 ฉบบั ) - ปฏิบัติตามระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ว่าด้วยการจัดการจัดทำข้อบังคับ สหกรณ์เพอ่ื ใชใ้ นการจดทะเบียน พ.ศ. 2545 ลงวนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2545 - การนับฉบับของข้อบังคับ ให้นับฉบับเดิมเป็นฉบับที่ 1 และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม ตอ่ ๆ ไป นบั เปน็ ฉบับท่ี 2, 3, 4 ไปตามลำดับ สำหรบั พ.ศ. ให้ระบตุ ามปี พ.ศ. ทขี่ อแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ข้อบังคับ - หากสหกรณ์มีตราของสหกรณต์ ้องประทบั ตราที่ข้อบังคับด้วย สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จันทบุรี

๑๑ - การยกเลิกข้อบังคับต้องยกเลิกท้ังข้อ และพิมพ์ข้อความใหม่มาท้ังข้อ แม้จะเป็นการแก้ไข เฉพาะวรรคหรอื เฉพาะวงเลบ็ ก็ตาม - กรณีขอ้ บังคบั หลายข้อ ให้ยกเลิกทีละขอ้ โดยเรยี งตามลำดบั - หากข้อความที่ขอแก้ไขมีความเก่ียวพันหรือเกี่ยวเน่ืองกับข้ออ่ืน ต้องแก้ไขข้อความ ทม่ี คี วามสัมพันธ์กันให้หมดทกุ ขอ้ - ทา้ ยขอ้ บังคบั ระบเุ หตุผลในการแก้ไขข้อบังคับให้ชัดเจน - ประธานที่ประชุม หรือประธานกรรมการ และเลขานุการ จะต้องลงลายมือช่ือ ในบันทึกรับรองทา้ ยข้อบงั คับทั้ง 4 ฉบบั - ขอ้ บังคับท้ัง ๔ ฉบับ ประธานกรรมการ และเลขานุการต้องลงนามกำกับตรงมุมขวา ด้านล่างในสว่ นเนอื้ หาของขอ้ บงั คับทกุ หน้า ๖. คำรับรองของประธานกรรมการและเลขานุการ เพ่ือเป็นการรับรองว่าขอ้ บงั คบั ท้ัง ๔ ฉบับ มีความถกู ต้อง ๗. บันทึกผู้อำนวยการกลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ เพื่อเป็นการกลั่นกรอง ก่อนนายทะเบียนสหกรณใ์ ช้ดุลยพนิ จิ รบั จดทะเบียนแก้ไขเพม่ิ เติมขอ้ บงั คับ สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จันทบรุ ี

๑๒ บทท่ี 4 การขอจดทะเบียนแก้ไขเพิม่ เติมโดยเปล่ยี นแปลงใช้ข้อบงั คับใหม่ เอกสารท่ีสหกรณต์ อ้ งสง่ ให้สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั เพื่อนำมาประกอบการพิจารณา 1. หนงั สือสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) 2 ฉบับ 2. สำเนารายงานการประชมุ ใหญ่ 2 ชดุ 3. ข้อบังคับสหกรณ์ ฉบบั ใหม่ 4 ฉบบั 4. บันทกึ การรับรองของประธานและเลขานุการ 4 ฉบบั เอกสารทีส่ หกรณจ์ ะต้องจัดทำ 1. หนงั สอื ของสหกรณ์ (แบบ ท.ข.1) - วันท่ีของหนังสือต้องไม่เกิน 30 วัน นับจากวันประชุมใหญ่ โดยให้นับวันถัด จากวนั ประชุมใหญ่เป็นวันท่ี 1 - ประธานกรรมการเป็นผู้ลงลายมือชื่อในหนังสือหากเป็นรองประธานกรรมการ ดำเนนิ การอื่นใหร้ ะบุวา่ ปฏบิ ตั ิหน้าทีแ่ ทนประธานกรรมการ 2. สำเนารายงานการประชุมใหญ่ - ระบุใหช้ ัดเจนว่าเปน็ การประชมุ ใหญป่ ระจำปหี รือประชมุ ใหญ่วิสามัญ - กรณีเป็นการนัดประชุมคร้ังท่ีสอง ต้องบันทึกในรายงานการประชุมให้ชัดเจน ว่าได้นัดประชุมใหญ่ครั้งแรกเม่ือใด มีสมาชิกมาประชุมกี่คน เพื่อแสดงให้เห็นว่าการประชุมนัดครั้งท่ี 2 นี้ ได้กระทำภายใน 14 วัน นับแตว่ นั นดั ประชมุ ใหญค่ ร้งั แรก (มาตรา 58 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์) - ระบุจำนวนสมาชิกหรือจำนวนผู้แทนสมาชิกท้ังหมดมีจำนวนเท่าใด และสมาชิกหรือผู้แทนสมาชิกท่ีเข้าร่วมประชุมมีจำนวนเท่าใด เพื่อตรวจสอบองค์ประชุมให้เป็นไปตามมาตรา 57 (ปกติ) หรือมาตรา 58 (คร้ังที่ 2) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ แล้วแต่กรณี พร้อมท้ังจะต้องตรวจสอบ ข้ อ บั ง คั บ ฉ บั บ ท่ี ถื อ ใช้ อ ยู่ ใน ปั จ จุ บั น ว่ าก ำ ห น ด อ งค์ ป ร ะ ชุ ม ใน ก า ร แ ก้ ไข เพิ่ ม เติ ม ข้ อ บั งคั บ ไว้ อ ย่ า งไร หากข้อบังคับฉบับเดิมกำหนดองค์ประชุมในการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ว่าต้องไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง หรือไม่น้อยกว่าหน่ึงร้อยคนแล้ว การประชุมใหญ่ (นัดครั้งท่ี 2) ซึ่งมีสมาชิกมาประชุมน้อยกว่าก่ึงหน่ึง หรอื ไมถ่ ึงหนงึ่ ร้อยคน จะขัดต่อขอ้ บังคบั และไม่สามารถแกไ้ ขเพิม่ เติมข้อบังคับได้ - มติของที่ประชุมต้องระบุให้ชัดเจนว่าเป็นเอกฉันท์หรือเกินกว่าสองในสาม กรณีมีมติเกินกว่าสองในสามต้องระบุจำนวนเสียงของสมาชิกว่าเห็นด้วยกี่เสียง ไม่เห็นด้วยก่ีเสียง ไม่ออก เสยี งก่ีเสยี ง (ถา้ ม)ี - ประธานที่ประชุม หรือประธานกรรมการ หรือเลขานุการ ต้องรับรองสำเนารายงาน การประชุมใหญ่ - สำหรับการแก้ไขเพ่ิมเติมโดยเปล่ียนใช้ข้อบังคับใหม่ ให้ระบุในรายงาน การประชุมว่าได้ถือใช้ตามร่างของนายทะเบียนสหกรณ์ หรือร่างของกรมส่งเสริมสหกรณ์ หากสหกรณ์ ไม่ประสงค์จะถือใช้ข้อใด หรือประสงค์จะแก้ไขเพ่ิมเติมข้อใด ให้ระบุไว้ในรายงานการประชุมให้ชัดเจน โดยระบุข้อความที่ขอแก้ไขพรอ้ มเหตุผลด้วย สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จนั ทบุรี

๑๓ 3. ข้อบงั คบั ใหม่ (ฉบับใหม่ 1 ฉบบั คฉู่ บับ 3 ฉบบั ) ปฏิบัติตามนายทะเบียนสหกรณ์ ว่าด้วยการจัดทำข้อบังคับสหกรณ์เพื่อใช้ ในการจดทะเบยี น พ.ศ. 2545 ลงวันที่ 30 สงิ หาคม 2545 ข้อบงั คบั สหกรณ์อยา่ งนอ้ ยตอ้ งกำหนดสาระสำคญั ดังน้ี 1. ชอ่ื สหกรณซ์ ่งึ จะตอ้ งมคี ำวา่ “จำกัด” อยู่ทา้ ยชือ่ ท้ังน้ี - ชื่อสหกรณต์ อ้ งเปน็ ภาษาไทยเทา่ นั้น - หากสหกรณ์ประสงค์จะต้องใช้ช่ือหน่วยงานซึ่งเป็นภาษาอื่นเป็นส่วนหน่ึง ของสหกรณ์ ตอ้ งทบั ศัพท์เป็นภาษาไทย - ในกรณีที่สหกรณ์ต้องการกำหนดชื่อสหกรณ์เป็นภาษาอ่ืน เช่น ภาษาอังกฤษ ใหใ้ ชช้ อื่ เปน็ ภาษาไทย 2. ประเภทสหกรณ์ (มาตรา 33/1 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2562 มี 8 ประเภท) 3. วัตถุประสงค์ต้องกำหนดให้สอดคล้องกับกิจกรรมท่ีทำร่วมกันของผู้ประสงค์ จะจดั ตง้ั สหกรณ์และอยูใ่ นขอบเขตตามประเภทของสหกรณ์ 4. ที่ตงั้ สำนักงานใหญ่ และทต่ี ง้ั สำนกั งานสาขา 5. ทุน ซึ่งแบ่งเป็นหุ้นมูลค่าหุ้น การชำระค่าหุ้นด้วยเงินหรอื ทรัพย์สินอ่ืน การขายและการโอนหุ้น ตลอดจนการจา่ ยคืนค่าหุ้น 6. ข้อกำหนดเกยี่ วกับการดำเนินงาน การบัญชี และการเงินสหกรณ์ 7. คณุ สมบตั ิของสมาชิก วธิ ีรบั สมาชกิ การขาดสมาชิกภาพ ตลอดจนสทิ ธิและหนา้ ทข่ี องสมาชิก 8. ถ้าต้องรับสมาชิกสมทบ ต้องกำหนดคุณสมบัติ วิธีการรับสมัคร และการขาดจากสมาชิกภาพ ตลอดจนสิทธิและหนา้ ท่ีของสมาชกิ สมทบให้ชัดเจนไวใ้ นข้อบงั คบั 9. ข้อกำหนดเกีย่ วกับการประชมุ ใหญ่ 10. การเลือกต้ัง การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง และการประชุมคณะกรรมการ การดำเนินการของสหกรณ์ 11. การแต่งตั้ง การดำรงตำแหน่ง การพ้นจากตำแหน่ง การกำหนดอำนาจหน้าท่ี และความรบั ผดิ ชอบของผ้จู ัดการ *** การแก้ไขเพม่ิ เติมโดยเปล่ยี นใช้ข้อบังคับใหม่ไมต่ ้องมีแบบ ท.ข.2 *** สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี

๑๔ ตวั อยา่ งการขอจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเตมิ โดยเปลี่ยนใชข้ ้อบังคับใหม่ (แบบ ท.ข. 1) เขยี นท่ีสหกรณ์................. ท่อี ยู.่ ................................ วนั ที่......................เดือน..........................พ.ศ. ........... เร่อื ง ขอจดทะเบยี นแกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยเปล่ียนใช้ข้อบงั คับใหม่ เรียน นายทะเบียนสหกรณ์ สง่ิ ที่ส่งมาด้วย 1. สำเนารายงานการประชมุ ใหญ่สามัญ/วสิ ามัญ 2 ชุด 2. ข้อบังคับสหกรณ์............ จำกดั พ.ศ. ........ ๔ ฉบบั ด้วยในการประชุมใหญส่ ามญั /วิสามัญของสหกรณ์......................จำกัด คร้ังที่ ...../......... เม่ือวันที่ .......... เดอื น .......... พ.ศ...........ทป่ี ระชมุ ใหญไ่ ด้ปรกึ ษาหารือและลงมตดิ ้วยคะแนนเสียงเกินกว่า สองในสาม (หรือเป็นเอกฉนั ท์) ให้แก้ไขเพมิ่ เติมข้อบังคบั ท.ข.2 ทแ่ี นบมา พร้อมนี้ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดพจิ ารณารบั จดทะเบยี นแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคบั ใหแ้ กส่ หกรณ์ เพื่อที่ จะได้ถอื ใชเ้ ปน็ ขอ้ บังคบั ของสหกรณต์ ่อไป ขอแสดงความนับถือ ........................................... ประธานกรรมการหรอื (..........................................) รองประธานกรรมการ (ปฏบิ ัติหนา้ ท่แี ทนประธานกรรมการ) สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จันทบุรี

๑๕ รายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี สำหรับปีบัญชสี ิ้นสดุ ...................................... สหกรณ์.......................................................จำกดั ครง้ั ท่.ี ......./๒๕...... วันที่.......... เดอื น.................พ.ศ. ........... ณ........................................................... ----------------------------------------------------------------------------- สมาชิกผมู้ าประชมุ จำนวน…………………………คน สมาชกิ ทัง้ หมด จำนวน…………………………คน ผูเ้ ขา้ รว่ มประชุม ที่ ชอ่ื – นามสกุล ตำแหนง่ ลายมือชอ่ื 1. 2. 3. เรม่ิ ประชุมเวลา ……………….. น. เมือ่ สมาชกิ มาครบองค์ประชุมแลว้ นาย/นาง/นางสาว………………..ตำแหน่ง……………………… ซง่ึ เปน็ ประธานในท่ีประชุม............................................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... ระเบียบวาระที่ เรอ่ื งพิจารณาแกไ้ ขเพมิ่ เติมข้อบังคบั ของสหกรณ์ ......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... มตทิ ี่ประชมุ ........................................................................................................................................................ ................. เลกิ ประชมุ เวลา.....................น. (ลงชื่อ)………………………………………ประธานในที่ประชุม (.............................................) ประธานกรรมการ (ลงชือ่ )…………………………………เลขานกุ าร/ผูจ้ ดรายงาน (..........................................) เลขานุการ สำเนาถูกต้อง (...............................) ประธานกรรมการหรอื รองประธานฯหรือเลขานุการ สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบรุ ี

๑๖ ขอ้ บังคับ ประเภทสหกรณ์.................... สหกรณ์.............................จำกัด พ.ศ. .......................... สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบรุ ี

๑๗ (สำเนำคู่ฉบบั ) เลขทะเบยี นสหกรณ์ท่ี....................... เลขทะเบยี นขอ้ บังคบั ที่..................... อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 นายทะเบียนสหกรณ์ ได้ รับจดทะเบี ยนข้ อบั งคั บสหกรณ์ .................. พ.ศ……………. ไว้แล้ วต้ั งแต่ วันท่ี …..................... (ใช้แทนข้อบงั คับฉบับเดมิ เลขทะเบยี นข้อบังคับท่ี...........................................................................................) (……………………………….) สหกรณจ์ งั หวดั จันทบรุ ี รองนายทะเบยี นสหกรณ์ ปฏบิ ัติการแทน นายทะเบียนสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จันทบรุ ี

๑๘ (ตวั อยา่ งข้อบังคับ) (ปม๊ั ตราสหกรณ์)(1) ขอ้ บังคบั สหกรณ์.......................................................จำกดั พ.ศ. ………….. ท่ีประชุมใหญ่ของสหกรณ์…........... เม่ือวันที่..…….... เดือน….... พ.ศ. ........................ ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้แก้ไขข้อบังคับโดยยกเลิกข้อบังคับสหกรณ์เสียท้ังหมด และให้ใช้ข้อบังคับฉบับนี้แทน และนายทะเบยี นสหกรณ์ไดร้ ับจดทะเบียนแลว้ มีความดังนี้ ข้อบงั คับนีเ้ รียกว่า “ขอ้ บังคบั สหกรณ.์ .................................จำกัด พ.ศ……………….......” ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันที่ นายทะเบียนสหกรณ์รับจดทะเบียน ให้ยกเลิกข้อบังคับสหกรณ์ที่มีอยู่ก่อนข้อบังคับสหกรณ์ฉบับนี้ใช้บังคับ นับแต่วันที่ข้อบังคับ สหกรณฉ์ บับนมี้ ีผลบังคับใช้ *** (1) ตราสหกรณ์ใหป้ ั๊มด้วยหมกึ สีนำ้ เงนิ เท่าน้ัน สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบรุ ี

๑๙ หมวดที่ 1 ชอื่ ประเภทและที่ต้งั สำนักงาน ข้อที่ 1. ชือ่ ประเภทและทตี่ ้ังสำนักงาน ชื่อ สหกรณ์................................................................จำกัด ประเภท สหกรณ์................................................................จำกดั ทต่ี ัง้ สำนกั งาน (ใหญ่) เลขท่.ี ...............ถนน........................หมู่ท่ี...................... ตำบล...............................อำเภอ................................... จงั หวดั ........................................................................... ทตี่ งั้ สำนกั งานสาขา (2) เลขท.ี่ ...............ถนน........................หมู่ที.่ ..................... ตำบล...............................อำเภอ................................... จังหวัด........................................................................... สหกรณอ์ าจย้ายที่ตั้งสำนักงานไดต้ ามท่คี ณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเห็นสมควร โดย แจ้งให้นายทะเบียนสหกรณ์ กรมส่งเสรมิ สหกรณ์และกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ท่ี สำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการสหกรณ์และท่ีว่าการอำเภอแห่งท้องท่ีสหกรณ์ต้ังอยู่เป็น เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ วนั และให้ดำเนินการแก้ไขเพิ่มเตมิ ข้อบังคับในการประชมุ ใหญค่ ราวตอ่ ไปด้วย ตราของสหกรณ์ ตราของสหกรณ์มีรปู ลกั ษณะ ดังน้ี ................................................................................................. .................................. ............................................................................................................................. ...... *** (2) หากไม่มที ตี่ ัง้ สำนักงานสาขา ใหต้ ดั ส่วนทต่ี งั้ สำนักงานสาขาออกทั้งหมด สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จันทบรุ ี

๒๐ หมวดที่ 2 วัตถปุ ระสงค์ ข้อ 2. วัตถุประสงค์ สหกรณ์น้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และสังคมของบรรดาสมาชิก โดยวิธีช่วยตนเองและช่วยเหลือซ่ึงกันและกันตามหลักสหกรณ์ รวมท้ังในข้อ ตอ่ ไปนี้ 1. .............................................................................................................................. 2. .......................................................................................................................... .... 3. .............................................................................................................................. ข้อ 3. ...................................................................................................................... ............. ......................................................................................................................................................................... ขอ้ 4. ...................................................................................................................... ............. ......................................................................................................................................................................... ฯลฯ ฯลฯ ลงชอื่ ประธานกรรมการ (…….……………………………..………..) ลงชอื่ เลขานกุ าร (…………………..………….…………….) เหตผุ ล สรปุ เหตุผลทตี่ อ้ งแกไ้ ขข้อบังคับสหกรณ์เป็นดงั ที่กำหนดขา้ งตน้ .......................................................................................................................... ............................................... ............................................................................................................................. ............................................ ................................................................................................................................................................... ...... สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบรุ ี

๒๑ คำรับรองของประธานกรรมการและเลขานกุ าร “ขอรับรองว่าข้อบงั คับทง้ั 4 ฉบับ มขี ้อความถูกต้องตรงกัน” ลงชื่อ ประธานกรรมการ (…….……………………………..………..) ลงชอื่ เลขานุการ (…………………..………….…………….) สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จนั ทบรุ ี

๒๒ บนั ทึกผอู้ ำนวยการกลุ่มจัดต้ังและสง่ เสริมสหกรณ์ ขา้ พเจ้า……………………………….. ตำแหน่ง……………………………………ไดต้ รวจสอบขอ้ บังคบั นี้แลว้ มคี วามครบถ้วนตามมติของที่ประชุมใหญ่ และไม่ขดั กฎหมาย ระเบยี บ คำสง่ั นายทะเบียนสหกรณ์ ลงชอื่ ……………………………………………… (………….......................................) ตำแหนง่ …………………………………………. ผู้อำนวยการกลมุ่ จดั ตง้ั และส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบรุ ี

๒๓ บทที่ 5 ตัวอย่างการจดั ทำข้อบังคับสหกรณ์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเตมิ 1. วิธีการแกไ้ ขเพ่ิมเติมข้อบังคับในกรณีตา่ งๆ การจัดทำข้อบังคับสหกรณ์ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม โดยมีการแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับบางข้อ ตอ้ งแกไ้ ขเป็นรายขอ้ ตามลำดับ โดยจะมีกรณกี ารแกไ้ ข ดังนี้ กรณีท่ี 1 แก้ไขเฉพาะจุดในข้อบังคับข้อเดียว เช่น แก้ไขเฉพาะคำ หรือเฉพาะวรรค หรอื เฉพาะ (.....) หรือยกเลกิ ข้อความวรรคใดวรรคหนึ่งท้ังหมด หรือเพม่ิ (......) หรอื เพมิ่ วรรค กรณีที่ 2 แทรกขอ้ บงั คับหรือแทรกหมวด 2.1 เพม่ิ ขอ้ ระหวา่ งข้อ เชน่ เพมิ่ ขอ้ ระหวา่ งข้อ 22 และ ขอ้ 23 2.2 แทรกหมวดใหม่ กรณีท่ี 3 ตดั ข้อบงั คับเดมิ ออกทง้ั ขอ้ กรณที ่ี 4 แก้ไขข้อบังคบั ข้อเดมิ ซงึ่ เคยขอแกไ้ ขแลว้ กรณที ่ี 5 เปล่ยี นชือ่ สหกรณ์ กรณที ่ี 1 แก้ไขเฉพาะจุดในข้อบังคับข้อเดียว เช่น แกไ้ ขเฉพาะคำ หรือเฉพาะวรรค หรือเฉพาะ (.....) หรือยกเลกิ ขอ้ ความวรรคใดวรรคหนงึ่ ท้งั หมด หรอื เพม่ิ (......) หรือเพ่มิ วรรค วิธีการ ต้องยกเลิกข้อบังคับข้อนั้นท้ังหมด แล้วพิมพ์ข้อความใหม่ตามที่ต้องการท้ังข้อ ไม่ใช่พิมพ์เฉพาะคำ หรือวรรค หรอื (...........) ทีข่ อแก้ไขเท่านั้น ตวั อยา่ งกรณที ่ี 1.1 แก้ไขเฉพาะ ขอ้ ความเดิม ข้อความที่แกไ้ ข ขอ้ 20. การพน้ จากตำแหนง่ ผ้แู ทนสมาชกิ พ้นจาก ข้อ 20. การพ้นจากตำแหน่ง ผูแ้ ทนสมาชกิ พน้ จาก ตำแหน่ง เมื่อ ตำแหนง่ เมอ่ื (1) ลาออก (1) ลาออก (2) ออกตามวาระ (2) ออกตามวาระ หรือมีการเลอื กต้ังผแู้ ทน (3) ขาดจากสมาชกิ ภาพ สมาชกิ ใหม่ (3) ขาดจากสมาชกิ ภาพ ตัวอยา่ งข้อบงั คบั กรณีท่ี 1.1 ข้อ ...ให้ยกเลิกความตามที่กำหนดในข้อ 20 แห่งข้อบังคับสหกรณ์…………………. จำกัด เลขทะเบียนข้อบังคบั ท่ี ……………………… เสียทัง้ หมด และใช้ความต่อไปน้ีแทน “ข้อ 20 การพ้นจากตำแหนง่ ผ้แู ทนสมาชิกพน้ จากตำแหน่งเมือ่ (1) ลาออก (2) ออกตามวาระ หรือมีการเลือกตั้งผู้แทนสมาชกิ ใหม่ (3) ขาดจากสมาชกิ ภาพ” สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบรุ ี

๒๔ ตัวอยา่ งกรณีท่ี 1.2 เพ่ิมขอ้ ความใหม่ ขอ้ ความเดิม ขอ้ ความท่ีแกไ้ ข ข้อ ๑๑ การรับเงินฝาก สหกรณ์อาจรับฝาก ข้อ ๑๑ การรับเงินฝาก สหกรณ์อาจรับฝากเงินประเภท เงินประเภทออมทรัพย์ หรือประเภทประจำจาก ออมทรัพย์ หรือประเภทประจำจากสมาชิก หรือสหกรณ์อ่ืน สมาชกิ หรือสหกรณอ์ ่ืนไดต้ ามระเบยี บของสหกรณ์ หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซ่ึงมีสมาชิกของสมาคมน้ันไม่ น้อยกว่าก่ึงหนึ่งเป็นสมาชกิ ของสหกรณ์ท้ังนี้ตามระเบียบของ สหกรณ์ท่ไี ดร้ บั ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ตัวอยา่ งข้อบังคบั กรณที ่ี 1.2 ข้อ ... ให้ยกเลิกความตามท่ีกำหนดในข้อ ๑๑ แห่งข้อบังคับสหกรณ์………………….… จำกัด เลขทะเบียนขอ้ บังคบั ท.ี่ ................. เสยี ทงั้ หมด และใช้ความต่อไปน้ีแทน “ขอ้ ๑๑ การรับเงนิ ฝาก สหกรณ์อาจรับฝากเงินประเภทออมทรัพย์ หรอื ประเภทประจำ จากสมาชิก หรือสหกรณ์อ่ืน หรือสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ซึ่งมีสมาชิกของสมาคมน้ันไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง เป็นสมาชิกของสหกรณท์ ้งั น้ตี ามระเบยี บของสหกรณ์ที่ได้รับความเหน็ ชอบจากนายทะเบยี นสหกรณ์ ตัวอยา่ งกรณีที่ 1.3 ตัดข้อความออก ขอ้ ความเดมิ ขอ้ ความทีแ่ กไ้ ข ขอ้ 20. การพ้นจากตำแหน่ง ผ้แู ทนสมาชกิ พ้น ข้อ 20. การพน้ จากตำแหน่ง ผู้แทนสมาชิกพ้นจาก จากตำแหนง่ เม่ือ ตำแหนง่ เม่อื (1) ลาออก (1) ลาออก (2) ออกตามวาระ (2) ขาดจากสมาชกิ ภาพ (3) ขาดจากสมาชกิ ภาพ ตัวอย่างข้อบงั คบั กรณีท่ี 1.3 ข้อ ...ให้ยกเลกิ ความตามท่ีกำหนดในขอ้ 20 แห่งข้อบงั คับสหกรณ์…………………….จำกดั เลขทะเบยี นขอ้ บังคบั ท่ี ……………………… เสียทัง้ หมด และใช้ความต่อไปน้ีแทน “ข้อ 20 การพน้ จากตำแหนง่ ผแู้ ทนสมาชิกพ้นจากตำแหนง่ เม่ือ (1) ลาออก (2) ขาดจากสมาชิกภาพ” สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบุรี

๒๕ ตวั อย่างกรณีที่ 1.4 แก้ไขเฉพาะคำ ขอ้ ความเดมิ ขอ้ ความทแ่ี กไ้ ข ข้อ 30. คา่ ธรรมเนยี มแรกเข้า ขอ้ 30. ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผู้เข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผู้เข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้สหกรณ์คนละ 100 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้าให้ ให้สหกรณ์คนละ 150 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้าให้ ถือเปน็ รายได้ของสหกรณ์จะเรยี กคนื ไม่ได้ ถือเป็นรายได้ของสหกรณจ์ ะเรยี กคืนไมไ่ ด้ ตวั อย่างข้อบังคบั กรณที ี่ 1.4 ข้อ ...ให้ยกเลิกความตามท่ีกำหนดในข้อ 30 แห่งขอ้ บงั คบั สหกรณ์…………..………. จำกัด เลขทะเบียนขอ้ บงั คับ ท่ี ……………………… เสยี ทัง้ หมด และใชค้ วามตอ่ ไปนี้แทน “ข้อ 30 ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผู้เข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้สหกรณ์ คนละ 150 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้าใหถ้ อื เปน็ รายได้ของสหกรณจ์ ะเรยี กคืนไม่ได้” กรณีท่ี 2 แทรกข้อบังคับหรือแทรกหมวด วิธีการ - เม่ือเพ่ิมหมวดใหม่ เช่น แทรกหมวดสมาชิกสมทบต่อจากหมวด 5 สมาชิก ก็จะต้อง กำหนดหมวดสมาชิกสมทบเปน็ หมวด 5/1 - เลขข้อต้องกำหนดเป็นข้อใหม่ โดยให้ใช้เลขข้อสุดท้ายเป็นตัวต้นเลขข้อใหม่ และใช้เลข ข้อใหม่เป็น ข้อ..../1 , ขอ้ ..../2 ไปตามลำดบั ตัวอยา่ งกรณที ี่ 2.1 แทรกหมวดสมาชิกสมทบต่อจาก หมวด 5 สมาชกิ ข้อความเดิม ขอ้ ความทีแ่ ก้ไข ไมม่ ี หมวด 5/1 สมาชิกสมทบ ข้อ 48/1 สมาชิกสมทบ สหกรณ์อาจรับสมาชิก สมทบได้ตามที่เห็นสมควร โดยต้องสมัครเข้าเป็นสมาชิก สมทบด้วยความสมัครใจ และมีความประสงค์จะใช้บรกิ าร ตา่ งๆ ของสหกรณเ์ ปน็ การประจำ ขอ้ 48/2 คุณสมบตั ขิ องสมาชกิ สมทบ...... ขอ้ 48/ .................................................. ตวั อย่างข้อบังคบั กรณีที่ 2.1 ข้อ ...ให้เพ่ิมหมวด 5/1 ตั้งแต่ ข้อ 48/1 - 48/14 ไว้ท้ายหมวด 5 ข้อ 48 แหง่ ข้อบงั คับสหกรณ…์ ………….………. จำกดั เลขทะเบียนข้อบังคับ ท่ี ……………………… สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบุรี

๒๖ “หมวด 5/1 สมาชิกสมทบ ข้อ 48/1 สมาชิกสมทบ สหกรณ์อาจรบั สมาชกิ สมทบได้ตามท่ีเหน็ สมควร โดยต้องสมคั ร เขา้ เปน็ สมาชิกสมทบด้วยความสมคั รใจ และมีความประสงคจ์ ะใช้บรกิ ารต่างๆ ของสหกรณเ์ ป็นการประจำ ขอ้ 48/2 คุณสมบตั ิของสมาชกิ สมทบ............................................................................... ฯลฯ ฯลฯ ขอ้ 48/14 .......................................................................................................................” ตวั อย่างกรณที ่ี 2.2 เพมิ่ ข้อระหว่างขอ้ 22 และ ขอ้ 23 ขอ้ ความเดมิ ข้อความทีแ่ ก้ไข ไมม่ ี ข้อ 22/1 การเงินของสหกรณ์ การรับจ่ายและเก็บ รกั ษาเงินของสหกรณ์ ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้จัดการ ทง้ั น้ีเปน็ ไปตามระเบียบของสหกรณ์ ตัวอย่างข้อบังคับ กรณที ี่ 2.2 ข้อ ...ให้เพิ่มความดังต่อไปนี้เป็นข้อ 22/1 ไว้ท้ายข้อ 22 แห่งข้อบังคับสหกรณ์……………….จำกัด เลขทะเบยี นขอ้ บงั คบั ที่ ……………………… “ข้อ 22/1 การเงนิ ของสหกรณ์ การรับจา่ ยและเก็บรักษาเงนิ ของสหกรณ์ ให้อยู่ในความรบั ผิดชอบ ของผจู้ ัดการ ทัง้ นี้เปน็ ไปตามระเบียบของสหกรณ์” กรณที ี่ 3 ตดั ข้อบังคบั เดมิ ออกทัง้ ข้อ วธิ ีการ ให้ยกเลิกข้อนน้ั โดยไม่ต้องกำหนดให้เล่ือนข้อตอ่ ไปข้ึนมาแทน ตัวอย่างกรณีที่ 3 ยกเลิกข้อ 24 ท้ังหมด ตัวอยา่ งข้อบังคับ กรณีท่ี 3 ขอ้ ...ให้ยกเลกิ ความตามทกี่ ำหนดในขอ้ 24 แห่งข้อบังคบั สหกรณ…์ ………….……………….จำกัด เลขทะเบยี นขอ้ บงั คับ ที่ ……………………… เสียทั้งหมด กรณีท่ี 4 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ ข้อบังคบั ข้อเดิมซ่งึ เคยขอแก้ไขมาแล้ว วิธีการ ให้ยกเลกิ ข้อบงั คับทแี่ ก้ไขในข้อบงั คบั ฉบบั แก้ไขเพิ่มเติมฉบับทเ่ี คยแก้ไขไปดว้ ยตัวอย่างกรณีที่ 4 ข้อความเดมิ ขอ้ ความที่แกไ้ ข ขอ้ 30. คา่ ธรรมเนยี มแรกเข้า ขอ้ 30. ค่าธรรมเนยี มแรกเข้า ผู้เข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผู้เข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้สหกรณ์คนละ 100 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้สหกรณ์คนละ 300 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ให้ถือเป็นรายไดข้ องสหกรณจ์ ะเรียกคืนไม่ได้ ให้ถือเป็นรายได้ของสหกรณจ์ ะเรยี กคืนไม่ได้ สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จันทบุรี

๒๗ ตวั อย่างข้อบงั คับ กรณีที่ 4 ขอ้ ...ให้ยกเลกิ ความตามทกี่ ำหนดในข้อ 30 แหง่ ข้อบงั คับสหกรณ…์ ………...………………. จำกัด เลขทะเบยี นข้อบังคับ ที่ ………………… ซง่ึ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ โดยข้อบังคับสหกรณ…์ ………………………………. จำกัด แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.………… เสียทั้งหมด และใช้ขอ้ ความตอ่ ไปนี้แทน “ข้อ 30. ค่าธรรมเนียมแรกเขา้ ผู้เขา้ เปน็ สมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนยี มแรกเข้าให้สหกรณ์ คนละ 300 บาท ค่าธรรมเนยี มแรกเขา้ ให้ถือเป็นรายไดข้ องสหกรณจ์ ะเรียกคนื ไม่ได้” กรณที ่ี 5 เปล่ียนชอื่ สหกรณ์ วิธีการ กรณีเปล่ียนช่ือจากสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จำกัด ชื่อข้อบังคับให้ใช้ช่ือใหม่เป็น “สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองพัฒนายั่งยืน จำกัด แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563” ขอ้ ความเดิม ขอ้ ความท่แี กไ้ ข ขอ้ 1. ช่ือ ประเภทและท่ตี ั้งสำนกั งาน ข้อ 1. ชือ่ ประเภทและท่ีตั้งสำนักงาน ชื่อ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองเฉลิม ชื่อ สหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองพัฒนา พระเกยี รติ 84 พรรษา จำกดั ยง่ั ยนื จำกัด ประเภท สหกรณบ์ รกิ าร ประเภท สหกรณบ์ รกิ าร ที่ตั้งสำนักงาน (ใหญ่) เลขท่ี 287 ถนน - หมู่ท่ี ที่ต้ังสำนักงาน (ใหญ่) เลขที่ 84 ถนน - หมู่ท่ี 6 1 ตำบลทับไทร อำเภออำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัด ตำบลทับไทร อำเภออำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี จนั ทบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ - รหัสไปรษณยี ์ 22140 ท้องที่ดำเนนิ การ อำเภอโป่งน้ำรอ้ น จังหวัดจันทบุรี ทอ้ งทด่ี ำเนินการ อำเภอโป่งนำ้ รอ้ น จังหวัดจนั ทบรุ ี ส ห ก รณ์ อ าจ ย้ าย ท่ี ต้ั งส ำนั ก งาน ได้ ต าม ที่ ส ห ก รณ์ อ าจ ย้ าย ท่ี ตั้ งส ำนั ก งาน ได้ ต าม ที่ คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเห็นสมควรโดยแจ้ง คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเห็นสมควรโดยแจ้ง ให้ น ายท ะเบี ยน สห กรณ์ กรมส่งเสริมสห กรณ์ ให้ น ายท ะเบี ยน สห ก รณ์ กรม ส่ งเสริม สห กรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ท่ี กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ที่ สำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการ สำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการ สหกรณ์ และทว่ี ่าการอำเภอแห่งท้องที่ ทส่ี หกรณต์ งั้ อยู่ สหกรณ์ และที่ว่าการอำเภอแห่งท้องที่ ท่ีสหกรณ์ตงั้ อยู่ เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และให้ดำเนินการแก้ไข เป็นเวลาไม่น้อยกว่าสามสิบวัน และให้ดำเนินการแก้ไข เพิม่ เตมิ ขอ้ บงั คับในการประชุมใหญ่ คราวต่อไปดว้ ย เพมิ่ เตมิ ขอ้ บงั คบั ในการประชุมใหญ่ คราวต่อไปด้วย ตราของสหกรณ์ ตราของสหกรณ์มีรปู ลักษณะ ดังนี้ ตราของสหกรณ์ ตราของสหกรณ์มรี ูปลักษณะ ดงั น้ี บ้าน หมายถงึ ความมัน่ คง บ้าน หมายถงึ ความมั่นคง ดอกบัวหมายถงึ ความนับถือความเช่ือ ดอกบัวหมายถึงความนับถือความเชื่อ ความศรัทธา ความศรัทธา เกลยี วเชือก หมายถึง ความกลมเกลียว เกลยี วเชือก หมายถงึ ความกลมเกลียว สำนกั งานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบรุ ี

๒๘ ตวั อยา่ งข้อบงั คับ กรณที ่ี 5 กรณีเปล่ียนชื่อจากสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จำกัด เป็นสหกรณเ์ คหสถานบ้านมนั่ คงบอ่ ทองพฒั นายง่ั ยนื จำกัด ข้อ..... ให้ยกเลิกความตามท่ีกำหนดในข้อ 1 แห่งข้อบังคับสหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคง บ่อทองเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จำกัด เลขทะเบียนข้อบังคับท่ี 2200000125532 เสียท้ังหมด และใชข้ ้อความต่อไปนแ้ี ทน “ขอ้ 1. ชือ่ ประเภทและที่ต้ังสำนกั งาน ช่ือ สหกรณ์เคหสถานบ้านมน่ั คงบอ่ ทองพฒั นายง่ั ยืน จำกดั ประเภท สหกรณบ์ ริการ ทต่ี ั้งสำนกั งาน เลขที่ 84 ถนน - หมทู่ ี่ 6 ตำบลทับไทร อำเภออำเภอโปง่ นำ้ รอ้ น จังหวัดจันทบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 22140 สหกรณ์อาจย้ายท่ีตั้งสำนักงานได้ตามที่คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเห็นสมควร โดยแจ้งให้นายทะเบียนสหกรณ์ กรมสง่ เสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ ท่ีสำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการสหกรณ์ และที่ว่าการอำเภอแห่งท้องท่ี ที่สหกรณ์ตั้งอยู่ เปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ สามสบิ วัน และให้ดำเนินการแก้ไขเพ่ิมเติมข้อบังคับในการประชุมใหญ่ คราวตอ่ ไปดว้ ย ตราของสหกรณ์ ตราของสหกรณ์มรี ปู ลักษณะ ดงั นี้ บ้าน หมายถึง ความม่ันคง ดอกบวั หมายถึง ความนบั ถอื ความเชือ่ ความศรัทธา เกลยี วเชือก หมายถึง ความกลมเกลียว” สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี

๒๙ ตัวอย่าง หน้าปกข้อบงั คับ กรณีเปล่ยี นชื่อสหกรณ์ หน้าปกให้เปน็ ชอื่ สหกรณท์ ่ีแก้ไขใหม่ ขอ้ บังคับ ประเภทสหกรณบ์ ริการ สหกรณ์เคหสถานบ้านมัน่ คงบ่อทองพฒั นายั่งยนื จำกดั แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2563 (ปั๊มตราสหกรณ์) สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จนั ทบุรี

๓๐ ข้อบังคบั สหกรณ์เคหสถานบ้านม่นั คงบ่อทองพัฒนายัง่ ยนื จำกดั แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2563 ------------------------------------------------- ทีป่ ระชุมใหญ่ของสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคงบ่อทองเฉลมิ พระเกียรติ 84 พรรษา จำกัด เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2563 ได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ ให้แก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับของสหกรณ์ และนายทะเบยี นสหกรณ์ไดร้ ับจดทะเบียนแลว้ มคี วามดงั น้ี ข้อ 1. ข้อบังคับน้ีเรียกวา่ “ ข้อบังคบั สหกรณ์เคหสถานบ้านม่ันคงบ่อทองพัฒนายงั่ ยนื จำกัด แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2563 ” ขอ้ 2. ข้อบงั คบั นใี้ หใ้ ชบ้ งั คับตงั้ แต่วันถดั จากวนั ที่นายทะเบียนสหกรณ์รบั จดทะเบียน ข้อ 3. ให้ยกเลิกความตามท่ีกำหนดในข้อ 1 แห่งข้อบังคับสหกรณ์เคหสถานบ้านมั่นคง บ่อทองเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา จำกัด เลขทะเบียนข้อบังคับที่ 2200000125532 เสียท้ังหมด และใช้ข้อความตอ่ ไปนแี้ ทน “ข้อ 1. ช่อื ประเภทและท่ตี ั้งสำนักงาน ชื่อ สหกรณเ์ คหสถานบา้ นมัน่ คงบ่อทองพัฒนายั่งยืน จำกัด ประเภท สหกรณบ์ ริการ ทต่ี ั้งสำนกั งาน (ใหญ)่ เลขท่ี 84 ถนน - หมทู่ ี่ 6 ตำบลทับไทร อำเภอโป่งนำ้ รอ้ น จงั หวัดจันทบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 22140 สหกรณ์อาจย้ายท่ีต้ังสำนักงานได้ตามท่ีคณะกรรมการดำเนินการพิจารณาเห็นสมควร โดยแจ้งให้นายทะเบียนสหกรณ์ กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ทราบ และให้ปิดประกาศไว้ ท่สี ำนักงานของสหกรณ์เดิม สำนักงานส่วนราชการสหกรณ์ และที่วา่ การอำเภอแห่งท้องท่ี ทสี่ หกรณ์ต้ังอยู่ เป็นเวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ สามสิบวัน และใหด้ ำเนินการแกไ้ ขเพ่มิ เติมข้อบังคับในการประชมุ ใหญ่ คราวต่อไปด้วย ตราของสหกรณ์ ตราของสหกรณม์ ีรปู ลักษณะ ดงั น้ี บา้ น หมายถงึ ความมัน่ คง ดอกบวั หมายถึง ความนบั ถือ ความเชอ่ื ความศรัทธา เกลยี วเชอื ก หมายถึง ความกลมเกลียว ลงชอ่ื ................................. ประธานกรรมการ (........................................) ลงชื่อ .................................. เลขานกุ าร (..........................................) เหตผุ ล สรุปเหตผุ ลที่ต้องแก้ไขข้อบงั คับสหกรณ์ สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จนั ทบุรี

๓๑ ตัวอยา่ ง การจดบนั ทกึ รายงานการประชุม (คัดเฉพาะวาระพจิ ารณาแก้ไขข้อบงั คับ) (สำเนา) รายงานการประชมุ ใหญ่สามัญประจำปี สหกรณ์เคหสถานบ้านม่นั คงบ่อทองพัฒนายัง่ ยนื จำกัด วนั ท่ี .......................................... ณ ................................................................. ************************************************************ สมาชิกเขา้ ประชุม จำนวน 45 คน (จากสมาชิก ทง้ั หมด 66 คน) ผเู้ ข้าร่วมประชุม เจ้าหน้าทสี่ ่งเสรมิ สหกรณ์ 1. นาง................................................ เจา้ หนา้ ทีต่ รวจบญั ชสี หกรณ์ 2. นาง................................................ 3........................................................ 4...................................................... เร่มิ ประชุมเวลา..............น. นาย.........................................ตำแหนง่ ........... เปน็ ประธานในทปี่ ระชมุ ได้กล่าวเปิด ประชมุ และดำเนนิ การประชมุ ตามระเบียบวาระ ดังต่อไปน้ี ฯลฯ ฯลฯ ระเบียบวาระท่ี 4 เรื่องพิจารณาแก้ไขเพ่ิมเตมิ ขอ้ บังคบั สหกรณ์ นาย................................ ประธานกรรมการ ซ่ึงเป็นประธานในท่ีประชุม ได้นำเสนอร่าง ข้อบังคับของสหกรณ์ เนื่องจากเดิมข้อบังคับของสหกรณ์กำหนด ข้อ 42 ค่าธรรมเนียมแรกเข้า เดิมให้ สมาชิกเข้าใหม่ชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า คนละ 100 บาท ดังนี้ เพ่ือความเหมาะสมกับสภาวการณ์ ปัจจุบัน จึงขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับสหกรณ์ ข้อ 42 ให้สมาชิกเข้าใหม่ชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้า คนละ 150 บาท โดยมรี ายละเอียดใหพ้ จิ ารณาตามแบบ ท.ข.2 ดงั น้ี ขอ้ ความเดิม ข้อความที่แก้ไข ขอ้ 42. ค่าธรรมเนยี มแรกเข้า ข้อ 42. ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ผูเ้ ข้าเป็นสมาชิกจะต้องชำระค่าธรรมเนียมแรกเข้าให้ ผู้เข้าเป็นสมาชกิ จะต้องชำระคา่ ธรรมเนยี มแรกเข้าให้ สหกรณ์คนละ 100 บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้าให้ถือ สหกรณ์คนละ 150 บาท คา่ ธรรมเนียมแรกเข้าใหถ้ ือเป็น เป็นรายไดข้ องสหกรณ์จะเรยี กคืนไม่ได้ รายไดข้ องสหกรณ์จะเรียกคนื ไมไ่ ด้ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบุรี

๓๒ มติท่ีประชุม ท่ีประชุมได้ร่วมกันพิจารณา และมีมติเป็นเอกฉันท์ ให้สหกรณ์แก้ไขเพ่ิมเติม ข้อบงั คบั ตามที่เสนอ ฯลฯ ฯลฯ เม่ือไม่มีสมาชิกท่านใดเสนอเรื่องอื่นใดแลว้ ประธานจงึ กล่าวปิดประชมุ เลิกประชุมเวลา...............น. (ลงช่ือ) ....................................... ประธานในที่ประชุม (……………………………….) (ลงชอื่ )............................ เลขานกุ าร/ผู้จดบันทึกการประชุม (.............................) สำเนาถกู ต้อง (....................................) ประธานกรรมการ สหกรณ์......................................... สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบรุ ี

๓๓ บทท่ี 6 รายละเอียดของข้อบงั คบั ทีต่ อ้ งตรวจสอบเป็นพิเศษหรือผิดพลาดบ่อย 1. ทีต่ ง้ั สำนักงานใหญแ่ ละที่ต้ังสำนกั งานสาขา - หากไม่มที ี่ตั้งสำนักงานสาขาให้ตดั ข้อความสว่ นนี้ออกไป 2. ทอ้ งท่ดี ำเนนิ งาน - สหกรณ์การเกษตร จะมแี ดนดำเนินงานครอบคลมุ ไมเ่ กินอำเภอที่สหกรณ์ต้ังอยู่ - การขอขยายท้องที่ดำเนินงาน หรือกำหนดท้องท่ีดำเนินงานหลายอำเภอ หลายจังหวัด สหกรณ์จะต้อง ช้ีแจงเหตุผลความจำเป็นท่ีต้องขอขยายท้องที่ดำเนินงาน อีกทั้งจะต้องมีแนวทางปฏิบัติ ในการรบั สมาชิกใหม่และ การให้บรกิ ารสมาชิกในส่วนท่ีทอ้ งท่ีดำเนินงานซำ้ ซอ้ นกบั สหกรณ์อ่ืน 3. ตราของสหกรณ์ - ในข้อบังคับของสหกรณ์ รปู ตราสหกรณ์ ให้ประทับด้วยหมึกสนี ำ้ เงนิ เทา่ น้ัน 4. วตั ถุประสงคข์ องสหกรณ์ - วัตถุประสงค์ท่ีกำหนดในข้อบังคับควรให้สอดคล้องและถูกต้องกับการดำเนินงาน ของสหกรณ์ - สหกรณ์ออมทรัพย์สามารถทำธุรกิจสินเชื่อได้เฉพาะด้านการเงินเท่านั้น แต่เมื่อสหกรณ์ ไดก้ ำหนดวัตถปุ ระสงค์ใหส้ มาชกิ สามารถกยู้ ืมหรอื รบั ฝากเงินแลว้ กไ็ มต่ อ้ งกำหนดเร่ืองสินเชอื่ อีก - สหกรณ์ออมทรัพย์ต้องไม่กำหนดวัตถุประสงค์เพื่อการค้า การบริการ การอุตสาหกรรม และการผลติ 5. การลงลายมือชือ่ แทนสหกรณ์ - หากถือใช้ตามร่างข้อบังคับซ่ึงยังไม่ได้แก้ไข ให้ตัดข้อความในส่วนท่ีเกี่ยวกับการลงนาม แทนสหกรณ์ของผู้ปฏิบัติหน้าท่ีแทนผู้จัดการ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการดำเนินการออก เน่ืองจากขัดต่อมาตรา 51 แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 ท่ีกำหนดให้กรรมการหรือผู้จัดการเท่าน้ัน ทำการแทนสหกรณ์ 6. ปีทางบญั ชขี องสหกรณ์ - ในกรณีที่สหกรณ์กำหนดให้วันท่ี 28 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันสิ้นปีทางบัญชี ใหเ้ ปล่ียนเปน็ วันสิ้นเดอื นกมุ ภาพันธ์ของทุกปี 7. คณุ สมบตั ขิ องสมาชกิ สมทบกับสหกรณ์หรือสมาชิกสหกรณ์ - หลักเกณฑ์เก่ียวกับความสัมพันธ์ของสมาชิกสมทบกับสหกรณ์หรือสมาชิกสหกรณ์ ท่ีสหกรณ์ แต่ละประเภทจะกำหนดเป็นคุณสมบัติของสมาชิกสมทบในข้อบังคับ ตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ณ วนั ท่ี 18 มีนาคม 2563 8. ผู้แทนสมาชิก - การกำหนดอัตราส่วนของผู้แทนสมาชิกต่อจำนวนสมาชิก เมื่อกำหนดแล้วต้องมีจำนวน ผแู้ ทนสมาชกิ ไม่น้อยกวา่ หน่งึ รอ้ ยคน - หากไม่ประสงค์จะให้มีผู้แทนสมาชิก ให้ตัดข้อความในหมวดน้ีและข้อความที่เกี่ยวข้อง ในหมวดอื่นออกท้ังหมด และเลอื่ นข้อถดั ไปขึ้นมาแทน สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จนั ทบุรี

๓๔ 9. คณะกรรมการดำเนนิ การ - จำนวนคณะกรรมการดำเนินการจะต้องกำหนดจำนวนให้แน่นอน และไม่ให้ใช้คำว่า “จำนวนไม่เกิน.........คน” เพ่ือให้เป็นไปตามคำแนะนำของนายทะเบียนสหกรณ์ ตามหนังสือนายทะเบียน สหกรณ์ ที่ กษ 0216/07008 ลงวนั ท่ี 4 เมษายน 2543 10. จำนวนผูต้ รวจสอบกจิ การสหกรณ์ - ต้องกำหนดให้มีจำนวนผู้ตรวจสอบกิจการอย่างชัดเจน ตามคำส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ ท่ี 3/2562 ลงวันท่ี 15 กรกฎาคม 2562 เพ่ือให้การตรวจสอบกิจการของสหกรณ์มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับขนาดและประเภทของสหกรณ์ 11. ระเบยี บของสหกรณ์ - หากสหกรณ์ถือใช้ตามร่างข้อบังคับ ระเบียบใดที่สหกรณ์ไม่ได้กำหนดข้ึนถือใช้ หรือไม่มีความจำเป็นตอ้ งกำหนดข้ึนถอื ใช้ใหต้ ัดระเบียบน้ัน ๆ ตามร่างข้อบังคับออก - ไม่สามารถกำหนดระเบียบว่าด้วยการเลือกต้ังคณะกรรมการดำเนินการได้ เนื่องจาก พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 มาตรา 43 (9) บัญญัติให้กำหนดการเลือกต้ังคณะกรรมการ ดำเนินการไวใ้ นข้อบงั คับ - หากสหกรณ์ประสงค์จะมีระเบียบว่าด้วยการสรรหาคณะกรรมการดำเนินการ ต้องกำหนดในข้อบังคับเกี่ยวกับคณะกรรมการดำเนินการ ให้ชัดเจนว่าสหกรณ์ประสงค์จะให้มีการเลือกตั้ง เป็นไปตามระเบียบฯ หรือหากจะให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากสมาชิกในท่ีประชุมใหญ่ก็จะต้องกำหนดไว้ ให้ชัดเจน 12. บทเฉพาะกาล - สหกรณ์ที่เปล่ียนใช้ข้อบังคับใหม่ จะต้องกำหนดบทเฉพาะกาลด้วย เพื่อให้สหกรณ์สามารถ ดำเนนิ กจิ การต่อไปไดอ้ ย่างต่อเน่ือง สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบุรี

๓๕ บทที่ 7 แนวปฏบิ ัติในการแกไ้ ขเพิม่ เตมิ ระเบียบสหกรณ์ ในการดำเนินกิจการของสหกรณ์ ต้องดำเนนิ งานภายใต้กรอบแห่งกฎหมายท้ังปวง แตต่ ้อง ไม่ขัดกับข้อบังคับสหกรณ์และพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่3) พ.ศ.2562 ซ่ึงกำหนดให้สหกรณ์มีอำนาจกระทำการ ตามวัตถุประสงค์ และกฎหมาย สหกรณ์ ซ่ึงสหกรณ์จำต้องมี ข้อบังคับและระเบยี บเปน็ กรอบในการดำเนนิ งาน แนวปฏิบัติในการแกไ้ ขเพ่มิ เติมระเบียบสหกรณ์ มลู เหตุในการแก้ไขเพ่มิ เติมระเบยี บ 1. มกี ารแกไ้ ขพระราชบญั ญตั ิสหกรณ์ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี3) พ.ศ.2562 และกฎหมายอืน่ ท่เี กีย่ วขอ้ ง 2. มกี ารแกไ้ ขกฎกระทรวง ระเบยี บ ประกาศ คำส่ังนายทะเบยี นสหกรณ์ 3. ระเบียบของทส่ี หกรณ์ถอื ใช้อยูไ่ ม่เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจบุ ัน 4. มีการแก้ไขเพิ่มเตมิ ขอ้ บังคับ ขั้นตอนการแก้ไขเพิ่มเติมระเบยี บสหกรณ์ เพ่ือให้การแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ เป็นไปตามข้อบังคับของสหกรณ์และกฎหมายสหกรณ์ กฎหมายอื่นท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนระเบียบ ประกาศ คำส่ังนายทะเบียนสหกรณ์ คณะทำงานการจัดการ ความรู้ สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี ไดก้ ำหนดแนวทางขน้ั ตอนการแก้ไขเพิ่มเตมิ ระเบยี บ ดงั นี้ ท่ี ขน้ั ตอนการ รายละเอียด เอกสาร/ตวั อย่างเอกสาร ดำเนนิ การ 1. เสนอเร่ืองท่ีจะขอแก้ไข เส น อ เร่ือ งท่ี จ ะข อ แ ก้ ไข เพิ่ ม เติ ม รายงานการประชุมคณะกรรมการฯ เพิ่มเติมระเบียบต่อที่ ระเบียบต่อท่ีประชุมคณะกรรมการ ประชุมคณะกรรมการ ดำเนนิ การสหกรณ์ ดำเนิ นการสห กรณ์ เพือ่ พจิ ารณา 2. เส น อ น าย ท ะ เบี ย น ส่งระเบียบที่แก้ไขเพิ่มเติม พร้อม ระเบียบทไ่ี มต่ อ้ งขอความเหน็ ชอบ ส ห ก ร ณ์ รั บ ท ร า บ / เอกสารประกอบการ ให้นายทะเบียน 1. หนงั สือสหกรณ์ 1 ฉบบั 2.สำเนารายงานการประชมุ คณะกรรมการ 1 ชุด เหน็ ชอบ สหกรณร์ ับทราบ/เห็นชอบ 3. สำเนาระเบยี บสหกรณ์ 2 ชดุ 4. แบบ ท.ข.3 (กรณีแก้ไขระเบียบบางข้อ) 1 ชุด ระเบียบทตี่ ้องขอความเหน็ ชอบ 1.หนงั สือสหกรณ์ 1 ฉบบั 2.สำเนารายงานการประชมุ คณะกรรมการ 1 ชุด 3.ระเบยี บสหกรณ์ 2 ชดุ 4. แบบ ท.ข.3 (กรณแี กไ้ ขระเบียบบางขอ้ ) 1 ชดุ (กรณพี ง่ึ กำหนดระเบียบนข้ี ้นึ ถอื ใช้เปน็ ครง้ั แรก ไม่ตอ้ งมี แบบ ท.ข.3) สำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี

๓๖ แผนผังแสดงการปฏิบัติการกำหนดระเบียบสหกรณ์ (กรณรี ะเบยี บทน่ี ายทะเบยี นสหกรณ์ไมต่ อ้ งใหค้ วามเห็นชอบ) สหกรณ์ประชุมคณะกรรมการดำเนนิ การเพื่อพิจารณากำหนดระเบยี บ โดยใช้อำนาจตามความในขอ้ บังคบั ขอ้ ....อำนาจหน้าท่ีของ คณะกรรมการดำเนนิ การ และขอ้ ....ระเบยี บของสหกรณ์ (การกำหนดข้อในข้อบงั คับของแต่ละสหกรณไ์ ม่เหมือนกนั ) สหกรณถ์ ือใช้ระเบยี บวันถดั จากวนั ทีม่ ีมติคณะกรรมการ ยกตัวอย่าง เช่น สหกรณ์การเกษตรรวมพลัง จำกัด ใหก้ ำหนดระเบยี บขนึ้ ถือใช้ พิจารณากำหนดระเบียบว่าด้วยการรับจา่ ยและเก็บรักษา เงิน อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับของสหกรณ์ สง่ สำเนาระเบียบใหส้ ำนกั งานสหกรณจ์ ังหวดั การเกษตรรวมพลังจำกัด ข้อ 75 (16) และข้อ 103 (6) ตัวอย่าง..ข้อบงั คับของสหกรณ์การเกษตรรวมพลงั จำกัด เพือ่ ให้นายทะเบียนรบั ทราบ ข้อ 75. อำนาจหนา้ ที่ของคณะกรรมการดำเนนิ การ เอกสารท่ีตอ้ งสง่ คอื ค ณ ะ ก ร รม ก า รด ำ เนิ น ก า รมี อ ำ น า จ ห น้ า ที่ ด ำ เนิ น กิ จ ก า ร ท้ั ง ป ว งข อ งส ห ก ร ณ์ ให้ เป็ น ไป ต า ม ก ฎ ห ม า ย 1. หนงั สือสหกรณ์ 1 ฉบบั ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำสั่งของสหกรณ์ กับท้ัง ในทางอันจะทำให้เกิดความจำเริญแก่สหกรณ์ ซึ่งรวมทั้ง 2. สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการ 2 ชดุ ในขอ้ ต่อไปนี้ 3. สำเนาระเบยี บสหกรณ์ 2 ชดุ (1) พิจารณาในเร่ืองการรับสมาชิกและสมาชิกออก จากสหกรณ์ ตลอดจนดูแลให้สมาชิกปฏิบัติการต่าง ๆ 4. แบบ ท.ข.3 (กรณีแกไ้ ขระเบียบบางข้อ) 2 ชดุ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำส่ังของ สหกรณ์ (กรณพี ึง่ กำหนดระเบียบน้ขี ้นึ ถอื ใช้เป็นคร้ังแรก ไมต่ ้องมี แบบ ท.ข.3) ฯลฯ สหกรณจ์ งั หวัดรบั เร่อื งแลว้ ประทบั ตรารบั ในหนงั สือสหกรณ์ (16)กำหนดระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์ ฯลฯ กล่มุ จัดตงั้ และส่งเสรมิ สหกรณ์ตรวจสอบเอกสาร เพ่ือเสนอนายทะเบยี นสหกรณ์ (27)พิจารณ ามอบ หมายอำนาจห น้าท่ีในการ ดำเนินงานให้แก่ประธานกรรมการ รองประธาน นายทะเบียนสหกรณ์ลงนามรับทราบ กรรมการ เลขานุการ เหรัญญิก ผู้จัดการและบุคคลท่ี เกยี่ วข้องได้ตามความเหมาะสม แจง้ ผลการรับทราบระเบียบใหส้ หกรณท์ ราบ ข้อ 103. ระเบียบของสหกรณ์ ให้คณะกรรมการ ดำเนินการมีอำนาจกำห นดระเบี ยบ ต่าง ๆ เพ่ื อ ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์แห่งข้อบังคับน้ี แ ล ะ เพ่ื อ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ งส ห ก ร ณ์ รวมทัง้ ในขอ้ ต่อไปน้ี (1) ระเบียบวา่ ดว้ ยการรับเงินฝากจากสมาชิกสหกรณ์ ฯลฯ (6) ระเบียบวา่ ด้วยการรบั จา่ ยและเกบ็ รักษาเงนิ ฯลฯ (10) ระเบียบอ่ืน ๆ ท่ีคณะกรรมการดำเนินการ เห็นสมควรกำหนดไว้ใหม้ ี เพื่อสะดวกและ เปน็ แนวทาง ในการปฏิบัตงิ านของสหกรณ์ เฉพาะระเบียบในข้อ (1), (2) และ (4) ต้องได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ก่อนจึงจะใช้ บังคับได้ ส่วนระเบียบอื่นเม่ือคณะกรรมการดำเนินการ กำหนดใช้แล้วให้ส่งสำเนาให้นายทะเบียนสหกรณ์ กรม สง่ เสรมิ สหกรณ์ และกรมตรวจบัญชสี หกรณ์ทราบ สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบรุ ี

๓๗ แผนผังแสดงการปฏิบตั ิการกำหนดระเบยี บสหกรณ์ (กรณีระเบยี บท่ีนายทะเบยี นสหกรณ์ใหค้ วามเหน็ ชอบ) สหกรณ์ประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพอ่ื พิจารณากำหนดระเบียบ โดยใช้ อำนาจตามความในข้อบงั คับ ขอ้ ....อำนาจหน้าท่ีของคณะกรรมการดำเนินการ และขอ้ ....ระเบยี บของสหกรณ์ (การกำหนดขอ้ ในข้อบังคับของแต่ละสหกรณ์ไม่เหมือนกนั ) การถือใช้ระเบยี บ ยกตัวอย่าง เช่น สหกรณ์การเกษตรพลัง จำกัด พิจารณากำหนดระเบียบว่าด้วยการรับเงินฝากจาก ถา้ ระเบยี บเปน็ ไปตามร่างของ ถ้าระเบยี บไมเ่ ป็นไปตามร่างของ สมาชิกสหกรณ์ อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับ กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ โดยไมม่ ี กรมส่งเสริมสหกรณ์ โดยอาจมีการ ของสหกรณ์การเกษตรรวมพลงั จำกัด ขอ้ 75 (16) การแกไ้ ขข้อความใดๆ เปลี่ยนแปลงแกไ้ ขขอ้ ความบางรายการ และขอ้ 103 (1) ให้สหกรณถ์ อื ใช้ระเบยี บวันถดั ให้สหกรณถ์ อื ใชร้ ะเบียบวนั ถดั จากวนั ที่ ตวั อย่าง.ขอ้ บังคบั ของสหกรณ์การเกษตรพลงั จำกัด จากวนั ท่มี มี ตคิ ณะกรรมการ นายทะเบียนสหกรณ์เหน็ ชอบ ข้อ 75. อำน าจห น้ าท่ี ข องคณ ะกรรม การ ดำเนินการ ส่งสำเนาระเบียบใหส้ ำนกั งานสหกรณ์จงั หวัด สง่ สำเนาระเบยี บใหส้ ำนกั งานสหกรณ์จังหวัด เพ่อื ให้นายทะเบยี นรับทราบ เอกสารทตี่ ้องสง่ คือ คณะกรรมการดำเนนิ การมีอำนาจหน้าท่ีดำเนิน 1.หนังสอื สหกรณ์ 1 ฉบับ เพอื่ ใหน้ ายทะเบียนเหน็ ชอบ เอกสารทต่ี อ้ งสง่ คอื กิจการทั้งปวงของสหกรณ์ให้เป็นไปตามกฎหมาย 2.สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการ 2 ชุด ข้อบังคับ ระเบียบ มติ และคำส่ังของสหกรณ์ 3.สำเนาระเบยี บสหกรณ์ 2 ชุด 1.หนังสอื สหกรณ์ 1 ฉบับ กับท้ังในทางอนั จะทำใหเ้ กดิ ความจำเริญแก่สหกรณ์ 4. แบบ ท.ข.3 (กรณีแก้ไขระเบยี บบางข้อ) 2 ชุด ซงึ่ รวมท้ังในขอ้ ต่อไปน้ี (กรณีพึ่งกำหนดระเบียบนข้ี นึ้ ถือใชเ้ ปน็ 2.สำเนารายงานการประชุมคณะกรรมการ 2 ชดุ ครั้งแรก ไม่ต้องมี แบบ ท.ข.3) (1) พิจารณาในเร่ืองการรับสมาชิกและสมาชิก 3.ระเบียบสหกรณ์ 2 ชดุ ออกจากสหกรณ์ ตลอดจนดูแลให้สมาชิกปฏิบัติการ ต่าง ๆ ตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติ 4. แบบ ท.ข.3 (กรณีแก้ไขระเบยี บบางขอ้ ) 2 ชุด และคำสัง่ ของสหกรณ์ ฯลฯ (กรณีพึง่ กำหนดระเบยี บนี้ขึ้นถอื ใช้เป็นครัง้ แรก (16)กำหนดระเบียบต่าง ๆ ของสหกรณ์ ไม่ตอ้ งมี แบบ ท.ข.3) ฯลฯ สหกรณจ์ งั หวดั รับเรอ่ื งแล้วประทบั ตรา สหกรณ์จงั หวดั รบั เรอ่ื งแล้วประทบั ตรา (27)พิจารณามอบหมายอำนาจหน้าที่ในการ รับในหนังสือสหกรณ์ รับในหนงั สอื สหกรณ์ ดำเนินงานให้แก่ประธานกรรมการ รองประธาน กรรมการ เลขานุการ เหรัญญิก ผู้จัดการและ กลมุ่ จดั ตั้งและสง่ เสริมสหกรณ์ตรวจสอบเอกสาร กลมุ่ จัดตัง้ และส่งเสรมิ สหกรณ์ตรวจสอบ บคุ คลท่เี กีย่ วขอ้ งไดต้ ามความเหมาะสม เพ่ือเสนอนายทะเบยี นสหกรณ์ เอกสารเพอื่ เสนอนายทะเบียนสหกรณ์ ข้ อ 1 0 3 . ร ะ เบี ย บ ข อ ง ส ห ก ร ณ์ ให้ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร มี อ ำ น า จ ก ำ ห น ด ระเบียบต่าง ๆ เพ่ือดำเนินการให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์แห่งข้อบังคับน้ี และเพื่อความสะดวก ในการปฏิบัตงิ านของสหกรณ์ รวมทัง้ ในข้อตอ่ ไปนี้ (1) ระเบียบว่าด้วยการรับเงินฝากจากสมาชิก สหกรณ์ ฯลฯ (6) ระเบยี บวา่ ดว้ ยการรับจ่ายและเก็บรักษาเงนิ ฯลฯ นายทะเบียนสหกรณ์ลงนามรับทราบ นายทะเบียนสหกรณ์ลงนามเหน็ ชอบ ประทับตราข้อความ “นายทะเบยี นสหกรณ์รบั ทราบตามหนงั สือ ประทับตราขอ้ ความ “นายทะเบยี นสหกรณ์ใหค้ วามเหน็ ชอบตามหนงั สือ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวัด................ท.่ี ......................ลงวันท่ี.........................” สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั ................ท.่ี ......................ลงวันท่.ี ........................” หน้าสุดท้ายของระเบยี บซ่ึงประธานกรรมการลงนาม หนา้ สุดท้ายของระเบยี บซึง่ ประธานกรรมการลงนาม แจ้งผลการรับทราบ/เห็นชอบระเบยี บให้สหกรณท์ ราบ พรอ้ มระเบยี บ 1 ฉบับ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบุรี

๓๘ บทท่ี 8 กำหนดระเบยี บของสหกรณ์ การกำหนดระเบียบของสหกรณ์ แยกเป็น 2 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. สหกรณไ์ มเ่ คยกำหนดระเบยี บนนั้ ๆข้นึ ถือใช้มาก่อน 2. สหกรณเ์ คยกำหนดระเบยี บในเร่ืองนน้ั ๆ ข้ึนถือใชแ้ ล้ว แตม่ ีการแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ 2.1 แก้ไขเพิ่มเตมิ โดยเปล่ียนใชห้ รอื พมิ พ์ระเบียบใหม่ท้งั ฉบับ 2.2 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ระเบยี บเป็นบางข้อ วธิ ปี ฏิบตั ิเม่ือสหกรณจ์ ะกำหนดระเบยี บขึน้ ถือใช้ 1. ตรวจสอบจากข้อบังคับว่าการกำหนดระเบียบนั้นๆ เป็นอำนาจของที่ประชุมใหญ่ หรือของคณะกรรมการดำเนินการ หรือต้องขอความเห็นชอบจากนายทะเบยี นสหกรณ์ 2. การบังคับใช้ระเบยี บ เม่อื กำหนดระเบยี บข้ึนแล้วจะมีผลบงั คับใชเ้ มือ่ 2.1 ระเบียบที่กฎหมายสหกรณ์กำหนดว่าต้องขอความเห็นชอบนายทะเบียน สหกรณ์ก่อนถือใช้ ต้องเสนอนายทะเบียนสหกรณ์เพื่อขอความเห็นชอบ เม่ือนายทะเบียนสหกรณ์ ไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบ แลว้ จึงจะถือบังคบั ใชไ้ ด้ 2.2 ระเบียบใดท่ีเป็นอำนาจของคณะกรรมการดำเนินการ เม่ือกำห นด ข้นึ ถือใช้แล้ว จะมีผลบงั คบั ใชใ้ นวันถัดไป 2.3 ระเบียบที่ข้อบังคับกำหนดว่าเป็นอำนาจของท่ีประชุมใหญ่ เม่ือกำหนดขึ้นแล้ว จะต้องเสนอให้ท่ีประชุมใหญ่ให้ความเห็นชอบก่อน และจะมีผลในวันถัดไปนับจากวันท่ีท่ีประชุมใหญ่ เหน็ ชอบ เชน่ วธิ กี ารสรรหากรรมการดำเนินการให้เปน็ ไปตามระเบียบของสหกรณ์ เป็นต้น 3. เม่ือสหกรณ์กำหนดระเบียบขึ้นถือใช้แล้ว ให้ส่งสำเนาระเบียบให้กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และนายทะเบียนสหกรณ์ทราบด้วย สำหรับกรมส่งเสรมิ สหกรณ์ และนายทะเบียน สหกรณ์ ให้สำนักงานสหกรณ์จังหวัดถือปฏิบัติตามหนังสือกรมส่งเสริมสหกรณ์ ท่ี กษ 1108/539 ลงวันท่ี 28 เมษายน 2546 4. เอกสารประกอบการพิจารณาขอความเห็นชอบระเบียบ 4.1 หนงั สอื สหกรณ์ 1 ฉบับ 4.2 สำเนารายงานการประชมุ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ 2 ชดุ 4.3 แบบ ท.ข.3 (กรณแี กไ้ ขบางขอ้ ) 2 ชดุ 4.4 ระเบียบฯ ฉบบั ใหม่ 2 ฉบับ 5. เม่ือสำนกั งานสหกรณ์จังหวดั ไดร้ บั เอกสารขอความเห็นชอบระเบยี บ ใหด้ ำเนนิ การ ดงั น้ี 5.1 ตรวจสอบเอกสาร และระเบียบฯ หากถูกต้อง ให้ประทับตราสำนักงาน สหกรณจ์ ังหวัด พรอ้ มทงั้ ลงลายมือชือ่ กำกับ และวนั ทีใ่ นสว่ นเน้อื หาของระเบยี บทกุ หน้า 5.2 หนา้ สดุ ทา้ ยของระเบียบซงึ่ ประธานกรรมการลงนาม ให้ประทบั ตราขอ้ ความ “ น า ย ท ะ เบี ย น ส ห ก ร ณ์ ให้ ค ว า ม เห็ น ช อ บ ต า ม ห นั ง สื อ ส ำ นั ก ง า น .....................ที่ ................ล ง วั น ที่ ..............................” 6. เมื่อให้ความเห็นชอบระเบียบแล้ว ต้องแจ้งผลการเห็นชอบระเบียบให้สหกรณ์ทราบ พรอ้ มระเบียบ 1 ฉบับ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบุรี

๓๙ รูปแบบของระเบียบ 1. สหกรณไ์ มเ่ คยกำหนดระเบยี บน้นั ๆขนึ้ ถือใช้มากอ่ นหรือกำหนดข้ึนถอื ใช้คร้งั แรก ระเบียบสหกรณ์............................................................จำกัด วา่ ด้วย............................................................................... พ.ศ. ............................ ---------------------------------------------------------------- อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับสหกรณ์........................................................จำกัด ข้อ........... และ ข้อ..... ท่ีประชุมคณ ะกรรมการดำเนินการ ชุดท่ี......... ครั้งท่ี................... เม่ือวันท่ี......................................... ได้มีมติกำหนดระเบียบสหกรณ์.....................................จำกัด วา่ ด้วย.................................. พ.ศ............... ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ระเบยี บน้เี รยี กวา่ “ระเบยี บสหกรณ.์ ...............................................................จำกดั ว่าด้วย..................................... พ.ศ. .................” ขอ้ 2. ระเบียบน้ีใหใ้ ชบ้ ังคบั ตงั้ แต่วนั ถัดจากวันท่ีมีมติ / วันถัดจากวันทท่ี ี่ประชมุ ใหญ่ให้ ความเหน็ ชอบ / วันถดั จากวนั ทน่ี ายทะเบยี นสหกรณ์ให้ความเหน็ ชอบ (1) เปน็ ตน้ ไป ข้อ 3. ในระเบียบน้ี สหกรณ์ หมายถึง สหกรณ.์ ..................................................จำกัด คณะกรรมการ หมายถึง คณะกรรมการดำเนนิ การสหกรณ์.....................................จำกัด ฯลฯ ข้อ 4. ..................................................................... ขอ้ 5. ..................................................................... เน้ือหาของระเบียบ ข้อ ......................................................................... ให้ประธานคณะกรรมการดำเนนิ การเปน็ ผรู้ ักษาการตามระเบยี บน้ี ประกาศ ณ วนั ที.่ ......................................... (.......................................................) ประธานกรรมการ สหกรณ์.......................................จำกัด ** (1) ใหเ้ ลอื กใชข้ ้อความใดข้อความหน่งึ สำนักงานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบุรี

๔๐ 2. สหกรณเ์ คยกำหนดระเบยี บในเร่ืองน้ันๆ ขึ้นถือใชแ้ ล้ว แตม่ กี ารแก้ไขเพ่มิ เติมโดย 2.1 การแก้ไขเพ่มิ เติมโดยเปลี่ยนใช้หรอื พมิ พ์ระเบยี บใหม่ท้งั ฉบบั ระเบยี บสหกรณ์............................................................จำกัด ว่าด้วย............................................................................... พ.ศ. ............................ ---------------------------------------------------------------- อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับสหกรณ์...................................................... ........จำกัด ขอ้ ............. และ ข้อ............. ที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดท่ี............... คร้งั ท.ี่ .............................. เม่อื วันท่ี........................................... ได้มมี ติกำหนดระเบยี บสหกรณ์...................................................จำกัด วา่ ดว้ ย................................................ พ.ศ...................... ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ระเบยี บนีเ้ รยี กว่า “ระเบียบสหกรณ.์ ..............................................................จำกัด วา่ ด้วย..................................... พ.ศ. .................” ข้อ 2. ระเบียบน้ีให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันท่ีมีมติ / วันถัดจากวันท่ีท่ีประชุมใหญ่ ให้ความเห็นชอบ / วนั ถดั จากวันท่ีนายทะเบยี นสหกรณ์ให้ความเห็นชอบ (1) เป็นต้นไป ขอ้ 3. ให้ยกเลิกระเบียบสหกรณ์..............................................................................จำกัด ว่าด้วย............................................พ.ศ. ………….. และบรรดาระเบียบ ประกาศ คำสั่ง มติ หรือข้อตกลง อ่ืนใดซึ่งขดั หรือแย้งกบั ระเบยี บน้ี และใหใ้ ช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4. ในระเบยี บนี้ สหกรณ์ หมายถึง สหกรณ์...................................................จำกดั คณะกรรมการ หมายถงึ คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์.....................................จำกัด ฯลฯ ฯลฯ ขอ้ 4. ..................................................................... ขอ้ 5. ..................................................................... เน้ือหาของระเบียบ ข้อ ......................................................................... ให้..................................................................................เป็นผูร้ กั ษาการตามระเบยี บนี้ ประกาศ ณ วันที่............................................ (........................................................) ประธานกรรมการ สหกรณ์........................................จำกดั ** (1) ให้เลอื กใช้ข้อความใดข้อความหน่งึ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวดั จันทบรุ ี

๔๑ 2.2 การแก้ไขเพมิ่ เติมระเบียบเป็นบางขอ้ ระเบียบสหกรณ์............................................................จำกดั ว่าด้วย............................................................................... แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ฉบับท.ี่ .......... พ.ศ. ............................ ---------------------------------------------------------------- อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับสหกรณ์........................................................จำกัด ข้อ........... และ ข้อ..... ท่ีประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดท่ี......... คร้ังท่ี...................เมื่อวันท่ี ........................................... ได้มีมติกำหนดระเบียบสหกรณ์..................................................จำกัด วา่ ดว้ ย................................................ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ ฉบบั ที่.............. พ.ศ...................... ดังต่อไปนี้ ข้อ 1. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสหกรณ์..........................................จำกัด ว่าด้วย .................................. แก้ไขเพิ่มเติม ฉบบั ที่.............. พ.ศ. .................” ข้อ 2. ระเบียบนี้ใหใ้ ชบ้ ังคับตงั้ แต่วนั ถัดจากวันทีม่ ีมติ / วนั ถัดจากวันทท่ี ่ีประชมุ ใหญ่ให้ ความเหน็ ชอบ / วันถดั จากวันทนี่ ายทะเบียนสหกรณ์ใหค้ วามเหน็ ชอบ (1) เปน็ ต้นไป ข้อ 3. ให้ยกเลิกความในข้อ........ ของระเบียบสหกรณ์................................จำกดั ว่าด้วย ................................................พ.ศ….………….. และใช้ขอ้ ความตอ่ ไปนี้แทน “ข้อ..............................................................................................................................” (2) ขอ้ 4. ให้ยกเลกิ ความในข้อ......... ของระเบียบสหกรณ.์ .............................................จำกัด ว่าดว้ ย...............................................พ.ศ................ และใช้ข้อความต่อไปนี้แทน “ข้อ ..............................................................................................................................” (2) ให้.............................................................................เปน็ ผู้รกั ษาการตามระเบยี บน้ี ประกาศ ณ วนั ท.ี่ ............................................ (........................................................) ประธานกรรมการ สหกรณ์........................................จำกดั ** (1) ให้เลือกใช้ขอ้ ความใดข้อความหนึ่ง ** (2) ให้พิมพ์ระเบียบข้อที่ต้องการแก้ไขมาทั้งข้อ ไม่ใช่เฉพาะข้อความส่วนท่ีต้องการแก้ไข เนื่องจาก จะต้องยกเลกิ ระเบยี บขอ้ นั้นๆ จากระเบียบเดมิ ทัง้ ขอ้ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบรุ ี

๔๒ คำแนะนำการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ ระเบยี บต่างๆ ของสหกรณ์ กรณีกำหนดระเบียบฉบับแก้ไขเพิ่มเติม สิ่งท่ีต้องกำหนดให้เป็นรูปแบบเดียวกันในการแก้ไข เพ่ิมเติมระเบยี บ คือ 1. ชื่อระเบียบ ต้องใช้ช่ือเหมือนระเบียบฉบับเดิม แต่การนับฉบับของระเบียบ ให้นับ ฉบับเดิม เป็นฉบับที่ 1 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมต่อๆ ไป นับเป็นฉบับที่ 2, 3, 4 ........ ไปตามลำดับ สำหรับ พ.ศ. ให้ระบตุ ามปี พ.ศ. ท่ขี อแกไ้ ขเพิม่ เติมระเบียบ 2. การแก้ไขขอ้ ความบางขอ้ ความ หากข้อความท่ีขอแก้ไขมคี วามเก่ยี วพันหรือเกี่ยวเนื่อง กับข้ออน่ื ตอ้ งแกไ้ ขขอ้ ความทีม่ ีความสัมพนั ธ์กันให้หมดทุกขอ้ 3. เน้ือหาของระเบียบ ต้องมีสาระสำคัญของระเบยี บ ดังน้ี ก. อา้ งองิ ข้อบงั คบั หรอื ระเบียบใด จะตอ้ งระบใุ หช้ ัดเจน ข. ใครเป็นผู้ใช้อำนาจออกระเบียบ เช่น คณะกรรมการดำเนินการสหกรณ์ ในคราวการประชุมคร้ังทเี่ ท่าใด เม่ือวนั ท่ีเท่าใด เปน็ ตน้ ค. ต้องการยกเลิกข้อความในข้อใดของระเบียบเดิม ให้ระบุยกเลิกข้อความ ในขอ้ นน้ั ๆ ทงั้ ขอ้ ง. ข้อความในระเบียบท่ีขอแก้ไขจะต้องระบุมาท้ังข้อ ไม่ใช่เฉพาะวรรคหรือข้อความ ทีข่ อแก้ไข จ. ระบุใหช้ ดั เจนว่าใหถ้ ือบงั คบั ใช้ระเบียบฉบับทแ่ี ก้ไขเพ่ิมเติมครั้งนต้ี ้ังแตว่ ันที่เท่าใด ฉ. ให้ระบวุ นั ประกาศ หรือกำหนดระเบียบไวด้ ้วย สำนักงานสหกรณ์จงั หวดั จนั ทบรุ ี

ตวั อย่างแบบ ท.ข.3 ๔๓ (เอกสารประกอบ) แบบ ท.ข.3 ตารางเปรยี บเทยี บการแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบ สหกรณ์...................................................................จำกัด ข้อความเดิม ข้อความทีข่ อแกไ้ ข เหตุผล สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จันทบรุ ี

๔๔ คำแนะนำการจดั ทำระเบียบ การรับเงนิ ฝากออมทรัพย์ เงินฝากออมทรพั ยพ์ ิเศษ เงนิ ฝากประจำ และเงนิ ฝากประจำที่ไดร้ ับการยกเว้นภาษี พระราชบัญญัติสหกรณ์ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2562 มาตรา 16 ให้ยกเลิกความใน (5) ของมาตรา 46 แห่งพระราชบญั ญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2553 และใหใ้ ชข้ ้อความตอ่ ไปน้ี แทน“(5) รับฝากเงินประเภทออมทรัพย์หรือประเภทประจำจากสมาชิกหรือสหกรณ์อื่น หรือสมาคม ฌาปนกิจสงเคราะห์ซ่ึงมีสมาชิกของสมาคมน้ันไม่น้อยกว่ากึ่งหน่ึงเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับฝากเงิน หรือนิติบุคคลซึ่งมีบุคลากรหรือลูกจ้างไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของนิติบุคคลน้ันเป็นสมาชิกของสหกรณ์ผู้รับ ฝากเงนิ ทง้ั น้ี ตามระเบียบของสหกรณท์ ีไ่ ดร้ ับความเหน็ ชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์” 1. ระเบยี บว่าดว้ ยการรับเงนิ ฝากออมทรัพย์ สหกรณ์ตอ้ งกำหนดเนือ้ หาสาระเพือ่ ใหฝ้ า่ ยจดั การและสมาชกิ ปฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอน ดงั น้ี 1.1 การเปิดบญั ชี 1.1.1 สหกรณต์ ้องกำหนดเงอ่ื นไขการเปดิ บัญชแี ละเอกสารประกอบการขอเปิดบญั ชี 1.1.2 กำหนดจำนวนบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ว่าผู้ฝากรายหนึ่งๆสามารถเปิด บัญชเี งนิ ฝากออมทรพั ย์ได้รายละไม่เกินกบี่ ญั ชี สำหรับเงนิ ฝากออมทรัพย์ควรใหผ้ ูฝ้ ากเปดิ ไดเ้ พยี งบัญชีเดียว 1.1.3 ต้องกำหนดจำนวนเงินข้นั ต่ำทีข่ อเปดิ บญั ชคี รงั้ แรก 1.2 การนำเงินฝากเข้าบัญชีออมทรัพย์ในครั้งต่อไป ให้กำหนดให้ชัดเจนว่าต้อง ไม่ตำ่ กว่าเทา่ ไรหรอื จำนวนเท่าไหร่ก็ได้ 1.3 การกำหนดอัตราดอกเบ้ยี 1.3.1 ให้สหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ทุกประเภท กำหนดอัตราดอกเบ้ียได้ไม่เกิน ร้อยละ 4.0 ต่อปี ตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ลงวันที่ 27 เมษายน 2564 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่ วนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564 1.3.2 การคิดและคำนวณดอกเบ้ีย สหกรณ์สามารถกระทำได้ 2 กรณี คือ การคดิ ดอกเบ้ยี เปน็ รายวนั หรือเปน็ รายเดอื น 1.3.3 การนำดอกเบย้ี ทบเป็นตน้ เงินเขา้ บัญชเี งินฝาก - สหกรณ์สามารถนำดอกเบี้ยทบเป็นต้นเงินเข้าบัญชีเงินฝากได้มากกว่าปีละ 1 คร้ัง เช่น ปีละ 1 ครั้ง 2 ครัง้ หรอื 4 ครงั้ - สหกรณ์ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าจะนำดอกเบี้ยทบเป็นต้นเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ให้ทุกวันท่ีเท่าไหร่ ห้ามนำระยะเวลาการฝากมาเป็นเงื่อนไขการทบดอกเบี้ยเป็นเงินต้น เช่น สหกรณ์หน่ึง จำกัด ปีทางบัญชีของสหกรณ์ คือวันท่ี 31 ธันวาคม และสหกรณ์ประสงค์จะนำดอกเบี้ยทบเป็นตน้ เงินเข้าบัญชีเงินฝาก ให้ปีละ 4 คร้ัง ให้กำหนดว่าจะทบเป็นต้นเงินให้ทุกวันที่ 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 30 มิถุนายน และทุก วนั ท่ี 30 กันยายน เปน็ ต้น ห้ามใช้คำว่าทกุ 3 เดอื น 1.4 การถอนเงินฝากออมทรัพย์ สหกรณ์จะนำเง่ือนเวลามากำหนดในการถอนเงินฝาก ออมทรัพย์ไม่ได้ เนื่องจากเงินฝากออมทรัพย์เป็นเงินฝากท่ีต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม ดังน้ัน การถอนเงินฝาก ออมทรัพย์สหกรณ์ ต้องกำหนดให้ถอนเม่ือใดก็ได้ สำหรับจำนวนเงินท่ีถอนสหกรณ์อาจกำหนดว่าจำนวนเท่าใด ก็ได้ หรอื ต้องไมต่ ่ำกว่าเท่าใดก็ได้ เช่น ไมต่ ำ่ กวา่ 50 บาท หรอื 100 บาท สำนกั งานสหกรณ์จังหวดั จันทบุรี

๔๕ 1.5 การปิดบัญชีเงินฝาก สหกรณ์ต้องกำหนดเง่ือนไขการปิดบัญชีและเอกสาร ประกอบการขอปิดบัญชีและต้องกำหนดวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการปิดบัญชีว่ากระทำได้กี่วิธี พร้อมท้ังการ คดิ ดอกเบี้ยในกรณปี ดิ บญั ชี โดยห้ามนำเงื่อนเวลามาเป็นหลักเกณฑ์ 2. ระเบียบว่าด้วยการรับเงินฝากออมทรพั ยพ์ เิ ศษ สหกรณต์ อ้ งกำหนดเนอ้ื หาสาระเพื่อให้ฝา่ ยจัดการและสมาชิกปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอน ดงั นี้ 2.1 การเปดิ บัญชี 2.1.1 สหกรณ์ต้องกำหนดเงือ่ นไขการเปิดบญั ชี และเอกสารประกอบการขอเปดิ บญั ชี 2.1.2 กำหนดจำนวนบัญชีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษว่าผู้ฝากรายหน่ึง ๆ สามารถ เปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ได้รายละก่ีบัญชี สำหรับเงินฝากออมทรัพย์พิเศษควรให้ผู้ฝากเปิดได้เพียงบัญชีเดียว หากสหกรณ์ตอ้ งการระดมทนุ อาจใหเ้ ปดิ บัญชมี ากกว่าหน่งึ บญั ชีได้ 2.1.3 ตอ้ งกำหนดจำนวนเงินขนั้ ต่ำท่ขี อเปดิ บัญชคี ร้งั แรก 2.2 การนำเงนิ ฝากเข้าบัญชีออมทรัพย์พเิ ศษในครงั้ ต่อไป ให้กำหนดให้ชดั เจนว่าเท่าไร หรอื จำนวนเท่าไรกไ็ ด้ 2.3 การกำหนดอัตราดอกเบี้ย 2.3.1 ให้สหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ทุกประเภท กำหนดอัตราดอกเบ้ียได้ไม่เกิน ร้อยละ 4.0 ต่อปี ตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ลงวันที่ 27 เมษายน 2564 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 2.3.2 การคิดและคำนวณดอกเบี้ย สหกรณ์สามารถกระทำได้ 2 กรณี คือ การคดิ ดอกเบ้ยี เป็นรายวนั หรอื เปน็ รายเดือน 2.3.3 การนำดอกเบีย้ ทบเปน็ ต้นเงนิ เขา้ บัญชเี งินฝาก - สหกรณ์สามารถนำดอกเบ้ียทบเป็นต้นเงินเข้าบัญชีเงินฝากได้มากกว่าปีละ 1 ครั้ง เช่น ปีละ 1 ครัง้ 2 คร้ัง หรือ 4 คร้งั - สหกรณ์ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าจะนำดอกเบี้ยทบเป็นต้นเงินเข้าบัญชีเงินฝาก ให้ทุกวันท่ี เท่าไหร่ ห้ามนำระยะเวลาการฝากมาเป็นเงื่อนไขการทบดอกเบี้ยเป็นเงินต้น เช่น สหกรณ์หน่ึง จำกัด ปีทางบัญชีของสหกรณ์ คือวนั ที่ 31 ธันวาคม และสหกรณ์ประสงค์จะนำดอกเบ้ียทบเป็นตน้ เงินเข้าบัญชีเงินฝาก ให้ปีละ 4 ครั้ง ให้กำหนดว่าจะทบเป็นต้นเงินให้ทุกวันที่ 31 ธันวาคม 31 มีนาคม 30 มิถุนายน และทุกวันที่ 30 กนั ยายน เปน็ ต้น หา้ มใช้คำวา่ ทกุ 3 เดือน 2.4 การถอนเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ สหกรณ์จะนำเงื่อนเวลามากำหนดในการไถ่ถอนเงิน ฝากออมทรัพย์ไม่ได้ เนื่องจากเงินฝากออมทรัพย์เป็นเงินฝากที่ต้องจ่ายคืนเมื่อทวงถาม และเงินฝากออมทรัพย์ พเิ ศษถอื เป็นเงินฝากออมทรพั ยช์ นดิ หนึ่ง จงึ เปน็ เงินฝากที่ต้องจา่ ยคนื เมือ่ ทวงถามเชน่ เดียวกนั การถอนเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ สหกรณ์ต้องกำหนดให้ถอนเม่ือใดก็ได้ แต่การถอนน้ัน สหกรณ์อาจกำหนดจำนวนคร้ังการถอนที่ไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียมการถอน และระบุการถอนคร้ังท่ีเท่าใด ท่ีต้องเสยี คา่ ธรรมเนยี มการถอน 2.4.1 การกำหนดค่าธรรมเนียมการถอน ให้กำหนดให้ชดั เจนว่าคิดเป็นจำนวนเท่าใด ในการถอนแต่ ละคร้ัง หรือคดิ ค่าธรรมเนียมการถอนรอ้ ยละเท่าไรของจำนวนเงนิ ที่ถอน 2.4.2 จำนวนเงินท่ีถอนในแต่ละครั้ง สหกรณ์อาจกำหนดว่าจำนวนเท่าใดก็ได้ หรือต้องไม่ต่ำกว่าเทา่ ใดกไ็ ด้ เช่น ไมต่ ่ำกวา่ 500 บาท หรอื 1,000 บาท สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จันทบุรี

๔๖ 2.5 การปดิ บัญชีเงินฝาก สหกรณ์ต้องกำหนดวิธปี ฏิบัติเกีย่ วกบั การปดิ บัญชีว่ากระทำไดก้ ี่วธิ ี พร้อมท้ังการคิดดอกเบี้ยในกรณปี ดิ บัญชี โดยห้ามนำเง่ือนเวลามาเป็นหลักเกณฑ์ 3. ระเบยี บว่าดว้ ยการรบั เงนิ ฝากประจำ สหกรณ์ตอ้ งกำหนดเน้อื หาสาระเพื่อให้ฝา่ ยจัดการและสมาชกิ ปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอน ดังน้ี 3.1 การเปิดบัญชี 3.1.1 สหกรณต์ อ้ งกำหนดเงื่อนไขการเปดิ บัญชแี ละเอกสารประกอบการขอเปิดบญั ชี 3.1.2 กำหนดจำนวนบัญชีเงินฝากประจำ ผู้ฝากรายหน่ึง ๆ สามารถเปิดบัญชี เงนิ ฝากประจำได้รายละไม่เกนิ กบี่ ัญชี โดยอาจกำหนดตามระยะเวลาการฝากก็ได้ 3.1.3 กำหนดจำนวนเงินข้ันตำ่ ที่ขอเปดิ บญั ชคี รัง้ แรก 3.1.4 เงินฝากประจำสามารถแยกตามระยะเวลาการฝาก เช่น ฝากประจำ 3 เดือน 6 เดอื น หรือ 1 ปี เป็นต้น 3.2 การนำเงินฝากเข้าบัญชีประจำคร้ังต่อไป เงินฝากประจำโดยท่ัวไปมีลักษณะการฝาก อยู่ 2 แบบ คือ ฝากทั้งจำนวนจนครบระยะเวลาและทยอยฝากจำนวนเท่า ๆ กัน จนครบระยะเวลา ให้กำหนด จำนวนให้ชัดเจนว่าตอ้ งไมต่ ำ่ กว่าเทา่ ใด หรอื จำนวนทีแ่ น่นอนเท่าใด 3.3 การกำหนดอัตราดอกเบ้ยี 3.3.1 ให้สหกรณ์และชุมนุมสหกรณ์ทุกประเภท กำหนดอัตราดอกเบ้ียได้ไม่เกิน ร้อยละ 4.0 ต่อปี ตามประกาศนายทะเบียนสหกรณ์ ลงวันท่ี 27 เมษายน 2564 มีผลบังคับใช้ต้ังแต่ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 3.3.2 การคิดดอกเบ้ีย สหกรณ์ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าสหกรณจ์ ะคิดดอกเบ้ียให้ เม่อื ครบกำหนดการฝาก 3.3.3 หากผฝู้ ากไม่ถอนเงนิ ฝากเมื่อถงึ กำหนดพร้อมดอกเบี้ยภายในก่ีวัน (ไมค่ วร เกิน 7 วัน)สหกรณ์สามารถกำหนดได้ดังน้ี “ให้ถือว่าผู้ฝากตกลงฝากเงินต้นพร้อมดอกเบ้ียต่อไปอีก เท่าระยะเวลาเดิม” หรือ “ให้ถือว่าผู้ฝากตกลงฝากเงินต้นไปอีกในระยะเวลาเท่าเดิม สำหรับดอกเบ้ียให้ผู้ฝาก มารับทสี่ ำนกั งานสหกรณโ์ ดยเร็ว” 3.4 การถอนเงินฝากประจำ เงินฝากประจำจะถอนได้ต่อเมื่อครบกำหนดการฝากเท่าน้ัน แต่สหกรณ์สามารถให้ผู้ฝากถอนเงินก่อนครบกำหนดได้ ต้องกำหนดให้ชัดเจนว่าผู้ฝากไม่มีสิทธิ์ถอนเงินฝาก ก่อนครบกำหนด แต่หากผู้ฝากยื่นคำขอเป็นหนังสือโดยชี้แจงความจำเป็น สหกรณ์อาจจะยอมให้ถอนได้ โดยจะคิดดอกเบ้ียให้หรือไม่ หรือคิดให้ในอัตราท่ีต่ำกว่าอัตราที่ประกาศไว้ก็ได้ ต้องกำหนดให้ชัดเจน เช่น เงินฝากที่ยังไม่ครบ 3 เดือน สหกรณ์จะไม่คิดดอกเบ้ียให้ หรือคิดดอกเบ้ียในอัตราเงินฝากออมทรัพย์ก็ได้ หรือเงินฝากท่ียังไม่ครบ 3 เดือน สหกรณ์จะไม่คิดดอกเบ้ียให้ แต่หากเงินฝากเกิน 3 เดือน แต่ไม่ถึงกำหนด ทีต่ กลงไว้จะคดิ ดอกเบย้ี เปน็ รายเดือนตามระยะเวลาการฝากจริง เปน็ ต้น 3.5 การปิดบัญชี สหกรณ์ต้องกำหนดวิธีปฏิบัติเก่ียวกับการปิดบัญชีให้ชัดเจนว่ามีก่ีวิธี พร้อมทัง้ การคิดดอกเบี้ยในกรณปี ดิ บัญชีก่อนครบกำหนดระยะเวลาการฝาก 4. ระเบียบวา่ ด้วยการรับเงินฝาก……………(ฝากเดอื นละเทา่ ๆ กัน) เงินฝากประจำที่ไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งกำหนดตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวล รัษฎากรว่าด้วยการยกเวน้ รัษฎากร (ฉบับท่ี 664) พ.ศ. 2561 เพื่อการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับ ดอกเบ้ียเงินฝากของสหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์ประเภทออมทรัพย์ต้องกำหนดเน้ือหาสาระเพื่อให้ฝ่ายจัดการ และสมาชิกปฏบิ ัติตามข้นั ตอน ดังนี้ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั จนั ทบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook