Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore sar-ปานทอง-2562-2 สมบูรณ์

sar-ปานทอง-2562-2 สมบูรณ์

Description: sar-ปานทอง-2562-2 สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา 256๒ ของ นางสาวปานทอง แสงสุทธิ ตำแหน่ง ครู คศ.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สิงห์ สิงหเสน)ี ๔ สงั กดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒ สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน



คำนำ รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self-Assessment Report : T - SAR) เป็นการประเมินการปฏิบัติหนา้ ทีต่ ามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545 รวมทั้งมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ข้าพเจ้าได้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการจัดการเรยี นการสอน และการปฏิบัติหน้าที่ของข้าพเจ้าตามฝ่ายกลุ่มงาน ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ที่ไ ด้ส่งเสริมให้นักเรียนมี คุณลักษณะและคุณภาพตามระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษา โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ สำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2 โดยเปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ตงั้ แต่วนั ที่ ๑ เดอื นตลุ าคม พ.ศ. 2562 ถึงวันท่ี 31 เดอื นมีนาคม พ.ศ.2563 ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๒ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการรายงานพร้อมประเมินผลการทำงานของข้าพเจ้า ว่าได้ปฏิบัติหน้าที่บรรลุ จุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๔ ตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้อง รายงานดังกล่าวได้จัดทำขึ้นเพื่อรายงานการประเมินตนเองเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ต่อ ผู้บังคับบัญชาตามลำดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรียน ชุมชนในสังคมได้ทราบผล การปฏบิ ัติงานของข้าพเจา้ และคณุ ลกั ษณะของผ้เู รยี นตามเกณฑม์ าตรฐานคุณภาพการศึกษา ข้อมูลที่ได้จากรายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self-Assessment Report : T - SAR) ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะได้นำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานที่ได้รับ มอบหมาย เพ่ือสง่ เสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนใหส้ งู ขึ้นในทกุ ๆ ด้านต่อไป (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) ตำแหนง่ ครู 16 มนี าคม 256๓

สารบัญ หนา้ เรอ่ื ง 1 บทที่ 1 ขอ้ มลู พื้นฐาน 1 1 - ข้อมูลท่วั ไป - ขอ้ มลู การปฏิบตั ิหน้าท่ี 4 - การพัฒนาตนเอง 7 บทที่ 2 แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาประจำปี บทท่ี 3 ผลการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาในรอบปี 13 - ผลการประเมินการปฏบิ ัติงาน 13 - ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นของนกั เรียน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา 256๒ 17 - ผลการปฏบิ ัติหน้าท่ีพิเศษ บทที่ 4 สรปุ ผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้ 22 ภาคผนวก 24 27

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 1 บทที่ 1 ขอ้ มูลพนื้ ฐาน 1.ข้อมลู ทั่วไป ช่ือ/นามสกุล นางสาวปานทอง แสงสุทธิ วนั /เดือน/ปเี กิด 18 มกราคม 2534 อายุ 2๙ ปี ท่อี ย่ปู ัจจบุ ัน บ้านเลขท่ี 132 ซ.ฉลองกรงุ 53 แขวงลำปลาทวิ เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร เลขทตี่ ำแหนง่ 11261 เลขประจำตวั ประชาชน 1100701315994 วันทบ่ี รรจุเข้ารับราชการ 4 ธนั วาคม 2557 รบั เงนิ เดอื นอนั ดับ คศ.1 เงนิ เดอื น 22,100 บาท ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่ง ครู คศ.1 วทิ ยฐานะ ไมม่ ี เครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์ ไม่มี ปฏิบัตริ าชการเปน็ เวลา 5 ปี 3 เดือน ปฏิบัติงานหลัก ครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย งานกลุ่มบริหารวิชาการ หัวหน้ากิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน, หัวหน้างานจัดตารางสอน, หัวหนา้ ลูกเสือชน้ั ม.1 งานกล่มุ สาระการเรยี นรู้ งานพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา, งาน PLC โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสนี) ๔ สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2 วฒุ กิ ารศกึ ษา  เทียบเทา่ /อนปุ ริญญาตรี ................................. วิชาเอก .....................................  ปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย  ปริญญาโท สาขา ................................. วิชาเอก ....................................  ปริญญาเอก สาขา .................................................................................. สรปุ วันลา ลาป่วย - ครงั้ - วัน ลากจิ - ครงั้ - วนั 2. ข้อมลู การปฏิบัติหน้าที่ 2.1 การปฏิบัติหนา้ ท่ีสอน ภาคเรียนที่ ๒/2562 ปฏบิ ัตกิ ารสอน จำนวน 1 รายวชิ า จำนวน 5 หอ้ ง จำนวน 15 ชม. ตารางท่ี 1 แสดงรายวชิ า ห้องเรียน นักเรยี น ชว่ั โมงเรยี นที่ปฏบิ ตั ิการสอน รหัสวิชา ชื่อรายวชิ า หอ้ ง จำนวน จำนวน นกั เรยี น ช่ัวโมง 15 ท2110๒ ภาษาไทย ๒ ม.1/2,1/4,1/6,1/8,1/10 154 1 กิจกรรมลูกเสอื – เนตรนารี ม.1/1 – ม.1/10 315 1 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและ ม.1/8 36 17 สาธารณประโยชน์ รวมช่วั โมงปฏิบตั ิการสอน ตารางท่ี 2 แสดงกจิ กรรมชมุ นมุ กจิ กรรมพิเศษ ทปี่ ฏิบัตกิ ารสอน ชือ่ ชมุ นมุ /กจิ กรรม จำนวนสมาชิก กิจกรรมคัดเขยี นไทย ลายมอื นัน้ คอื ยศ 23

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 2 2.2 หน้าทีพ่ ิเศษอ่ืน ได้แก่ 1) ครทู ่ีปรกึ ษานักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1/8 จำนวนนักเรยี น 36 คน 2) หนา้ ทภ่ี ายในกลมุ่ สาระ/วชิ าสอน ➢ งานพฒั นาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศกึ ษา ➢ งานชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) 3) หนา้ ทอี่ ่นื ๆ ได้แก่ ➢ หัวหนา้ กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ➢ หวั หน้างานจัดตารางสอน ➢ หัวหน้ากิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ➢ คณะกรรมการคณะฉตั รบดินทร 2.3. แสดงผลงานดเี ดน่ ของครู (ระบุเฉพาะปกี ารศึกษา 256๒) ตารางท่ี 3 แสดงผลงานดีเด่นของครู ระดับ ที่ รางวลั ช่อื - สกลุ หนว่ ยงานที่จัด นานาชาติ สำนกั งานเครือข่าย องค์กรงดเหล้า ประเทศ (สคล.) ร่วมกับ สำนักงาน ภาค คณะกรรมการ 1 ครดู ีไม่มีอบายมุข นางสาวปานทอง แสงสุทธิ การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน (สพฐ.) เขตพ้นื ท่ี มลู นธิ ิครดู ขี อง 2 รางวลั ครูดีของแผ่นดิน นางสาวปานทอง แสงสุทธิ แผ่นดิน ขั้นพ้ืนฐาน 1 ครูพัฒนาสื่อเว็บไซต์ DLIT นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ บดินทรเดชา ๔ เพ่อื ใช้ในการเรยี นการสอน โรงเรียน ดีเดน่ 2.4. การเป็นวทิ ยากร / คณะกรรมการตัดสนิ นอกสถานศึกษา - 2.5 แสดงผลงานดเี ดน่ ของนักเรียน ตารางที่ 4 แสดงผลงานดเี ดน่ ของนักเรียน ระดบั ท่ี รางวัล ชื่อ- สกลุ หนว่ ยงานท่ีจัด นานาชาติ - - - ประเทศ - - - - - - ภาค เขตพน้ื ท่ี

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 3 ระดับ ท่ี รางวัล ชือ่ - สกลุ หนว่ ยงานทจี่ ัด โรงเรยี น 3. การพฒั นาดว้ ยตนเอง 3.1 กจิ กรรมการพัฒนาดว้ ยตนเอง ในดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562  เขียนและใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ า - รายวิชาภาษาไทย 2 รหสั วิชา ท21102  ผลติ สอื่ ..........3......... ช้ิน ไดแ้ ก่ (ระบชุ ่อื ส่อื รายวชิ า ) 1. เอกสารประกอบการเรยี นกิจกรรมลกู เสือ - เนตรนารี 2 2. สือ่ การสอนเง่ือนเชอื กลูกเสอื 3. ห้องเรียนคุณครปู านทอง DLIT  ทำวิจัยในช้ันเรยี น จำนวน .....1..... เรือ่ ง ไดแ้ ก่ การพฒั นาทักษะการอ่าน ออกเสียงโดยการใช้นทิ าน สำหรับนักเรียนท่มี ปี ัญหาด้านการอา่ น ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑  จดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ จำนวน .......3...... หนว่ ย ไดแ้ ก่ แบบบูรณาการ 1. .....................-...................................................................................... เศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. แผนการจัดการเรยี นรูบ้ ูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง เร่อื ง ราชาธริ าช 2. แผนการจัดการเรียนรู้บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง เรือ่ ง กาพย์เหช่ ม เคร่อื งคาวหวาน 3. แผนการจัดการเรยี นรบู้ รู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง เร่อื ง นิทานพน้ื บ้าน อนุรักษพ์ ลังงาน 1. ...............-............................................................................................  จัดทำ Best Practices จำนวน .......2...... เร่อื ง ได้แก่ 1. การนำวงจรการบริหารคุณภาพ PDCA มาใช้ในกระบวนการจัดกจิ กรรมลูกเสอื – เนตรนารสี ามัญรนุ่ ใหญ่ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒  จัดทำ Flow chart จำนวน 1 รายวิชา ไดแ้ ก่ - รายวิชาภาษาไทย 2 รหสั วิชา ท21102  นำ/มอบหมายใหน้ ักเรยี นไปศึกษาค้นควา้ /ใชแ้ หลง่ เรยี นร้นู อกโรงเรยี น ได้แก่ - นำนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ศกึ ษาแหล่งเรยี นรู้นอกสถานที่ จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ท่ี 4  เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรูแ้ กน่ กั เรียน จำนวน.........-......... ครั้ง 3.2 การเขา้ ร่วมกิจกรรมทางวชิ าการเพอื่ พฒั นาตนเอง การเข้าร่วมอบรม สัมมนา ประชมุ ปฏบิ ัติการ ศกึ ษาดงู าน มีดงั นี้ ตารางท่ี 5 แสดงการเขา้ รว่ มอบรม/สมั มนา/ประชุมปฏิบัติการ/ศกึ ษาดงู าน ว/ด/ป เรอ่ื ง / หนว่ ยงานทจ่ี ดั / วิทยากร สถานท่ี จำนวน หลกั ฐาน ชวั่ โมง/วัน 3 ก.ค. 62 การประชมุ คณะกรรมการดำเนินการ บ.ด.4 3 ช่วั โมง ค่ายผู้นำลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผู้บำเพ็ญประโยชน์ในเครอื 6 บดินทร ปกี ารศกึ ษา 2562 1 ก.ย. 62 การอบรมการใหก้ ารปรกึ ษาวัยรนุ่ ผ่าน กรมสขุ ภาพจิต สถาบนั 1 ชม่ั โมง ประกาศนียบตั ร ระบบ training online ในหัวข้อการให้ สขุ ภาพจิตเด็กและวัยร่นุ 20 นาที การปรึกษาวัยรุน่ กรณซี ึมเศร้า ราชนครนิ ทร์ หลกั สูตรการให้การปรึกษาวยั รนุ่ 1 ก.ย. 62 การอบรมการให้การปรึกษาวัยรุ่นผา่ น กรมสุขภาพจิต สถาบัน 35 นาที ประกาศนียบตั ร ระบบ training online ในหวั ข้อการให้ สขุ ภาพจติ เด็กและวัยรุ่น ราชนครนิ ทร์ การปรกึ ษาวัยรุ่น กรณีความรนุ แรง หลักสูตรการใหก้ ารปรกึ ษาวยั รุ่น 1 ก.ย. 62 การอบรมการให้การปรกึ ษาวยั รนุ่ ผา่ น กรมสุขภาพจิต สถาบนั 45 นาที ประกาศนยี บัตร ระบบ training online ในหัวข้อการให้ สุขภาพจิตเด็กและวัยรนุ่ ราชนครนิ ทร์ การปรึกษาวัยรนุ่ กรณีความรุนแรง (กรณีศึกษา) หลกั สตู รการให้การ ปรึกษาวัยรุ่น 1 ก.ย. 62 การอบรมการใหก้ ารปรึกษาวัยรนุ่ ผา่ น กรมสุขภาพจิต สถาบนั 1 ชวั่ โมง ประกาศนียบตั ร ระบบ training online ในหัวข้อการให้ สขุ ภาพจติ เด็กและวัยรุ่น 10 นาที การปรึกษาวัยรุ่น กรณียาเสพตดิ ราชนครนิ ทร์ หลักสูตรการให้การปรกึ ษาวยั รุน่ 1 ก.ย. 62 การอบรมการใหก้ ารปรึกษาวัยร่นุ ผา่ น กรมสขุ ภาพจิต สถาบนั 20 นาที ประกาศนียบตั ร ระบบ training online ในหัวข้อการให้ สุขภาพจิตเดก็ และวัยรุน่ ราชนครนิ ทร์ การปรึกษาวยั รุ่น กรณยี าเสพตดิ (กรณีศึกษา) หลักสูตรการใหก้ าร ปรึกษาวยั รุ่น 1 ก.ย. 62 การอบรมการใหก้ ารปรกึ ษาวัยรุ่นผา่ น กรมสุขภาพจิต สถาบัน 55 นาที ประกาศนยี บัตร ระบบ training online ในหัวขอ้ การให้ สุขภาพจิตเดก็ และวัยรุ่น ราชนครนิ ทร์ การปรึกษาวยั รุ่น กรณีเกมและ คอมพิวเตอร์ หลักสตู รการให้การ ปรึกษาวัยรุ่น 1 ก.ย. 62 การอบรมการใหก้ ารปรึกษาวัยรุ่นผา่ น กรมสขุ ภาพจติ สถาบนั 60 นาที ประกาศนียบัตร ระบบ training online ในหวั ข้อการให้ สุขภาพจติ เดก็ และวัยรนุ่ ราชนครนิ ทร์

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 5 ว/ด/ป เร่ือง / หน่วยงานทจ่ี ัด / วิทยากร สถานท่ี จำนวน หลักฐาน 1 ก.ย. 62 1 ก.ย. 62 การปรึกษาวยั ร่นุ กรณีเพศ (ท้องวัยรุ่น) กรมสุขภาพจติ สถาบัน ช่ัวโมง/วนั 1 ก.ย. 62 หลกั สตู รการให้การปรึกษาวยั รนุ่ สขุ ภาพจติ เดก็ และวัยรุ่น การอบรมการใหก้ ารปรึกษาวยั ร่นุ ผ่าน 50 นาที ประกาศนยี บัตร 5 -6 ก.ย. 62 ระบบ training online ในหวั ขอ้ การให้ ราชนครินทร์ 7 ก.ย. 62 การปรึกษาครอบครัว หลกั สตู รการให้ 1 ช่วั โมง ประกาศนยี บัตร 15 ก.ย. 62 การปรกึ ษาวยั รนุ่ กรมสุขภาพจติ สถาบนั 10 นาที 1 ต.ค. 62 การอบรมการใหก้ ารปรึกษาวยั รุ่นผา่ น สขุ ภาพจิตเด็กและวัยรุ่น 8 ต.ค. 62 ระบบ training online ในหวั ข้อการให้ 45 นาที ประกาศนียบตั ร 17 ธ.ค. 62 การปรึกษาแบบสรา้ งแรงจงู ใจ หลกั สูตร ราชนครินทร์ การให้การปรกึ ษาวัยรนุ่ 1 ช่วั โมง เกียรติบตั ร การอบรมการให้การปรึกษาวยั รุ่นผา่ น กรมสขุ ภาพจติ สถาบัน 8 ชว่ั โมง เกยี รตบิ ตั ร ระบบ training online ในหวั ขอ้ การให้ สขุ ภาพจิตเด็กและวัยร่นุ การปรกึ ษาทางโทรศัพท์ /social 20 ช่ัวโมง วุฒิบัตร media หลักสตู รการให้การปรกึ ษา ราชนครนิ ทร์ วยั รุน่ 8 ชัว่ โมง การประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารการจดั ทำ - แผนปฏิบตั ิราชการประจำปี 2563 ห้องประชุม Park hall B 8 ชั่วโมง เกียรตบิ ัตร การประชมุ สัมมนาทางวชิ าการ “การ โรงแรมรอยัลเบญจา น้อมนำพระราโชบายด้านการศึกษาสู่ 2 ช่วั โมง เกียรติบัตร การปฏิบตั ิ” ประจำปี ๒๕๖๒ ห้องประชุม การอบรมหลักสตู รการลดความเส่ยี งภัย บดินทรเดชา พิบัติทางธรรมชาตแิ ละการปรบั ตวั รับ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ห้องประชุม สำหรบั บุคลากรในสถานศกึ ษา บดนิ ทรเดชา การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร “การจัด การเรยี นการสอนโดยใช้ Google โครงการมหาวิทยาลยั Classroom ครแู ละบคุ ลากรใน ไซเบอร์ไทย เครือบดินทรเดชา เขา้ รว่ มการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ าร กระทรวงการอุดมศกึ ษา นำเสนอผลการปฏิบัตทิ ่ีเปน็ เลิศ “เพชรน้ำหนึ่ง” สพม.2 ประจำปี 2562 การศึกษาในรายวชิ า รทู้ ันภยั ไซเบอร์ (Cybersecurity Awareness) ผ่านโครงการ Thailand Massive Open Online Course (การศึกษา แบบเปดิ เพอื่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต)

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ท่ี 6 ว/ด/ป เรอื่ ง / หน่วยงานทีจ่ ดั / วทิ ยากร สถานที่ จำนวน หลักฐาน 28 ก.พ. 63 เกยี รตบิ ัตร Google Tools เพ่ือการพัฒนางาน โครงการมหาวิทยาลยั ชัว่ โมง/วนั (Google Tools to Improve Work ไซเบอรไ์ ทย Performance) โครงการ Thailand 5 ชั่วโมง Massive Open Online Course กระทรวงการอุดมศกึ ษา (การศกึ ษาแบบเปดิ เพอื่ การเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ) 63 ชวั่ โมง 50 นาที รวมชั่วโมงปฏบิ ัติงาน

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผูส้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 7 บทท่ี 2 แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปี 2.1 ความตอ้ งการสถานศกึ ษา วิสัยทศั น์ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี ๔ เปน็ แหล่งเรียนรตู้ ลอดชวี ติ มกี ารบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ตามหลกั ธรรมาภิบาล ม่งุ พัฒนาผูเ้ รยี นใหเ้ ป็นผ้ปู ระพฤติดแี ละมคี วามรู้ ตามมาตรฐานการศกึ ษา รว่ มกนั อนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม บนพน้ื ฐานความพอเพียง พนั ธกิจ 1. ส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นให้ผู้เรียนได้รบั การศึกษาที่มีคณุ ภาพในศตวรรษที่ 21 2. พัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีศกั ยภาพเปน็ พลโลกตามมาตรฐานสากล 3. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรยี นรูต้ ามศกั ยภาพ ความถนัดและความสนใจของผ้เู รยี น 4. สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนมคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจิตสาธารณะ มภี าวะผนู้ ำและยอมรับทจ่ี ะอยู่รว่ มกนั บน ความแตกตา่ งท่หี ลากหลาย 5. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นเห็นคุณค่า และรว่ มกนั อนุรกั ษ์พลังงานและสิง่ แวดลอ้ ม สู่ความพอเพียง 6. พัฒนาครูและบุคลากรตามมาตรฐานวชิ าชีพอย่างตอ่ เน่ือง 7. ส่งเสรมิ ระบบการบริหารจดั การแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาลอยา่ งมีคุณภาพ และมี ประสิทธภิ าพ 8. พฒั นาการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สารเพ่ือการเรยี นรู้ 9. สง่ เสรมิ การใชแ้ หล่งเรียนรูท้ ่หี ลากหลายและทันสมยั 10.ส่งเสริมความรว่ มมือจากทกุ ภาคสว่ นในการดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี นอย่างต่อเน่อื ง เปา้ ประสงค์ของโรงเรียน 1. ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นที่สูงขน้ึ มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห์ และแก้ปัญหา 2. ผเู้ รียนสำเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตรอยา่ งมคี ณุ ภาพ และมคี วามพรอ้ มในการศกึ ษาต่อ และการ ทำงาน 3. ผเู้ รียนได้เรยี นรู้ตามศักยภาพ ความถนดั และความสนใจ 4. ผ้เู รียนมคี ุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ มภี าวะผูน้ ำและยอมรบั ท่ีจะอยู่รว่ มกนั บนความ แตกต่างทหี่ ลากหลายอย่างมีความสุข 5. ผเู้ รยี นเหน็ คณุ ค่าและรว่ มกนั อนรุ กั ษ์พลงั งานและส่ิงแวดลอ้ มสู่ความพอเพียง 6. ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษามีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะตามสมรรถนะ และสามารถ ปฏิบัตงิ านไดต้ ามมาตรฐานวชิ าชพี 7. มีระบบการบรหิ ารจดั การแบบมีสว่ นรว่ มตามหลกั ธรรมาภบิ าลอย่างมคี ุณภาพและ มีประสทิ ธภิ าพ 8. มสี อ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมกับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 9. มีแหล่งเรียนรู้ท่หี ลากหลายและทันสมยั เอื้อตอ่ การเรียนรู้ของผเู้ รียนตลอดเวลา

รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 8 10.ครู ผู้ปกครอง ชุมชน รว่ มมอื ในการดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนใหเ้ ปน็ ผู้ประพฤติดี มคี ุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษา กลยุทธ์ของโรงเรยี น 1. สง่ เสริมคณุ ภาพผูเ้ รยี นอย่างทวั่ ถึงและมปี ระสิทธิภาพ 2. ส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผนู้ ำ อยรู่ ่วมกับสังคม อนุรักษ์พลงั งานและ สิ่งแวดล้อม สู่ความพอเพยี ง 3. พฒั นาครแู ละบุคลากรสู่มืออาชีพ เพียงพอต่อความต้องการในการจดั การเรียนรทู้ เ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็น สำคัญ 4. ส่งเสรมิ การบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นร่วมตามหลักธรรมาภบิ าลอยา่ งมีคุณภาพ 5. พฒั นาสอ่ื อปุ กรณ์ แหล่งเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ 6. สร้างความเขม้ แข็งระบบดูแลช่วยเหลือผ้เู รียน โดยการมสี ว่ นรว่ มจากทุกภาคส่วน จุดเน้น 1. ดา้ นผเู้ รยี น สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มีวินัย มีสุขนิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีสุนทรียภาพด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ทักษะการทำงาน ร่วมมือกบั ผูอ้ ื่นได้ นอกจากนีส้ ถานศกึ ษายงั ได้จัดให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการ เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา มีการฝึกทักษะตามความสามารถของผู้เรียน รู้จักการคิด วิเคราะห์ สงั เคราะห์ เรียนรู้ด้วยตนเอง มสี ขุ ภาพอนามัยที่ดี และมีการวัด และประเมินผลตามสภาพจริงทุก กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ทำให้ผ้เู รยี นเป็นคนดี คนเก่ง และอยใู่ นสังคมได้อย่างมคี วามสุข 2. ด้านการจดั การเรยี นการสอน สถานศกึ ษาจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ประสิทธภิ าพและผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยอาศยั ครแู ละบุคลากรท่ี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มวี ุฒิ มีความรู้ ความสามารถตรงกับงานที่รบั ผดิ ชอบ หมน่ั พฒั นาตนเอง มีมนุษสัมพันธ์ ดำรงตนอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข ซึ่งเป็นจุดเด่นในด้านการเรียนการสอน ที่สอดคล้องกับผลจาก การประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาในการประเมิน รอบ 3 คือ ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมให้มีความสามารถในการบูรณาการความคิด นำมาประยุกต์ใช้ใน การสรา้ งสรรค์ผลงาน สิ่งประดิษฐ์ของผูเ้ รียน จะได้สะทอ้ นความคิดใหเ้ กิดระบบการคดิ ขั้นสูง ผเู้ รียนควรไดร้ ับ การพัฒนาผลสัมฤทธิก์ ลุ่มสาระคณิตศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา และภาษาต่างประเทศ ด้วยการพัฒนา ระบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรี ยนเป็นสำคัญ โดยการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ระดับสถานศกึ ษาและผลสัมฤทธ์ขิ องระดับชาติเปน็ แนวทางในการพัฒนา สถานศกึ ษาการพัฒนาห้องเรียนบาง ห้องท่ยี ังไมส่ ะอาด เรยี บร้อยและยังไมเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้ให้มีสภาพพร้อมใช้ สถานศกึ ษาการพัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศใหพ้ รอ้ มใช้งานอย่างครบถ้วน ถกู ต้อง ชดั เจน สะดวกและรวดเร็วในการนำมาใช้ การจดั หาวิทยากร ด้านกีฬากอล์ฟมาเสริม สถานศึกษาควรเพิ่มกิจกรรมจิตอาสา เช่น การบริการด้านวิชาการในชุมชน หรือ สถานศึกษาใกล้เคียงได้แก่ ห้องสมุดเคลื่อนที่เผยแพร่เอกสารแผ่นพับ และควรดำเนินการกิจกรรมต่าง ๆ ในโครงการพิเศษอย่างต่อเนื่อง โรงเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของผลการประเมิน ทั้งที่เป็นจุดเด่น จุดควรพัฒนา ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา ทิศทางการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานของ

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 9 สถานศึกษาในอนาคต จึงไดก้ ำหนดแนวนโยบายในการพฒั นาด้านการเรยี นการสอนท้ังในรปู แบบของโครงการ กิจกรรม กฎ ระเบียบ และแนวปฏิบัติ ซึ่งมีรายละเอียดในคู่มือคนดีศรีบดินทร โรงเรียนจัดโครงการและ กิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาครูที่มีคุณภาพ และมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง ได้จัดโครงการและกิจกรรมท่ี พัฒนาการเรียนการสอนของครูหลายโครงการ อาทิ โครงการพฒั นาบคุ ลากร โครงการพฒั นาการเรยี นการสอน กล่มุ สาระ โครงการพัฒนาการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ คุณธรรมนำความรู้สูเ่ ศรษฐกิจพอเพียง โครงการสง่ เสริมและ พัฒนากีฬากอร์ฟ โครงการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โครงการเยี่ยมบ้านนักเรียน โครงการพัฒนากิจกรรมนักศึกษาวิชาทหาร โครงการห้องสมุด โครงการพัฒนาหลักสูตรและแผนการเรียนรู้ โครงการนิทรรศการวิชาการ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศ โครงการวิจัยในชั้นเรียน โครงการจัดค่าย บูรณาการวิชาการ พัฒนาระบบงานวดั ผล โครงการพัฒนาคอมพิวเตอรแ์ ละระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และ โครงการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในการเรียนรู้ เป็นต้น โครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่มุ่งส่งเสริม ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน โดยกระบวนการอบรม ศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติ แลกเปล่ียนเรียนรู้ และศึกษาหาข้อมูลนักเรียน ส่งเสริมให้ครูเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดทำ แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ใช้และสร้างสื่อเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ใช้เทคโนโลยีประกอบการเรียน การสอน เข้าใจพฤติกรรมนักเรียน และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ปกครอง และชุมชน โครงการดังกล่าวได้รับ ความร่วมมือจากครู นักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามบทบาท และหน้าที่เป็นอย่างดี มีการจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานตามโครงการ และนำผลการประเมินและ ขอ้ เสนอแนะในรายงานผลการปฏิบัตงิ านตามโครงการ มาปรับปรุง และพฒั นาโครงการให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น พร้อมทั้งเพิ่มเติมโครงการที่เห็นว่ามีประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน อาทิ โครงการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ โครงการนิเทศแบบมสี ว่ นรว่ ม โครงการพฒั นาหอ้ งเรียนคณุ ภาพ โครงการพฒั นาการอ่าน คิด วิเคราะห์ โครงการพัฒนาผู้เรยี น โครงการพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ โครงการปรับปรงุ สื่อและอปุ กรณ์ โครงการ มหกรรมดนตรี กีฬา ศิลปะและวัฒนธรรม โครงการส่งเสริมพัฒนากีฬาสู่ความเปน็ เลิศ โครงการกิจกรรม 6 บดินทร โครงการสอนเสริมวันเสาร์ และโครงการประชาสัมพันธ์ การเปลี่ยนโดยการพัฒนาโครงการ และการ เพิ่มเตมิ โครงการทจี่ ำเปน็ แสดงให้เหน็ วสิ ยั ทัศน์ในการบริหารจัดการที่เห็นคุณค่าของการจดั การเรยี นการสอนท่ี ส่งเสริมให้นักเรียนมีคณุ ธรรมนำความรู้ ตามปรัชญาโรงเรียนที่วา่ “ลูกบดินทรเป็นผู้ประพฤติดีและมคี วามรู้” การดำเนินการดังกลา่ วแสดงใหเ้ ห็นว่า โรงเรยี นให้ความสำคัญตอ่ การพัฒนาครใู นเรื่องของการจดั การเรียนการ สอน การพฒั นาครูในการจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั และการเขียนบันทึกหลังสอนการ จัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้จากการปฏิบตั ิ นักเรียนได้ฝึกทักษะชีวิต การสร้างคุณธรรม จริยธรรมและ วินัย การส่งเสริมเทคโนโลยีในโรงเรียน สร้างสุนทรียภาพในการเรียนรู้ใหก้ ับนักเรียน ส่งเสริมให้นกั เรียนมีจิต สาธารณะ การผลิตสื่อการเรียนรู้ที่กระตุน้ ให้นักเรียนเกดิ การเรียนรู้ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียนในโรงเรียนเครือบดินทรเดชา การสอนเสริมให้กับนักเรียนตาม ความต้องการและความจำเป็น การสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน นอกจากนี้โรงเรียนได้ จดั หาครเู พิ่มเติมให้กลมุ่ สาระการเรียนรู้ท่ีมีครูไม่ครบตามเกณฑ์ จนทำให้ปจั จุบนั โรงเรียนมีครูครบตามเกณฑ์ ส่งผลให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ทจ่ี ดั ใหม้ ีครูต่างชาตใิ นการจดั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ 3. ด้านการบรหิ ารและการจัดการศึกษา สถานศึกษามีการจัดระบบการบริหารการศึกษาแบบใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีการกระจายอำนาจ ผู้บริหารมีภาวะความเป็นผู้นำ ยึดมั่นในความยุติธรรมและความซื่อสัตย์ความสามารถในการบริหารจัดการ มีการจัดองค์กร โครงสร้าง การบริหารอย่างเป็นระบบครบวงจรให้บรรลุเปา้ หมายการศกึ ษา สถานศึกษาใช้

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 10 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มีการบริหารจัดการตามระบบการ ทำงานที่มปี ระสิทธภิ าพ PDCA 4. ดา้ นการพฒั นาชุมชนแหง่ การเรียนรู้ สถานศึกษาได้รับความร่วมมือจากบุคลากรภายในโรงเรียน และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)๔ องค์กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการ และองค์กรภาครัฐและ เอกชน เพื่อพัฒนาการศึกษา การจัดการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนและชุมชน มีการจัดหลักสูตรที่เหมาะกับ ผเู้ รียนและท้องถ่ิน มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานเพอื่ การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การส่ือสาร และการคดิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแกป้ ญั หา 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 5) มีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี ่องานอาชพี 1.2 คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผู้เรยี น 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทดี่ ตี ามที่สถานศึกษากำหนด 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถนิ่ และความเป็นไทย 3) การยอมรบั ท่ีจะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.2 มีระบบบริหำรจัดกำรคุณภำพของสถำนศึกษำ 2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผูเ้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและ ทกุ กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี 2.5 จดั สภำพแวดลอ้ มทำงกำยภำพและสังคมทีเ่ ออ้ื ต่อกำรจัดกำรเรยี นรู้ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยสี ำรสนเทศเพื่อสนบั สนนุ กำรบรหิ ำรจัดกำรและกำรจัดกำรเรยี นร มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั 3.1 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้ 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การ เรยี นรู้

รายงานการประเมินตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ท่ี 11 2.2 การวางแผนการพัฒนาผู้เรียน 1. ขน้ั วางแผน (Plan) วางแผนการจดั การเรยี นการสอน เพ่อื ทำใหก้ ารจดั การเรียนการสอนบรรลผุ ล ดงั นี้ 1.1 ศกึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หลกั สูตรสถานศึกษา ศึกษา ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ศึกษาเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวกับการจัดการ เรียนรู้ แนวการจัดการศึกษา ทฤษฎีการเรยี นรู้ รูปแบบการสอนแบบต่าง ๆ สื่อ/แหล่งเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล การวิเคราะห์ผู้เรียน การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ และการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคญั ดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย 1.2 วางแผนการวิเคราะห์ตัวชี้วัด การจัดทำคำอธิบายรายวิชา การกำหนดโครงสร้าง การ กำหนดเวลา การจดั ทำหน่วยการเรียนรู้ วางแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ วางแผนการบรู ณาการการเรียนรู้ สำรวจและรวบรวมสื่อการสอน วางแผนดำเนินการผลิตสื่อ กำหนดแนวทางการวัดและประเมินผล สำรวจ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นและปราชญ์ชาวบ้านทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน โดยการนำ สภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สถานศึกษาและภูมิปัญญาท้องถิ่นมาบูรณาการ ให้มีความ เหมาะสมกับสภาพปัจจุบันและแนวการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นกรอบแนวคิดในการ วางแผน 2. การปฏิบตั ติ ามแผน (Doing) นำการวางแผนสู่การปฏิบตั ิ ดงั นี้ 2.1 นำผลการศึกษา ผลการวิเคราะหแ์ ละการวางแผนดังกล่าวมาดำเนินการดงั น้ี 2.1.1 วเิ คราะหต์ ัวช้วี ัด 2.1.2 จัดทำคำอธิบายรายวชิ า 2.1.3 กำหนดโครงสรา้ ง และจำนวนช่วั โมงเรียน 2.1.4 จดั ทำหนว่ ยการเรยี นรู้ 2.1.5 ออกแบบการจดั กจิ กรรมการจัดการเรยี นรู้/เทคนิควิธสี อน 2.1.6 ผลิตสือ่ ประกอบการเรยี นการสอนและหาประสทิ ธภิ าพของสือ่ ทีส่ อดคล้องกบั แผนการจัดการเรียนรู้ 2.1.7 จัดทำเกณฑก์ ารวดั ผล ประเมินผล 2.1.8 จัดทำเครอ่ื งมอื การวดั ผล ประเมนิ และหาประสิทธภิ าพของเคร่อื งมอื 2.1.9 จัดเตรียมแบบบันทกึ การวัดผลประเมนิ ผล 2.2 นำผลการจัดทำหน่วยการเรยี นรู้ มาวางแผนการการจดั กิจกรรมการเรียนรู้รายคาบทเี่ น้นผูเ้ รียน เป็นสำคญั สอดคล้องกับการพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและตอบสนองตวั ชวี้ ดั 2.3 นำการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนร้ไู ปใช้จดั กจิ กรรมการเรียนเรียนการสอน 2.4 วดั ผลและประเมนิ ผลผ้เู รยี น ดงั นี้ 2.4.1 ประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น 2.4.2 ประเมนิ ผลการอ่าน คิด วเิ คราะห์ 2.4.3 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 2.5 บนั ทกึ หลงั การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 2.6 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาผู้เรียน ทั้งในด้านวิชาการ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม สง่ เสริมและพัฒนากระบวนการคิด การนำหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการพฒั นาผู้เรยี น

รายงานการประเมินตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 12 ส่งเสริมนสิ ยั รักการอา่ นและแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง สร้างเสรมิ และพฒั นาทกั ษะชีวติ โดยการสอดแทรกใน รายวิชาท่สี อน 2.7 จัดทำรายงานผลการตดิ ตามการเรยี นของนักเรยี นที่มีปญั หา 2.8 สร้างเครอื ข่ายทางวชิ าการกับเพอ่ื นครูในรายวชิ าเดียวกนั หรอื บูรณาการร่วมกนั 3. การตรวจสอบ/ประเมนิ ผล (Check) ตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน ดงั นี้ 3.1 นำบันทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนมาวเิ คราะห์ 3.2 นำการวัดผลและประเมินผลผ้เู รยี น ซึ่งประกอบด้วย 3.2.1 ประเมนิ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 3.2.2 ประเมนิ ผลการอา่ น คดิ วิเคราะห์ 3.2.3 ประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 3.2.4 ประเมนิ สมรรถนะของผูเ้ รยี น มาประมวลและวเิ คราะห์ 3.3 จัดทำรายงานผลการเรยี นของผูเ้ รียน 3.4 ดำเนินการวิจัยแก้ปัญหาในช้นั เรยี นอยา่ งเป็นระบบ 3.5 ประมวลผลการเรยี นรอู้ ยา่ งเป็นระบบซ่ึงเป็นไปตามหลกั การวดั และประเมินผลและหลักเกณฑ์ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีการจัดทำเอกสารและการรายงานผลการเรียนของผู้เรียน อย่างถูกต้อง ครบถว้ น มีระบบ 4. การปรับปรุงและพฒั นา (Action) 4.1 ปรับปรงุ และพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรใู้ ห้มีคณุ ภาพย่งิ ขึน้ 4.2 ปรบั ปรงุ และพัฒนาสื่ออปุ กรณก์ ารเรียนเพื่อใหเ้ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้มากข้นึ 4.3 ปรับปรุงและพัฒนาวิธกี ารวัดผลและประเมิน 4.4 ปรบั ปรุงเครื่องมือในการวดั และประเมนิ ผล 4.5 ปรับปรงุ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผลให้มคี วามชดั เจนและสอดคลอ้ ง 4.6 นำผลการประเมนิ มาใช้ในการพฒั นาการเรียนการสอนต่อไป 2.3 เปา้ หมายของการพัฒนาผูเ้ รียน สถานศึกษาส่งเสริมและพฒั นาให้ผู้เรยี นไดเ้ รยี นรแู้ ละพฒั นาทักษะ ความรู้ และคุณลกั ษณะจากการเรยี นรู้ใน หอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น โดยเนน้ การฝึกปฏิบัติมากขนึ้ รวมท้ังพฒั นาทกั ษะการคิด ทักษะการใช้เหตผุ ล และทักษะ กระบวนการกลมุ่ มุ่งพฒั นาทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (3R 8C) ตามมาตรฐานหลักสูตร ทกั ษะการดำรงชีวิต และคุณลักษณะของความเป็นพลงเมือง และมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะ ความรู้และสมรรถนะตามาตรฐานวิชาชพี และความตอ้ งการจำเปน็ ของประเทศ ตามยทุ ธศาสตร์ชาติ และยทุ ธศาสตรป์ ระเทศไทย 4.0 สถานศึกษาจัดการเรยี นการสอนที่เน้นประสิทธภิ าพและผู้เรยี นเปน็ สำคัญ โดยอาศัยครแู ละบุคลากรที่ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณวุฒิ มีทักษะ ความรู้ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพครู มีจิตวิญญาความเป็นครู มีการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา และเท่ากันการเปลี่ยนแปลง สามารถประยุกต์ใช้ วธิ กี ารและนวตั กรรมการเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ

รายงานการประเมินตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 13 บทที่ 3 ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบปี 1. ผลการประเมินการปฏิบัตงิ าน ภาคเรียนที่ 2/2562 การจดั การเรยี นการสอนตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 ตารางที่ 6 แสดงผลการประเมนิ ระดบั การปฏิบัตงิ านตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 รายการปฏบิ ัติ มากที่สุด ระดบั การปฏิบัติ 1. รเู้ ปา้ หมายของหลักสูตรและการจัดการศึกษา มาก นอ้ ย น้อยทส่ี ุด ✓ 2. จัดทำแผนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ด้วยตนเอง ✓ 3. จดั ทำ/หา สื่อประกอบการสอน ✓ 4. สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นสามารถเรียนร้พู ัฒนาตนเองไดต้ ามธรรมชาตแิ ละ ✓ เตม็ ศักยภาพ 5. จดั เนื้อหาสาระ/กิจกรรมตามความสนใจ ความถนดั และความแตกตา่ งกัน ✓ ✓ ของผู้เรียน 6. ฝกึ ทักษะกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญและแก้ปญั หา 7. ให้ผูเ้ รียนฝึกปฏบิ ัตจิ รงิ คิดวิเคราะห์ คิดสรา้ งสรรค์ ✓ 8. ส่งเสรมิ กจิ กรรมการทำงานและรับผดิ ชอบต่อกลุ่ม ✓ 9. กระตุ้นให้ผู้เรยี นรูจ้ กั ศึกษาหาความรู้ แสวงหาคำตอบและสรา้ ง ✓ ✓ องคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง 10. จัดกิจกรรมการสอนหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติและ ความตอ้ งการของผูเ้ รียน 11. สอดแทรกคณุ ธรรม ซอ่ื สตั ย์สจุ รติ ในวชิ าท่สี อน ✓ 12. สง่ เสรมิ การเรียนรู้จากแหลง่ ต่าง ๆ รู้จกั ตัง้ คำถามเพอ่ื หาเหตผุ ล ✓ 13. สรุปประเด็นจากการเรียนรแู้ ละประสบการณ์ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง ✓ ✓ ✓ 14. ใช้สือ่ การเรียนทเ่ี หมาะสมและหลากหลาย 90 27 0 15. ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและตอ่ เนอื่ ง 55 รวมความถ่รี ะดับคณุ ภาพ 7 3.66 0 0 รวมคะแนนแต่ละระดบั คุณภาพ (รวมความถรี่ ะดับคณุ ภาพ xระดับคณุ ภาพ) 28 รวมคะแนน ค่าเฉลีย่ (รวมคะแนน ÷ 15) สรปุ ผลการประเมนิ  ดเี ย่ียม (3.01–4.00)  ดี (2.01-3.00)  พอใช้ (1.01-2.00)  ปรบั ปรงุ (0-1.00) สรุป จากการประเมินตนเอง พบว่า รายการปฏิบัติที่ 2, 3, 4, 7, 8, 11, 13 เป็นการปฏิบัติที่มี ระดบั การปฏบิ ัตมิ ากท่สี ดุ และรองลงมาเป็นรายการปฏบิ ัตทิ ่ี 1, 5, 6, 9 ,10, 12, 14, 15

รายงานการประเมินตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ท่ี 14 ตารางที่ 7 แสดงผลการประเมนิ การสอนของครู (นกั เรียนเปน็ ผปู้ ระเมิน) รายการปฏบิ ัติ ระดับการปฏบิ ตั ิ มากท่ีสดุ มาก น้อย น้อยท่ีสดุ 1. ครมู ีการเตรียมการสอน (พจิ ารณาจากสื่ออุปกรณ์ตา่ ง ๆ มคี วามพร้อม) ✓ 2. การจดั สภาพหอ้ งเรยี น ✓ 3. เนื้อหาที่สอนสอดคล้องกบั ชวี ติ และทนั สมัย ✓ 4. นกั เรียนทราบจุดประสงค์การเรียนรู้ชัดเจน ✓ 5. กจิ กรรมการเรียนสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์การเรยี น ✓ 6. กจิ กรรมการเรียนรสู้ นกุ และน่าสนใจ ✓ 7. ครูใหโ้ อกาสนกั เรียนซักถามปญั หา ✓ 8. ครูสง่ เสริมใหน้ กั เรยี นทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่ /ทีม ✓ 9. ครสู ่งเสริมให้นกั เรยี นมีความคดิ รเิ ริ่มและรูจ้ กั วิพากษว์ ิจารณ์ ✓ 10. ครูยอมรับความคิดของนกั เรียนที่ตา่ งไปจากครู ✓ 11. ครใู ห้ความสนใจแก่นักเรยี นอย่างทว่ั ถึงขณะท่ีสอน ✓ 12. ครูใชว้ ิธกี ารสอนหลายวิธี( เชน่ การทำงานกลมุ่ ,โครงงาน,จบั คูฯ่ ลฯ) ✓ 13. ครสู ง่ เสริมใหน้ กั เรียนคน้ คว้าหาความรู้จากหอ้ งสมุดหรือแหล่งอน่ื ๆ ✓ 14. ครสู ามารถประยกุ ต์สง่ิ ที่สอนเขา้ กับสภาพสงั คมและสิ่งแวดล้อม ✓ 15. ครูส่งเสริมใหท้ ดลอง/ทำงานในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารหรือนอกช้นั เรยี นบ่อย ๆ ✓ 16. ครูจัดกิจกรรมให้เรียนรู้จากแหลง่ เรียนรู้ภายนอกหอ้ งเรียน ✓ 17. นกั เรียนทราบเกณฑ์การประเมนิ ผลล่วงหน้า ✓ 18. นกั เรยี นมีสว่ นร่วมในการประเมินผลการเรียน ✓ 19. ครูประเมินผลอยา่ งยุติธรรม ✓ 20. ครูตง้ั ใจสอน ให้คำแนะนำนักเรยี นในการทำกิจกรรม ✓ 21. นักเรียนชอบเรียนวิชานี้ ✓ 22. นักเรียนชอบครทู ส่ี อนวชิ านี้ ✓ 23. นกั เรยี นนำความร้จู ากวิชานไ้ี ปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้ ✓ 24. ความรู้จากวชิ านส้ี ามารถนำไปประกอบเป็นวิชาชีพได้ ✓ 25. นกั เรยี นเรยี นอย่างมคี วามสขุ ✓ รวมความถร่ี ะดบั คณุ ภาพ 5 18 2 0 รวมคะแนนแต่ละระดับคุณภาพ (รวมความถร่ี ะดบั คุณภาพ xระดบั คณุ ภาพ) 20 54 4 รวมคะแนน 78 คา่ เฉล่ยี (รวมคะแนน ÷ 25) 3.12 สรุปผลการประเมนิ  ดีเย่ียม (3.01–4.00)  ดี (2.01-3.00)  พอใช้ (1.01-2.00)  ปรบั ปรงุ (0-1.00) สรปุ จากการประเมินตนเอง พบวา่ รายการปฏบิ ตั ทิ ่ี 6, 7, 19, 20, 22 เปน็ การปฏบิ ัตทิ ่ีมีระดับ การปฏิบตั ิมากท่ีสุด และรองลงมาเป็นรายการปฏิบัติท่ี 1, 2, 3, 4, 5, 8, 9, 10, 11, 12, 13, 14, 17, 18, 19, 21, 23, 24, 25 ส่วนรายการปฏิบัติทม่ี ีระดับการปฏิบตั นิ อ้ ยควรทจ่ี ะปรบั ปรุงหรือพฒั นาตอ่ ไป ไดแ้ ก่ 15, 16

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 15 ตารางที่ 8 แสดงผลการประเมนิ ความพึงพอใจต่อครูทีป่ รึกษา (นักเรยี นเปน็ ผูป้ ระเมนิ ) รายการปฏิบตั ิ ระดับความพึงพอใจ นอ้ ยทส่ี ุด มากท่สี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย 0 0 1. ความสม่ำเสมอในการดูแลนกั เรยี นในกจิ กรรมหน้าเสาธง ✓ 2. การดูแลนักเรียนและการเข้ารว่ มกจิ กรรมในคาบโฮมรูม ✓ 3. การให้ขอ้ คิด/ข้อเสนอแนะ/กำลงั ใจ รวมทัง้ การใหค้ ำปรกึ ษาใน ✓ การดำเนินชวี ิต 4. การดูแลนกั เรยี นในการเรยี น/การตดิ ตามนกั เรยี นที่ขาดเรียน ✓ การเยยี่ มบา้ น รวมท้งั กำกบั ดแู ลในเรอ่ื งการแต่งกาย และความประพฤติ 5. กำกับดูแล ให้ข้อเสนอแนะ รวมท้งั การเสริมแรงและเปน็ กำลงั ใจ ✓ ในการดแู ลรกั ษาความสวยงาม และความสะอาดของห้องเรียน 6. การสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ รี ะหวา่ งครู และนกั เรียน รวมทง้ั การมี ✓ ส่วนร่วมกบั กจิ กรรมของห้องเรยี น 7. การสรา้ งสมั พันธภาพทีด่ ีระหว่างครูและนักเรยี น รวมท้ังการมีส่วน ร่วมกับกิจกรรมของนกั เรยี น 8. การออกเย่ียมบ้านนกั เรียน รวมความถ่รี ะดบั คุณภาพ 80 0 0 รวมคะแนนแต่ละระดบั คุณภาพ 40 0 0 0 (รวมความถีร่ ะดบั คณุ ภาพ xระดบั คุณภาพ) รวมคะแนน 40 ค่าเฉล่ยี (รวมคะแนน ÷ 8) 5.00 สรปุ ผลการประเมิน  ดเี ย่ียม (4.21–5.00)  ดีมาก (3.41-4.00)  ดี (2.61-3.00)  พอใช้ (1.81-2.00)  ปรับปรุง (1 -1.80) สรปุ จากการประเมินพบวา่ รายการปฏบิ ัติข้อที่ 1 - 8 เป็นการปฏบิ ัติท่มี รี ะดบั การปฏบิ ัตมิ ากที่สุด

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 16 ตารางที่ 9 การนิเทศการจัดการเรยี นร้แู ผนการจัดการเรยี นรูท้ เี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั รายวิชา ภาษาไทย 2 ช้ัน ม.1 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 ดชั นีชว้ี ดั เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 4 321 1. การวเิ คราะห์ 1. มีการระบจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ✓ จดุ ประสงค์ 2. มีการวิเคราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรยี นร้แู ยกออกเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้ เจตคติ ทักษะ ✓ การเรียนรู้ 3. มีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. สอดคลอ้ งกับผลการเรียนรทู้ ีค่ าดหวงั ✓ 5. ครอบคลมุ มาตรฐานการศึกษา – เรียนรู้ ✓ ✓ 2. การออกแบบ 1. การออกแบบกจิ กรรมการเรียนรูเ้ ปน็ ขัน้ ตอน ชัดเจน ✓ กจิ กรรม 2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีองค์ประกอบครบ 4 ดา้ น (แลกเปลย่ี น ✓ การเรียนรู้ ประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ นำเสนอความรู้ ปฏิบัติ / ประยกุ ต์ใช้) ✓ 3. มคี วามเหมาะสมกับจุดประสงค์การเรยี นรู้ ✓ 4. มีความสอดคล้องกบั จดุ ประสงคท์ ง้ั 3 ดา้ น ✓ 5. สามารถปฏบิ ัติได้จริง 3. การออกแบบ 1. มกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้กล่มุ ✓ ปฏิสัมพนั ธ์ 2. มีความหลากหลายในการมีส่วนร่วมของนกั เรยี น ✓ 3. มกี ารกำหนดบทบาทและกจิ กรรมอยา่ งชัดเจน ✓ ✓ 4. ปฏบิ ตั ิไดจ้ รงิ ✓ 5. ผู้เรียนสนกุ สนาน เกิดการเรียนรู้ 4. การออกแบบ 1. มีการประเมนิ ผลการเรียนในแต่ละแผน ✓ ประเมนิ ผล 2. มีการกำหนดวธิ ีการประเมินผลชดั เจนและหลากหลาย ✓ ✓ 3. วธิ ีการประเมนิ ผลสอดคลอ้ งกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ✓ 4. ปฏบิ ัตไิ ดจ้ ริง ✓ 5. นำผลการประเมินมาพฒั นาการเรียนรู้ 5. การใช้สื่อ 1. มกี ารใช้สื่อ อปุ กรณห์ รอื แหลง่ เรียนรู้ ✓ อุปกรณ์ 2. มกี ารกำหนดข้นั ตอนหรอื วิธีการใช้สอ่ื หรือแหล่งเรยี นรู้ อย่างชัดเจน การเรียนรู้ 3. มีการใชส้ อ่ื อปุ กรณห์ รือแหลง่ เรยี นรเู้ หมาะสมกับกจิ กรรมการเรยี นรู้ ✓ 4. สือ่ อุปกรณ์ แหลง่ เรียนรู้ ✓ 5. มีการพัฒนาสอ่ื อุปกรณ์ แหล่งเรียนรู้ ✓ ✓ รวมความถีร่ ะดับคณุ ภาพ 16 9 0 0 รวมคะแนนแต่ละระดับคณุ ภาพ (รวมความถ่รี ะดับคณุ ภาพ xระดับคณุ ภาพ) 64 27 0 0 รวมคะแนน 91 ค่าเฉล่ีย (รวมคะแนน ÷ 25) 3.64 สรปุ ผลการประเมิน  ดเี ยยี่ ม (4.01–5.00)  ดมี าก (3.01-4.00)  ดี (2.01-3.00)  พอใช้ (1.01-2.00)  ปรบั ปรุง (0-1.00) ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ลงช่ือ ................................................................ผนู้ ิเทศ ตำแหนง่ ...................................................

รายงานการประเมินตนเองของครูผูส้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 17 2. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนักเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 2.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น รายวชิ าภาษาไทย 2 รหสั วชิ า ท21102 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 จำนวนหน่วยการเรียน 1.5 หน่วย เวลาเรยี น 3 คาบ/สปั ดาห์ ดงั น้ี ช้ัน จำนวน 0 ระดบั ผลการเรยี น 3 3.5 4 นักเรียน มส. 1 1.5 2 2.5 ม.1/2 18 0 0 0 0 0 0 3 4 11 ม.1/4 30 0 0 0 0 1 5 14 8 2 ม.1/6 34 0 0 0 0 0 2 11 9 12 ม.1/8 36 0 0 0 0 0 0 1 4 31 ม.1/10 36 0 0 0 0 0 0 2 7 27 รวม 154 0 0 0 0 1 7 31 32 83 รอ้ ยละ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.65 4.55 20.10 20.80 53.90 จำนวนนกั เรียนทมี ผี ลการเรยี น 3.0 ขน้ึ ไป 146 ร้อยละนักเรยี นทีมผี ลการเรยี น 3.0 ข้ึนไป 94.80 สรปุ ผล  ดีเยีย่ ม (รอ้ ยละ 91 – 100)  ดมี าก (ร้อยละ 81 – 90)  ดี (ร้อยละ 71 – 80)  พอใช้ (รอ้ ยละ 61 – 70)  ผา่ น (รอ้ ยละ 50 – 60) จากตาราง พบว่า นกั เรยี นท่ีมรี ะดับผลการเรียนเฉลยี่ 3.0 ขึน้ ไป มีจำนวน 146 คน คดิ เป็นร้อยละ 94.80 เกณฑร์ ะดับคุณภาพดีเยยี่ ม แผนภมู แิ ท่งแสดงผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน รายวชิ าภาษาไทย 2 รหัสวชิ า ท21102 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 35 31 30 27 25 20 15 14 11 12 11 10 8 9 7 5 5 34 4 000000 22 2 0 00001 00000 0000001 000000 ม.1/2 ม.1/4 ม.1/6 ม.1/8 ม.1/10 มส. 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 กระบวนการแก้ 0 ร มส. : ไม่มีนกั เรยี นติด 0 ร มส.

รายงานการประเมินตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ท่ี 18 2.2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี 2 ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จำนวนหนว่ ยการเรยี น 0 หนว่ ย เวลาเรียน 1 คาบ/สัปดาห์ ดงั น้ี ชน้ั จำนวนนักเรยี น ระดบั ผลการเรียน ไม่ผา่ น ผ่าน ม.1/1 22 0 22 ม.1/2 18 0 18 ม.1/3 31 0 31 ม.1/4 30 0 30 ม.1/5 36 0 36 ม.1/6 34 0 34 ม.1/7 35 0 35 ม.1/8 36 0 36 ม.1/9 36 0 36 ม.1/10 36 0 36 รวม 314 0 314 ร้อยละ 0.00 100.00 จำนวนนักเรียนทีมีผลการเรยี น “ผา่ น” 314 ร้อยละนกั เรยี นทมี ีผลการเรียน “ผา่ น” 100.00 สรปุ ผล  ดีเยีย่ ม (ร้อยละ 91 – 100)  ดมี าก (ร้อยละ 81 – 90)  ดี (ร้อยละ 71 – 80)  พอใช้ (รอ้ ยละ 61 – 70)  ผ่าน (ร้อยละ 50 – 60) จากตารางพบวา่ มีนักเรยี นผา่ นการประเมินกิจกรรม มจี ำนวน 314 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เกณฑ์ระดับคุณภาพดีเย่ียม แผนภูมแิ ทง่ แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 40 36 34 35 36 36 36 35 31 30 30 จานวน ันกเ ีรยน 25 22 20 18 15 10 50 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ไม่ผา่ น ผา่ น กระบวนการแก้ 0 ร มผ. : แก้ มผ. ตามกจิ กรรมทไ่ี ม่ผา่ น

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผูส้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 19 2.3 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กจิ กรรมชมุ นุมคดั เขียนไทย ลายมือน้ันคือยศ จำนวนหนว่ ยการเรียน 0 หนว่ ย เวลาเรยี น 1 คาบ/สปั ดาห์ ดังนี้ ช้ัน จำนวนนกั เรียน ระดบั ผลการเรยี น ไม่ผา่ น ผ่าน ม.1 1 0 1 ม.2 6 0 6 ม.3 16 0 16 รวม 23 0 23 ร้อยละ 0.00 100.00 จำนวนนักเรยี นทมี ีผลการเรยี น “ผา่ น” 23 ร้อยละนกั เรียนทีมผี ลการเรียน “ผา่ น” 100.00 สรปุ ผล  ดเี ยี่ยม (ร้อยละ 91 – 100)  ดมี าก (รอ้ ยละ 81 – 90)  ดี (ร้อยละ 71 – 80)  พอใช้ (รอ้ ยละ 61 – 70)  ผ่าน (รอ้ ยละ 50 – 60) จากตารางพบวา่ มนี กั เรยี นผา่ นการประเมนิ กจิ กรรม มีจำนวน 23 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ ดีเยีย่ ม แผนภูมแิ ท่งแสดงผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน กจิ กรรมชุมนมุ คติชนหรรษา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 16 16 14 0 ม.3 12 จานวน ันกเ ีรยน 10 8 6 6 0 ม.2 4 10 2 0 ม.1 ผา่ น ไม่ผ่าน กระบวนการแก้ 0 ร มส. ไมม่ ีนกั เรยี นตดิ 0 ร มส

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 20 3. ขอ้ มลู ผลการสอบ O – NET ตารางท่ี 10 แสดงค่าเฉล่ยี ผลการสอบ O-NET มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปี 2559 - 2562 คา่ เฉลี่ย สูงกวา่ /ตำ่ กวา่ ระดับประเทศ ปกี ารศกึ ษา ระดับ ระดับจงั หวดั ระดับตน้ ระดับประเทศ โรงเรยี น สังกัด สูงกว่า 2559 50.02 50.65 46.81 46.36 สูงกวา่ 2560 53.42 48.29 สูงกว่า 2561 52.92 60.40 48.77 54.42 2562 59.41 55.04 กราฟแสดงผลเปรียบเทียบ O-NET มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ปี 2559 - 2562 ระดับประเทศ ระดบั ตน้ สงั กดั ระดับจงั หวดั ระดับโรงเรยี น 2562 54.42 2561 55.04 60.4 59.41 48.29 48.77 2560 53.42 52.92 46.36 46.81 2559 50.65 50.02 0 10 20 30 40 50 60 70

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 21 ตารางท่ี 11 แสดงค่าเฉล่ยี ผลการสอบ O-NET มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ปี 2559 - 2562 ปีการศกึ ษา ระดับ คา่ เฉลีย่ ระดบั ประเทศ สูงกวา่ /ตำ่ กวา่ โรงเรียน ระดับประเทศ 2559 50.88 ระดบั จังหวัด ระดับต้น 52.29 2560 สงั กดั 49.25 ต่ำกวา่ 2561 50.22 47.33 สูงกว่า 2562 48.93 58.74 53.09 สงู กวา่ 55.82 50.07 54.42 48.16 กราฟแสดงผลเปรยี บเทียบ o-net มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปี 2559 - 2562 2562 4478.3.136 54.42 70 2561 48.93 2560 49.25 2559 50.07 55.82 0 50.22 52.29 53.09 58.74 50.88 10 20 30 40 50 60 ระดับประเทศ ระดบั ตน้ สงั กดั ระดับจังหวดั ระดบั โรงเรียน

รายงานการประเมินตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าท่ี 22 4. การปฏิบัตหิ นา้ ท่พี ิเศษ ปรากฏผลดงั นี้ 1) งานหนา้ ที่ ครทู ปี่ รึกษา - การดูแลและแก้ไขปัญหาความประพฤตินักเรียน โดยทำการศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนเป็น รายบุคคล โดยวิธกี ารสังเกตพฤติกรรมท่ีอยู่ในห้องเรียน การสอบถามข้อมูลจากอาจารย์ประจำ วิชา หากนกั เรยี นเกดิ ปัญหาจะเรียกนกั เรียนมาให้คำปรกึ ษาและช่วยเหลือปัญหาที่เกิดข้ึนให้กับ นกั เรียนต่อไป - การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนโดยให้นักเรยี นกรอกระเบียนประวตั นิ กั เรียน เพ่ือทำการเก็บ ข้อมลู พน้ื ฐานของนกั เรยี นในด้านตา่ ง ๆ - การดูแลควบคมุ แถวและการทำกิจกรรมภาคเชา้ และทำกิจกรรม Homeroom - ติดตามการขาดเรยี นของนกั เรียน - การเยย่ี มบ้านนกั เรียน รอ้ ยละ 100 ในปกี ารศึกษา 2562 สรปุ ได้ว่า ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั งิ าน เมอื่ ประเมินด้วยตนเองแล้ว อยูใ่ นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก 2) งานในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ - งาน PLC - งานพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา สรปุ ไดว้ า่ ระดับคุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน เมอื่ ประเมนิ ด้วยตนเองแลว้ อย่ใู นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอกี 3) งานหน้าที่พิเศษ 1. หัวหนา้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น มีบทบาทหน้าทีด่ งั น้ี  จดั ทำโครงสร้าง แผนงาน และโครงการบรหิ ารกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน  จดั ทำขอ้ มลู สารสนเทศของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน  จัดทำหลักสูตรของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและนำไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน มีการ นิเทศ/กำกบั /ตดิ ตามประเมนิ ผลหลกั สูตรอยา่ งตอ่ เน่อื ง  ส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความถนัดของผู้เรียน ผสานความรู้ต่าง ๆ ให้ สมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องกับ เน้อื หา สาระ กิจกรรม รวมทง้ั ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ หรือเครอื ขา่ ยผู้ปกครองชมุ ชนทอ้ งถ่ินมามี สว่ นรว่ ม  งานอื่น ๆ ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 2. หวั หนา้ กิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 1  จัดทำโครงสร้างกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 และนำไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน มกี ารนิเทศ/กำกบั /ตดิ ตามประเมินผลหลักสูตรอยา่ งตอ่ เนือ่ ง  จดั ทำข้อมลู สารสนเทศของกจิ กรรมลูกเสอื ม.1

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หน้าที่ 23  ส่งเสรมิ ใหจ้ ัดกิจกรรมให้สอดคล้องกบั ความถนัดของผู้เรยี น ผสานความร้ตู ่าง ๆ ให้สมดุล กัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ที่สอดคล้องกับเนื้อหา สาระ บรู ณาการทกั ษะลกู เสอื เข้ากับทกั ษะชวี ติ ประจำวัน 3. หวั หน้างานจดั ตารางสอน สรปุ ได้ว่า ระดับคุณภาพการปฏิบัตงิ าน เมื่อประเมินดว้ ยตนเองแล้ว อยู่ในระดบั  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาข้ึนอีก 5) งานกิจกรรมชุมนมุ คัดเขยี นไทย ลายมอื นนั้ คือยศ มสี มาชกิ 32 คน สรปุ ไดว้ า่ ระดับคณุ ภาพการปฏบิ ตั ิงาน เม่อื ประเมนิ ด้วยตนเองแลว้ อยใู่ นระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาข้นึ อกี 6) งานกจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนารี ระดบั ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีหวั หน้าลูกเสือ ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 และสอนกจิ กรรมลูกเสือ-เนตรนารี ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่พฒั นาผ้เู รยี นดา้ นคุณธรรมจริยธรรมของลูกเสือ- เนตรนารี ชั้น ม.1 และการบรู ณาการทักษะลกู เสือรว่ มกบั ทกั ษะชีวติ สรปุ ไดว้ า่ ระดับคุณภาพการปฏบิ ตั ิงาน เม่อื ประเมนิ ดว้ ยตนเองแล้ว อยู่ในระดับ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพฒั นาข้นึ อกี 7) งานกจิ กรรมคณะสีฉัตรบดนิ ทร (สีเหลือง) เป็นครูที่ปรกึ ษาให้กบั นักเรียนคณะสีเหลือง สรุปได้วา่ ระดับคุณภาพการปฏิบตั ิงาน เมอื่ ประเมนิ ดว้ ยตนเองแล้ว อยูใ่ นระดบั  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรพัฒนาขึ้นอีก

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 24 บทที่ 4 สรปุ ผลการพัฒนาและการนำผลไปใช้ 4.1 สรปุ ผลการดำเนนิ งานในภาพรวม ตารางที่ 12 สรุปผลการดำเนนิ งาน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 รายการ/หัวข้อ ผลการประเมิน (ระดบั คณุ ภาพ) 1. การประเมินระดบั การปฏบิ ัตงิ านตามพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ดีเยยี่ ม 2. การประเมินการสอนของครู ดเี ยยี่ ม 3. การประเมนิ ความพึงพอใจต่อครูที่ปรกึ ษา ดเี ยี่ยม 4. การนิเทศการจดั การเรยี นรแู้ ผนการจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ผ้เู รียนเป็นสำคญั ดีมาก 5. งานหน้าที่ ครูที่ปรึกษา ดีมาก 6. งานในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดมี าก 7. งานหนา้ ทีพ่ เิ ศษ ดมี าก 8. งานกิจกรรมชมุ นุม ดีมาก 9. งานกิจกรรมลกู เสือ – เนตรนารี ดีมาก 10. งานกจิ กรรมคณะสี ดี 4.2 ผลสำเรจ็ ท่เี ปน็ จุดเด่นและจดุ ท่ีควรพฒั นา จุดเด่น ครูมีความรู้ ความสามารถตรงกับหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบ ทั้งหน้าทีก่ ารสอนและงานพิเศษ อื่น ๆ จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสำคญั มีการประเมินการเรียนการสอนสอดคลอ้ งกบั สภาพ ผู้เรียน มีความรู้ ความเข้าใจเป้าหมายของหลักสูตร มีการสร้างสื่อการสอนที่ทันสมัย เช่น Google Site, Google Classroom, Google Form ที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วทุกที่ ทุกเวลา สง่ เสริมใหผ้ ้เู รยี นสร้างกระบวนการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา จุดที่ควรพัฒนา การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทำงานกลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนความ คิดเหน็ กนั ในกล่มุ เนน้ การคดิ วเิ คราะห์ คิดสงั เคราะห์ มคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ และแก้ปัญหาได้ และส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรยี นรู้ที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น และครูควรพัฒนาเรื่องการประเมินนักเรียนด้วย วธิ กี ารที่หลากหลาย และประเมนิ ผ้เู รยี นตามสภาพจริง 4.3 แนวทางการพฒั นาในอนาคต หาความรแู้ ละสรา้ งสอื่ และแบบฝกึ หัดใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง 4.4 ความตอ้ งการการช่วยเหลอื เคร่ืองมืออำนวยความสะดวกในการสอน เช่น โปรเจคเตอรใ์ นห้องเรยี น เครอ่ื งเสยี งท่ีพร้อมใช้งาน

รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 25 4.5 กิจกรรม / ผลงาน / ชิ้นงานเด่นท่มี คี วามภาคภมู ใิ จและประทบั ใจ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 ข้าพเจา้ มีความภาคภูมิใจในผลงานดงั นี้ 1. การติดตามนักเรยี นในทีป่ รกึ ษาห้อง 1/8 นักเรยี นสามารถตามงานแกว้ ิชาต่าง ๆ ไม่มนี กั เรยี น ติด 0 2. การเยีย่ มบ้านนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1/8 ครบร้อยละ 100 4.6 ความรู้สกึ หรอื คณุ คา่ ท่ีไดร้ ับจากการปฏบิ ัติหนา้ ท่เี ป็นครตู อ่ นกั เรยี น มดี งั นี้ - มีความภูมิใจทีม่ ีส่วนทำให้นกั เรียนมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย และประสบความสำเร็จใน การเรียนตอ่ ระดบั สงู ข้ึน และสามารถนำความรทู้ ไี่ ดไ้ ปใช้ประโยชน์ได้ - มคี วามภูมิใจทท่ี ำให้นักเรียนหันมาสนใจในกจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ผเู้ รียนอยากมสี ว่ นรว่ มใน การทำกจิ กรรม มเี จตคตทิ ่ีดตี อ่ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี 4.7 ในการปฏิบตั ิการสอนภาคเรยี นน้ไี ดค้ น้ พบความรู้ใหม่ ดงั นคี้ อื 1) สอ่ื การสอน/แหลง่ เรียนรู้ ไดแ้ ก่ ห้องเรยี น DLIT (ONLINE) 2) วิธกี ารสอนทพ่ี บว่าประสบผลสำเร็จมากที่สดุ คือ การจัดการเรยี นการสอนแบบสบื เสาะหา ความรู้ และการสอนแบบสาธติ และการนำเทคนิคการสอน KWL-Plus มาใช้ในช้ันเรียน 3) ปจั จยั ท่ีทำใหป้ ระสบผลสำเร็จในการปฏิบัติหน้าที่ คอื ความต้งั ใจทจี่ ะสอนนกั เรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจสูงขึ้น และสามารถนำความรทู้ ี่ได้ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ โดยคำนึงถงึ ความแตกต่างระหวา่ งผเู้ รยี นเป็น รายหอ้ งและรายบคุ คล และเลือกเทคนิคการสอนที่เหมาะสมกับนักเรยี น 4.8. ปญั หาและอปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ  สิ่งทีต่ ้องแก้ไข(ปญั หา) -  ส่งิ ท่ตี อ้ งการพัฒนาต่อไป คือ ส่อื การสอนทส่ี อดคล้องกับการเรยี นรแู้ บบ Active Learning  เรือ่ งทีค่ วรจะนำไปทำวิจยั ในชน้ั เรียนต่อไปคอื การคิดสรา้ งสรรค์ การคดิ วิเคราะห์

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผูส้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) | หนา้ ที่ 26 การรบั รองรายงานการประเมินตนเองของครผู ้สู อน (Teacher’s Self Assessment Report : T - SAR) ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2562 ************************************************* (ลงชอื่ ) ผรู้ ายงาน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) ครู ........../.........../............ (ลงชื่อ) ผู้รับรองรายงาน (นางจฑุ ามาศ อรา่ มศรี) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ........../.........../............ (ลงชื่อ) ผู้รับรองรายงาน (นางสอางค์ ตน้ั ไทย) ผู้ชว่ ยผ้อู ำนวยการกลมุ่ บริหารงานบุคคล ........../.........../............ (ลงช่อื ) ผู้รับรองรายงาน (นายพีรศษุ ม์ ปีตธวชั ชัย) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห์ สงิ หเสนี) ๔ ........../.........../............

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หนา้ ท่ี 27 ภาคผนวก ก ผลการประเมนิ ผลงานทเี่ กิดจากการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี (3 ด้าน 13 ตวั บ่งช้ี)

รายงานการประเมนิ ตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หนา้ ท่ี 28 เอกสาร/รอ่ งรอย/หลกั ฐาน ☺ มี  ไมม่ ี ดา้ นท่ี 1 ด้านการจัดการเรยี นการสอน ตัวชี้วัดที่ 1.1 ด้านการจัดการเรียนการสอน 1 โครงสรา้ งรายวชิ า (Flowchart) ✓ 2 คำสงั่ เกย่ี วกับการจัดทำ/ทบทวน/ปรับปรงุ /พฒั นาหลกั สูตร ✓ 3 ตารางสอน ✓ ตวั ชี้วัดที่ 1.2 การจัดการเรียนรู้ 1.2.1 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ 1 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ ✓ 2 การประเมินหนว่ ยการเรียนรู้ ✓ 1.2.2 การจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้ 1 การวเิ คราะห์ผ้เู รียนรายบคุ คล ✓ 2 แผนการจัดการเรียนรู้ (ตัวอย่าง) ✓ 3 บันทกึ หลังการสอน ✓ 4 นเิ ทศการสอน ✓ 5. แผนการจดั การศกึ ษา (IEP)/แผนการสอนรายบุคคล (IIP) ✓ 1.2.3 กลยทุ ธใ์ นการจดั การเรยี นรู้ 1 ตวั อยา่ งแผนการจัดการเรียนรู้ (เนน้ เทคนคิ การจัดการเรียนร)ู้ ✓ 2 รูปภาพตวั อย่างผลงานนักเรยี น ✓ 1.2.4 คณุ ภาพผู้เรียน 1 ปพ.5 ✓ 2 คา่ เป้าหมาย และรายงานคา่ เปา้ หมาย ✓ 3 เกยี รตบิ ัตร/ผลงานนกั เรยี นแขง่ ขัน ✓ 4 รปู ภาพตวั อย่างผลงานนักเรียน ✓ ตวั ชวี้ ัดท่ี 1.3 การสรา้ งและการพัฒนาสือ่ นวตั กรรม เทคโนโลยที างการศกึ ษาและแหลง่ เรียนรู้ 1 สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา ✓ 2 การประเมนิ ส่ือ/ร่องรอยการใช้สื่อ ✓ 3 ทะเบียนแหลง่ เรียนรู/้ บนั ทกึ การใชแ้ หล่งเรยี นรู้ ✓ 4 การเผยแพร่สอื่ และแหล่งเรียนรู้ ✓ ตัวชี้วัดที่ 1.4 การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1 บตั รขอ้ สอบ (Item card) ✓ 2 แบบทดสอบ/แบบฝึก/การประเมนิ ตามสภาพจรงิ ✓ 3 เกณฑก์ ารประเมินชน้ิ งาน/ภาระงานของนกั เรียน ✓ 4 คำสงั่ เก่ยี วกบั การวดั และประเมนิ ผล ✓ ตัวช้ีวัดที่ 1.5 การวิจัยเพอื่ การเรียนรู้ 1 บทคัดยอ่ วิจัยในชั้นเรียน ✓ 2 การสอนซ่อมเสริม ✓

รายงานการประเมนิ ตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าที่ 29 เอกสาร/รอ่ งรอย/หลกั ฐาน ☺ มี  ไม่มี ด้านที่ 2 การบริหารจัดการช้ันเรยี น ✓ ✓ ตัวชวี้ ัดท่ี 2.1 การบรหิ ารจัดการช้นั เรยี น ✓ ✓ 1 ข้อตกลงร่วมกันในชัน้ เรยี น ✓ 2 ตารางเวรทำความสะอาดประจำวัน ✓ 3 สรุปผลกิจกรรม อา่ น คดิ วิเคราะห์ ✓ 4 สรุปผลกิจกรรมรกั การอ่าน ✓ 5 บันทึกโฮมรูม (ตวั อยา่ ง) 6 แผนผงั คณะกรรมการหอ้ งเรยี น ✓ ตวั ชว้ี ัดท่ี 2.2 การจัดระบบดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ✓ 1 ประวัตินกั เรยี นประจำชั้น ✓ 2 สรุปการคัดกรองนักเรียน (SDQ) ✓ 3 รายงานการเข้ารว่ มกิจกรรมของโรงเรียน ✓ 4 รายงานการเย่ยี มบ้านนักเรียน ✓ 5 บันทึกการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี น ✓ 6 เกียรติบตั ร/รางวลั /ภาพถา่ ยกจิ กรรมของนักเรยี นในท่ปี รกึ ษา 7 แบบติดตามนกั เรยี นขาดเรียน/เรยี นซ้ำ ✓ ตวั ชี้วัดที่ 2.3 การจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศ เอกสารประจำชัน้ เรยี นหรอื ประจำวชิ า ✓ 1 เอกสารประจำชัน้ เรยี น ✓ 2 บันทึกการนำสารสนเทศมาใชใ้ นการพฒั นาและส่งเสริมนกั เรยี น ✓ 3 สถิติการมาเรยี นของนักเรียน (จดั ทำเปน็ กราฟ/แผนภูมิ) ✓ 4 ผลการเรียนในแตล่ ะภาคเรยี น ✓ 5 รายการเกบ็ เงนิ บำรงุ การศึกษา/ค่ารถ รบั – สง่ 6 ใบสมัคร/ผลการเข้ารว่ มชมุ นมุ ✓ 7 แบบคำรอ้ ง/ผลการแก้ 0 ร มส มผ ✓ ด้านที่ 3 ดา้ นการพฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชพี ✓ ตัวชี้วัดท่ี 3.1 ด้านการพฒั นาตนเอง ✓ 1 ID PLAN 2 รายงานการอบรมหลกั สูตรครุ พุ ฒั นา (12 – 20 ช่ัวโมง/ป)ี ✓ 3 คำสัง่ คณะกรรมการกลมุ่ บรหิ าร/คำสงั่ อนุคณะกรรมการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ✓ 4 วุฒิบตั รการประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดงู าน ตวั ชว้ี ัดท่ี 3.2 การพัฒนาวิชาชพี 1 รายงานการประชมุ /อบรม/สัมมนา/ศกึ ษาดูงาน ท้ังภายใน/นอกโรงเรยี น 2 แบบบนั ทึก PLC (ร่องรอย/หลกั ฐานทีเ่ กยี่ วข้อง) 3 คำสัง่ /หนงั สอื เชิญเป็นวทิ ยากร/คณะกรรมการตดั สนิ

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 30 ภาคผนวก ข หลกั ฐานประกอบ การรายงานทเี่ กดิ จากการปฏบิ ตั ิหน้าที่ (ตามตัวบ่งชี้)

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 31 ดา้ นท่ี 1 ด้านการจดั การเรยี นการสอน

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 32

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 33

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 34

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 35

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 36

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 37

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 38

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 39

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 40

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 41

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 42

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 43

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 44

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 45

รายงานการประเมินตนเองของครู (Self – Assessment Report) | หน้าท่ี 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook