แผนการจัดการเรยี นรู้หนว่ ยการเรยี นท่ี ๒ เรื่อง กาพยเ์ หช่ มเครือ่ งคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย 2 รหสั วชิ า ท๒๑๑๐2 ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ ครู คศ.๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สงิ ห์ สิงหเสนี) ๔ สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และไดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนร้แู ละตัวชว้ี ัดกลุ่มสาระการเรยี นรู้ต่างๆ เพ่ือให้สถานศึกษานาไปใชเ้ ป็นกรอบ ทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพอื่ พฒั นา ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่ กาหนดให้ พร้อมทั้งดาเนินการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพอ่ื ให้เกิดผลสาเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษาไทย ดังนั้นขนั้ ตอนการนาหลักสตู รสถานศึกษาไป ปฏิบัติจริงในช้ันเรยี นของครูผู้สอน จึงจัดเป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุตามเป้าหมาย ของหลกั สูตร ครผู ้สู อนจงึ จดั ทาแผนการจดั การเรยี นรู้รายวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 เพอื่ ใชเ้ ปน็ แนวทาง วางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทาเป็นหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward Design) ท่ีมุ่งเน้นกระบวนการคิดและการประกันคุณภาพ ผู้เรียน ช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกบั การประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถมั่นใจในผลการ เรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐานตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ แนวทางจัดการเรียน การสอนตามแผนการสอนที่จัดทาเป็นรายคาบไว้อย่างละเอียด จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นักเรยี นใหส้ งู ข้นึ ตามมาตรฐานการศึกษา ปานทอง แสงสุทธิ ครูกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
สำรบญั หน้ำ เรือ่ ง ก คำอธิบำยรำยวชิ ำ ข โครงสรำ้ งรำยวชิ ำ 1 หนว่ ยกำรเรียนรู้ที่ ๒ กำพย์เหช่ มเครือ่ งคำวหวำน 1 แบบบนั ทึกหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ 16 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑ ปริศนาอกั ษรไขว้ฯ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒ เสนาะเพียงเสียงดนตรี 21 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ภาพอาหาร คาว หวานเลศิ รส 27 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เสยี งวรรณยุกต์สาคัญต่อความหมาย 32 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๕ สมั พนั ธว์ รรณศิลป์ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๖ ไวว้ ากษว์ าที ไว้วงกวี 38 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๗ การแยกแยะขอ้ เท็จจริงข้อคดิ เห็น 43 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๘ อาหาร สอื่ สัมพันธท์ างใจจริงหรอื แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๙ พดู และเขียนใช้ภาษาต่างกนั 48 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๐ การอา่ นและปฏิบัติตามเอกสารคมู่ ือ 53 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๑ อ่านเพื่อความปลอดภยั 59 แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑๒ การเขียนรายงาน ภำคผนวก 65 70 75 80
แบบบนั ทกึ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรื่อง กาพยเ์ ห่ชมเครือ่ งคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหัสวิชา ท2110๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2562 เวลา 18 คาบ ครผู ูส้ อน นางสาวปานทอง แสงสุทธิ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห์ สิงหเสน)ี ๔ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพือ่ นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาใน การดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสยั รักการอ่าน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๑/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเร่อื งท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๒ จบั ใจความสาคัญจากเรอ่ื งท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๓ ระบุเหตุและผล และขอ้ เท็จจริงกับขอ้ คิดเหน็ จากเรื่องทอ่ี ่าน ท ๑.๑ ม.๑/๔ ระบแุ ละอธบิ ายคาเปรยี บเทยี บและคาท่มี ีหลายความหมายในบริบทต่าง ๆ จาก การอ่าน ท ๑.๑ ม.๑/๕ ตคี วามคายากในเอกสารวชิ าการโดยพิจารณาจากบริบท ท ๑.๑ ม.๑/๖ ระบขุ ้อสังเกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชกั จงู โนม้ นา้ วใจ ท ๑.๑ ม.๑/๗ ปฏบิ ัติตามคู่มือแนะนาวธิ กี ารใช้งานของเคร่ืองมือหรือเครือ่ งใช้ในระดบั ท่ยี ากขึ้น ท ๑.๑ ม.๑/๘ วิเคราะห์คุณคา่ ทีไ่ ดร้ ับจากการอา่ นงานเขยี นอย่างหลากหลาย เพือ่ นาไปใช้แก้ปญั หา ในชวี ิต ท ๑.๑ ม.๑/๙ มีมารยาทในการอ่าน มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ตวั ชีว้ ัด ท ๓.๑ ม.๑/๔ ประเมินความนา่ เช่ือถอื ของสือ่ ทม่ี เี น้อื หาโนม้ น้าวใจ ท ๓.๑ ม.๑/๕ พูดรายงานเร่ืองหรอื ประเด็นทีศ่ ึกษาคน้ ควา้ จากการฟงั การดู และการสนทนา ท ๓.๑ ม.๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพดู มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และ พลงั ของภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ขิ องชาติ ตวั ชวี้ ัด ท ๔.๑ ม.๑/๑ อธิบายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย ท ๔.๑ ม.๑/๔ วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน ท ๔.๑ ม.๑/๕ แตง่ บทรอ้ ยกรอง
มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น คณุ ค่า และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง ตัวช้วี ัด ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา่ น ท ๕.๑ ม.๑/๒ วิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ ท ๕.๑ ม.๑/๓ อธบิ ายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน ท ๕.๑ ม.๑/๔ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจากการอา่ นเพอ่ื ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ท ๕.๑ ม.๑/๕ ท่องจาบทอาขยานตามท่ีกาหนดและบทร้อยกรองทมี่ คี ณุ คา่ ตามความสนใจ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ ัวชี้วดั (KPA) 1) อธบิ ายความหมายของคาศัพท์ในกาพยเ์ ห่ชมเคร่ืองคาวหวาน (K) 2) อธิบายการอา่ นโคลงส่ีสภุ าพและกาพย์ยานี ๑๑ (K) 3) อา่ นออกเสียงโคลงส่ีสุภาพและกาพยย์ านี ๑๑ (P) 4) ค้นคว้าและบนั ทึกขอ้ มูลเพ่ิมเติมเกยี่ วกบั อาหารที่ปรากฏในกาพยเ์ หช่ มเครื่องคาวหวาน (P) 5) อธบิ ายเสียงวรรณยกุ ต์ของคาในภาษาไทย (K) 6) อธิบายศลิ ปะการประพนั ธแ์ ละโวหารภาพพจน์ในกาพยเ์ หช่ มเครือ่ งคาวหวาน (K) 7) วิเคราะห์ศิลปะการประพนั ธ์และโวหารภาพพจน์ในกาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวาน (P) 8) อธิบายหลกั การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพยย์ านี ๑๑ (K) 9) อธบิ ายลกั ษณะของขอ้ มูลท่ีเป็นขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ (K) 10) อธบิ ายลกั ษณะของภาษาพูดและภาษาเขยี น (K) 11) วเิ คราะห์ความแตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขียน (P) 12) อธิบายแนวทางการอา่ นและปฏบิ ตั ิตามเอกสารคู่มือ (K) 13) อ่านเอกสารคมู่ อื การใช้งานของเครอื่ งมอื หรือเคร่อื งใช้ (P) 14) ปฏบิ ัตติ ามคาแนะนาวิธกี ารใช้ของเครือ่ งมือหรอื เคร่ืองใช้ (P 15) อธิบายวิธีการและรูปแบบการเขียนรายงาน (K) 16) วิเคราะหค์ วามสาคัญของการเขยี นรายงาน (P) 3. สาระสาคัญ ๑. กาพย์เห่ชมเคร่อื งคาวหวาน เป็นบทพระราชนิพนธใ์ นรัชกาลท่ี ๒ เนื้อความกล่าวถึงการชมอาหาร คาวหวาน และงานนักขัตฤกษ์ในแต่ละเดือนของไทย เป็นวรรณคดีที่สะท้อนการรับประทานอาหารท่ีเป็น เอกลักษณท์ างวฒั นธรรมของคนไทยทส่ี บื เนื่องจากอดตี จนถงึ ปจั จุบัน ๒. บทรอ้ ยกรองจากเร่ือง กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวานมีความไพเราะมาก การอา่ นออกเสียงอย่างถูกต้อง ทั้งจังหวะและทานองจะทาให้บทร้อยกรองมีความไพเราะมากย่ิงขึ้น การนาบทร้อยกรองท่ีชอบมาคัดลายมือและ ท่องจา ทาใหเ้ กดิ ความซาบซ้ึงและสามารถนาไปใชอ้ ้างอิงได้ ๓. เสียงวรรณยุกตเ์ ปน็ เสียงสูงต่าทเ่ี กิดขน้ึ รว่ มกบั เสยี งสระ เมือ่ เปลยี่ นเสยี งวรรณยุกต์ในพยางค์หรือ คา ความหมายก็จะเปล่ียนไปด้วย พยางค์ทุกพยางค์มีเสียงวรรณยุกต์ แต่บางพยางค์มีเสียงไม่ตรงกับรูป วรรณยกุ ต์
๔. การประพันธ์บทร้อยกรองให้ไพเราะจะมีกลวิธีการเลือกใช้คาและการใช้โวหารภาพพจน์ต่าง ๆ ซงึ่ ตอ้ งเรยี นรแู้ ละฝึกฝน ๕. กาพยเ์ ห่ชมเครอ่ื งคาวหวานเป็นวรรณคดไี ทยทีม่ ีคุณค่า การฝกึ แต่งกาพย์เห่เพื่อชมอาหารไทยจึง เปน็ การสบื ทอดวรรณคดีไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ อีกทางหนึ่ง ๖. การจับใจความและวิเคราะห์เร่ืองที่อ่าน ทาให้เข้าใจสาระสาคัญของเร่ือง ทราบข้อมูลที่เป็น ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นของผู้เขียน เป็นการขยายความร้แู ละความคิดของผู้อ่านให้กว้างย่งิ ขึ้น การวิเคราะห์ ขอ้ เท็จจริง ข้อคดิ เห็น และความสมเหตุสมผลของเร่ือง ทาให้ผรู้ ับสารสามารถประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของเร่ือง น้ันไดช้ ดั เจนและแมน่ ยา ๗. ปัจจบุ ันการนาเสนอขอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ มจี านวนมาก บางครัง้ อาจเปน็ ขอ้ มูลท่มี ีเน้อื หาโน้มน้าว ใจหรือเชิญชวนให้ปฏิบัติตามโดยมีจุดหมายแอบแฝง ดังนั้น จึงต้องรู้จักการประเมินค่าเน้ือหาท่ีปรากฏในส่ือ เหล่าน้ี การพูดประเมนิ ค่าเก่ียวกบั สื่อทีม่ ีเนือ้ หาโน้มน้าวใจเปน็ การแสดงความคิดเห็นของผ้พู ูดเพือ่ ใหฟ้ ังทราบ และเป็นข้อมูลอีกสว่ นหน่งึ เพื่อประกอบการตดั สนิ ใจของตนท่ปี ระเมินคา่ ข้อมูลจากส่อื ต่าง ๆ ๘. ภาษาพูดมีลักษณะไม่เป็นทางการ การใช้คาอาจไม่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ แต่ให้ความสนิทสนม เป็นกันเอง ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาระดบั ทางการ การใช้คาต้องถูกต้องตามแบบแผน ใช้ในการสื่อสารท่ีเป็น ทางการ ๙. การอ่านเอกสารคู่มือต้องอ่านอย่างละเอียดและทาความเข้าใจให้ชัดเจน เพ่ือให้สามารถปฏิบัติ ตามได้อย่างถูกต้อง การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือจะทาให้ผู้อ่านสามารถใช้เคร่อื งมือเคร่ืองใช้ได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด และยังเป็นการถนอมอายกุ ารใช้งานให้ยาวนาน ขณะเดียวกันเป็นการ เพ่ิมความละเอียดรอบคอบให้แก่ผู้อ่านได้มากย่ิงขึ้น ดังน้ัน จึงควรอ่านเอกสารคู่มือก่อนเร่ิมใช้งานเคร่ืองมือ เครือ่ งใช้ เพอ่ื ให้เกดิ ความเข้าใจและคนุ้ เคยกบั การใช้งานมากย่งิ ขึน้ ๑๐. การเขียนรายงานเป็นการนาเสนอความรู้ทีไ่ ด้จากการศกึ ษาคน้ ควา้ ซึง่ มวี ิธีการจดั ทาและรูปแบบ การนาเสนอเพ่ือให้ได้รายงานที่มคี ุณภาพ การเขียนรายงานต้องนาเสนอความรทู้ ี่ศึกษาค้นควา้ มาอยา่ งถกู ตอ้ ง และชัดเจน การจะเขียนรายงานได้ดีต้องกาหนดขอบเขตเนื้อหาและวางแผนการทางาน เพ่ือให้ทางานได้ รวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพ ๑๑. การพูดรายงานเร่ืองท่ีศึกษาค้นคว้าเป็นการพูดเพื่อให้ผู้ฟังได้รับทราบข้อมูลและเกิดความเข้าใจ ซึง่ ผ้พู ดู ต้องรายงานขอ้ มลู ทถ่ี กู ต้อง ชดั เจน เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ งั ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการฟังอยา่ งเต็มท่ี ๑๒. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานมีความไพเราะจากการเลือกสรรถ้อยคา และการใช้โวหาร เปรยี บเทียบที่คมคาย เนื้อหากล่าวถึงอาหารไทยหลายชนิด ทาให้ผอู้ า่ นรู้จกั อาหารเหล่าน้ันซง่ึ เปน็ การอนุรักษ์ ความเป็นไทยอีกทางหน่ึง 4. ทกั ษะการคิด - การจาแนก - การใหเ้ หตผุ ล - การวิเคราะห์ - การสังเคราะห์ - การจัดระบบความคิดเปน็ แผนภาพ - การประยุกต/์ การปรับปรุง - การสรุปความรู้ - การประเมินคา่
5. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. เสยี งในภาษาไทย ๒. ภาษาพดู และภาษาเขยี น ๓. หลกั การแต่งคาประพันธป์ ระเภทกาพย์ ๔. การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรอง ๕. การอ่านจับใจความ ๖. การคดั ลายมอื ๗. การเขียนรายงาน ๘. การพดู ประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือของส่อื ทม่ี ีเนื้อหาโน้มนา้ วใจ ๙. การพูดเสนอความรู้ ๑๐. การสรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน ๑๑. การวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี า่ นพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ ๑๒. การอธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๑๓. การสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพอื่ ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจริง ๑๔. การทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทรอ้ ยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจ ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการอ่าน 2) ทกั ษะกระบวนการคิดตดั สินใจ 3) ทักษะการตีความ 4) ทกั ษะการประเมนิ 5) ทักษะการตงั้ เกณฑ์ 6) ทกั ษะการสรปุ ลงความเห็น 7) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 8) ทกั ษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ 9) ทักษะการใหเ้ หตุผล คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มงุ่ ม่นั ในการทางาน 4) รักความเปน็ ไทย ๖. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ๑. ความสามารถในการส่อื สาร - ทักษะการอา่ น - ทกั ษะการเขยี น - ทกั ษะการฟงั การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก - การใหเ้ หตผุ ล - การวเิ คราะห์ - การสังเคราะห์ - การจดั ระบบความคิดเป็นแผนภาพ - การประยกุ ต/์ การปรบั ปรงุ - การสรปุ ความรู้ - การประเมนิ คา่ ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 7. ความเขา้ ใจที่คงทน นกั เรยี นสามารถสรุปได้ว่า กาพยเ์ หช่ มเครื่องคาวหวาน เป็นบทพระราชนพิ นธ์ในรัชกาลที่ ๒ เนอ้ื ความกล่าวถึงการชมอาหาร คาวหวาน และงานนักขัตฤกษ์ในแต่ละเดือนของไทย เป็นวรรณคดีที่สะท้อนการรับประทานอาหารที่เป็น เอกลักษณท์ างวัฒนธรรมของคนไทยที่สืบเนอ่ื งจากอดตี จนถึงปัจจุบัน บทร้อยกรองจากเร่ือง กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวานมีความไพเราะมาก การอ่านออกเสียงอย่างถูกต้องท้ัง จงั หวะและทานองจะทาให้บทร้อยกรองมีความไพเราะมากย่ิงข้ึน การนาบทร้อยกรองที่ชอบมาคัดลายมือและท่องจา ทาให้เกิดความซาบซึ้งและสามารถนาไปใช้ อ้างองิ ได้ เสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสูงต่าที่เกิดข้ึนร่วมกบั เสียงสระ เมื่อเปล่ียนเสียงวรรณยุกต์ในพยางค์หรอื คา ความหมายก็จะเปล่ียนไปด้วย พยางค์ทุกพยางค์มีเสียงวรรณยุกต์ แต่บางพยางค์มีเสียงไม่ตรงกับรูป วรรณยุกต์ การประพนั ธ์บทร้อยกรองให้ไพเราะจะมกี ลวิธกี ารเลอื กใช้คาและการใช้โวหารภาพพจน์ต่าง ๆ ซ่งึ ต้องเรียนรู้และฝึกฝน กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวานเป็นวรรณคดีไทยท่ีมีคุณค่า การฝึกแต่งกาพย์เห่เพื่อชม อาหารไทยจงึ เป็นการสืบทอดวรรณคดไี ทยอย่างเห็นคุณคา่ อกี ทางหนงึ่ การจับใจความและวเิ คราะห์เร่ืองท่ีอ่าน ทาให้เข้าใจสาระสาคัญของเร่อื ง ทราบข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นของผู้เขียน เป็นการขยายความรู้ และความคดิ ของผูอ้ ่านใหก้ ว้างยงิ่ ขน้ึ การวิเคราะห์ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และความสมเหตุสมผลของเรื่อง ทาให้ผู้รับสารสามารถ ประเมินความน่าเช่ือถือของเรอ่ื งน้ันได้ชัดเจนและแม่นยา ปัจจุบันการนาเสนอข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มีจานวน มาก บางครั้งอาจเป็นข้อมูลท่ีมีเนื้อหาโน้มน้าวใจหรือเชิญชวนให้ปฏิบัติตามโดยมีจุดหมายแอบแฝง ดังน้ันจึง ตอ้ งรู้จกั การประเมนิ คา่ เน้ือหาทปี่ รากฏในสือ่ เหลา่ นี้ การพูดประเมินค่าเกี่ยวกับส่ือที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจเป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้พูดเพื่อให้ฟัง ทราบ และเป็นขอ้ มูลอีกส่วนหนึง่ เพ่ือประกอบการตดั สินใจของตนที่ประเมินคา่ ข้อมูลจากสอ่ื ตา่ ง ๆ ภาษาพูดมีลกั ษณะไม่เปน็ ทางการ การใช้คาอาจไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑ์ แตใ่ หค้ วามสนทิ สนมเป็น กันเอง ส่วนภาษาเขียนเป็นภาษาระดับทางการ การใช้คาต้องถูกต้องตามแบบแผน ใช้ในการส่ือสารท่ีเป็น ทางการ
การอา่ นเอกสารค่มู อื ตอ้ งอ่านอยา่ งละเอียดและทาความเข้าใจให้ชัดเจน เพือ่ ใหส้ ามารถปฏบิ ัติตาม ได้อย่างถูกต้อง การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือจะทาให้ผู้อ่านสามารถใช้เคร่ืองมือเคร่ืองใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุด และยังเป็นการถนอมอายุการใช้งานให้ยาวนาน ขณะเดียวกันเป็นการ เพ่ิมความละเอียดรอบคอบให้แก่ผู้อ่านได้มากย่ิงข้ึน ดังนั้น จึงควรอ่านเอกสารคู่มือก่อนเร่ิมใช้งานเครื่องมือ เคร่อื งใช้ เพือ่ ให้เกิดความเขา้ ใจและคุ้นเคยกับการใช้งานมากย่งิ ขน้ึ การเขียนรายงานเป็นการนาเสนอความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า ซึ่งมีวิธีการจัดทาและ รูปแบบการนาเสนอเพื่อให้ไดร้ ายงานทีม่ ีคุณภาพ การเขียนรายงานตอ้ งนาเสนอความรู้ท่ีศึกษาคน้ คว้ามาอย่าง ถูกต้องและชดั เจน การจะเขียนรายงานได้ดีตอ้ งกาหนดขอบเขตเนือ้ หาและวางแผน การทางานเพอ่ื ให้ทางานได้ รวดเรว็ และมปี ระสิทธิภาพ การพูดรายงานเร่ืองทศ่ี ึกษาค้นควา้ เป็นการพดู เพอ่ื ให้ผฟู้ งั ได้รบั ทราบข้อมูลและเกิดความเข้าใจ ซ่งึ ผพู้ ูดต้องรายงานขอ้ มูลที่ถกู ต้อง ชดั เจน เพือ่ ใหผ้ ้ฟู ังไดร้ ับประโยชนจ์ ากการฟังอย่างเต็มที่ กาพย์เหช่ มเครือ่ งคาวหวานมีความไพเราะจากการเลือกสรรถ้อยคา และการใชโ้ วหารเปรียบเทียบ ท่ีคมคาย เน้อื หากลา่ วถงึ อาหารไทยหลายชนดิ ทาใหผ้ ู้อา่ นรู้จักอาหารเหลา่ นั้นซ่งึ เป็นการอนรุ ักษ์ความเป็นไทย อกี ทางหนง่ึ ๘. กาหนดหลกั ฐานการเรยี นรู้ 8.1 ชิ้นงาน/ภาระงาน 1) ใบงานเร่ือง การพดู ประเมนิ ค่าสอื่ ท่มี ีเนือ้ หาโน้มน้าวใจ 2) ใบงานเร่ือง วเิ คราะหก์ ารใชภ้ าษาพดู และภาษาเขียน 3) ใบงานเร่ือง การอ่านและปฏบิ ัติตามเอกสารคมู่ อื 4) การเขยี นรายงานอาหารไทย ๔ ภาค และอาหารยอดนยิ มในประเทศสมาชกิ อาเซยี น 8.2 เกณฑก์ ารวัดผล/ประเมินผล ประเดน็ พจิ ารณา ระดับคะแนน การพดู ประเมนิ ค่า 4 32 4 ส่อื ที่มีเน้ือหา โน้มนา้ วใจ พดู วิเคราะห์และ พดู วิเคราะห์และ พดู วเิ คราะหแ์ ละ พดู วิเคราะห์และ ประเมินค่าได้ ประเมนิ ค่าได้ ประเมินคา่ ได้ ประเมนิ คา่ อยา่ ง ถกู ต้อง ส้ัน ๆ ต้องพัฒนา มีรายละเอยี ด ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง การเรียบเรยี ง ชัดเจนทกุ ประเดน็ มรี ายละเอยี ด แตร่ ายละเอียด เน้อื หาและ เสนอความคิด ชดั เจนทุกประเดน็ ยงั ไมช่ ัดเจน บคุ ลกิ ภาพ น่าสนใจ มีเหตุผล ที่ดี เรียบเรียง มกี ารแสดงเหตุผล เหตุผลประกอบ เนอ้ื หาอยา่ งเปน็ ประกอบเล็กนอ้ ย ไมค่ อ่ ยสัมพนั ธ์กัน ลาดับและมี เรียบเรียงเน้ือหา มขี อ้ บกพรอ่ ง บคุ ลกิ ภาพท่ีดีมาก ได้ดแี ละมี บคุ ลิกภาพดี เล็กนอ้ ยในการ เรยี บเรียงเนือ้ หา และบุคลิกภาพ
ประเด็นพิจารณา ระดับคะแนน วเิ คราะห์การใช้ ภาษาพดู และ 4324 ภาษาเขยี น วเิ คราะห์การใช้ วิเคราะหก์ ารใช้ วิเคราะห์การใช้ วเิ คราะห์การใช้ ภาษาพูดและ การอ่านและปฏบิ ัติ ภาษาพดู และภาษา ภาษาพูดและภาษา ภาษาพดู และ ภาษาเขียนได้ ตามเอกสารคู่มือ แตต่ อ้ งมีผแู้ นะนา เขียนได้ครบถ้วน เขยี นได้ครบถว้ น ภาษาเขียนได้ การเขียนรายงาน ท้ังหมด ถูกต้องแมน่ ยา ถกู ตอ้ งทกุ คา หลายคาและตอ้ ง อ่านแลว้ ต้องมี ทุกคาดว้ ยตนเอง มีการขอคาแนะนา ให้ผู้อื่นแนะนามาก ผู้แนะนาทีละ และสามารถ จากผู้อืน่ เล็กนอ้ ย พอสมควร ข้นั ตอน จงึ ปฏิบตั ิตามได้ แนะนาผอู้ นื่ ได้ อา่ นและปฏบิ ตั ิ อ่านและปฏบิ ัติ อ่านและปฏบิ ัติ ตามเอกสารค่มู ือได้ ตามเอกสารคมู่ ือได้ ตามเอกสารค่มู อื ได้ ถกู ตอ้ งทกุ ขั้นตอน ถกู ตอ้ ง ทกุ ขน้ั ตอน เองบางขนั้ ตอน ทันที และสามารถ โดยกลบั ไปอ่าน บางขัน้ ตอนต้องมี แนะนาผอู้ น่ื ได้ ทบทวนบาง ผแู้ นะนา ข้นั ตอน มสี ว่ นประกอบของ มีสว่ นประกอบของ มสี ว่ นประกอบของ มีสว่ นประกอบของ รายงานครบถ้วน รายงานครบถ้วน รายงานครบถ้วน รายงานครบถ้วน นาเสนอข้อมูล นาเสนอขอ้ มลู นาเสนอข้อมูล นาเสนอขอ้ มูล ละเอียดชดั เจน ละเอียดชัดเจน ไม่ละเอียดมากนัก ยงั ไมล่ ะเอยี ด และหลากหลาย และหลากหลาย แตก่ เ็ ช่อื มโยง มีขอ้ มลู บางสว่ น ทุกขอ้ มูลเช่ือมโยง ทกุ ขอ้ มูลเชื่อมโยง สมั พนั ธก์ บั หัวขอ้ ไม่สัมพันธ์กบั หัวข้อ สัมพนั ธ์กับหัวข้อ สมั พันธ์กับหัวข้อ และเรียบเรียง การเรียบเรียง เรียบเรยี งเน้ือหา เรยี บเรียงเนื้อหา เนื้อหาตามลาดบั เนื้อหาและการจดั ตามลาดบั และ ตามลาดบั การจัด ส่วนการจดั วาง วางหวั ข้อยงั สับสน ต่อเนื่องกนั ดี วางหวั ข้อชัดเจน หัวข้อยงั สับสน มภี าพประกอบ จัดรปู แบบการ ทาใหเ้ ข้าใจงา่ ย เลก็ น้อย และมี เพียงเลก็ น้อย นาเสนอน่าสนใจ และเป็นระเบยี บ ภาพประกอบ เรียงลาดับหวั ขอ้ มีภาพประกอบ พอสมควร ชัดเจน เข้าใจง่าย หลายภาพ ช่วย มีภาพประกอบ เพม่ิ ความนา่ สนใจ สวยงามและอยู่ใน ตาแหนง่ ท่ี เหมาะสมทกุ ภาพ
๙. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 1) นักเรียนศึกษาบทนาเรอ่ื งกาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวาน แลว้ รว่ มกันสรุปความเขา้ ใจ 2) ครูเขียนตารางบนกระดานเพื่อให้นักเรียนเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ โดยเขียนหมายเลขกากับท่ี ช่องตารางเพอ่ื ให้นักเรียนนาคาศัพทม์ าเตมิ 3) ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม เพื่อช่วยกันหาคาศัพท์จากกาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวานตาม ความหมายท่กี าหนด แขง่ ขนั เขยี นคาศพั ท์ลงในตารางปรศิ นาอักษรไขว้ กลมุ่ ใดใชเ้ วลาน้อยทส่ี ดุ และเขียนได้ ถกู ต้องมากกว่าเปน็ ฝา่ ยชนะ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 1)นกั เรยี นศึกษาความรเู้ ร่อื ง การอา่ นโคลงสสี่ ุภาพและกาพย์ยานี ๑๑ แล้วร่วมกนั สรุปความเข้าใจ ครูเป็นผู้อธิบายเพม่ิ เตมิ 2)ครนู าแถบบนั ทึกเสยี งการอา่ นโคลงสี่สุภาพและกาพยย์ านี ๑๑ มาเปดิ ให้นกั เรยี นฟังหรอื ครเู ป็น ผูอ้ ่านนา ใหน้ กั เรียนฝกึ อา่ นตามจนคล่องแคล่ว 3)ใหน้ กั เรียนแบ่งกล่มุ ๕ กลุม่ ฝกึ อ่านออกเสียงกาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวาน โดยทกุ กลมุ่ ตอ้ งอ่าน โคลงบทแรกพรอ้ มกัน จากนัน้ จงึ แบ่งกันอา่ นกาพย์ยานี ๑๑ กลมุ่ ละ ๓ บท ในขณะทีเ่ พื่อนกลมุ่ อน่ื อ่าน ให้ นักเรียนชว่ ยกนั ฟงั เพอื่ นเสนอแนะและปรับปรุงแกไ้ ข กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 3 1) นกั เรียนดภู าพอาหารทคี่ รูเตรยี มไว้ทลี ะภาพ แล้วลองบอกวา่ เปน็ อาหารชนิดใดภาพที่นกั เรยี น บอกไมไ่ ดค้ รชู ว่ ยแนะนา เมื่อนกั เรยี นบอกชอ่ื อาหารถกู ตอ้ ง ครูนาภาพตดิ บนกระดาน พร้อมติดบัตรคาซง่ึ มี ชอ่ื อาหารไวใ้ ต้ภาพ 2) ให้นักเรียนแบง่ เป็น ๕ กล่มุ ชว่ ยกันค้นคว้าข้อมูลเพ่มิ เติมเกย่ี วกบั อาหารตา่ ง ๆ ในกาพยเ์ หช่ ม เครื่องคาวหวานทเี่ ปน็ บทเรยี น แล้วเขยี นบนั ทกึ ไว้ กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 4 1) นกั เรียนศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง เสยี งวรรณยกุ ต์ แลว้ ร่วมกันสรปุ ความเข้าใจพร้อมทัง้ ยกตวั อยา่ งคา 2) ให้นักเรยี นแบง่ เปน็ ๒ ฝ่าย เลน่ เกม “ขานเสียงวรรณยกุ ต์” โดยคิดคาไว้คนละ ๑ คาซงึ่ เปน็ คาท่ีมี ๒ - ๓ พยางค์ เมื่อเริ่มการแข่งขันท้ังสองฝ่ายยืนหันหน้าเข้าหากันเป็นคู่ ๆ คู่แรกเร่ิมด้วยการเป่ายิงฉุบ ผู้ชนะจะได้บอกคาก่อน ฝ่ายตรงข้ามต้องวิเคราะห์เสียงวรรณยุกต์ของแต่ละพยางค์แล้วบอกให้ถูกต้อง ภายในเวลา ๕ วินาที จากน้ันจะได้บอกคาของตนเองให้อกี ฝ่ายวิเคราะห์ แล้วจึงเริ่มคู่ถัดไป แต่หากฝ่ายใด ฝา่ ยหนง่ึ ตอบผดิ จะตอ้ งออกจากการแข่งขัน และเม่ือการแข่งขันสิน้ สุดจะต้องปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงของทุกคน ในช้นั เช่น ร้องเพลง เต้นตามเพลง ครูคอยดูแลใหก้ จิ กรรมดาเนนิ ไปอย่างถกู ต้อง เหมาะสม 3) ให้นกั เรยี นจบั คหู่ รือแบ่งกลมุ่ ๓ คน ตามเหมาะสม จบั ฉลากเลือกบทกาพย์เห่ชมเคร่อื งคาวหวาน ๑ บท แล้วช่วยกันวิเคราะห์เสียงวรรณยุกต์ของแต่ละพยางค์ในบทร้อยกรองบทน้ัน แล้วออกมานาเสนอ ข้อมลู กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 5 1) จดั กจิ กรรมแบบฐานการเรียนรู้ ใหน้ กั เรยี นแบ่งกลมุ่ ๕ กลุ่ม ศึกษาความรูเ้ รอื่ งกลวธิ ีการประพันธ์ แล้วร่วมกันสรุปความเข้าใจ จากนั้นนาความรู้ที่ได้มาวิเคราะห์กลวิธีการประพันธ์ในกาพยเ์ ห่ชมเคร่ืองคาว หวาน เมื่อทากิจกรรมในแต่ละฐานให้นักเรียนเขียนบันทึกความรู้และตัวอย่าง ฐานการเรียนรู้ท้ัง ๕ ฐาน ประกอบดว้ ย
ฐานการเรียนรู้ท่ี ๑ การเล่นเสียงสัมผัส ฐานการเรียนรูท้ ี่ ๒ การเล่นเสยี งวรรณยกุ ต์ ฐานการเรียนรทู้ ่ี ๓ การเลน่ คา ฐานการเรยี นรทู้ ี่ ๔ การใชไ้ วพจน์ ฐานการเรียนรู้ที่ ๕ การใช้โวหารภาพพจน์ ครกู าหนดเวลาใหน้ ักเรียนทากิจกรรมในแต่ละฐานตามความเหมาะสม กจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ 6 1) นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับหลักการแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ จากน้ัน สังเกตวิธีการบรรยายลักษณะและการพรรณนารสชาติของอาหารในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน แล้ว สนทนารว่ มกนั 2) ให้นักเรียนแต่งกาพย์เห่ชมอาหารไทย อาจแต่งเป็นรายบุคคล หรือช่วยกันแต่งเป็นกล่มุ ก็ได้ (ครูพิจารณาตามความเหมาะสมและศักยภาพของผู้เรียน) ให้มีเน้ือหาชมอาหารไทยประเภทอ่ื น ๆ นอกเหนอื ไปจากกล่าวไวใ้ นกาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวาน โดยแตง่ กาพย์ยานี ๑๑ ไมน่ ้อยกว่า ๓ บท กิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 7 1) นกั เรยี นชว่ ยกนั อธบิ ายลักษณะของข้อมูลท่ีเปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ และขอ้ คิดเหน็ เพอ่ื ทบทวนความรู้ ท่ีเคยเรยี นมา พรอ้ มท้งั ยกตวั อย่าง ครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติม 2) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน ๕ คน ครูแจกหนังสือพิมพ์ให้กลุ่มละ ๑ ฉบับ โดยไม่ซ้า สานักพมิ พก์ ัน พร้อมกบั กระดาษสาหรับเขียนบันทกึ คนละ ๑ แผน่ 3) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกอ่านบทความท่ีน่าสนใจ กลุ่มละ ๑-๒ เร่ือง แล้วช่วยกันจับ ใจความ พร้อมทั้งวิเคราะห์ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากบทความเหล่านั้น เขียนบันทึกลงในกระดาษ จากนั้นแสดงความคิดเห็นของกลุ่มนักเรียนลงในตอนท้ายว่านักเรียนเห็นด้วยกับข้อคิดเห็นของผู้เขียน บทความหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด กิจกรรมการเรียนรู้ที่ 8 1) นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของส่ือท่ีมีเนือ้ หาโน้มน้าวใจ เช่น โฆษณาประกาศ ข้อความชวนเชื่อ บทความเชิญชวนหรอื รณรงค์ ครูชว่ ยอธิบายเพ่ิมเติม 2) นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่ม ระดมความคิดและอภิปรายเพ่ือประเมินความน่าเช่ือถือของ โฆษณาทางส่ือต่าง ๆ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 9 1) นักเรียนศกึ ษาความรเู้ รือ่ ง ภาษาพดู และภาษาเขียน จากน้ันครูนาแถบประโยค ๒ แบบ 2) นกั เรยี นร่วมกนั เปรียบเทียบความแตกตา่ งระหว่างการใช้ภาษาของแถบประโยค แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี ✪ ภาษาพูดต่างจากภาษาเขียนอยา่ งไร ✪ ในชีวิตประจาวนั นกั เรยี นใช้ภาษาพูดและภาษาเขยี นในสถานการณใ์ ดบ้าง 3) นักเรยี นทาใบงานเรอื่ ง วเิ คราะหก์ ารใชภ้ าษาพูดและภาษาเขียน วิเคราะห์การใช้ภาษาจาก เรื่อง “อาหารม้ือสาคัญ” ในแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๙ ว่ามีคาใดบ้างเป็นภาษาพูดและหากจะแกไ้ ขคาน้ัน เปน็ ภาษาเขียน ควรใช้คาใดจึงจะเหมาะสม ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง
กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 10 1) นกั เรยี นศกึ ษาความรเู้ รื่อง การอ่านและปฏบิ ัติตามเอกสารค่มู ือ แลว้ ร่วมกนั สรุปความเขา้ ใจ 2) ครูนาตัวอย่างเอกสารคู่มือของเครื่องมือเคร่ืองใช้ชนิดต่าง ๆ หรือมอบหมายให้นักเรียนช่วยกัน นามา แลว้ แบ่งกลุม่ แลกเปล่ยี นกันอ่านและทาความเขา้ ใจ 3) ครูเลือกตัวแทนนักเรียนออกมาอธิบายวิธีการใช้เครื่องมือเครื่องใช้จากเอกสารที่ศึกษาทุกคน รว่ มกนั ตรวจสอบความเขา้ ใจ 4) ใหน้ ักเรยี นช่วยกันระบขุ ้อดีของการอา่ นและปฏบิ ัตติ ามเอกสารคมู่ อื สรปุ เปน็ แผนภาพความคิด กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 11 ครนู าเอกสารคูม่ อื เก่ยี วกับการใช้เครือ่ งมือเคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ ในชีวิตประจาวันที่สามารถหาได้ใกล้ตัว ไดแ้ ก่ ✪ เอกสารคู่มือการใชพ้ ดั ลม ✪ เอกสารคมู่ อื การใช้เคร่ืองปรบั อากาศ ✪ เอกสารคมู่ ือการใชเ้ ครอ่ื งซกั ผา้ ✪ เอกสารคู่มอื การใชเ้ ครอื่ งรับสัญญาณโทรทัศน์ ให้นักเรียนแบง่ กลุ่มตามเอกสารคู่มอื ชว่ ยกนั อา่ นและสรปุ ขอ้ ปฏบิ ัติ นาเสนอหน้าชน้ั เรยี น เพอ่ื ฝึก ทกั ษะในการอา่ นและการปฏิบตั ติ ามเอกสารคูม่ ือ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 12 1) นักเรยี นศึกษาความร้เู รอ่ื ง การเขียนรายงาน แล้วรว่ มกันสรุปความเข้าใจ 2) ครูนาตัวอยา่ งรายงานให้นักเรยี นรว่ มกันศกึ ษาเพ่ือเป็นความรูเ้ พม่ิ เติม 3) ใหน้ ักเรียนร่วมกันอภปิ รายและยกตวั อย่างจากประสบการณ์ในประเดน็ ต่อไปนี้ ✪สงิ่ สาคญั ของการนาเสนอความร้ใู นรายงานคืออะไร เพราะเหตใุ ด ✪การรวบรวมข้อมูลเพอื่ ทารายงานควรรวบรวมจากหลาย ๆ แหล่ง เพราะเหตใุ ด ✪การจัดขอ้ มลู มปี ระโยชนใ์ นการเขยี นรายงานอยา่ งไร ✪การทารายงานใหน้ ่าสนใจมีวธิ ใี ดบา้ ง ✪เพราะเหตุใดรายงานจงึ ตอ้ งมกี ารอา้ งอิงแหลง่ ทม่ี าของข้อมลู ๑๐. ส่อื การเรยี นร้/ู แหลง่ เรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้/อปุ กรณ์ แหลง่ เรียนรู้ 1) ตารางปรศิ นาอักษรไขว้ แหลง่ เรียนรภู้ ายใน 2) แถบบันทกึ เสียง 1) หอ้ งสมุดโรงเรยี น 3) ภาพ 2) หอ้ งศนู ย์ภาษาของกล่มุ สาระการเรยี นรู้ 4) บัตรคา ภาษาไทย 5) ฉลาก 6) แถบขอ้ ความ แถบประโยค แหล่งเรียนร้ภู ายนอก sites.google.com/a/bodin4.ac.th/pantong- 7) สื่อสิง่ พิมพแ์ ละสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ 8) กระดาษสาหรับทากิจกรรม sangsutti
ส่ือการเรียนรู้/อุปกรณ์ แหล่งเรยี นรู้ 9) เอกสารคมู่ ือของเครื่องมือเครือ่ งใช้ชนดิ ต่าง ๆ 10) ตวั อยา่ งรายงาน 11) เอกสาร ภาพ หรืออุปกรณ์ท่ใี ช้ประกอบการพูด รายงาน 12) ปากกาเคมี 13) ใบงาน 11. การนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ 11.1 ผู้สอนนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการจดั กระบวนการจัดการเรียนรู้ หลกั พอเพยี ง พอประมาณ มเี หตุผล มภี ูมิคุ้มกันในตัวทีด่ ี ประเดน็ -ครูเตรยี มความรู้ เน้อื หา ล่วงหนา้ เนื้อหา กาหนดเนื้อหาเหมาะสม - ผ้เู รยี นไดน้ าความรคู้ วามคิด -เรียงลาดับเน้ือหาจากงา่ ยไป ตามความสนใจของ จากเรื่องไปประยุกตใ์ ชใ้ น ยาก กาหนดเวลาไวส้ ารองในกรณีท่ี ผเู้ รยี น วัยผูเ้ รยี น ชวี ิตประจาวัน บางกิจกรรมอาจจะใชเ้ วลา และเวลา - สอดคล้องกับตวั ชว้ี ัด มากกว่าท่ีกาหนด จดั กจิ กรรมไวส้ ารองกรณีไม่ เวลา กาหนดเวลาเหมาะสม สามารถจดั กจิ กรรมการเรียน สามารถสอนตามแผนทีก่ าหนด ไวไ้ ด้ กับกิจกรรม ใหก้ บั ผู้เรียนได้บรรลุ - วัตถปุ ระสงค์ - วางแผนการใช้สือ่ ตามลาดับ - สื่อมคี วามถูกต้องตามหลกั วชิ า วิธีการจัดกจิ กรรมการ จดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู รยี นได้ จดั กจิ กรรมทใ่ี หผ้ ู้เรียนไดล้ งมอื เตรยี มแบบประเมนิ ที่ เรยี นรู้ ปฏบิ ัตดิ ว้ ยตนเอง ปฏิบตั ิทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ หลากหลาย เหมาะสมกับวยั และ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ความสนใจ แหลง่ เรยี นรู้ - - ส่ือ / อปุ กรณ์ - กาหนดส่อื /อปุ กรณ์ให้ ตอ้ งการสือ่ ทช่ี ่วยให้นกั เรียน เหมาะสมกบั เนอ้ื หา เรียนร้ไู ด้งา่ ยและรวดเร็วข้ึน - สื่อ/อุปกรณห์ าไดง้ า่ ย การประเมนิ ผล กาหนดแบบประเมนิ ให้ ต้องการประเมนิ ผ้เู รยี นตาม เหมาะสมกบั กิจกรรม ตัวชี้วดั ทก่ี าหนด ความรทู้ ค่ี รจู าเปน็ ต้องมี ประวัติความเป็นมาของวรรณคดี สารบั คาว-หวานของไทย คุณธรรมของครู มคี วามเสยี สละ ขยนั รบั ผิดชอบ มีความรกั เมตตาตอ่ ศิษย์
11.2 ผลทเ่ี กิดกบั ผเู้ รยี นสอดคล้องกบั หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งจากการจดั กจิ กรรมการ เรยี นรู้ 11.2.1 ผู้เรียนได้เรียนร้หู ลักคดิ และฝกึ ปฏบิ ัติตามหลัก 3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข ดังนี้ พอประมาณ มเี หตุผล มีภมู คิ ้มุ กันทีด่ ี หลักพอเพยี ง ใชว้ สั ดุอุปกรณใ์ นการปฏิบัติ มีการวิเคราะห์เหตผุ ลเพ่อื วางแผนการปฏิบตั กิ ิจกรรมที่ กจิ กรรมไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและ แกป้ ญั หาในขณะปฏิบตั ิ ไดร้ ับมอบหมายอย่าง คมุ้ คา่ กิจกรรมอย่างมสี ตริ อบคอบ เหมาะสม ชัดเจน ความรูข้ องผเู้ รียน ความรู้เรือ่ งพงศาวดาร คุณธรรมของผู้เรยี น มีความซ่ือสตั ย์ สุจริต และตรงตอ่ เวลา มวี ินัยในตนเอง ใฝเ่ รยี น ใฝ่รู้ มคี วามรับผิดชอบ มุง่ มัน่ ในการทางาน มคี วามสามคั คี 11.2.2 ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้การใช้ชวี ติ ท่ีสมดลุ และพรอ้ มรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังน้ี ดา้ น สมดุลและพร้อมรับการเปลยี่ นแปลงในดา้ นต่างๆ องค์ประกอบ วตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรม ความรู้ มีความรู้ในการเลอื กใช้ มคี วามรูใ้ นการทางาน มคี วามรอบรู้ในการ มคี วามรเู้ กย่ี วกบั ทกั ษะ สงั คม ประเพณี วัสดุอุปกรณ์ในการ เป็นกลุ่มโดยไม่ เลอื กใชว้ ัสดอุ ุปกรณ์ ค่านยิ ม วัฒนธรรม ปฏิบตั กิ ิจกรรม ก่อให้เกดิ ปัญหา การค้นคว้าความรู้ มที กั ษะในการเลือกใช้ ปฏิบตั กิ จิ กรรมภายใน เก็บ ดูแลรกั ษาวสั ดุ มที กั ษะในการสืบค้น อปุ กรณ์ในการนาเสนอ กลมุ่ ได้อยา่ งมี อปุ กรณ์อย่างเปน็ ขอ้ มลู มีมารยาทตาม ผลงาน ประสิทธิภาพ มที กั ษะ ระบบ วฒั นธรรมและ ในการค้นหาข้อมลู ประเพณที ีด่ ี มีความตระหนักเห็น ตระหนกั ถึง เห็นคณุ ค่าของวรรณคดีไทย คณุ คา่ ของวรรณคดี ความสาคัญของการ ประเพณี วฒั นธรรม อยรู่ ว่ มกัน ขนบประเพณีของไทย (ลงช่อื ) .............................................. ครูผสู้ อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ ....... / ........ / ........
๑๒. ความเห็นของรองผูอ้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ หรอื ผทู้ ีไ่ ด้รบั มอบหมาย ความเห็นของเพ่อื ครูคู่นเิ ทศ ความเหน็ ของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จดั ทำหน่วยกำรจดั กำรเรียนรู้ รับทรำบกำรจัดทำหนว่ ยกำรจัดกำรเรยี นรู้ จดั ทำหนว่ ยกำรจดั กำรเรียนร้ไู ด้ดี ควำมเหน็ เพิ่มเตมิ ควำมเห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชอ่ื )............................................ (.................................................) (นำงจฑุ ำมำศ อร่ำมศร)ี ........ / ....... / ........ หัวหนำ้ กล่มุ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ........ / ....... / ........ ความเห็นของรองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวิชาการ/ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย รบั ทรำบกำรจัดทำหน่วยกำรเรียนรู้ จดั ทำหนว่ ยกำรเรียนรู้ได้ดี ควำมเห็นเพิ่มเตมิ ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคิดเห็นของฝา่ ยบริหารหรอื ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )................................................... (นำยประทปี ไชยเมือง) ผู้อำนวยกำรโรงเรยี นบดนิ ทรเดชำ (สงิ ห์ สงิ หเสน)ี ๔ ........ / ....... / ........
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น – หลงั เรียน หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๒ เรือ่ ง กาพยเ์ หช่ มเครอ่ื งคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท๒๑๑๐๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ครูผ้สู อน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน คาชี้แจง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบทถ่ี ูกต้อง ๑. อาหารในกาพยเ์ หช่ มเคร่อื งคาวหวานมกี ่ีชนิด ๑ ๑๗ ชนดิ ๒ ๑๘ ชนิด ๓ ๑๙ ชนิด ๔ ๒๐ ชนิด ๒. ข้อใดมชี อื่ อาหารมากท่ีสดุ ๑ มสั ม่ันแกงแกว้ ตา หอมย่หี รา่ รสร้อนแรง ๒ ตบั เหล็กลวกหลอ่ นตม้ เจือนา้ ส้มโรยพริกไทย ๓ ความรกั ยักเปล่ยี นท่า ทาน้ายาอยา่ งแกงขม ๔ ไตปลาเสแสร้งว่า ดุจวาจากระบดิ กระบวน ๓. ให้พเี่ ครา่ เจา้ ดวงใจ “เคร่า” มีความหมายตรงกบั คาใด ๑ คอย ๒ คิดถงึ ๓ โศกเศร้าถงึ ๔ คร่าครวญถึง ๔. ล่าเตียงคดิ เตียงนอ้ ง นอนเตียงทองทาเมืองบน “เมืองบน” มีความหมายตรงกับขอ้ ใด ๑ เมอื งเหนอื ๒ เมืองสวรรค์ ๓ เมอื งหลวง ๔ เมืองในนมิ ิต ๕. นา่ ซดรสครามครนั ของสวรรค์เสวยรมย์ “รสครามครนั ” ในกาพย์ข้างตน้ มีความหมายตรงกบั รสในขอ้ ใดมากท่ีสุด ๑ รสทิพย์ ๒ รสห่นื หอม ๓ รสร้อนแรง ๔ รสฉนุ เฉยี บรอ้ น ๖. “แรงอยากยอหัตถ์ขอ้ น อกให้หวนแสวง” มีความหมายตรงกับข้อใด ๑ ทุบอกดว้ ยอยากไดร้ ับประทานอาหารท่ีนางอนั เป็นทรี่ ักปรงุ อกี ๒ ทบุ อกด้วยเสียใจท่ีไม่ไดร้ ับประทานอาหารท่นี างอันเปน็ ท่รี กั ปรงุ ๓ ทบุ อกดว้ ยอยากใหน้ างอันเป็นทีร่ ักปรุงอาหารให้รับประทานอีก ๔ ทุบอกดว้ ยเสยี ใจท่ีนางอนั เป็นทรี่ กั ไม่ปรุงอาหารใหร้ บั ประทานอีก
๗. “ใครหงุ ปรงุ ไม่เป็น เชน่ เชงิ มติ รประดิษฐท์ า” มีความหมายตรงกับข้อใด ๑ คนที่ปรงุ ข้าวหงุ ไม่เปน็ ย่อมสูเ้ พอื่ นไมไ่ ด้ ๒ ไมม่ ีใครปรงุ ขา้ วหุงเปน็ สู้นางอนั เป็นทร่ี ักไมไ่ ด้ ๓ ไม่มีใครปรงุ ข้าวหงุ ได้ดเี สมอนางอันเปน็ ท่ีรกั ตงั้ ใจทา ๔ ไม่มีใครคิดประดิษฐ์ปรุงข้าวหุงให้มีชั้นเชิงได้อยา่ งที่นางทา ๘. ขอ้ ใดเดน่ ทส่ี ุดในการเลน่ สัมผสั สระ ๑ เห็นหรมุ่ รุมทรวงเศรา้ รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน ๒ กอ้ ยกุง้ ปรงุ ประท่ิน วางถงึ ลน้ิ ดิน้ แดโดย ๓ หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพรกิ สดใบทองหลาง ๔ ไตปลาเสแสรง้ วา่ ดุจวาจากระบดิ กระบวน ๙. ขอ้ ใดเดน่ ทส่ี ดุ ในการเล่นสัมผสั อักษร ๑ ผักโฉมช่ือเพราะพรอ้ ง เป็นโฉมนอ้ งฤๅโฉมไหน ๒ ตับเหลก็ ลวกหล่อนต้ม เจือน้าส้มโรยพริกไทย ๓ ลดหลั่นช้นั ชอบกล ยลอยากนทิ รคิดแนบนอน ๔ เทโพพ้ืนเนื้อท้อง เปน็ มนั ย่องล่องลอยมัน ๑๐. ข้อใดใชไ้ วพจน์ ๑ แกงไกม่ สั ม่ันเน้ือ นพคุณ พี่เอย ๒ หอมยหี่ ร่ารสฉนุ เฉียบร้อน ๓ ชายใดบรโิ ภคภญุ ช์ พศิ วาส หวังนา ๔ แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกให้หวนแสวง เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-Test) ๓. ๑ ๔. ๒ ๕. ๑ ๑. ๒ ๒. ๔ ๘. ๒ ๙. ๓ ๑๐. ๓ ๖. ๑ ๗. ๓
แผนการจดั การเรียนรูที่ 1 เรอ่ื ง ปริศนาอกั ษรไขว ไขความหมายขยายวงศพั ท หนว ยการเรียนรูท ี่ 2 เรอ่ื ง กาพยเหช มเครอื่ งคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาคเรยี นที่ ๒ ปก ารศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ ครูผูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสนี) ๔ 1. มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอา นสรางความรูและความคิดเพอ่ื นาํ ไปใชต ัดสินใจแกป ญหาใน การดาํ เนินชวี ิต และมีนสิ ยั รักการอาน ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม.๑/๔ ระบแุ ละอธิบายคาํ เปรียบเทยี บและคาํ ที่มีหลายความหมายในบริบทตาง ๆ จาก การอาน 2. จุดประสงคก ารเรียนรสู ตู ัวชว้ี ัด (KPA) ๑. สรุปความรูจากบทนาํ เรือ่ งของกาพยเหช มเครือ่ งคาวหวาน (K) ๒. อธิบายความหมายของคําศพั ทในกาพยเ หช มเครือ่ งคาวหวาน (K) ๓. เขียนและอา นคําศพั ทในกาพยเหชมเครอ่ื งคาวหวาน (P) ๔. เห็นความสําคญั ในการอาน เขียน และอธบิ ายความหมายของคําศัพทไดถ กู ตอง เพ่ือนาํ ไปใชใน การเรียนและชีวติ ประจําวนั (A) 3. สาระสําคัญ กาพยเ หช มเครอ่ื งคาวหวาน เปนบทพระราชนิพนธใ นรชั กาลท่ี ๒ เน้ือความกลาวถงึ การชมอาหาร คาวหวาน และงานนกั ขตั ฤกษใ นแตล ะเดอื นของไทย 4. ทกั ษะการคิด - การคดิ วิเคราะห - การคิดสรุปความรู 5. สาระการเรียนรู ความรู 1) ทม่ี าของกาพยเหชมเครือ่ งคาวหวาน 2) การเขียน อาน และความหมายของคําศัพท ทกั ษะ/กระบวนการ 1) ทกั ษะการอาน 2) ทกั ษะการเขยี น 3) ทกั ษะการฟง การดู และการพูด
คณุ ลกั ษณะฯ 1) ใฝเ รยี นรู 2) มงุ ม่ันในการทํางาน 3) รักความเปนไทย 6. สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร - ทกั ษะการอา น - ทกั ษะการเขยี น - ทกั ษะการฟง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การวิเคราะห - การสรุปความรู ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ 7. กิจกรรมการเรยี นรู ขนั้ นาํ เขาสบู ทเรยี น ๑. ใหน กั เรียนรวมกนั แสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั สํานวน “เสนหปลายจวกั ” และเปรียบเทยี บ ความคดิ น้ีของสงั คมไทยในอดีตกับปจ จุบัน ขน้ั สอน ๒. ใหนักเรียนศกึ ษาบทนําเร่ืองกาพยเ หช มเครือ่ งคาวหวาน แลว รวมกนั สนทนาในประเดน็ ตอ ไปนี้ กาพยเ หช มเครือ่ งคาวหวานเปนผลงานของใคร และมีจดุ ประสงคใ ด พระราชนิพนธเ รือ่ งน้ีกลา วถงึ เรอ่ื งใดบา ง คาํ ประพันธม ลี กั ษณะอยางไร ทีเ่ รียกบทพระราชนพิ นธน ้วี า “กาพยเห” เพราะเหตใุ ด ๓. ครูอธบิ ายสรุปเพิ่มเตมิ และใหนกั เรียนบนั ทึกสาระสาํ คญั ๔. ครเู ขียนตารางบนกระดานเพ่ือใหน ักเรยี นเลนเกมปริศนาอกั ษรไขว โดยเขยี นหมายเลขกาํ กับที่ ชอ งตารางเพ่อื ใหนักเรยี นนําคาํ ศพั ทมาเติม ๕. ครแู บง นักเรยี นออกเปน ๒ กลมุ เพ่ือชว ยกนั หาคําศัพทจากกาพยเ หชมเคร่ืองคาวหวานตาม ความหมายท่กี ําหนด ดังน้ี กลุม ท่ี ๑ หาคําศพั ทใ นแนวตั้ง กลมุ ท่ี ๒ หาคําศพั ทใ นแนวนอน ๖. ใหนักเรยี น ๒ กลุม แขง ขันเขยี นคาํ ศพั ทลงในตารางปรศิ นาอกั ษรไขว กลมุ ใดใชเ วลานอ ยท่ีสดุ และเขียนไดถูกตอ งมากกวาเปนฝา ยชนะ ๗. ครแู ละนักเรยี นรว มกนั ตรวจสอบความถูกตอ ง ๘. ใหนกั เรียนอา นคาํ ศัพทและอธิบายความหมายรว มกัน ๙. ใหนกั เรียนชว ยกันสาํ รวจวา มคี ําใดบา งทเี่ ปน ช่ืออาหาร
ขัน้ สรปุ การสอน ใหน ักเรียนและครรู ว มกันสรุปความรู ดังน้ี กาพยเหชมเคร่อื งคาวหวาน เปน บทพระราชนพิ นธใน รัชกาลที่ ๒ เนือ้ ความกลาวถึง การชมอาหารคาวหวาน และงานนักขตั ฤกษในแตละเดือนของไทย 8. สอ่ื การเรยี นร/ู แหลง การเรยี นรู ส่ือการเรยี นร/ู อุปกรณ แหลง เรียนรู ๑. ตารางปรศิ นาอกั ษรไขว แหลงเรียนรภู ายใน ๒. ชน้ิ งาน 1) หอ งสมุดโรงเรียน แหลงเรียนรภู ายนอก 1) หองเรียน DLIT 9. การวดั และประเมินผล ๑. วธิ กี ารวัดและประเมินผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขารว มกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ ๓) ตรวจผลงานของนักเรียน ๒. เครื่องมือ ๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขารว มกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลมุ ๓. เกณฑก ารประเมนิ ๑) การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรม ผานตงั้ แต ๒ รายการ ถือวา ผา น ผา น ๑ รายการ ถอื วา ไมผาน ๒) การประเมินพฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับพอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดับควรปรับปรุง ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ - 1๑. การเตรยี มตัวลวงหนา (ลงชื่อ)..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ
๑๒. ความเห็นของรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ หรอื ผูท ่ไี ดรบั มอบหมาย ความเหน็ ของเพอ่ื ครคู ูนิเทศ ความเห็นของหัวหนากลุม สาระการเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู รบั ทราบการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดดี ความเห็นเพมิ่ เตมิ ความเห็นเพิ่มเติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชื่อ)............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรามศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลุมบริหารวิชาการ/ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย รบั ทราบการจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรียนรูไดด ี ความเหน็ เพมิ่ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคดิ เห็นของฝา ยบริหารหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสนี) ๔ ........ / ....... / ........
แบบบันทึกหลังแผนการจดั การเรียนรู แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 1 เรอื่ ง ปริศนาอกั ษรไขว ไขความหมายขยายวงศพั ท หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เรอื่ ง กาพยเ หช มเคร่อื งคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหัสวิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี ๒ ปก ารศกึ ษา 2562 เวลา 2 คาบ ครูผสู อน นางสาวปานทอง แสงสุทธิ โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสน)ี ๔ 1. ผลการนําไปใชในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรียนรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชสอื่ /แหลง เรียนรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวัดผล/ประเมินผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญหา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) .............../................./..............
แผนการจัดการเรียนรูท่ี 2 เรอื่ ง เสนาะเพยี งเสยี งดนตรี หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 เรื่อง กาพยเ หชมเครื่องคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหสั วชิ า ท2110๒ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี ๒ ปก ารศึกษา 2562 เวลา 1 คาบ ครูผูส อน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ๔ 1. มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรา งความรูและความคิดเพื่อนาํ ไปใชต ัดสนิ ใจแกปญ หาใน การดําเนินชีวติ และมนี สิ ยั รักการอา น ตวั ช้ีวัด ท ๑.๑ ม.๑/๑ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถ กู ตองเหมาะสมกบั เรื่องที่อา น ท ๑.๑ ม.๑/๙ มมี ารยาทในการอา น มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขยี นเขียนสอ่ื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ ความ และเขยี นเรอ่ื งราว ในรปู แบบตาง ๆ เขยี นรายงานขอ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน ควาอยางมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชี้วัด ท ๒.๑ ม.๑/๑ คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึง่ บรรทัด ท ๒.๑ ม.๑/๙ มมี ารยาทในการเขยี น มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็น คุณคา และนํามาประยุกตใ ชใ นชวี ติ จริง ตวั ชวี้ ัด ท ๕.๑ ม.๑/๕ ทอ งจําบทอาขยานตามท่กี ําหนดและบทรอ ยกรองทมี่ คี ณุ คาตามความสนใจ 2. จุดประสงคการเรียนรสู ูต ัวช้ีวดั (KPA) ๑. อธิบายการอานโคลงส่สี ุภาพและกาพยย านี ๑๑ (K) ๒. อานออกเสยี งโคลงส่ีสุภาพและกาพยยานี ๑๑ (P) ๓. คดั ลายมือตัวบรรจงครึง่ บรรทัด (P) ๔. ทองจาํ บทรอ ยกรองท่มี ีคณุ คา ตามความสนใจ (P) ๕. เหน็ ความสาํ คัญของการเรยี นรูและทอ งจาํ บทรอ ยกรองท่มี ีคณุ คา (A) 3. สาระสาํ คญั บทรอยกรองจากเร่ือง กาพยเหชมเคร่ืองคาวหวานมีความไพเราะมาก การอานออกเสียง อยางถูกตองทั้งจังหวะและทํานองจะทําใหบทรอยกรองมีความไพเราะมากยิ่งข้ึน การนําบทรอยกรองที่ชอบมา คัดลายมอื และทองจาํ ทาํ ใหเ กดิ ความซาบซ้ึงและสามารถนําไปใชอางองิ ได
4. ทกั ษะการคิด - การวิเคราะห - การประยกุ ต/ การปรับปรุง - การสรปุ ความรู - การประเมนิ คา 5. สาระการเรยี นรู ความรู 1) การอา นออกเสียงโคลงสส่ี ภุ าพและกาพยยานี ๑๑ 2) การคดั ลายมอื ตวั บรรจงครงึ่ บรรทัด ทักษะ/กระบวนการ 1) ทกั ษะการอา น 2) ทักษะการเขยี น 3) ทกั ษะการฟง การดู และการพดู คุณลักษณะฯ 1) ใฝเรียนรู 2) มุงม่นั ในการทํางาน 3) รักความเปนไทย 6. สมรรถนะสําคัญของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร - ทักษะการอา น - ทกั ษะการเขียน - ทักษะการฟง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคดิ - การวิเคราะห - การประยุกต/ การปรบั ปรุง - การสรปุ ความรู - การประเมินคา ๓. ความสามารถในการแกปญหา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ 7. กิจกรรมการเรยี นรู ขั้นนําเขาสูบทเรียน ๑. ใหน ักเรียนรวมกนั แสดงความคิดเห็น โดยครูใชคําถามทา ทาย ดงั นี้ ความไพเราะของบทกวเี กิดขน้ึ จากส่งิ ใดบาง ข้นั สอน ๒. ใหนกั เรยี นศกึ ษาความรเู รื่อง การอา นโคลงส่ีสุภาพและกาพยย านี ๑๑ แลวรว มกันสรุปความ เขาใจ ครูเปน ผอู ธิบายเพิ่มเตมิ
๓. ครูนําแถบบันทึกเสยี งการอา นโคลงสสี่ ภุ าพและกาพยยานี ๑๑ มาเปดใหน กั เรยี นฟง หรือครู เปน ผอู านนาํ ใหนกั เรียนฝกอานตามจนคลองแคลว ๔. ใหน กั เรียนแบง กลุม ๕ กลุม ฝกอานออกเสยี งกาพยเหช มเครื่องคาวหวาน โดยทุกกลมุ ตองอา น โคลงบทแรกพรอมกนั จากนัน้ จึงแบง กนั อา นกาพยยานี ๑๑ กลุมละ ๓ บท ในขณะท่เี พือ่ นกลุมอ่นื อา น ให นักเรียนชว ยกันฟง เพอื่ เสนอแนะและปรบั ปรงุ แกไ ข ๕. ใหน กั เรียนฝก อานกาพยเหช มเคร่ืองคาวหวานเปนรายบคุ คล โดยเวยี นกันอา นคนละ ๑ บท เรียงตอกนั ไปเรอ่ื ย ๆ จนครบทกุ คน ครตู ้งั ขอสังเกตและเสนอแนะวธิ ีการอา นเพ่ิมเตมิ พรอ มทงั้ กลาวชมเชย และใหก าํ ลังใจ ๖. ใหน กั เรยี นรวมกันสนทนาเก่ียวกบั ความไพเราะทไ่ี ดรบั จากการฟง บทรอยกรอง ๗. ใหน กั เรียนเลือกสรรบททน่ี กั เรียนชอบมากท่ีสุดมาคดั ลายมือ ดว ยตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด และ ทอ งจาํ ไวสาํ หรับใชอ า งอิงในสถานการณท่เี หมาะสม ข้นั สรุปการสอน ใหน กั เรยี นและครูรว มกนั สรุปความรู ดังนี้ บทรอยกรองจากเรื่อง กาพยเหชมเครื่องคาวหวานมีความไพเราะมาก การอานออกเสียง อยางถูกตองทั้งจังหวะและทํานองจะทําใหบทรอยกรองมีความไพเราะมากย่ิงข้ึน การนําบทรอยกรอง ทีช่ อบมาคดั ลายมือและทอ งจาํ ทาํ ใหเกดิ ความซาบซง้ึ และสามารถนําไปใชอ า งอิงได 8. สอ่ื การเรียนรู/แหลงการเรียนรู สือ่ การเรยี นร/ู อุปกรณ แหลง เรยี นรู ๑. แถบบันทกึ เสียง แหลง เรยี นรภู ายใน 1) หองสมุดโรงเรยี น แหลง เรียนรูภ ายนอก 1) หองเรียน DLIT 9. การวดั และประเมนิ ผล ๑. วธิ ีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา รว มกิจกรรม ๒) สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขารวมกิจกรรมกลมุ ๓) ตรวจผลงานของนกั เรียน ๒. เคร่อื งมือ ๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรมกลุม ๓. เกณฑการประเมิน ๑) การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขา รวมกิจกรรม ผา นตงั้ แต ๒ รายการ ถอื วา ผาน ผาน ๑ รายการ ถือวา ไมผ าน
๒) การประเมนิ พฤติกรรมการเขารว มกิจกรรมกลมุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรบั ปรงุ ๑๐. กจิ กรรมเสนอแนะ ใหนักเรียนรวมกันฝกอานทํานองเสนาะ โคลงส่ีสุภาพ และกาพยยานี ๑๑ และใหอิสระนักเรียน เลือกสรรบทที่ชอบมาคดั ลายมือและทองจํา 1๑. การเตรียมตวั ลวงหนา (ลงชอื่ )..............................................ครูผสู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ
๑๒. ความเห็นของรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ หรอื ผูท ่ไี ดรบั มอบหมาย ความเหน็ ของเพอ่ื ครคู ูนิเทศ ความเห็นของหัวหนากลุม สาระการเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู รบั ทราบการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดดี ความเห็นเพมิ่ เตมิ ความเห็นเพิ่มเติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชื่อ)............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรามศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลุมบริหารวิชาการ/ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย รบั ทราบการจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรียนรูไดด ี ความเหน็ เพมิ่ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคดิ เห็นของฝา ยบริหารหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสนี) ๔ ........ / ....... / ........
แบบบันทึกหลงั แผนการจัดการเรยี นรู หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 2 เรอ่ื ง เสนาะเพียงเสยี งดนตรี เรือ่ ง กาพยเ หชมเครื่องคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนท่ี ๒ ปก ารศกึ ษา 2562 เวลา 1 คาบ ครูผสู อน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สิงหเสน)ี ๔ 1. ผลการนําไปใชใ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชส อื่ /แหลงเรียนรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวดั ผล/ประเมนิ ผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ)..............................................ครผู ูส อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) .............../................./..............
หนว ยการเรยี นรูที่ 2 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 3 เรื่อง ภาพอาหาร คาวหวานเลิศรส เรือ่ ง กาพยเหชมเครื่องคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 1 ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา 2562 เวลา 1 คาบ ครผู สู อน นางสาวปานทอง แสงสุทธิ โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี ๔ 1. มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรา งความรูแ ละความคิดเพอ่ื นาํ ไปใชต ัดสนิ ใจแกปญ หาใน การดาํ เนนิ ชีวิต และมีนสิ ัยรกั การอา น ตวั ชว้ี ัด ท ๑.๑ ม.๑/๒ จบั ใจความสําคัญจากเร่ืองทอี่ า น 2. จดุ ประสงคการเรยี นรสู ูตัวช้ีวดั (KPA) ๑. ระบชุ ่ืออาหารท่ปี รากฏในกาพยเ หชมเครื่องคาวหวาน (K) ๒. อธิบายลักษณะอาหารท่ปี รากฏในกาพยเหช มเคร่ืองคาวหวาน (K) ๓. คนควาและบนั ทึกขอ มูลเพมิ่ เติมเก่ียวกบั อาหารทป่ี รากฏในกาพยเ หชมเครอื่ งคาวหวาน (P) ๔. เห็นความสาํ คญั ของการศึกษาวรรณคดีเพ่ืออนุรักษวัฒนธรรมไทย (A) 3. สาระสาํ คัญ กาพยเหชมเคร่ืองคาวหวาน เปนวรรณคดีที่สะทอนการรับประทานอาหารท่ีเปนเอกลักษณทาง วัฒนธรรมของคนไทยทสี่ บื เนอื่ งจากอดตี จนถงึ ปจจบุ นั 4. ทกั ษะการคดิ - การวเิ คราะห - การสรุปความรู - การประเมินคา 5. สาระการเรียนรู ความรู 1) อาหารคาวของไทย ทักษะ/กระบวนการ 1) ทกั ษะการอาน 2) ทกั ษะการเขียน 3) ทกั ษะการฟง การดู และการพดู คณุ ลักษณะฯ 1) รกั ความเปนไทย
6. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการส่ือสาร - ทักษะการอา น - ทักษะการเขยี น - ทักษะการฟง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคดิ - การวิเคราะห - การสรปุ ความรู - การประเมนิ คา ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวติ ๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี 7. กจิ กรรมการเรยี นรู ข้นั นาํ เขาสบู ทเรียน ๑. ใหน ักเรยี นรวมกันสนทนาและแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับเสนหข องอาหารไทยที่ชาวตา งชาติ ตางติดใจ ขั้นสอน ๒. ใหนักเรียนอา นกาพยเหช มเครือ่ งคาวหวานอกี ครั้ง แลว ชวยกนั บอกชอื่ อาหารคาวท่ีปรากฏใน เรือ่ ง ครชู วยเพิม่ เติมหากนกั เรยี นบอกไมครบ และอธบิ ายใหน ักเรยี นเขาใจความหมาย ในบทรอยกรอง ๓. ใหน กั เรียนดูภาพอาหารทค่ี รเู ตรียมไวท ีละภาพ แลว ลองบอกวา เปน อาหารชนดิ ใด ภาพที่ นกั เรียนบอกไมไ ดค รชู ว ยแนะนาํ เมือ่ นกั เรียนบอกชื่ออาหารถูกตอ ง ครนู ําภาพติดบนกระดาน พรอ มติดบัตรคํา ซ่ึงมชี ่ืออาหารไวใตภ าพ ชอื่ อาหารที่ใชทาํ กิจกรรมมดี ังนี้ น้ํายาแกงขม พลาเนื้อสด มสั มัน่ หรุม ลาเตยี ง แกงค่ัวสม กอยกุง แสรง วา ตบั เหลก็ ลวก รงั นก ยําใหญ ออ ม แกงเทโพ หมูแนม ๔. ใหน ักเรียนรวมกนั สนทนาเกย่ี วกับรายการอาหารบนกระดานวา รูจ ักอาหารชนิดใดบา ง นกั เรยี น ที่เคยเห็นหรือเคยรับประทานอาหารชนดิ ใด ใหชว ยกันอธิบายลกั ษณะ สว นผสม หรอื รสชาติ ๕. ใหนกั เรียนแบง เปน ๕ กลมุ ชว ยกนั คน ควา ขอมูลเพ่มิ เติมเกยี่ วกบั อาหารตา ง ๆ ในกาพยเหชม เคร่ืองคาวหวานทีเ่ ปนบทเรยี น แลว เขยี นบันทกึ ไว ซ่ึงแตละกลุมจะไดร ับมอบหมาย ดงั น้ี กลุมท่ี ๑ มัสมัน่ ยาํ ใหญ ตบั เหลก็ ลวก กลมุ ท่ี ๒ หมแู นม กอ ยกุง แกงเทโพ กลุมท่ี ๓ น้าํ ยาแกงขม ออ ม ขา วหงุ กลุม ที่ ๔ แกงค่ัวสม พลา เนื้อสด ลา เตียง กลมุ ที่ ๕ หรุม รงั นก ไตปลา (ครูควรมอบหมายใหนักเรยี นทาํ กจิ กรรมน้ีนอกเวลาเรยี น แลวนําขอมูลที่บนั ทึกไว มาใชทํา กิจกรรมตอไปในเวลาเรยี น)
๖. ใหน กั เรยี นแตล ะกลมุ สง ตวั แทนออกมานําเสนอหนาช้นั เรยี น ครูชวยอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ข้นั สรปุ การสอน ใหนักเรยี นและครรู ว มกันสรุปความรู ดงั น้ี กาพยเหชมเครือ่ งคาวหวาน เปน วรรณคดีท่ีสะทอนการรบั ประทานอาหารทเี่ ปนเอกลกั ษณทาง วัฒนธรรมของคนไทยท่สี ืบเนื่องจากอดตี จนถึงปจ จบุ นั 8. สือ่ การเรยี นรู/แหลงการเรยี นรู สอ่ื การเรียนร/ู อปุ กรณ แหลง เรียนรู ๑. ภาพ แหลงเรยี นรภู ายใน ๒. บตั รคาํ 1) หองสมุดโรงเรยี น แหลง เรยี นรภู ายนอก 1) หองเรยี น DLIT 9. การวัดและประเมินผล ๑. วิธีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา รว มกจิ กรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา รวมกิจกรรมกลุม ๓) ตรวจผลงานของนักเรียน ๒. เครอื่ งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรม ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รว มกิจกรรมกลมุ ๓. เกณฑการประเมิน ๑) การประเมนิ พฤติกรรมการเขา รวมกจิ กรรม ผานตง้ั แต ๒ รายการ ถือวา ผา น ผาน ๑ รายการ ถอื วา ไมผ า น ๒) การประเมนิ พฤตกิ รรมการเขารวมกจิ กรรมกลมุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับพอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรบั ปรุง ๑๐. กจิ กรรมเสนอแนะ - 1๑. การเตรียมตัวลว งหนา
(ลงชือ่ )..............................................ครผู ูสอน (นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ) ๑๒. ความเห็นของรองผูอาํ นวยการกลมุ บรหิ ารวชิ าการ หรือผทู ่ไี ดรับมอบหมาย ความเหน็ ของเพ่อื ครูคนู เิ ทศ ความเหน็ ของหวั หนากลมุ สาระการเรยี นรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรู รบั ทราบการจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จัดทําแผนการจัดการเรยี นรูไดด ี ความเห็นเพ่ิมเติม ความเหน็ เพิม่ เติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงช่อื ).................................................... (ลงชอ่ื )............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรามศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ/ผูท ไ่ี ดร บั มอบหมาย รบั ทราบการจัดทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จัดทําแผนการจดั การเรียนรูไดดี ความเหน็ เพม่ิ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชื่อ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคิดเหน็ ของฝายบริหารหรือผูท่ไี ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผูอํานวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี ๔ ........ / ....... / ........
แบบบนั ทึกหลงั แผนการจดั การเรยี นรู หนว ยการเรียนรูท ี่ 2 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 3 เรอ่ื ง ภาพอาหาร คาวหวานเลศิ รส เรือ่ ง กาพยเหชมเคร่ืองคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 1 ภาคเรยี นที่ ๒ ปก ารศึกษา 2562 เวลา 1 คาบ ครผู ูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี ๔ 1. ผลการนาํ ไปใชใ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชส อ่ื /แหลง เรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวดั ผล/ประเมนิ ผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) .............../................./..............
แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4 เรือ่ ง เสยี งวรรณยกุ ตสาํ คญั ตอ ความหมาย หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 เรอื่ ง กาพยเ หชมเคร่ืองคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลุมสาระการเรียนรูภ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ภาคเรียนที่ ๒ ปก ารศกึ ษา 2562 เวลา 1 คาบ ครผู ูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สิงห สิงหเสน)ี ๔ 1. มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก ระบวนการอานสรา งความรูและความคิดเพ่อื นาํ ไปใชต ัดสินใจแกปญ หาใน การดําเนนิ ชีวติ และมีนิสยั รักการอา น ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม.๑/๕ ตคี วามคาํ ยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบรบิ ท มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบตั ิของชาติ ตัวชว้ี ัด ท ๔.๑ ม.๑/๑ อธิบายลักษณะของเสยี งในภาษาไทย 2. จุดประสงคก ารเรยี นรูสูตัวชีว้ ดั (KPA) ๑. อธบิ ายเสียงวรรณยกุ ตของคาํ ในภาษาไทย (K) ๒. ตคี วามคําศัพทจากวรรณคดี (P) ๓. เห็นความสําคัญของการศึกษาเสยี งวรรณยกุ ตเ พ่อื ประโยชนในการส่อื ความหมายของคาํ (A) 3. สาระสําคัญ เสียงวรรณยุกตเปนเสียงสูงตํ่าที่เกิดขึ้นรวมกับเสียงสระ เมื่อเปลี่ยนเสียงวรรณยุกตในพยางคหรือ คํา ความหมายก็จะเปลี่ยนไปดวย พยางคทุกพยางคมีเสียงวรรณยุกต แตบางพยางคมีเสียงไมตรงกับรูป วรรณยกุ ต 4. ทกั ษะการคดิ - การวเิ คราะห - การสรปุ ความรู 5. สาระการเรียนรู ความรู 1) เสยี งวรรณยุกต 1) อาหารคาวของไทย ทักษะ/กระบวนการ 1) ทักษะการอาน
2) ทักษะการเขยี น 3) ทักษะการฟง การดู และการพูด คุณลกั ษณะฯ 1) รกั ความเปนไทย 2) ใฝเรยี น ใฝร ู 3) มุงม่ันในการทาํ งาน 6. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสอื่ สาร - ทกั ษะการอาน - ทักษะการเขยี น - ทักษะการฟง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคดิ - การวิเคราะห - การสรุปความรู ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต 7. กจิ กรรมการเรียนรู ข้ันนาํ เขา สบู ทเรียน ๑. ใหน กั เรยี นบอกชอื่ นกั แสดงหรอื นักรองซึง่ กําลังเปน ท่ีนยิ ม ๒-๓ คน ครเู ขียนชื่อบนกระดาน ขนั้ สอน ๒. ใหนกั เรียนใชความรเู รอ่ื งเสยี งวรรณยุกตทเ่ี คยเรยี นมา ชวยกันวเิ คราะหเสยี งวรรณยกุ ตข องช่ือ บนกระดาน ๓. ใหนกั เรยี นศกึ ษาความรูเรือ่ ง เสียงวรรณยกุ ต แลวรวมกันสนทนาในประเด็นตอไปน้ี พรอ มทง้ั ยกตัวอยา งคํา เสยี งวรรณยกุ ตเกิดขนึ้ ไดอ ยา งไร เม่อื มกี ารเปล่ยี นเสยี งวรรณยกุ ตใ นพยางคห รือคาํ จะเกดิ อะไรขึ้น หนว ยเสียงวรรณยุกตใ นภาษาไทยมกี ่หี นวยเสียง พยางคท กุ พยางคมีเสียงวรรณยกุ ตเสมอ หมายความวาอยา งไร พยางคหรอื คําที่มีรูปวรรณยุกตไ มจาํ เปนตอ งมหี นวยเสยี งตามวรรณยกุ ตนั้น ๆ หมายความวาอยา งไร การออกเสยี งคาํ ในชวี ิตประจําวนั บางคาํ อาจออกเสียงวรรณยกุ ตไมต รงกับ กฎเกณฑท างภาษา ๔. ครูอธิบายสรปุ เปนความรเู พิ่มเตมิ และใหนักเรยี นบันทกึ สาระสําคัญ ๕. ใหน ักเรียนแบง เปน ๒ ฝา ย เลน เกม “ขานเสยี งวรรณยกุ ต” โดยคิดคําไวคนละ ๑ คาํ ซ่งึ เปนคํา ที่มี ๒ - ๓ พยางค เมื่อเริ่มการแขงขันท้ังสองฝายยืนหันหนาเขาหากันเปนคู ๆ คูแรกเริ่มด ว ย ก า ร เป า ย ิงฉ ุบ ผ ูช น ะ จ ะ ได บ อ ก ค ําก อ น ฝ าย ต ร งข าม ต อ งวิเค ร าะ ห เส ีย งว ร ร ณ ย ุก ต ข อ งแ ต ล ะ พ ย าง ค แลวบอกใหถูกตองภายใน
เวลา ๕ วินาที จากนั้นจะไดบอกคําของตนเองใหอีกฝายวิเคราะห แลวจึงเริ่มคูถัดไป แตหากฝายใดฝายหนึ่ง ตอบผดิ จะตอ งออกจากการแขง ขนั และเมอ่ื การแขงขันสิ้นสุด จะตองปฏบิ ตั ิตามขอตกลงของทุกคนในชนั้ เชน รอ งเพลง เตน ตามเพลง ครูคอยดแู ลใหก จิ กรรมดําเนนิ ไปอยางถกู ตอง เหมาะสม ๖. ใหนักเรียนจับคูหรือแบงกลุม ๓ คน ตามความเหมาะสม จับฉลากเลือกบทกาพยเหชมเครื่อง คาวหวาน ๑ บท แลวชวยกันวิเคราะหเสียงวรรณยุกตของแตละพยางคในบทรอยกรองบทน้ัน แลวออกมา นาํ เสนอขอ มลู เชน หมูแนมแหลมเลิศรส พรอ มพรกิ สดใบทองหลาง พิศหอเหน็ รางชาง หางหอ หวนปวนใจโหย วเิ คราะหเ สียงวรรณยุกตไ ดด งั น้ี จัตวา สามญั จัตวา โท ตรี ตรี ตรี เอก สามญั สามัญ จตั วา ตรี เอก จตั วา สามญั สามัญ เอก เอก จัตวา เอก สามญั จัตวา ๗. ใหน ักเรียนสงั เกตการเลน เสยี งวรรณยกุ ตส ูง ๆ ต่ํา ๆ เหมอื นเสยี งดนตรขี องคาํ ในบทรอยกรอง แลว รวมกันแสดงความรสู กึ หรือความคิดเห็น ๘. ใหน กั เรยี นรว มกันอา นบทรอยกรองที่ครูติดบนกระดานทีละบท วเิ คราะหคําทข่ี ีดเสน ใต แลว บอกเสียงวรรณยุกต ระดับของหนว ยเสยี งวรรณยกุ ต และความหมายของคํา ครูชวยตรวจสอบความถกู ตอง เห็นหรมุ รุมทรวงเศรา รมุ รมุ เราคอื ไฟฟอน เจบ็ ไกลใจอาวรณ รอ นรุมรมุ กลุมกลางทรวง ยําใหญใ สสารพัด วางจานจัดหลายเหลอื ตรา รสดดี ว ยนาํ้ ปลา ญ่ีปุนลํ้ายํ้ายวนใจ ขนั้ สรุปการสอน ใหนักเรียนและครูรวมกันสรุปความรู ดังน้ี เสียงวรรณยกุ ตเ ปน เสียงสูงต่ําที่เกิดขน้ึ รวมกับเสียงสระ เมอื่ เปล่ยี นเสียงวรรณยุกตในพยางคหรือคํา ความหมายก็จะเปล่ียนไปดว ย พยางคทุกพยางคมีเสียงวรรณยุกต แตบ างพยางคมีเสยี งไมตรงกับรูปวรรณยกุ ต 8. สอ่ื การเรียนร/ู แหลง การเรียนรู สื่อการเรียนร/ู อุปกรณ แหลงเรียนรู ๑. ฉลาก แหลงเรยี นรูภายใน ๒. แถบขอความ 1) หองสมดุ โรงเรียน แหลง เรียนรูภ ายนอก 1) หองเรยี น DLIT 9. การวดั และประเมนิ ผล ๑. วิธีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา รวมกจิ กรรม ๒) สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเขา รว มกิจกรรมกลุม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรยี น
๒. เครอ่ื งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรม ๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา รวมกิจกรรมกลุม ๓. เกณฑก ารประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรม ผานตัง้ แต ๒ รายการ ถือวา ผาน ผาน ๑ รายการ ถือวา ไมผาน ๒) การประเมินพฤตกิ รรมการเขา รว มกจิ กรรมกลมุ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดับควรปรบั ปรุง ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ - 1๑. การเตรยี มตวั ลว งหนา (ลงช่อื )..............................................ครูผสู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ
๑๒. ความเห็นของรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ หรอื ผูท ่ไี ดร ับมอบหมาย ความเหน็ ของเพอ่ื ครคู ูนิเทศ ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู รบั ทราบการจัดทําแผนการจดั การเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดดี ความเห็นเพมิ่ เตมิ ความเห็นเพิม่ เติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชอื่ )............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรา มศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลุมบริหารวิชาการ/ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย รบั ทราบการจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จดั ทาํ แผนการจัดการเรียนรูไดด ี ความเหน็ เพมิ่ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคดิ เห็นของฝา ยบริหารหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) ๔ ........ / ....... / ........
แบบบนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรยี นรู แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 4 เรือ่ ง เสยี งวรรณยุกตสาํ คญั ตอความหมาย หนวยการเรยี นรทู ี่ 2 เรอ่ื ง กาพยเ หชมเครื่องคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา 2562 เวลา 1 คาบ ครูผูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห สงิ หเสนี) ๔ 1. ผลการนําไปใชใ นการจดั กจิ กรรมการเรียนรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชส อื่ /แหลง เรียนรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวดั ผล/ประเมนิ ผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงชอ่ื )..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ) .............../................./..............
หนวยการเรียนรทู ่ี 2 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 5 เรือ่ ง สัมพนั ธวรรณศิลป เร่ือง กาพยเ หช มเคร่อื งคาวหวาน รายวชิ าภาษาไทย ๒ รหสั วชิ า ท2110๒ กลมุ สาระการเรยี นรูภ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาคเรียนที่ ๒ ปการศกึ ษา 2562 เวลา 2 คาบ ครูผูส อน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสน)ี ๔ 1. มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา งเห็น คุณคา และนาํ มาประยุกตใชในชีวิตจริง ตวั ชีว้ ัด ท ๕.๑ ม.๑/๒ วเิ คราะหวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา นพรอ มยกเหตุผลประกอบ 2. จุดประสงคการเรียนรสู ูตัวชีว้ ัด (KPA) ๑. อธบิ ายศลิ ปะการประพนั ธแ ละโวหารภาพพจนใ นกาพยเหชมเครื่องคาวหวาน (K) ๒. วิเคราะหศ ิลปะการประพนั ธและโวหารภาพพจนใ นกาพยเหชมเคร่ืองคาวหวาน (P) ๓. เห็นความสําคญั ของศิลปะการประพนั ธและโวหารภาพพจนท ี่ทําใหคาํ ประพันธมคี วามไพเราะ (A) 3. สาระสาํ คญั การประพันธบทรอยกรองใหไ พเราะจะมกี ลวิธกี ารเลือกใชคําและการใชโ วหารภาพพจนตา ง ๆ ซึ่ง ตอ งเรียนรแู ละฝก ฝน 4. ทักษะการคิด - การวิเคราะห - การสรุปความรู 5. สาระการเรียนรู ความรู 1) ศิลปะการประพันธแ ละโวหารภาพพจน ทักษะ/กระบวนการ 1) ทกั ษะการอา น 2) ทักษะการเขียน 3) ทักษะการฟง การดู และการพดู คณุ ลักษณะฯ 1) รักความเปนไทย 2) ใฝเ รยี น ใฝร ู 3) มงุ มนั่ ในการทํางาน
6. สมรรถนะสําคญั ของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสือ่ สาร - ทกั ษะการอา น - ทกั ษะการเขยี น - ทักษะการฟง การดู และการพดู ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห - การสรปุ ความรู ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชวี ติ 7. กิจกรรมการเรยี นรู ขัน้ นาํ เขาสบู ทเรยี น ๑. ใหน ักเรียนรวมกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูใชคําถามทา ทาย ดังนี้ เนอื้ เพลงที่นาํ มารอ งแลวไพเราะติดหูผูฟง มกั จะมีลกั ษณะอยางไร ขนั้ สอน ๒. ใหน ักเรยี นสังเกตกาพยเ หช มเครอ่ื งคาวหวานวา มลี กั ษณะใดทต่ี รงกบั ลกั ษณะของเนื้อเพลงบาง เชน การเลนเสยี งสัมผสั การเลนคําซํา้ การใชความเปรียบ การกลา วถึงคนที่รกั ๓. ใหนกั เรยี นนํากาพยเหช มเคร่ืองคาวหวานมาเปนเนือ้ เพลง แลว ชวยกนั เลอื กทาํ นองเพลง ๒ - ๓ ทํานอง มารวมกนั รอ ง ๔. ใหน กั เรียนรว มกนั สนทนาเก่ียวกบั ลักษณะการประพนั ธทีท่ ําใหกาพยเ หช มเครอื่ งคาวหวานมี ความไพเราะ ๕. ครูจัดกิจกรรมแบบฐานการเรียนรู ใหนักเรียนแบงกลุม ๕ กลุม ศึกษาความรูเร่ือง กลวิธีการ ประพนั ธแลวรวมกันสรปุ ความเขาใจ จากน้ันนําความรทู ่ไี ดมาวเิ คราะหกลวิธีการประพันธในกาพยเหชมเครื่อง คาวหวาน เมื่อทํากิจกรรมในแตละฐานใหนักเรียนเขียนบันทึกความรูและตัวอยาง ฐานการเรียนรูท้ัง ๕ ฐาน ประกอบดวย ฐานการเรียนรูท ่ี ๑ การเลนเสียงสัมผัส ฐานการเรยี นรูท่ี ๒ การเลนเสียงวรรณยกุ ต ฐานการเรียนรูที่ ๓ การเลนคํา ฐานการเรยี นรทู ี่ ๔ การใชไวพจน ฐานการเรียนรทู ี่ ๕ การใชโ วหารภาพพจน ครกู ําหนดเวลาใหน กั เรียนทํากิจกรรมในแตล ะฐานตามความเหมาะสม ๖. ใหนกั เรียนนาํ ความรูท ไ่ี ดม าแลกเปล่ยี นและรวมกนั สรุปความรู ข้นั สรุปการสอน ใหนักเรยี นและครูรว มกนั สรปุ ความรู ดงั นี้ การประพันธบ ทรอ ยกรองใหไพเราะจะมีกลวธิ ี การเลอื กใชคําและการใชโวหารภาพพจนตา ง ๆ ซ่ึงตอ งเรียนรูและฝกฝน
8. ส่ือการเรยี นรู/แหลงการเรยี นรู สื่อการเรียนร/ู อุปกรณ แหลงเรยี นรู เอกสารประกอบในการจัดฐานการเรยี นรู แหลง เรยี นรูภ ายใน 1) หอ งสมุดโรงเรียน แหลง เรยี นรูภ ายนอก 1) หอ งเรยี น DLIT 9. การวัดและประเมินผล ๑. วิธีการวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขารวมกิจกรรม ๒) สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเขารวมกจิ กรรมกลุม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรยี น ๒. เคร่อื งมอื ๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา รวมกจิ กรรมกลมุ ๓. เกณฑการประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา รว มกิจกรรม ผา นต้ังแต ๒ รายการ ถอื วา ผาน ผาน ๑ รายการ ถอื วา ไมผ าน ๒) การประเมนิ พฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรมกลุม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับพอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ใหนกั เรยี นพัฒนาความคิดสรางสรรคดว ยการนําทํานองเพลงมาประยกุ ตก บั เน้ือรอ งใหม และให นักเรียนพฒั นาการเรียนรูด วยตนเองจากฐานการเรียนรู 1๑. การเตรยี มตวั ลวงหนา (ลงช่ือ)..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ
๑๒. ความเห็นของรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ หรอื ผูท ่ไี ดร ับมอบหมาย ความเหน็ ของเพอ่ื ครคู ูนิเทศ ความเห็นของหัวหนากลุมสาระการเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู รบั ทราบการจัดทําแผนการจดั การเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดดี ความเห็นเพมิ่ เตมิ ความเห็นเพิม่ เติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชอื่ )............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรา มศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลุมบริหารวิชาการ/ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย รบั ทราบการจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จดั ทาํ แผนการจัดการเรียนรูไดด ี ความเหน็ เพมิ่ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคดิ เห็นของฝา ยบริหารหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) ๔ ........ / ....... / ........
แบบบันทึกหลงั แผนการจัดการเรยี นรู หนว ยการเรียนรทู ่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 5 เรือ่ ง สัมพันธวรรณศิลป เรือ่ ง กาพยเหชมเครอ่ื งคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหัสวชิ า ท2110๒ กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี ๒ ปการศึกษา 2562 เวลา 2 คาบ ครูผูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) ๔ 1. ผลการนําไปใชในการจดั กิจกรรมการเรียนรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรียนรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชส อื่ /แหลงเรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวดั ผล/ประเมินผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงชอื่ )..............................................ครผู สู อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ .............../................./..............
หนว ยการเรียนรทู ่ี 2 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 6 เร่ือง ไววากยวาที ไววงศกวี เรอื่ ง กาพยเ หช มเคร่อื งคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหสั วชิ า ท2110๒ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 ภาคเรียนที่ ๒ ปก ารศกึ ษา 2562 เวลา 2 คาบ ครูผสู อน นางสาวปานทอง แสงสุทธิ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสนี) ๔ 1. มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ปิ ญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปน สมบตั ขิ องชาติ ตัวชวี้ ัด ท ๔.๑ ม.๑/๕ แตงบทรอ ยกรอง 2. จดุ ประสงคการเรียนรสู ูตัวชวี้ ดั (KPA) ๑. อธบิ ายหลกั การแตงคําประพันธป ระเภทกาพยย านี ๑๑ (K) ๒. แตง กาพยยานี ๑๑ ชมอาหารไทย (P) ๓. เหน็ ความสําคัญของบทรอยกรองทีเ่ ปนวัฒนธรรมทางภาษาของไทย (A) 3. สาระสําคัญ กาพยเหชมเครอื่ งคาวหวานเปน วรรณคดไี ทยทม่ี ีคุณคา การฝก แตง กาพยเห เพ่อื ชมอาหารไทยจึง เปน การสบื ทอดวรรณคดไี ทยอยา งเหน็ คณุ คา อกี ทางหน่งึ 4. ทกั ษะการคิด - การวิเคราะห - การสงั เคราะห - การประยกุ ต/ การปรับปรุง - การสรุปความรู - การประเมนิ คา 5. สาระการเรยี นรู ความรู 1) การแตงกาพยยานี ๑๑ ทกั ษะ/กระบวนการ 1) ทกั ษะการอาน 2) ทกั ษะการเขยี น 3) ทกั ษะการฟง การดู และการพดู คณุ ลกั ษณะฯ 1) รักความเปนไทย
2) ใฝเ รียน ใฝรู 3) มงุ ม่นั ในการทาํ งาน 6. สมรรถนะสาํ คัญของผเู รียน ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร - ทกั ษะการอา น - ทกั ษะการเขียน - ทกั ษะการฟง การดู และการพูด ๒. ความสามารถในการคิด - การวเิ คราะห - การสังเคราะห - การประยุกต/ การปรบั ปรุง - การสรปุ ความรู - การประเมนิ คา ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวติ 7. กจิ กรรมการเรียนรู ข้ันนาํ เขาสูบทเรยี น ๑. ใหน ักเรียนรว มกันแสดงความคิดเหน็ โดยครูใชคําถามทาทาย ดังน้ี กวีสามารถแตง คาํ ประพนั ธใ หไพเราะไดอ ยา งไร ขั้นสอน ๒. ใหน ักเรยี นรวมกันสนทนาเก่ยี วกบั อาหารไทยที่ชอบรับประทาน เชน นํา้ พรกิ กะป แกงเขยี ว หวานลกู ชิ้นปลากราย แกงสมดอกแค ๓. ใหน ักเรยี นทบทวนความรูเก่ียวกับหลักการแตงคําประพนั ธประเภทกาพยยานี ๑๑ โดยรวมกัน สนทนาในประเด็นตอไปนี้ แผนผงั โครงสรางคําประพนั ธ ขอ บังคับในการแตง ๔. ใหน ักเรียนสงั เกตวธิ กี ารบรรยายลักษณะและการพรรณนารสชาตขิ องอาหารในกาพยเหชม เครือ่ งคาวหวาน แลว สนทนารวมกัน ๕. ใหนกั เรียนแตงกาพยเ หช มอาหารไทย อาจแตงเปน รายบคุ คล หรือชว ยกนั แตงเปนกลุม ก ็ได (ค รู พ ิจ ารณ าต าม ค ว าม เห ม าะ ส ม แ ล ะ ศ ัก ย ภ าพ ข อ งผ ูเรีย น ) ให ม เี น ื้อ ห าช ม อ าห ารไท ย ป ระ เภ ท อ ืน่ ๆ นอกเหนอื ไปจากที่ กลาวไวใ นกาพยเ หชมเคร่อื งคาวหวาน โดยแตง กาพยย านี ๑๑ ไมนอ ยกวา ๓ บท ๖. ใหน กั เรียนออกมานาํ เสนอผลงานหนาช้นั เรียน โดยจะอา นแบบธรรมดา อา นเปนทํานองเสนาะ ทํานองเห หรือรอ งเปนเพลงกไ็ ดตามความสามารถ ๗. ครูและนกั เรยี นรวมกันประเมนิ ผลงานและเสนอแนะเพ่อื ปรับปรุงแกไ ขขอบกพรอง
ข้ันสรปุ การสอน ใหนักเรียนและครรู ว มกนั สรุปความรู ดังนี้ กาพยเ หช มเครือ่ งคาวหวานเปน วรรณคดีไทยที่มคี ุณคา การฝกแตงกาพยเหเพือ่ ชมอาหารไทยจึงเปนการสืบทอดวรรณคดไี ทยอยางเห็นคุณคาอกี ทางหนึ่ง 8. สือ่ การเรียนรู/แหลง การเรียนรู ส่อื การเรียนร/ู อปุ กรณ แหลง เรยี นรู เอกสารประกอบในการจดั ฐานการเรียนรู แหลงเรียนรูภายใน 1) หอ งสมดุ โรงเรียน แหลง เรียนรูภายนอก 1) หอ งเรียน DLIT 9. การวดั และประเมนิ ผล ๑. วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล ๑) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา รวมกิจกรรม ๒) สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา รว มกิจกรรมกลุม ๓) ตรวจผลงานของนกั เรยี น ๒. เครือ่ งมือ ๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรม ๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขารว มกจิ กรรมกลุม ๓. เกณฑการประเมนิ ๑) การประเมินพฤติกรรมการเขา รว มกจิ กรรม ผา นตั้งแต ๒ รายการ ถอื วา ผา น ผา น ๑ รายการ ถอื วา ไมผ า น ๒) การประเมนิ พฤติกรรมการเขารวมกจิ กรรมกลุม คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั พอใช คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ควรปรับปรุง ๑๐. กิจกรรมเสนอแนะ ใหน ักเรยี นคน ควา และรวบรวมเพลงทม่ี เี น้อื หากลาวถึงอาหารไทย จะเปน อาหารไทยภาคใดก็ได นํา เนื้อเพลงมาแลกเปล่ียนกนั ศึกษา หรือนักเรียนท่ีรองเพลงนัน้ ๆ ได รอ งใหเ พอ่ื นฟง 1๑. การเตรยี มตวั ลวงหนา (ลงช่ือ)..............................................ครผู ูส อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธิ)
๑๒. ความเห็นของรองผูอํานวยการกลมุ บริหารวิชาการ หรอื ผูท ่ไี ดรบั มอบหมาย ความเหน็ ของเพอ่ื ครคู ูนิเทศ ความเห็นของหัวหนากลุม สาระการเรียนรู จดั ทําแผนการจัดการเรยี นรู รบั ทราบการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู จัดทําแผนการจัดการเรียนรูไดดี ความเห็นเพมิ่ เตมิ ความเห็นเพิ่มเติม ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. ................................................................................. (ลงชื่อ).................................................... (ลงชื่อ)............................................ (.................................................) (นางจุฑามาศ อรามศร)ี ........ / ....... / ........ หวั หนากลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย ........ / ....... / ........ ความเหน็ ของรองผอู ํานวยการกลุมบริหารวิชาการ/ผูทไ่ี ดรับมอบหมาย รบั ทราบการจดั ทาํ แผนการจดั การเรยี นรู จดั ทําแผนการจัดการเรียนรูไดด ี ความเหน็ เพมิ่ เติม ………………………………………………………………………………………………….……………..…………. (ลงชือ่ ).......................................................... (.......................................................) ........................................................................ ........ / ....... / ........ ๑๓. ความคดิ เห็นของฝา ยบริหารหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย .................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... (นายประทีป ไชยเมอื ง) ผอู าํ นวยการโรงเรยี นบดินทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสนี) ๔ ........ / ....... / ........
แบบบนั ทึกหลงั แผนการจดั การเรยี นรู หนว ยการเรยี นรูท ี่ 2 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 6 เร่ือง ไวว ากยวาที ไววงศกวี เรื่อง กาพยเหช มเคร่ืองคาวหวาน รายวิชาภาษาไทย ๒ รหสั วิชา ท2110๒ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท่ี ๒ ปการศกึ ษา 2562 เวลา 2 คาบ ครผู ูสอน นางสาวปานทอง แสงสทุ ธิ โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี ๔ 1. ผลการนําไปใชในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู 1.1การจดั กิจกรรมการเรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 การใชสอื่ /แหลง เรยี นรู ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.3 การวดั ผล/ประเมนิ ผล ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 2. ปญ หา/อปุ สรรค ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 3. ขอ เสนอแนะ/แนวทางแกไ ข ....................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ )..............................................ครผู ูส อน (นางสาวปานทอง แสงสุทธ)ิ .............../................./..............
Search