Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาเซียนศึกษา ม.ปลาย

อาเซียนศึกษา ม.ปลาย

Published by nfeeast_thathan, 2019-05-09 00:09:23

Description: อาเซียนศึกษา ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

คู่มือการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ รายวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม ระดับประถมศกึ ษา  มัธยมศกึ ษาตอนต้น  มัธยมศึกษาตอนปลาย อาเซียนศกึ ษา รหัส สค02015 จาํ นวน 3 หน่วยกติ (120 ช่วั โมง) สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยภาคเหนือ สาํ นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มือการจดั กจิ กรรรมการเรียนรู้ รายวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสังคม อาเซียนศึกษา รหสั สค02015 จาํ นวน 3 หน่วยกิต (120 ช่ัวโมง) ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ สาํ นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิ การได้ ประกาศใช้ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ซงึ่ มีรายละเอียดประกอบด้วย หลกั การ จดุ หมาย โครงสร้างหลกั สตู ร กรอบสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ การจดั กระบวนการเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้ และการวดั ประเมินผล โดยกําหนดสาระวิชาบงั คบั ไว้ สว่ นวิชาเลือกให้สถานศกึ ษาเป็ นผ้ดู ําเนินการพฒั นา แนวทางในการ พฒั นาหลกั สตู รรายวิชาเลือก จะต้องนําสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดไปพฒั นาหลกั สตู รให้ สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความต้องการของผ้เู รียน ชมุ ชน สงั คม การพฒั นาหลกั สตู รรายวิชาเลอื ก จึงมีความสําคญั ในการกําหนดทิศทางการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั หลกั สตู รสถานศกึ ษาและของผ้เู รียน ให้บรรลมุ าตรฐานการเรียนรู้ที่กําหนดไว้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้ประกาศให้จดั การเรียนการสอนหลกั สตู รอาเซียน ศกึ ษา ไว้รองรับการก้าวส่กู ารเป็ นประชาคมอาเซียนของไทยอย่างเต็มตวั ในปี 2558 ซง่ึ จะทําให้ ผู้เรียนเห็นความสําคัญขององค์กรเเห่งนี ้ และเข้าใจความเป็ น “อาเซียน” องค์กรเก่าเเก่และ มีความสําคญั มากท่ีสดุ สําหรับภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ จึงได้ดําเนินการพฒั นารายวิชาเลือก หลกั สตู รอาเซียนศึกษา เพื่อสนบั สนนุ การจดั การเรียนการสอนของ ครู กศน. เพื่อให้ผ้เู รียนได้ทราบถึงความเป็ นมา พฒั นาการ และความร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน และร่วมกันเพื่อการขบั เคล่ือนการเป็ น ประชาคมท่ีเข้มแขง็ ตอ่ ไป สถาบนั กศน. ภาคเหนือ ขอขอบคณุ คณะทํางานทกุ ท่านที่ให้ข้อคดิ เห็นอนั เป็ นประโยชน์ ตอ่ การพฒั นาหลกั สตู รดงั กลา่ ว หวงั ว่าเอกสารรายวิชาเลือกฉบบั นีจ้ ะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผ้บู ริหารและครู กศน. ตามสมควร (นายประเสริฐ หอมด)ี ผ้อู ํานวยการ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ มิถนุ ายน 2554

คํานํา 1 สารบญั 3 คําอธิบายรายวิชาอาเซียนศกึ ษา 7 รายละเอียด คําอธิบายรายวชิ าอาเซยี นศกึ ษา 11 รายวิชาอาเซยี นศกึ ษา 26 แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าอาเซยี นศกึ ษา 29 ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาและวตั ถปุ ระสงค์ในการก่อตงั้ อาเซยี น 40 ใบความรู้ที่ 2 ประเทศสมาชกิ อาเซยี นในปัจจบุ นั 48 ใบความรู้ที่ 3 ประชาคมอาเซียน และกฏบตั รอาเซียน 51 ใบความรู้ที่ 4 โครงสร้างและกลไกการดาํ เนินงานของอาเซียน 55 ใบความรู้ท่ี 5 ความร่วมมือในด้านการเมืองและความมนั่ คงของอาเซยี น 64 ใบความรู้ที่ 6 ความร่วมมือของอาเซยี นในด้านเศรษฐกิจ 66 ใบความรู้ท่ี 7 ความร่วมมือด้านสงั คมและวฒั นธรรม 68 ใบความรู้ที่ 8 ปัญหาและอปุ สรรคที่สําคญั ของอาเซยี น 69 ใบความรู้ที่ 9 ความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) 71 ใบความรู้ท่ี 10 เป้ าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 74 ใบความรู้ท่ี 11 แนวทางการดําเนินงานเพอ่ื นําไปสกู่ ารเป็ น AEC 76 ใบความรู้ที่ 12 ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วมประชามคมเศรษฐกิจอาเซียน ใบความรู้ที่ 13 ประวตั คิ วามเป็ นมา ความสําคญั วตั ถปุ ระสงค์ และประโยชน์ท่ีไทยได้รับ 79 83 จาการเข้าร่วม AFTA ใบความรู้ท่ี 14 ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากการเข้าร่วมกลมุ่ อาเซยี น ใบงานที่ 1-11 บรรณานกุ รม คณะผ้จู ดั ทํา

คาํ อธิบายรายวชิ า อาเซยี นศึกษา รหสั สค02015 สาระการพฒั นาสังคม ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หน่วยกติ ( 120 ช่ัวโมง ) มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงความสําคัญเก่ียวกับภูมิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใช้ในการดาํ รงชีวติ ผลการเรียนรู้ท่คี าดหวัง 1. อธิบายข้อมลู เกี่ยวกบั ความเป็ นมาและพฒั นาการของอาเซียนในเร่ืองประวตั ิ วตั ถปุ ระสงค์ การก่อตงั้ อาเซยี น 2. ระบปุ ระเทศกลมุ่ สมาชิกอาเซียน 3. อธิบายความสําคญั ของประชาคมอาเซยี นและกฎบตั รอาเซียน (ASEAN Charter) 4. สรุปผลงานของกลมุ่ อาเซียน 3 ด้าน คือ ความร่วมมอื ในด้านการเมืองและความมนั่ คง ของอาเซยี น ความร่วมมือของอาเซยี นในด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมือด้านสงั คมและวฒั นธรรม 5. วเิ คราะห์ปัญหาและอปุ สรรคจากผลงานของกลมุ่ อาเซียนในด้านตา่ งๆ 6. อธิบายแนวทางการดําเนินงานเพ่ือนําไปส่กู ารเป็ น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC 7. อธิบายการกําเนิดการจดั ตงั้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 8. บอกประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับในการเป็ นสมาชิกของกลมุ่ อาเซียน ศกึ ษาและฝึ กทกั ษะ 1. ความเป็ นมาและพฒั นาการของอาเซยี นในเรื่องประวตั ิ วตั ถปุ ระสงค์การก่อตงั้ อาเซยี น 2. ประเทศกลมุ่ สมาชิกอาเซยี น 3. ความสาํ คญั ของประชาคมอาเซยี นและกฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) 4. ผลงานของกลมุ่ อาเซียน 3 ด้าน คือ ความร่วมมือในด้านการเมืองและความมน่ั คงของ อาเซยี น ความร่วมมือของอาเซียนในด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมือด้านสงั คมและวฒั นธรรม 5. ปัญหาและอปุ สรรคจากผลงานของกลมุ่ อาเซยี นในด้านตา่ งๆ 6. แนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสู่การเป็ น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC รายวิชาเลอื ก อาเซียนศกึ ษา หน้า 1

7. การกําเนิดการจดั ตงั้ เขตการค้าเสรีอาเซยี น (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 8. ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับในการเป็ นสมาชิกของกลมุ่ อาเซียน การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ 1. จดั กลมุ่ อภปิ รายในเนือ้ หาท่ีเกี่ยวข้อง 2. เชิญนักวิชาการผู้รู้มาให้ความรู้เกี่ยวกับประโยชน์และผลกระทบท่ีเกิดต่อประเทศและ ประชาชน 3. จดั ทําโครงการนิทรรศการฐานความรู้ 4. ศกึ ษาดงู านในโรงเรียนประจําจงั หวดั ที่นําร่องการเรียนหลกั สตู รอาเซยี นศกึ ษา 5. ศกึ ษาจากเอกสารและส่ือทกุ ประเภทที่เก่ียวข้อง เว็บไซต์ ของกรมอาเซยี น กระทรวงการ ต่างประเทศ (www.mfa.go.th) และ (www.14thaseansummit.org) และเว็บไซต์ ของสํานกั งาน เลขาธิการอาเซยี น (www.aseansec.org) ฯลฯ 6. ศกึ ษาจาก VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ 7. ศกึ ษาจากรายการโทรทศั น์ รายการ วิถีอาเซียน (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีช่อง 3 ทกุ วนั เสาร์ เวลาประมาณ 05.45 น. การวัดและประเมนิ ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมระหวา่ งการเรียนรู้ 2. วดั ความรู้จากการทํากิจกรรมในใบงาน 3. การวดั ผลสมั ฤทธิ์ปลายภาค รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 2

รายละเอยี ด คาํ อธิบายรายวิชา อาเซียนศึกษา รหสั สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หน่วยกิต (120 ช่ัวโมง) มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนกั ถึงความสําคญั เกี่ยวกบั ภมู ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมือง การปกครอง สามารถนํามาปรับใช้ในการดาํ รงชีวติ ที่ หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา เวลา 1 พฒั นาการ (ชวั่ โมง) อาเซียน 1.1 บอกประวตั คิ วามเป็นมาของ 1.1 ความเป็นมาของอาเซยี น 15 2 ผลงานของ อาเซยี น (ASEAN) ได้ กลมุ่ อาเซยี น 1.2 เข้าใจวตั ถปุ ระสงค์ในการ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ในการก่อตงั้ และ ก่อตงั้ ประเทศสมาชิก ประเทศสมาชกิ อาเซียน อาเซียน (ASEAN) 1.3 บอกความหมายและความ 1.3 ความหมาย ความสาํ คญั ของ สําคญั ของประชาคม ประชาคมอาเซียนและกฎบตั ร อาเซียนและกฎบตั รอาเซียน อาเซียน (ASEAN Charter) (ASEAN Charter) ได้ 2.1 บอกโครงสร้างและกลไกการ 2.1 โครงสร้างและกลไกการ 30 ดําเนนิ งานของอาเซยี นได้ ดําเนินงานของอาเซยี น - ท่ีประชมุ สดุ ยอดอาเซยี น (ASEAN Summit) - คณะมนตรีประสานงาน อาเซียน (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) - คณะมนตรีประชาคม อาเซียน (ASEAN Community Councils) รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศกึ ษา หน้า 3

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา เวลา (ชว่ั โมง) 2.2 บอกความสาํ คญั ในการ - องค์กรระดบั รัฐมนตรี ร่วมมือของอาเซียน ทงั้ 3 อาเซยี นเฉพาะสาขา ด้านได้ (ASEAN Sectoral - ด้านการเมืองและความ Ministerials Bodies) มน่ั คง - ด้านเศรษฐกิจ - เลขาธิการอาเซยี นและสาํ นกั เลขาธิการอาเซยี น (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการผ้แู ทนถาวร ประจําอาเซยี น(Committee of Permanent Representatives of ASEAN) - สาํ นกั งานอาเซียนแหง่ ชาติ หรือกรมอาเซยี น (ASEAN National Secretariat) - องค์กรสทิ ธิมนษุ ยชน อาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มลู นิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) 2.2 ความสาํ คญั ในการร่วมมือ ของอาเซียน ทงั้ 3 ด้าน - ด้านการเมืองและความ มน่ั คง - ด้านเศรษฐกิจ - ด้านสงั คมและวฒั นธรรม รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 4

ที่ หวั เรื่อง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา เวลา (ชว่ั โมง) - ด้านสงั คมและวฒั นธรรม 2.3 สรุปผลจากการประชมุ กลมุ่ 2.3 ผลจากการประชมุ อาเซยี นใน อาเซยี นในรอบปี ที่ผา่ นมา รอบปี ที่ผา่ นมา 2.4 อธิบาย สรุปปัญหาและ 2.4 ปัญหาและอปุ สรรคท่ีสาํ คญั อปุ สรรคท่ีสาํ คญั ของ ของอาเซยี น อาเซียนได้ 3 ประชาคม 3.1 บอกความหมายและ 3.1 ความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ 20 เศรษฐกิจ วตั ถปุ ระสงค์ของประชาคม ของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน เศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) ได้ อาเซียน (AEC) (ASEAN 3.2 อธิบายเป้ าหมายของ 3.2 เป้ าหมายของประชาคม Economic ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) Community) : (AEC) ได้ AEC 3.3 อธิบายแนวทางการ 3.3 แนวทางการดําเนินงานเพ่ือ ดําเนินงาน เพอ่ื นําไปสกู่ าร นําไปสกู่ ารเป็น AEC เป็ น AEC ได้ 3.4 บอกประโยชน์ท่ีประเทศไทย 3.4 ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับ ได้รับจากการเข้าร่วม AEC จากการเข้าร่วมประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4 การกําเนิดการ 4.1 บอกประวตั คิ วามเป็นมา 4.1 ความหมาย ความสาํ คญั 20 จดั ตงั้ เขต ความสาํ คญั และ และวตั ถปุ ระสงค์ของ AFTA การค้าเสรี วตั ถปุ ระสงค์ของ AFTA ได้ อาเซียน 4.2 เห็นคณุ คา่ และประโยชน์ที่ 4.2 ประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับ (ASEAN Free ประเทศไทยเข้าร่วมเขต จากการเข้าร่วมเขตการค้าเสรี Trade Area) : การค้าเสรี อาเซยี น (AFTA) อาเซยี น (AFTA) AFTA รายวิชาเลอื ก อาเซียนศกึ ษา หน้า 5

ที่ หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ดั เนือ้ หา เวลา (ชวั่ โมง) 5 ประโยชน์ท่ี ประเทศไทย 5.1 มีความรู้ความเข้าใจใน 5.1 ทิศทางสงั คมไทยตอ่ การ 35 ได้รับในการ เป็ นสมาชิก ทิศทางสงั คมไทยตอ่ การ เปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมอาเซยี น ของกลมุ่ อาเซียน เปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมอาเซยี น ในด้าน ในด้านตา่ งๆ - ความร่วมมือทางการเมือง - ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ - ความร่วมมือเฉพาะด้าน 5.2 เห็นคณุ คา่ และประโยชน์ที่ 5.2 ประโยชน์ที่ไทยได้รับในการ ประเทศไทยได้รับในการเป็น รวมกลมุ่ อาเซยี น สมาชิกของกลมุ่ อาเซยี น - การแก้ปัญหาความยากจน - การสง่ เสริมการท่องเท่ียว - การอนรุ ักษ์สง่ิ แวดล้อม - การแพร่ระบาดของ โรคตดิ ตอ่ - การแก้ปัญหาการค้า ยาเสพตดิ - การจดั การการเกิดภยั พิบตั ิ - การปกป้ องสทิ ธิสตรี - การแก้ปัญหาการก่อการร้าย ข้ามชาติ รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 6

รายวชิ า อาเซียนศกึ ษา รหสั สค02015 สาระการพัฒนาสังคม ระดบั ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน 3 หน่วยกิต ( 120 ช่ัวโมง) ความเป็ นมา กระทรวงศึกษาธิการ โดยสํานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ทําการวิจยั การพฒั นาด้าน กฎหมายรองรับการเปิ ดเสรีทางการศกึ ษา และกระทรวงศกึ ษาธิการยงั ได้มีนโยบายชดั เจนในการพฒั นา การศึกษา เพ่ือรองรับการเป็ นประชาคมอาเซียนร่วมกัน ซ่ึงจะต้องพฒั นาทัง้ ในด้านการศึกษา ด้าน วฒั นธรรม และวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ ดงั นนั้ ในสว่ นของสํานกั งาน กศน. จงึ ได้มอบหมายให้สถาบนั กศน. ภาคเหนือพฒั นาหลกั สตู รอาเซียนศกึ ษา เพ่ือให้ผ้เู รียนได้ทราบถึงความเป็ นมา พฒั นาการ และความ ร่วมมือต่างๆ ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ซ่ึงจะช่วยให้ทราบถึงความสําคญั ขององค์กรเเห่งนี ้และ เข้าใจความเป็ น “อาเซียน” องค์กรเก่าเเก่และมีความสําคญั มากท่ีสดุ สําหรับภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ และร่วมกนั เพ่ือการขบั เคลือ่ นการเป็ นประชาคมท่ีเข้มแข็งตอ่ ไป หลักการ เป็ นรายวิชาเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม ที่สามารถให้ผ้เู รียนเลอื กเรียนได้ตามความสนใจ จุดประสงค์รายวชิ า เพ่ือให้ผ้เู รียน 1. รู้โครงสร้างของอาเซยี น ประวตั คิ วามเป็ นมาของอาเซียน และเข้าใจวตั ถปุ ระสงค์ของการ ก่อตงั้ ประเทศสมาชิกอาเซียน 2. บอกความสาํ คญั ของประชาคมอาเซยี นและกฎบตั รอาเซยี น 3. บอกความสาํ คญั ของผลงานของกลมุ่ อาเซยี น 3 ด้าน คอื ความร่วมมือในด้านการเมือง และความมนั่ คงของอาเซยี น ความร่วมมือของอาเซยี นในด้านเศรษฐกิจ และความร่วมมือด้านสงั คม และวฒั นธรรม 4. สรุปผลจากการประชมุ กลมุ่ อาเซียนในรอบปี ท่ีผา่ นมา 5. อธิบายและสรุปปัญหาและอปุ สรรคที่สําคญั ของอาเซยี นได้บอกความหมาย เป้ าหมาย และแนวทางการดําเนินงานเพื่อนําไปสกู่ ารเป็ นของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 6. บอกประวตั คิ วามเป็นมา ความสาํ คญั และวตั ถปุ ระสงค์ของ AFTA 7. มีความรู้ความเข้าใจในทิศทางสงั คมไทยตอ่ การเปลี่ยนแปลงสสู่ งั คมอาเซียนในด้านตา่ งๆ 8. เห็นคณุ คา่ และประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วมกลมุ่ อาเซยี น รายวิชาเลอื ก อาเซียนศกึ ษา หน้า 7

ระยะเวลาเรียนและจาํ นวนหน่วยกติ จํานวน 120 ชว่ั โมง 3 หน่วยกิต โครงสร้างเนือ้ หาหลักสูตร หลกั สตู รอาเซยี นศกึ ษา ประกอบด้วยเนือ้ หาจํานวน 5 เร่ือง โดยแยกเป็ นเนือ้ หาดงั ตอ่ ไปนี ้ 1. พฒั นาการอาเซยี น 2. ผลงานของกลมุ่ อาเซยี น 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community) : AEC 4. การกําเนิดการจดั ตงั้ เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 5. ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับในการเป็นสมาชิกของกลมุ่ อาเซียน รายละเอียดเนือ้ หา 1. พฒั นาการอาเซียน 1.1 ความเป็ นมาของอาเซยี น 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ในการก่อตงั้ และประเทศสมาชิกอาเซียน 1.3 ความหมาย ความสําคญั ของประชาคมอาเซียนและกฎบตั รอาเซียน (ASEAN Charter) 2. ผลงานของกลมุ่ อาเซียน 2.1 โครงสร้างและกลไกการดาํ เนินงานของอาเซยี น - ที่ประชมุ สดุ ยอดอาเซียน (ASEAN Summit) - คณะมนตรีประสานงานอาเซยี น (ASEAN Coordinating Councils : ACCs) - คณะมนตรีประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community Councils) - องค์กรระดบั รัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral Ministerials Bodies) - เลขาธิการอาเซียนและสํานกั เลขาธิการอาเซียน (Secretary-General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการผู้แทนถาวรประจําอาเซียน (Committee of Permanent Representatives of ASEAN) - สํานกั งานอาเซยี นแหง่ ชาติ หรือกรมอาเซียน (ASEAN National Secretariat) - องค์กรสทิ ธิมนษุ ยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มลู นิธิอาเซียน (ASEAN Foundation) รายวิชาเลอื ก อาเซียนศกึ ษา หน้า 8

2.2 ความสําคญั ในการร่วมมือของอาเซยี น 3 ด้าน คือ - ด้านการเมืองและความมนั่ คง - ด้านเศรษฐกิจ - ด้านสงั คมและวฒั นธรรม 2.3 ผลจากการประชมุ อาเซยี นในรอบปี ท่ีผา่ นมา 2.4 ปัญหาและอปุ สรรคที่สําคญั ของอาเซียน 3. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community) : AEC 3.1 ความหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 3.2 เป้ าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) 3.3 แนวทางการดาํ เนินงานเพื่อนําไปสกู่ ารเป็ น AEC 3.4 ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) 4. การกําเนิดการจดั ตงั้ เขตการค้าเสรีอาเซยี น (ASEAN Free Trade Area) : AFTA 4.1 ความหมาย ความสาํ คญั และวตั ถปุ ระสงค์ของ AFTA 4.2 ประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วมเขตการค้าเสรีอาเซยี น (AFTA) 5. ประโยชน์ท่ีประเทศไทยได้รับในการเป็ นสมาชิกของกลมุ่ อาเซียน 5.1 ทิศทางสงั คมไทยตอ่ การเปลย่ี นแปลงสสู่ งั คมอาเซยี นในด้าน - ความร่วมมือทางการเมือง - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ - ความร่วมมือเฉพาะด้าน เชน่ แรงงาน เดก็ และเยาวชน ยาเสพตดิ 5.2 ประโยชน์ที่ประเทศไทยได้รับจากการเข้าร่วมกลมุ่ อาเซยี น กระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ม่งุ พฒั นาให้ผ้เู รียนมีความรู้ความสามารถในการเรียนรู้ โดยเน้นพฒั นาทกั ษะการ แสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้และสร้ างองค์ความรู้สําหรับตนเอง ชุมชนและสงั คม ซ่ึงกําหนด รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ ดงั นี ้ 1. กําหนดสภาพหวั ข้อเนือ้ หาของหลกั สตู รที่กําหนด 2. แสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ท่ีเชื่อมโยงความรู้ใหมก่ บั ความรู้เดมิ 3. ประเมินผลการเรียนรู้ โดยให้มีการประเมิน ทบทวนแก้ไขข้อบกพร่อง รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 9

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงาน / ใบความรู้ 2. นกั วชิ าการ / ผ้รู ู้ 3. เอกสาร 4. VCD ของกรมอาเซียน กระทรวงการตา่ งประเทศ 5. เวบ็ ไซต์ที่เก่ียวข้องกบั อาเซยี น - กรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ (www.mfa.go.th/asean) - สํานกั งานเลขาธิการอาเซียน (www.aseansec.org) - สมาคมอาเซยี น-ประเทศไทย (www.aseanthailand.org) - วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี ออนไลน์ - สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (th.wikipedia.org/wiki/Asean) 6. ห้องสมดุ ประชาชนในชมุ ชน 7. รายการโทรทศั น์ รายการ วิถีอาเซียน (ASEAN Way) จากไทยทีวีสีช่อง 3 ทกุ วนั เสาร์ เวลาประมาณ 05.45 น. การวัดผลประเมินผล 1. ใบงาน 2. การเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ 3. การนําเสนอผลงานจากการค้นคว้า รายวิชาเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 10

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ า สาระการพ ระดบั ประถมศึกษา มธั ยมศึกษา จาํ นวน 3 หน่ วย ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 1 พฒั นาการ 1.1 บอกประวตั คิ วาม 1.1 ความเป็ นมาของ 1. ครูสนท อาเซยี น เป็ นมาของอาเซยี น อาเซียน (ASEAN) เร่ือง ค (ASEAN) ได้ อาเซียน 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ในการ 1.2 เข้ าใจวตั ถปุ ระสงค์ ก่อตงั ้ และประเทศ 2. ครูให้ ผ้ เู ในการก่อตงั ้ สมาชิกอาเซยี น ท่ี 1 เร่ือ ประเทศสมาชิก (ASEAN) วตั ถปุ ร อาเซยี น อาเซียน (ASEAN)ได้ 3. ครูให้ ผ เป็ นมา ของกา ในใบงา 4. ครูและ ก่อตงั ้ แ และเปิ รายวิชาเลอื ก อาเซียนศ

อาเซียนศึกษา รหสั สค02015 พัฒนาสังคม าตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ยกิต (120 ช่ ัวโมง) กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล 1. สงั เกตจากการ ทนาร่วมกบั ผ้ เู รียน 1. ใบความร้ ูที่ 1 เรื่อง ความ 10 มีสว่ นร่วม 2. การนําเสนอ ความเป็ นมาของ เป็ นมาและวตั ถปุ ระสงค์ ของกลมุ่ 3. การสรุปใบ น ในการก่อตงั ้ อาเซยี น งาน เรียนศกึ ษาใบความร้ ู 2. VCD เรื่องราวเกี่ยวกบั อง ความเป็ นมาและ อาเซียน ระสงค์ของการก่อตงั ้ 3. ใบงานท่ี 1 เร่ือง ความ น เป็ นมาและวตั ถปุ ระสงค์ ผ้ เู รียนสรุป ความ ของอาเซียน าและวตั ถปุ ระสงค์ 4. ใบความร้ ูท่ี 2 เร่ือง ารก่อตงั ้ อาเซียน ลง ประเทศสมาชิกอาเซียนใน งานที่ 1 ปัจจบุ นั ะผ้ เู รียนสรุปเร่ืองการ 5. ใบงาน ที่ 2 เรื่องประเทศ และสมาชิกอาเซยี น สมาชิกอาเซียนในปัจจบุ นั ปด VCD เกี่ยวกบั 6. เว็บไซต์ ศกึ ษา หน้ า 11

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก 5 . ครูแบง่ ค้นคว้ า สมาชิก ปัจจบุ นั อะไรบ้ 6. ให้ แตล่ นําเสน 7. ครูสรุปพ แจกใบ ประเทศ ปัจจบุ นั 1.3 บอกความหมาย 1.3 ความหมาย 1. ครูสนท และความสาํ คญั ของอาเซียนและ ความสาํ คญั ของ ความห กฎบตั รอาเซยี น (ASEAN Charter) ประชาคมอาเซียน อาเซียน และกฎบตั รอาเซียน อาเซียน (ASEAN Charter) 2. ครูแบง่ รายวิชาเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล งกลมุ่ ให้ ผ้ เู รียน 1. ใบความร้ ู ที่ 3 เรื่อง 5 1. การสงั เกตจาก าหาประเทศท่ีเป็ น ประชาคมอาเซยี น และ การมีสว่ นร่วม กในอาเซยี นใน กฎบตั รอาเซียน นวา่ มกี ่ีประเทศ 2. การนําเสนอ บาง ลงในใบงานท่ี 2 2. ใบงาน ที่ 3 เร่ือง ของกลมุ่ ละกลมุ่ ออกมา ความหมายของคาํ วา่ นอ 3. การสรุปใบ พร้ อมกบั ผ้ เู รียนและ บความร้ ู ท่ี 2 เร่ือง ศสมาชิกอาเซียนใน น ทนากบั ผ้ เู รียนถงึ หมายของประชาคม นและกฎบตั ร น งกลมุ่ ให้ ผ้ เู รียน ศกึ ษา หน้ า 12

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก 2 ผลงานของ 2.1 บอกโครงสร้ างและ 2.1 โครงสร้ างและกลไก 3. ให้ แตล่ การดําเนินงานของ นําเสน กลมุ่ อาเซยี น กลไกการ อาเซียน - ที่ประชมุ สดุ ยอด 4. ครูและ ดําเนินงานของ อาเซยี น (ASEAN พร้ อมแ เรื่องปร อาเซยี นได้ กฎบตั ร Charte 1. ครูสนท และกล สถานท เลขาธิก ผ้ ดู ํารงต รายวชิ าเลือก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล 3. เว็บไซต์ ละกลมุ่ ออกมา 1. ใบความร้ ู ที่ 4 เร่ือง 5 1. การสงั เกตจาก นอ โครงสร้ างและกลไกการ การมีสว่ นร่วม ะผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั ดําเนนิ งานของอาเซยี น แจกใบความร้ ูท่ี 3 2. การนําเสนอ 2. เว็บไซต์ ของกลมุ่ ระชาคมอาเซียนและ รอาเซยี น (ASEAN 3.การสรุปใบงาน er) ทนา เร่ืองโครงสร้ าง ลไกของอาเซยี น ท่ีตงั ้ สาํ นกั งาน การอาเซยี น และ ตาํ แหนง่ เลขาธิการ ศกึ ษา หน้ า 13

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก - คณะมนตรี 2. ครูกบั ผ ประสานงาน แจกใบ อาเซียน (ASEAN โครงสร Coordinating ดําเนิน Councils : ACCs) - คณะมนตรี ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Councils) - องค์กรระดบั รัฐมนตรีอาเซยี น เฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral รายวิชาเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล ผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั และ บความร้ ูท่ี 4 เรื่อง ร้ างและกลไกการ นงานของอาเซยี น ศกึ ษา หน้ า 14

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก - เลขาธิการอาเซียน และสํานกั เลขาธิการอาเซียน (Secretary- General of ASEAN and ASEAN Secretariat) - คณะกรรมการ ผ้ แู ทนถาวรประจํา อาเซยี น (Committee of Permanent Representatives of ASEAN) รายวิชาเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล ศกึ ษา หน้ า 15

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก - สํานกั งานอาเซียน แห่งชาติ หรือกรม อาเซียน (ASEAN National Secretariat) - องค์กรสทิ ธิ มนษุ ยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Body) - มลู นิธิอาเซยี น (ASEAN Foundation) 2.2 บอกความสําคญั ใน 2.2 ความสาํ คญั ในการ 1. ครูอธิบ การร่วมมือของ ร่วมมือของอาเซียน และคว อาเซยี น ทงั ้ 3 ด้าน ในด้ าน อาเซียน ได้ - ด้านการเมืองและ รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล บายถงึ ความสาํ คญั 1. ใบความร้ ู ที่ 5 เร่ือง 15 1. การสงั เกตจาก วามร่วมมือของ ความร่ วมมือในด้ าน การมีสว่ นร่วม นทงั ้ 3 ด้าน การเมืองและความมนั่ คง ของอาเซยี น 2. การนําเสนอ ของกลมุ่ ศกึ ษา หน้ า 16

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก - ด้านเศรษฐกิจ 2. ครูแจก - ด้านสงั คมและ - ใบคว ร่วมม วฒั นธรรม และค อาเซ - ใบคว ความ ในด้ า - ใบคว ความ และว 3. แบง่ กล เลือกศ แล้ วบนั 4. แตล่ ะก 5. ครูเเละ รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล กใบความร้ ู 2. ใบความร้ ู ท่ี 6 เร่ือง ความ 3. การสรุป ใบงาน วามร้ ูที่ 5 เรื่อง ความ ร่วมมือของอาเซยี นใน มือในด้ านการเมือง ด้ านเศรษฐกิจ ความมงั่ คงของ 3. ใบความร้ ู ที่ 7 เรื่อง ความ ซยี น ร่วมมือด้านสงั คมและ วามร้ ู ท่ี 6 เร่ือง วฒั นธรรม มร่วมมือของอาเซยี น 4. ใบงาน ท่ี 4 เร่ือง ความ านเศรษฐกิจ ร่วมมือของอาเซียนใน วามร้ ู ที่ 7 เรื่อง ด้านตา่ งๆ มร่วมมือด้านสงั คม 5. เวบ็ ไซต์ วฒั นธรรม ลมุ่ ผ้ เู รียน และให้ ศกึ ษากลมุ่ ละ 1 ด้าน นทกึ ลงใบงานท่ี 4 กลมุ่ นําเสนอ ะผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั ศกึ ษา หน้ า 17

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก 2.3 สรุปผลจากการ 2.3 ผลจากการประชมุ 1. ครูมอบ ประชมุ กลมุ่ อาเซียนในรอบปี ที่ ค้นคว้ า อาเซยี นในรอบปี ที่ ผา่ นมา อาเซียน ผา่ นมาได้ และบนั ท่ี 5 2.4 อธิบายและสรุป 2.4 ปัญหาและอปุ สรรค 2. ครูและผ ปัญหาและอปุ สรรค ท่ีสําคญั ของ ประเทศ ผลกระ ท่ีสาํ คญั ของ อาเซียน 1. ครูให้ ผ อาเซียนได้ ถึงปั ญ สาํ คญั ปั ญหา 2. ครูแจก ปั ญหา สําคญั ให้ ผ้ เู รีย รายวิชาเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล บหมายให้ แตล่ ะกลมุ่ 1. ใบงาน ที่ 5 เร่ือง สรุปผล 5 1. การสงั เกตจาก าเร่ืองการประชมุ การประชมุ อาเซียนในรอบ การมีสว่ นร่วม น ในรอบปี ที่ผา่ นมา ปี ที่ผา่ นมา 2. การนําเสนอ นทกึ ผลลงในใบงาน 2. เวบ็ ไซต์ ของกลมุ่ 3. การสรุป ผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั วา่ ใบงาน ศไทยได้ รับ ะทบอะไรบ้ าง ผ้ เู รียนร่วมกนั สนทนา 1. ใบความร้ ู ท่ี 8 เร่ือง 5 1. การสงั เกตจาก ญหาและอปุ สรรคที่ ปัญหาและอปุ สรรคท่ี การมีสว่ นร่วม ญของอาเซยี น วา่ มี สําคญั ของอาเซยี น 2. การนําเสนอ าอะไรบ้ าง 2. ใบงาน ที่ 6 เร่ือง ปัญหา ของกลมุ่ กใบความร้ ู ท่ี 8 เรื่อง และอปุ สรรคที่สาํ คญั ของ 3. การสรุป าและอปุ สรรคท่ี อาเซียน ใบงาน ญของอาเซยี น 3. เว็บไซต์ ยนศกึ ษา ศกึ ษา หน้ า 18

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 3 ประชาคม 3.1 บอกความหมาย 3.1 ความหมายและ 3. ผ้ เู รียนบ วตั ถปุ ระสงค์ของ ใบงาน เศรษฐกิจ และวตั ถปุ ระสงค์ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) 4. ครูและผ อาเซียน ของประชาคม ปั ญหา 3.2 เป้ าหมายของ วา่ จะม (ASEAN เศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ อยา่ งไร อาเซยี น (AEC) Economic (AEC) ได้ 1. ครูพดู ค เศรษฐ Communit) 3.2 อธิบายเป้ าหมาย หมายถ ยกตวั อ : AEC ของประชาคม ลงทนุ การตล เศรษฐกิจอาเซยี น 2. ครูสอบ (AEC) ได้ ประกอ ท่ีเก่ียว กลา่ วม รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล บนั ทกึ ลงใน 1. ใบความร้ ู ที่ 9 เรื่อง 3 1. การสงั เกตจาก นที่ 8 ความหมายและ การมีสว่ นร่วม วตั ถปุ ระสงค์ของ ผ้ เู รียนร่วมกนั สรุปถึง ประชาคมเศรษฐกิจ 2. การนําเสนอ าและวเิ คราะห์ร่วมกนั อาเซียน (AEC) ของกลมุ่ มีเเนวทางเเก้ ไข ร 2. ใบความร้ ู ที่ 10 เรื่อง 3. การสรุป คยุ ถึงประชาคม เป้ าหมายของประชาคม ใบงาน ฐกิจอาเซียน วา่ เศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ถงึ อะไร โดย อยา่ งเรื่อง ของการ 3. เวบ็ ไซต์ การผลติ การขนสง่ ลาด เเละการบริการ บถามผ้ เู รียนถงึ การ อบอาชีพวา่ มีใครบ้าง วข้ องกบั เรื่องท่ีครู มา ศกึ ษา หน้ า 19

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กิจก 3.3 อธิบายแนวทางการ 3.3 แนวทางการ 3. ครูกบั ผ ความห ดาํ เนินงานเพอื่ ดําเนินงานเพอ่ื และ เป ประชา นําไปสกู่ ารเป็ น นําไปสกู่ ารเป็ น อาเซียน ใบควา (AEC) ได้ AEC ความห ประสง เศรษฐ และใบ เป้ าหม เศรษฐ 1. ครูสนท สถานก ทางกา อาเซียน ประเทศ รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล ผ้ เู รียนร่วมกนั สรุปถงึ หมายวตั ถปุ ระสงค์ 1. ใบงาน ที่ 7 เร่ือง แนว 12 1. การสงั เกตจาก ป้ าหมายของ ทางการแก้ ไขผลผลติ การมีสว่ นร่วม าคมเศรษฐกิจ ทางการเกษตร น พร้ อมกบั แจก 2. การนําเสนอ ามร้ ู ท่ี 9 เรื่อง 2. ใบความร้ ู ที่ 11 เรื่อง แนว ของกลมุ่ หมายและวตั ถุ ทางการดําเนนิ งานเพ่ือ งค์ของประชาคม 3. การสรุป ฐกิจอาเซยี น (AEC) บความร้ ู ที่10 เรื่อง มายของประชาคม ฐกิจอาเซยี น (AEC) ทนากบั ผ้ เู รียนถงึ การณ์การผลติ สนิ ค้า ารเกษตรในกลมุ่ นที่เหมอื นกบั ศไทย เชน่ ข้ าว ศกึ ษา หน้ า 20

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 2. ร่วมกนั แนวทา แก้ ไขเพ เวทีการ สง่ ออก 3. ครูแจก แนวทา ทางกา 4. ครูสรุป ทงั ้ แจก เรื่อง แ ดําเนิน เป็ น AE รายวชิ าเลือก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล 3. เวบ็ ไซต์ นวเิ คราะห์และหา างการพฒั นาและ พ่ือให้ สามารถนําไปสู่ รแขง่ ขนั ทางด้านการ ก กใบงาน ที่ 7 เรื่อง างการแก้ ไขผลผลติ ารเกษตร ปร่วมกบั ผ้ เู รียนพร้ อม กใบความร้ ู ท่ี 11 แนวทางการ นงานเพื่อนําไปสกู่ าร EC ศกึ ษา หน้ า 21

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 4 การกําเนิด 3.4 บอกประโยชน์ที่ 3.4 ประโยชน์ที่ประเทศ 1. ครูและ การจดั ตงั ้ ประโย เขตการ ประเทศไทยได้ รับ ไทยได้ รับจากการ ได้ รับจ การค้ าเสรี ประชา จากการเข้ าร่วม เข้ าร่วมประชาคม อาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ เศรษฐกิจอาเซยี น 2. ครูมอบ ศกึ ษาค อาเซียน (AEC) ได้ (AEC) ลงในใบ 4.1 บอกประวตั คิ วาม 4.1 ความหมาย ความ 3. ครูแจก เป็ นมา ความ สําคญั และ เรื่อง ป สาํ คญั และวตั ถุ วตั ถปุ ระสงค์ของ ไทยได้ ประสงค์ของ AFTA AFTA ประชา อาเซยี น 1. ครูมอบ ค้นคว้ า ความส และปร รายวิชาเลือก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล ะผ้ เู รียนสนทนาถึง 1. การสงั เกต ยชน์ท่ีประเทศไทยจะ 1. ใบความร้ ู ที่ 12 เรื่อง 5 จากการมี จากการเข้ าร่วม ประโยชน์ท่ีประเทศไทย สว่ นร่วม าคมเศรษฐกิจ ได้รับจากการเข้ าร่วม 20 2. การนําเสนอ ประชาคมเศรษฐกิจ ของกลมุ่ น (AEC) อาเซยี น (AEC) 3. การสรุป บหมายให้ ผ้ เู รียน ใบงาน ค้นคว้ าเพมิ่ เตมิ สรุป 2. ใบงาน ที่ 8 เรื่อง ประโยชน์ บงานที่ 8 ที่ประเทศไทยจะได้ รับจาก 1. การสงั เกตจาก การเข้ าร่วมประชาคม การมีสว่ นร่วม ใบความร้ ู ท่ี 12 เศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) ประโยชน์ท่ีประเทศ 2. การนําเสนอ ดรับจากการเข้ าร่วม 3. เว็บไซต์ ของกลมุ่ าคมเศรษฐกิจ 1. ใบความร้ ู ที่ 13ประวตั ิ น (AEC) ความเป็ นมา วตั ถปุ ระสงค์ บหมายให้ ผ้ เู รียน และประโยชน์ที่ไทยได้ รับ าหาความหมาย จากการเข้ าร่วม AFTA สาํ คญั วตั ถปุ ระสงค์ ระโยชน์ของ AFTA ที่ ศกึ ษา หน้ า 22

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 4.2 ประโยชน์ที่ประเทศ 4.2 เห็นคณุ คา่ และ ไทยได้รับจากการ 2. ให้ ผ้ เู รีย ประโยชน์ที่ประเทศ เข้ าร่วมเขตการค้า ค้นคว้ า ไทยเข้ าร่วมเขต เสรีอาเซยี น (AFTA) 3. ครูกบั ผ การค้าเสรี (AFTA) และเเจ เร่ืองปร วตั ถปุ ร ท่ีไทยไ AFTA 5 ประโยชน์ท่ี 5.1 มีความร้ ูความ 5.1 ทิศทางสงั คมไทยตอ่ 1. ครูพดู ค ประเทศไทย เข้ าใจในทิศทาง การเปลย่ี นแปลงสู่ ทิศทาง ได้ รับในการ สงั คมไทยตอ่ การ สงั คมอาเซยี นใน สงั คมไ เป็ นสมาชิก เปลี่ยนแปลงสู่ ด้ าน เป็ นอา ของกลมุ่ สงั คมอาเซยี นใน - ความร่วมมอื ทาง 2. ครูให้ ผ้ เู อาเซียน ด้านตา่ งๆ การเมือง และทํา - ความร่วมมือทาง ท่ี 10 เศรษฐกิจ รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล ยนรายงานผลการ 3. การสรุป า 2. ใบงานท่ี 9 เร่ือง ผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั ความหมาย ความสาํ คญั ใบงาน จกใบความร้ ู ท่ี 13 วตั ถปุ ระสงค์และ ระวตั คิ วามเป็ นมา ประโยชน์ของ (AFTA) ตอ่ ระสงค์ และประโยชน์ ไทย ได้รับจากการเข้ าร่วม 3. เวบ็ ไซต์ คยุ กบั ผ้ เู รียนถงึ 1. ใบงาน ท่ี 10 เร่ือง 15 1. การสงั เกตจาก งการเปลี่ยนของ ทิศทางการเปลีย่ นแปลง การมีสว่ นร่วม ไทยในการเข้ าสกู่ าร ของสงั คมไทยตอ่ การเข้ าสู่ 2. การนําเสนอ าเซียนยคุ โลกาภวิ ตั น์ อาเซียน ของกลมุ่ เรียนศกึ ษาค้นคว้า 2.เอกสารความร้ ู 3. การสรุป ากิจกรรมตามใบงาน 3. เวบ็ ไซต์ ใบงาน ศกึ ษา หน้ า 23

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก 5.2 เห็นคณุ คา่ และ - ความร่วมมอื 3. ให้ ผ้ เู รีย ประโยชน์ท่ีประเทศ เฉพาะด้าน เชน่ แลกเป ไทยได้ รับจากการ แรงงาน เดก็ และ เข้ าร่วมกลมุ่ เยาวชน 4. ครูและผ อาเซียน ยาเสพตดิ ฯลฯ 1. ครูสนท 5.2 ประโยชน์ที่ประเทศ ประโย ไทยได้รับในการเป็ น ได้รับ อ สมาชิกของกลมุ่ กบั ประ อาเซยี น ในด้าน ด้ านตา่ ตา่ ง ๆ เชน่ - การแก้ ปัญหา 2. ให้ ผ้ เู รีย ความยากจน ใบงาน - การสง่ เสริมการ ท่องเท่ียว 3. ผ้ เู รียนน - การอนรุ ักษ์ 4. ครูและผ สง่ิ แวดล้อม - การแพร่ระบาด พร้ อมท 14 เร่ือ ประเทศ รายวชิ าเลอื ก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมนิ ผล ยนนําเสนอและ ปลยี่ นเรียนร้ ูร่วมกนั ผ้ เู รียนสรุปร่วมกนั ทนากบั ผ้ เู รียน ในเรื่อง 1. ใบงานท่ี 11 เร่ืองประโยชน์ 25 1. การสงั เกตจาก ยชน์ท่ีประเทศไทย ท่ีประเทศไทยได้ รับจาก การมีสว่ นร่วม อีกทงั ้ ผลกระทบท่ีเกิด การเข้ าร่วมกลมุ่ อาเซยี น 2. การนําเสนอ ะชาชนโดยตรง ใน 2. ใบความร้ ู ท่ี 14 เรื่อง ของกลมุ่ างๆ ประโยชน์ท่ีประเทศไทย 3. การสรุป ยนทํากิจกรรมตาม ได้รับจากการเข้ าร่วม ใบงาน นที่ 11 กลมุ่ อาเซยี น นําเสนอตอ่ กลมุ่ ใหญ่ 3. เว็บไซต์ ผ้ เู รียนร่วมกนั สรุป ทงั ้ แจกใบความร้ ู ที่ อง ประโยชน์ท่ี ศไทยได้ รับจากการ ศกึ ษา หน้ า 24

ท่ี หวั เร่ือง ตวั ชีว้ ัด เนือ้ หา กจิ ก หมายเหตุ - การแก้ ปัญหา การค้ ายาเสพตดิ - การจดั การการเกิด ภยั พบิ ตั ิ - การปกป้ องสทิ ธิ สตรี - การแก้ ปัญหาการ ก่อการร้ าย ข้ ามชาติ ครูท่ีจดั กิจกรรมการเรียนร้ ู สามารถจดั กิจกรรมการเรียนร้ ูเพมิ่ เตมิ ได - จดั ทําโครงการนิทรรศการฐานความร้ ู - เชิญวิทยากร/ผ้ รู ้ ู - ศกึ ษาดงู านในโรงเรียนประจําจงั หวดั ที่นําร่องการเรียนหลกั สตู รอ - ให้ ผ้ เู รียนศกึ ษาจากเอกสารและสอื่ ทกุ ประเภทในเวบ็ ไซต์ - ศกึ ษาจาก VCD ของกรมอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ - ศกึ ษาจากรายการโทรทศั น์ รายการ วิถีอาเซยี น (ASEAN Way) รายวิชาเลือก อาเซียนศ

กรรมการเรี ยนร้ ู ส่ือ / วัสดุ / อุปกรณ์ / จาํ นวน การวัด แหล่ งเรียนรู้ ช่ ัวโมง ประเมินผล ด้ตามความพร้ อมของแตล่ ะสถานศกึ ษา ดงั นี ้ อาเซยี นศกึ ษา ) จากไทยทีวีสชี ่อง 3 ทกุ วนั เสาร์ เวลาประมาณ 05.45 น. ศกึ ษา หน้ า 25

ใบความรู้ท่ี 1 ความเป็ นมา และวัตถุประสงค์ในการก่อตงั้ อาเซียน ใบความรู้ รายวชิ าเลือก อาเชียนศกึ ษา สาระการพฒั นาสงั คม ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ความเป็ นมาของอาเซียน อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations หรือ ASEAN) เป็ นองค์กรระหว่างประเทศระดบั ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มี จุดเร่ิมต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ได้ร่วมกนั จดั ตงั้ สมาคมอาสา (Association of South East Asia) ขึน้ เม่ือเดือนกรกฏาคม พ.ศ. 2504 เพ่ือการร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกิจ สงั คมและ วฒั นธรรม แตด่ ําเนินการได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยดุ ชะงกั ลง เนื่องจากความผกผนั ทางการเมืองระหว่าง ประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื น้ ฟสู มั พนั ธภาพระหว่างประเทศขนึ ้ จงึ ได้มีการ แสวงหาลทู่ างจดั ตงั้ องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจขนึ ้ ในภมู ิภาค สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ จึงก่อตงั้ ขึน้ เมื่อวนั ที่ 8 สิงหาคม 2510 หลงั จากการลงนามในปฎิญญาสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (Declaration of ASEAN Concord) หรือเป็ นท่ีรู้จกั กนั ในอีกช่ือหน่งึ ว่า ปฏิญญากรุงเทพ (The Bangkok Declaration) โดยสมาชิกผ้กู ่อตงั้ มี 5 ประเทศ ได้แก่ อินโดนิเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ สงิ คโปร์ และไทย ซง่ึ ผ้แู ทนทงั้ 5 ประเทศ ท่ีร่วมลงนามในปฏญิ ญากรุงเทพ ประกอบด้วย นายอาดมั มาลกิ รัฐมนตรีตา่ งประเทศอนิ โดนีเซีย ตนุ อบั ดลุ ราชกั บนิ ฮสุ เซน รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวง พฒั นาการแหง่ ชาตมิ าเลเซยี นายนาซโิ ซ รามอส รัฐมนตรีตา่ งประเทศฟิ ลปิ ปิ นส์ นายเอส ราชารัตนมั รัฐมนตรีตา่ งประเทศสงิ คโปร์ พนั เอก (พเิ ศษ) ถนดั คอมนั ตร์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ จากประเทศไทย หลงั จากจดั ตงั้ อาเซียนเม่ือ 8 สิงหาคม 2510 แล้ว อาเซียนได้เปิ ดรับสมาชิกใหมจ่ ากประเทศ ในภมู ภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้เพิ่มเตมิ เป็ นระยะ ตามลาํ ดบั ได้แก่ บรูไนดารุสซาลาม เข้าเป็ นสมาชิกเมื่อ 8 มกราคม 2527 สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม เข้าเป็ นสมาชิกเม่ือ 28 กรกฏาคม 2538 สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เข้าเป็ นสมาชิกเม่ือ 23 กรกฎาคม 2540 สหภาพพมา่ เข้าเป็ นสมาชิกเม่ือ 23 กรกฏาคม 2540 ราชอาณาจกั รกมั พชู า เข้าเป็ นสมาชิกเม่ือ 30 เมษายน 2542 รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 26

การเข้าร่วมเป็ นสมาชิกอาเซียนของประเทศสมาชิกใหม่เหล่านี ้ ทําให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ สอดคล้องกับปฎิญญาอาเชียน ซึ่งระบุว่า อาเซียน พร้ อมรับทุกประเทศท่ีอยู่ในภูมิภาคเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ ที่พร้ อมท่ีจะรับเป้ าหมาย หลกั การและ วตั ถปุ ระสงค์ขององค์กรเป็ นสมาชิก ภมู ิภาคอาเซียนในปัจจบุ นั (สถิตใิ นปี 2550) นนั้ ประกอบด้วยประชากรประมาณ 567 ล้านคน มีพืน้ ที่โดยรวม 4.5 ล้านตารางกิโลเมตร ผลิตภณั ฑ์มวลรวมประชาชาติประมาณ 1,100 พนั ล้าน ดอลลาร์ และรายได้โดยรวมจากการค้าประมาณ 1.4 ล้านล้านดอลลาร์ และมีสํานักเลขาธิการ อาเซียน (ASEAN Secretariat) เป็ นหน่วยประสานงานและอํานวยความสะดวกในการดําเนินการตาม นโยบายของผ้นู ําอาเซียนในด้านต่าง ๆ อํานวยความสะดวกในการประชุมของอาเซียนทุกระดบั เป็ น ฝ่ ายเลขานกุ ารในการประชมุ อาเซียน และเสนอแนะโครงการและกิจกรรมตา่ ง ๆ ของอาเซียน มีที่ตงั้ อยู่ ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ภาพแผนที่แสดงประเทศสมาชิกในภมู ิภาคอาเชียน สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้ าว สีเหลืองบนพืน้ สีแดง ล้อมรอบด้วยวงกลมสขี าว สนี ํา้ เงิน โดยมีความหมายดงั นี ้ - ต้นข้าว 10 ต้น หมายถงึ ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ - สเี หลอื ง หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรือง - สแี ดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวตั ิ - สขี าว หมายถงึ ความบริสทุ ธิ์ - สนี ํา้ เงิน หมายถึง สนั ตภิ าพเเละความมนั่ คง รายวิชาเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 27

วัตถุประสงค์ในการก่อตงั้ อาเซียน อาเซียน ก่อตงั้ ขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์เริ่มแรกเพื่อสร้ างสนั ติภาพในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออก เฉียงใต้ อันนํามาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และ วฒั นธรรม และเม่ือการค้าระหว่างประเทศในโลกมีแนวโน้มกีดกันการค้ารุนแรงขึน้ ทําให้อาเซียนได้ หนั มามงุ่ เน้นกระชบั และขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างกนั มากขนึ ้ วตั ถปุ ระสงค์หลกั ที่ กําหนดไว้ในปฏญิ ญาอาเซยี น (The ASEAN Declaration) มี 7 ประการ ดงั นี ้ 1. สง่ เสริมความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางสงั คมและวฒั นธรรม 2. สง่ เสริมการมีเสถียรภาพ สนั ตภิ าพและความมนั่ คงของภมู ภิ าค 3. สง่ เสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม วิชาการ วิทยาศาสตร์ และด้านการ บริหาร 4. สง่ เสริมความร่วมมือซง่ึ กนั และกนั ในการฝึกอบรมและการวิจยั 5. ส่งเสริมความร่วมมือในด้ านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม การค้า การคมนาคม การส่ือสาร และปรับปรุงมาตรฐานการดาํ รงชีวติ 6. สง่ เสริมการมีหลกั สตู รการศกึ ษาเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ 7. สง่ เสริมความร่วมมือกบั องค์กรระดบั ภมู ภิ าคและองค์กรระหวา่ งประเทศ อ้างอิง The Founding of ASEAN เว็บไซต์อยา่ งเป็นทางการของอาเซียน The Official Website of the Association of South East Asian Nations (http://www.aseansec.org) ข้อมูลท่วั ไปของอาเชยี น เวบ็ ไซต์กองอาเชียน กระทรวงตา่ งประเทศ (http://www.mfa.go.th/asean) มารู้จกั อาเซยี นกันเถอะ เอกสารเผยแพร่ออนไลน์ กรมอาเชียน กระทรวงการตา่ งประเทศ รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 28

ใบความรู้ท่ี 2 ประเทศสมาชกิ อาเซียนในปัจจุบัน ใบความรู้ รายวชิ าเลือก อาเชียนศกึ ษา สาระการพฒั นาสงั คม ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อาเซียน ในปั จจุบันประกอบด้ วย ภาพแผนที่แสดงพืน้ ท่ีประเทศในกลมุ่ สมาชิกประเทศในภมู ิภาคเอเซียตะวนั ออกเฉียงใต้ ASEAN จํานวน 10 ประเทศ มีประชากรรวมประมาณ 601 ล้านคน (ปี 2553) ประเทศสมาชิกประกอบด้วย สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ (ASEAN 6) ได้แก่ สมาชิกก่อตงั้ ตงั้ แตป่ ี 2510 จํานวน 5 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ฟิ ลปิ ปิ นส์ และประเทศซงึ่ เข้ามาเป็ นสมาชิก เม่ือปี 2527 คอื บรูไน สมาชิกอาเซียนใหม่ 4 ประเทศ (CLMV) ได้แก่ เวียดนาม เข้ามาเป็ นสมาชิกเม่ือปี 2538 พม่า ลาว เข้ามาเป็ นสมาชิก เม่ือปี 2540 และ กมั พชู า เข้ามาเป็ นสมาชิก เมื่อปี 2542 ข้อมลู พืน้ ฐานของประเทศสมาชิกอาเชียน มีดงั ตอ่ ไปนี ้ รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 29

1. ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ท่ีตงั้ ตัง้ อยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ ทิศตะวันออกติดกับ ประเทศลาวและกมั พชู า ทิศใต้ติดกบั อ่าวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวนั ตก ตดิ กบั ทะเลอนั ดามนั และประเทศพมา่ ทิศเหนือตดิ กบั ประเทศพมา่ และลาว พืน้ ท่ี 513,120 ตารางกิโลเมตร เป็ นอนั ดบั ท่ี 50 ของโลก เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok) ประชากร ประมาณ 67 ล้านคน (ปี 2553) เป็ นอนั ดบั ท่ี 19 ของโลก ภาษา ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ ศาสนา ประมาณร้ อยละ 95 นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามประมาณร้ อยละ 4 ศาสนาคริสต์และศาสนาอ่ืนประมาณร้อยละ 1 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยผา่ นระบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมขุ ประมขุ พระมหากษัตริย์ องค์ปัจจุบนั คือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ย เดช รัชกาลท่ี 9 แหง่ ราชวงค์จกั รี ผ้นู ํารัฐบาล นายกรัฐมนตรี ดาํ รงตาํ เเหนง่ วาระละ 4 ปี ปัจจบุ นั (พ.ศ. 2554) คือ นายอภสิ ทิ ธิ เวชชาชีวะ หนว่ ยเงินตรา บาท (Baht ) 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ประมาณ 29.37 บาท รายวชิ าเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 30

2. มาเลซยี (Malaysia) ท่ีตงั้ ตงั้ อยใู่ นเขตเส้นศนู ย์สตู ร ประกอบด้วยดนิ แดนสองสว่ น คอื - มาเลเซียตะวนั ตก ตงั้ อย่บู นคาบสมทุ รมลายู ทิศเหนือติดกบั ประเทศไทย และ ทิศใต้ตดิ กบั สงิ คโปร์ - มาเลเซียตะวนั ออก ตงั้ อยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมนั ตนั ) ทิศใต้ติดประเทศ อินโดนีเซยี และมีดนิ แดนล้อมรอบประเทศบรูไน พืน้ ที่ 330,803 ตารางกิโลเมตร เป็ นอนั ดบั ท่ี 66 ของโลก เมืองหลวง กรุงกวั ลาลมั เปอร์ (Kuala Lumpur) ประชากร ประมาณ 27.6 ล้านคน (ปี 2553) เป็ นอนั ดบั ท่ี 44 ของโลก ภาษา ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ ศาสนา อสิ ลาม ร้อยละ 60 พทุ ธ ร้อยละ 19 และคริสต์ ร้อยละ 12 การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ประมขุ สมเด็จพระราชาธิบดี เจ้าผ้ปู กครองรัฐผลดั เปลี่ยนกนั ขนึ ้ ดํารงตําแหน่ง วาระละ 5 ปี ปัจจบุ นั คือ สมเด็จพระราชาธิบดีอลั วาทิก ตวนกู มิซาน ไซนลั อิบนี อลั มาร์ฮมุ สุลต่านมะห์มูด อัลมุกดาฟี บิลลาห์ ซาห์ จากรัฐตรังกานู ทรงเป็ นสมเด็จ พระราชาธิบดีองค์ท่ี 13 ของมาเลเซยี ผ้นู ํารัฐบาล นายกรัฐมนตรี ปัจจุบนั (พ.ศ.2554) คือ ดาโต๊ะ ซรี มหู ์ฮมั มดั นาจิบ บิน ตนุ อบั ดลุ ราซกั หนว่ ยเงินตรา ริงกิต (1 ริงกิตประมาณ 10.22 บาท ) รายวิชาเลือก อาเซียนศกึ ษา หน้า 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook