รางวลั ชนะเลิศ ดานประชาชนทัว่ ไป นายแสนหม้นั อินทรไชยา การประกวดผลงานตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ประเภทบุคคล บานเลขที่ 27 หมู 1 บา นถอ นนาลบั ตําบลถอนนาลับ อําเภอบา นดุง จ.อดุ รธานี การดาํ เนิ ินชวี ิตตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง คือ การใชช ีวติ แบบพอมพี อกิน ไม สรา งความเดือดรอนใหค นอื่น มคี วามสุขกบั ชวี ิตท่ีเปน อยู มีนอ ยใชน อ ย มมี ากใช นอ ย รจู กั แบง ปนใหค นอ่นื ใชช ีวิตไมป ระมาท รอบคอบ รูจกั เก็บออม มีคุณธรรมใน การใชช ีวิต มเี หตุผล มีปญญาในการแกไขปญหาท่ีเกิดข้นึ เมือ่ เราพอเพยี งแลว สามารถชว ยเหลือผอู ืน่ ได ทําวันนีใ้ หด ีท่ีสุด ตงั้ มน่ั ในการทาํ งานไมวา จะเกดิ อะไรข้นึ
ชนะเลิศ ประเภททฤษฎีใหม นายจันทรที ประทุมภา เร่มิ ทํา : พ.ศ. 2541 เนอ้ื ท่ี : 22 ไร แรงงาน : ภายในครัวเรอื น 6 คน รายได : 343,596 บาท/ป รายจา ย : 30,360 บาท/ป หน้ีสิน : ไมมี เงนิ ออม : มี บัญชีฟารม : ทํา เหตุผล : เพ่อื ปฏบิ ัติตามแนวพระราชดาํ รใิ นหลวง เพือ่ แกปญ หาเศรษฐกจิ ครอบครวั
ชนะเลิศ ประเภทธรุ กจิ ขนาดยอ ม บริษัท นิธฟิ ดู ส จํากัด เปนบรษิ ัทผูผ ลติ สนิ คา แปรรปู ทางการเกษตร โดยมีประสบการณกวา 20 ป ในธุรกิจอุตสาหกรรมอาหาร กอ ตัง้ โดย นายกอบชยั ทวีเลศิ นิธิ และนายสรุ พล ทวีเลศิ นธิ ไิ ดน อ มนําแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไปปฏิบัติจริง โดยอาศัยการเรียนรขู องบคุ ลากรและผูบริหารองคกร รวมท้งั มกี ารชว ยเหลือสังคม ทั้งดา นการศกึ ษา งานประเพณที องถน่ิ และสาธารณะประโยชน
ชนะเลศิ ประเภทธุรกิจขนาดใหญ บ. ปูนซิเมนตไทย จก. (มหาชน) SCG ไดต ระหนักวาการบริหารแบบตะวันตก (Moderinization Management) ที่ใหค วามสําคัญเพยี งแตการเจรญิ เตบิ โตโดยปราศจากรากฐานท่ีเขม แขง็ การ หวังผลกาํ ไรในระยะสั้น การใชทรัพยากรการผลติ อยา งฟุมเฟอ ย สนิ้ เปลอื งโดย ปราศจากความรอบคอบในการวางแผนการใชท ี่ดี ทายที่สดุ แลวไมส ามารถปก ปองธุรกิจของตนเองได เมื่อเกดิ ภาวะวิกฤตข้ึน ตวั อยางท่ชี ดั เจน น่นั คือ การลด ขนาดธรุ กจิ ของ SCG ท่ีจากเดิม 10 กลุมเหลือเพยี ง 5 กลมุ พรอ มเงนิ กูสทุ ธิท่ี เพม่ิ สงู ขึน้ และผลกาํ ไรตดิ ลบจาํ นวนมหาศาล ในภาวการณดังกลาวน้เี อง SCG จึงได นอ มนาํ แนวพระราชดํารเิ ศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ ช โดยเบื้องตนไดนํามา ประยกุ ตใชเพอื่ ประคบั ประครองใหธ ุรกจิ อยูรอดและดาํ เนินตอไปไดในอนาคต
นองกวาง เดนิ ตามรอยพระมหาชนก เพราะเช่อื วาความเพยี รเปลีย่ นชีวติ เธอได นอ งกวาง ไดร บั คดั เลือกจาก สาํ นกั งานเกษตรจังหวดั บุรรี ัมย ใหเ ปน ประธานกลุม ยวุ เกษตรกร อาํ เภอบา นดาน ทําหนา ท่ี ใหคาํ ปรึกษาเรื่องการเกษตรในโรงเรยี น 6 ดาน คือ การเลย้ี งปลาดุกในบอซเี มนต กบ ไกไข หมแู มพ ันธุ เพาะถ่วั งอก และ เห็ดนางฟา และยงั ไดรบั เลือกจากเพ่ือนๆ ใหเปน ประธานสภาเด็กและเยาวชน ของตําบลปราสาทอกี ดว ย
นองเอก ท่ีพึง่ หนึ่งเดยี วของตายาย เอกราช ชุมสงิ ห หรอื นองเอก อายุ 16 ป จ.อาํ นาจเจรญิ เปนแกนนําเยาวชนทไ่ี ดร บั การอบรมเร่อื ง เศรษฐกจิ พอ เพยี ง และไดน ํามาทําอยา งจรงิ จงั ท่ีบาน มีทั้งบอเล้ยี งปลา เลย้ี งไก มไี ขไ กเหลือกิน จนตอ งเอาไปขายเพื่อนบา น เพอ่ื ชว ยแบง เบาคาใชจายของครอบครวั
พอเพยี งไดอ ยา งไรและ อยางไรจงึ เรียกไดวา พอเพียง นักศึกษามอื อาชีพ
การปฏบิ ตั ิตนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ ริ (สเุ มธ ตนั ติเวชกลุ ) 1. ยดึ ความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทกุ ดาน ลดละความฟุมเฟอ ยอยางจรงิ จงั ดัง พระราชดาํ รสั ท่วี า “ความเปนอยูท่ตี องไมฟ ุงเฟอ ตอ งประหยัดไปในทางถกู ตอ ง”
2. ประกอบอาชีพดวยความถกู ตอ งสจุ ริต แมในภาวะ ขาดแคลน ดงั พระราชดํารสั ท่ีวา “ความเจริญของคน ท้งั หลาย ยอ มเกดิ มาจากการประพฤติชอบและการหาเลย้ี ง ชพี ชอบเปนหลกั สําคัญ” 3. ละเลกิ การแกง แยง ผลประโยชนและการแขงขันกันใน ทางการคา อยางรนุ แรงดงั อดตี ดังพระราชดํารัสทว่ี า “ความสขุ ความเจรญิ อันแทจ ริงน้นั หมายถงึ ความสุขความ เจริญที่บคุ คลแสวงหาไดด วยความเปนธรรมทง้ั ในเจตนา และการกระทํา ไมใ ชไ ดมาดวยความบังเอิญหรอื ดว ยการ แกงแยงเบียดบงั มาจากผูอ ื่น”
4. ไมหยดุ น่งิ ท่ีจะหาทางใหช ีวติ หลดุ พน จากความ ทุกขย าก โดยตอ งขวนขวายใฝห าความรเู พอื่ ใหม ี รายไดเพิม่ ขึน้ จนถึงขัน้ พอเพยี ง ดังพระราชดํารสั ตอนหนึ่งทวี า “การที่ตอ งการใหทกุ คนพยายามท่ี จะหาความรแู ละสรางตนเองใหม ัน่ คงนเ้ี พ่อื ตนเอง เพื่อท่ีจะใหต วั เองมคี วามเปน อยูท่กี าวหนา ทีม่ ีค วามสขุ พอมพี อกนิ เปนขอหนึ่ง และขน้ั ตอไปกค็ ือ ใหม เี กยี รติวายนื ไดดวยตนเอง”
5. ปฏบิ ตั ติ นในแนวทางที่ดี ลดละสิง่ ชั่ว เนื่อง การลมสลายของสงั คมไทย เกิดจากการไรความ ละอายตอ แผนดิน ดงั พระราชทานพระบรม ราโชวาทวา “พยายามไมกอ ความชว่ั ใหเปน เครื่องทําลายตวั ทาํ ลายผอู ่นื พยายามลด พยายามละความช่วั ทต่ี วั เองมอี ยู พยายามกอ ความดใี หแกต วั เองอยเู สมอ พยายามรกั ษาและ เพมิ่ พนู ความดที ่มี ีอยูนั้นใหงอกงามสมบูรณข้นึ
การปฏิบัตติ นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดาํ ริดงั กลา วสอดคลองกับแนวทางพุทธ ศาสนา คือ อริยมรรค (หนทางแหงความพนทุกข) ซ่งึ เปน มัชฌมิ าปฏิปทา (ทางสายกลางอันประเสริฐ) ประกอบดวยองค 8 คือ
1. สัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ 2. สัมมาสังกปั ปะ การดําริชอบ 3. สมั มาวาจา การเจรจาชอบ 4. สมั มากัมมันตะ การงานชอบ 5. สมั มาอาชวี ะ การเลีย้ งชีพชอบ 6. สัมมาวายามะ ความเพียรชอบ 7. สัมมาสติ การระลึกชอบ 8. สัมมาสมาธิ การมจี ิตต้ังมน่ั ชอบ
กจิ กรรมประเมินผลการเรยี นรู ฝนของฉันในวนั ทพ่ี อเพยี ง - ใหนกั ศึกษาทาํ โครงการเพื่อสง เสริมแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งและการพฒั นาอยางยงั่ ยนื - จาํ นวนสมาชกิ ตอกลุมไมเกิน 5 คน - โพสตสงงานในกลุม Facebook
กจิ กรรมประเมนิ ผลการเรียนรู ฝนของฉันในวนั ที่พอเพยี ง การเตรียมการในชม.เรียน - เลอื กสมาชกิ กลมุ - กาํ หนดช่ือโครงการ - แนวทางการเขียนโครงการ
กจิ กรรมประเมนิ ผลการเรยี นรู ฝนของฉนั ในวนั ที่พอเพียง เอกสารออนไลน ตย.แนวคิดดานความพอเพยี ง ตย.โครงการดา นอาหาร ตย.โครงการพัฒนาอยา งยัง่ ยืน ตย.ไอเดีย พอแลวดี เปาหมายการพฒั นาอยางยงั่ ยืน
แบบทดสอบหลงั เรียน น.6 (เตรียมสอบใหญ)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169