Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore NSTEMI123

NSTEMI123

Published by Phatcharee P, 2022-08-16 01:10:14

Description: NSTEMI123

Search

Read the Text Version

NSTEMI Non-ST Segment Elevation Myocardial Infarction

Non-ST Segment Elevation Myocardial Infarctionv: NSTEMI ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ไม่พบการยกตัวของช่วง ST (ST segment) ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ร่วมกับพบค่าเอ็นไซม์การทำงานของหัวใจ ผิดปกติ บ่งบอกถึงการอุดตันของหลอดเลือดแดงหัวใจบางส่วน

Sign & Symptom อาการ และ อาการแสดง

Sign & Symptom Sign & Symptom รู้สึกแน่นและเจ็บหน้าอก ร่วมกับ แน่นรู้สึกเหมือนหัวใจถูกบีบหรือมีแรงดัน ◊ วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน จำนวนมากที่บริเวณกลางอกหรือที่อกข้างซ้าย ◊ เหงื่อออกขณะที่ร่างกายเย็น บางรายอาจรู้สึกเหมือนแสบร้อนกลางอก ◊ รู้สึกวิตกกังวลมากผิดปกติ ◊ ไอ หรือหายใจมีเสียง รู้สึกอึดอัดที่หน้าอกหรือลิ้นปี่ ◊ มีอาการเหนื่อยมากผิดปกติโดยไม่มีสาเหตุ แน่นแล่นไปตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย ท่อนบนด้านซ้าย ได้แก่ บริเวณกราม คอ หลังหน้าท้อง และแขน หายใจถี่ ๆ หายใจสั้นที่เกิดขึ้นจากความรู้สึกของตนเอง หรืออาจเกิดขึ้นขณะที่รู้สึกเจ็บและแน่นหน้าอก

Diagnosis การวินิจฉัย

การวินิจฉัย การซักประวัติ - เจ็บแน่นบริเวณกึ่งกลางหน้าอกและใต้กระดูกหน้าอก โดยรู้สึกจุกๆ แน่นๆ เหมือนถูกกดทับด้วยของหนัก หรือถูกเหยียบ - มีอาการนานกว่า 20 นาที ไม่สามารถบรรเทาด้วยการนอนพักและอมยาขยายหลอดเลือดไนโตรกลีเซอรีน - อาจมีอาการร่วม เช่น เหนื่อยมาก ใจสั่น คลื่นไส้ เวียนศีรษะ อาเจียน ท้องเสีย การตรวจร่างกายระบบหัวใจและหลอดเลือด - มีอาการหายใจตื้น เร็ว หรือหายใจลำบาก นอนราบไม่ได้ - ฟังเสียงหัวใจผิดปกติ เช่น เสียงฟู่หรืออัตราการเต้นของชีพจรเร็วหรือช้ากว่าปกติ

การวินิจฉัย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ - CBC พบ WBC เพิ่มขึ้น ระหว่าง 12,000 - 15,000 ลูกบาศก์มิลลิเมตร นาน 3 - 7 วันหลังเกิดอาการ - ESRจะสูงขึ้นอย่างช้าๆ แต่อยู่นานเกินกว่าสัปดาห์ - LDH ค่าปกติ 100-190 UL/L จะสูงสุดภายใน 3-5 วันหลังเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน - AST หรือ SGOT ค่าปกติ ช= 8-46 unit/L, ญ= 7-34 unit/Lจะสูงใน 6-8 ชม.และสูงสุดใน 24-48 ชม. การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiogram) - การตรวจหาความผิดปกติของหัวใจ

การวินิจฉัย การตรวจภาพรังสี (chest x-ray หรือ CXR) - การตรวจชนิดนี้จะปกติ ในบางรายอาจพบหัวใจโต (cardiomegaly) และภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonare edema) การตรวจหาคาร์ดิแอค โทรโปนินไอ (troponin I) และ โทรโพนินที (troponin T) - Troponin I ค่าปกติ 0 - 3.1 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร - Troponin T ค่าปกติ <14 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram: ECG) - จะพบช่วงเอสทีลดลง (STsegment depression) หรืออาจพบคลื่นทีหัวกลับร่วมด้วย

การวินิจฉัย การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Angiography) - การใส่สายสวนขนาดเล็กเข้าทางหลอดเลือดดำเข้าไปในหัวใจแล้วฉีดสารทึบรังสีและถ่ายภาพรังสี เพื่อดูตำแหน่งของหลอดเลือดแดงที่ตีบหรืออุดตัน การตรวจหาครีเอตินไคเนส-เอ็มบี (CK-MB) - ค่าปกติ 0.6 - 5.0 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร จะเริ่มสูงกว่าค่าปกติเมื่อเกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ไป 4 - 8 ชั่วโมง จะสูงสุดภายใน 24 ชั่วโมง

Complications ภาวะแทรกซ้อน

หัวใจเต้นผิดจังหวะ (Arrhythmia) ภาวะความดันโลหิตต่ำที่มีสาเหตุจาก หัวใจ (Cardiogenic Shock) เกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจเสียหาย หรือถูกทำลายเนื่องจากมีเลือดไปหล่อเลี้ยง เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถ ไม่เพียงพอ ส่งผลให้กระแสไฟฟ้าที่กระตุ้น สูบฉีดเลือดได้ การรักษาเบื้องต้นอาจใช้ยา การเต้นของหัวใจทำงานผิดปกติตามไปด้วย เพื่อเพิ่มความดันโลหิตและกระตุ้นการไหล เวียนของเลือดแต่ในระยะยาวจะต้องผ่าตัด หัวใจวาย (Heart Failure) ผนังกล้ามเนื้อหัวใจฉีกขาด (Heart Rupture) เมื่อหัวใจขาดเลือดและออกซิเจนไป หล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ กล้ามเนื้อหัวใจบาง รุนแรงมาก แต่พบได้ไม่บ่อย ส่วนจะเริ่มตาย และไม่สามารถสูบฉีดเลือด เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อหัวใจส่วนต่างๆ ไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายได้ เช่น ผนังกล้ามเนื้อหัวใจหรือลิ้นหัวใจ เกิดการปริ แตก ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้น ภายใน 1-5 วัน

Treatment การรักษา

การรักษา : การใช้ยา ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytics) : ช่วยละลายลิ่มเลือด Ex. Warfarin,Enoxaparin,Heparin ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) : ช่วยการป้องกันการเกิดลิ่มเลือดและป้องกันไม่ให้ลิ่มเลือด ใหญ่ขึ้น Ex. Aspirin,Plavix ยาระงับอาการปวด (analgesic) : ช่วยลดปวดสำหรับผู้ที่มีอาการแน่น/เจ็บหน้าอก Ex. Morphine ยาเอซีอีอินฮิบิเตอร์ (ACE Inhibitors) : ช่วยลดระดับความดันโลหิตและทำให้กล้ามเนื้อหัวใจ ทำงานได้ดีขึ้น Ex. Captopril,Enalapril ยาปิดกั้นการทำงานของเบต้า (Beta Blockers) : ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหัวใจ ลดความเร็ว ของอัตราการเต้นหัวใจ ลดความดันโลหิต Ex. Metoprolol,Atenolol ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilation) ยา Nitroglycerin : ช่วยทำให้หลอดเลือดที่ตีบ ขยายตัวมากขึ้น Ex. Isordil

การรักษา : ทางศัลยกรรม การขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (percutaneous transluminal coronary angioplasty: PTCA) หรือการขยายหลอดเลือดด้วยการใส่ขดลวด (percutaneous transluminal coronary intervention: PCI) เป็นการใส่สายสวนที่มีบอลลูนที่ยังแฟบติดอยู่ตรงปลาย เข้าไปยังหลอดเลือดบริเวณที่ตีบ หรืออุดตัน เมื่อสายสวนเข้าไปถึงจุดเป้าหมายจะมีการทำให้บอลลูนพองตัวไปดันไขมันที่อุดตัน อยู่ให้ไปชิดผนังหลอดเลือดเพื่อเปิดทางให้หลอดเลือดขยายออก การผ่าตัดบายพาสหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Bypass Surgery : CABG) เป็นการนำหลอดเลือดดำที่บริเวณขามาเชื่อมต่อกับหลอดเลือดหัวใจเพื่อ เบี่ยงทางไหลเวียนของเลือดข้ามส่วนที่ตีบหรืออุดตัน

กรณีศึกษา

ข้อมูลผู้ป่วย ข้อมูลทั่วไป หญิงไทย อายุ : 75 ปี สถานภาพสมรส : คู่ สิทธิ์การรักษา : ประกันสุขภาพ โรคประจำตัว : DM,DLP อาการสำคัญที่นำมาโรงพยาบาล เเน่นหน้าอก หายใจเหนื่อย 10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน 10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการหายใจเหนื่อยเป็นขึ้นทันทีหลังตื่นนอน หลังจากนั้นมีอาการแน่นหน้าอก Pain score = 6 ปวดแบบจี๊ดๆเสียวๆร้าวไปไหล่ขวา ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีเหงื่อออกใจสั่น จึงมารพ.

เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย พยาธิสภาพ อาการ อาการ 10 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล เริ่มมีอาการหายใจเหนื่อย รู้สึกแน่นและเจ็บหน้าอก รู้สึกอึดอัดที่หน้าอกหรือลิ้นปี่ เป็นขึ้นทันทีหลังตื่นนอน หลังจากนั้นมีอาการแน่นหน้าอก แน่นไปตามส่วนต่างๆของร่างกายท่อนบน หอบเหนื่อย Pain score = 6 ปวดแบบจี๊ดๆเสียวๆร้าวไปไหล่ขวา หายใจถี่ ร่วมกับอาการเวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ไอ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีเหงื่อออกใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น หรือหายใจมีเสียง

เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย พยาธิสภาพ การตรวจวินิจฉัย การตรวจวินิจฉัย Trop T : o hr = 27 , 1hr = 32 , 3 hr = 45 (66%) -Troponin T ค่าปกติ <14 นาโนกรัมต่อมิลลิลิตร EKG : Sinusbradycardia rate 58 bpm 1 degree -EKG จะพบช่วงเอสทีลดลง (STsegment AV block , + Q wave III AVF no ST change depression) หรืออาจพบคลื่นทีหัวกลับร่วมด้วย Echo : EF 65.4% Mild hypokinesia at anterior, -การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ (Coronary anterolateral,anteroseptal wall.Diastolic dysfunction Angiography gr.I Imp: CAD -การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง CXR : No congestion & No cardiomegaly (Echocardiogram) -CXRปกติ ในบางรายอาจพบหัวใจโต (cardiomegaly) และภาวะปอดบวมน้ำ (pulmonare edema)

เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย พยาธิสภาพ การรักษา การรักษา ASA(325) 1tab stat , plavix(75) 4tab stat ยาละลายลิ่มเลือด (Thrombolytics) : ช่วย + tramol 50 mg for pain ละลายลิ่มเลือด Medication ยาต้านเกล็ดเลือด (Antiplatelet) : ช่วยการ ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด ASA (81) 1x1 pc ยาระงับอาการปวด (analgesic) : ช่วยลดปวด Plavix (75) 1x1 pc สำหรับผู้ที่มีอาการแน่น/เจ็บหน้าอก Enoxa 0.6ml sc q 12 hr x7 day ยาเอซีอีอินฮิบิเตอร์ (ACE Inhibitors) : ช่วยลด Isodil (5) 1 tab SL prn for chest pain ระดับความดันโลหิตและทำให้กล้ามเนื้อหัวใจ Anpril (5) 1/2x2 pc ทำงานได้ดีขึ้น Biocalm (50) 1x3 pc

เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย พยาธิสภาพ การรักษา (ต่อ) การรักษา (ต่อ) ยาปิดกั้นการทำงานของเบต้า (Beta Blockers) : ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อหัวใจ ลดความเร็วของอัตรา การเต้นหัวใจ ลดความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilation) ยา Nitroglycerin : ช่วยทำให้หลอดเลือดที่ตีบขยายตัว มากขึ้น

เปรียบเทียบข้อมูล ข้อมูลผู้ป่วย พยาธิสภาพ การรักษา (ต่อ) การรักษา (ต่อ) Consult cardio การขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน (percutaneous - Echo : EF65.4% Imp. CAD transluminal coronary angioplasty: PTCA) - Suggest consult Intervention for CAG +/- หรือการขยายหลอดเลือดด้วยการใส่ขดลวด PCI (percutaneous transluminal coronary intervention: PCI) การผ่าตัดบายพาสหลอดเลือดหัวใจ (Coronary Artery Bypass Surgery : CABG

ข้อวินิจฉัย ทางการพยาบาล

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ผู้ป่วยอาจมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง ข้อมูลสนับสนุน 1. 2 วัน ขณะทำงานบ้านมีอาการเหนื่อย แน่นหน้าอก พักแล้วดีขึ้น 10 ชั่วโมงก่อนมาเริ่มมีหายใจเหนื่อยเพิ่มขึ้น เจ็บหน้าอกด้านขวา ปวดแบบจี๊ดๆร้าวไปไหล่ขวา pain score = 6/10 → →2. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ 1st degree AV block rate 55 bpm Q wave in III , aVF 3. troponin T ชั่วโมง 27 32 45 ng/ml 4. ผล Echo : EF = 65.4 % ,Imp : CAD

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ผู้ป่วยอาจมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยปลอดภัยจากการเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เกณฑ์การประเมินผล 1. EKG 12 lead: No ST change ≥2. ไม่มีอาการหอบเหนื่อย RR=12 - 20 bpm, HR= 60 - 100 bpm , BP= 90/60 - 140/80 mmHg , O2 95 % 3. ไม่มีอาการเจ็บหน้าอก ปวดไหล่และร้าวไปที่อื่น ระดับ pain score เท่ากับ 0

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ผู้ป่วยอาจมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง กิจกรรมการพยาบาล 1.ประเมินอาการ ได้แก่ อาการเจ็บแน่นหน้าอก ร้าวไปไหล่ แขน กราม สะบักและหลัง หากมีอาการควรทำ EKG 12 lead เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และประเมิน ความเจ็บปวดโดยใช้ pain score (0 - 10) 2.จัดท่านอนศีรษะสูง 30 - 45 องศา 3.จัดผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง อย่างน้อย 12 - 24 ชั่วโมงแรก 4.ประเมินสีผิว capillary refill time และระดับความรู้สึกตัว ทุก 2 - 4 ชั่วโมง 5. record I/O ทุก 8 hr

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ผู้ป่วยอาจมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง กิจกรรมการพยาบาล 6. ประเมินและบันทึก V/S ทุก 2 ชั่วโมง และถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก หรือปวดไหล่ ให้บันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อประเมินอาการผิดปกติ 7. ให้ยา enoxaparin (0.6) mg SC ทุก 12 hr 8. หากผู้ป่วยมีอาการเจ็บแน่นหน้าอก ให้ ยา isordil (5) 1 tab SL, วัด V/S หลังได้รับยาและ เฝ้าระวังผลข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้น เช่น hypotention , tachycardia เป็นต้น 9. ดูแลให้ยาต้านเกล็ดเลือด ได้แก่ ASA (81) 1x1 po pc , plavix (75) 1x1 po pc 10. ดูแลช่วยเหลือ ให้ผู้ป่วยพักผ่อนมากที่สุด และให้ยา lorazepam (1) 1 tab hs 11. ส่งปรึกษา CAG ± PCI

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1.ผู้ป่วยอาจมีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง การประเมินผล 1. คลื่นไฟฟ้าหัวใจ No ST change 2. สัญญาณชีพ RR = 20 bpm HR 75-90 bpm SBP = 88-95 mmHg DBP = 50-65 mmHg SpO2 = 97-99% 3. ไม่มีอาการปวดไหล่ทั้ง 2 ข้าง เจ็บแน่นหน้าอก ระดับ pain score เท่ากับ 0

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกตามร่างกาย เนื่องจากได้รับยาต้านเกล็ดเลือด และยาต้านการแข็งตัวของเลือด ข้อมูลสนับสนุน 1. ได้รับยา enoxaparin 0.6 mg SC ทุก 12 hr 2. ได้รับยา aspirin (81) 1 tab ๏ pc 3. ได้รับยา plavix (75) 1 tab ๏ pc

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกตามร่างกาย เนื่องจากได้รับยาต้านเกล็ดเลือด และยาต้านการแข็งตัวของเลือด วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะเลือดออกตามร่างกาย เกณฑ์การประเมินผล 1. ไม่มีจุดจ้ำเลือดตามร่างกาย ไรฟัน ผิวหนัง รอยฟกช้ำ บริเวณหน้าท้องที่ฉีดยา ไม่มีภาวะเลือดออก และไม่มีเลือดออกใต้ชั้นผิวหนัง 2. RR= 12 - 20 bpm , HR 60 - 100 bpm , BP= 90/60 - 140/80 mmHg

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกตามร่างกาย เนื่องจากได้รับยาต้านเกล็ดเลือด และยาต้านการแข็งตัวของเลือด กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินอาการแสดงของเลือดออกตามอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย 2. record V/S ทุก 2 - 4 ชั่วโมง 3. แนะนำและให้ความรู้เกี่ยวกับชื่อยา ฤทธิ์ วัตถุประสงค์ วิธีการใช้ ขนาด ปริมาณ จำนวนครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ ข้อควรระวัง ภาวะแทรกซ้อน ข้อห้าม เพื่อให้ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องยา ที่ได้รับอย่างละเอียด 4. ดูแลให้ยา enoxaparin 0.6 mg SC ทุก 12 hr

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกตามร่างกาย เนื่องจากได้รับยาต้านเกล็ดเลือด และยาต้านการแข็งตัวของเลือด กิจกรรมการพยาบาล 5. ดูแลให้ยา omeprazole (20) 1 tab ๏ ac 6. ดูแลรับประทานยา aspirin และ plavix พร้อมกับอาหารและดื่มน้ำตามมาก ๆ 7. ดูแลให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล หลีกเลี่ยงการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อหรือเจาะเลือด โดยไม่จำเป็น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 2.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกตามร่างกาย เนื่องจากได้รับยาต้านเกล็ดเลือด และยาต้านการแข็งตัวของเลือด การประเมินผล 1. ผู้ป่วยไม่มี petechiae, bleeding, hematoma 2. สัญญาณชีพ RR = 20 bpm ,HR 75-90 bpm , SBP = 88-95 mmHg, DBP = 50-65 mmHg

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.ผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลง ข้อมูลสนับสนุน 1. หลังผู้ป่วย admit BP 75/41 mmHg MAP = 51 mmHg 2. ผู้มีสีหน้าที่อิดโรย ดูอ่อนเพลีย

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.ผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลง วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยมีความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติและไ ม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากความดันโลหิตต่ำ เกณฑ์การประเมินผล ≥1. ค่า MAP 60 mmHg 2. ความดันโลหิต > 90/60 mmHg 3. ระดับความรู้สึกตัวดี ไม่มีซึม อ่อนเพลีย สีหน้าอิดโรย 4. ปริมาณปัสสาวะ 0.5-1ml/Kg/hr

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.ผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลง กิจกรรมการพยาบาล 1. วัดสัญญาณชีพ ทุก 2 ชั่วโมง 2. ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย ≥3. ดูแลให้ levophed (4:1)rate 5 ml/hr titate ทีละ 3 ml/hr ,Keep Map 60 mmHg และสังเกตผลข้างเคียงจากการได้รับยา ได้แก่ บริเวณที่ฉีดยา แสบ ระคายเคือง หัวใจเต้นช้าลง อ่อนแรง ริมฝีปาก หรือเล็บมือเปลี่ยนเป็นสีคล้ำ 4. record I/O 5. ดูแลจัดให้ผู้ป่วยในการทำกิจกรรมบนเตียง 6. ส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 3.ผู้ป่วยมีภาวะความดันโลหิตต่ำ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดไปเลี้ยงลดลง การประเมินผล 1. HR 75-90 bpm ,SBP = 88-95 mmHg, DBP = 50-65 mmHg , Map = 60 -66 mmHg 2. รู้สึกตัวดี ร่างกายอุ่น บริเวณที่ฉีดยาไม่เกิดการระคายเคือง 3. ปริมาณปัสสาวะ 400-600 ml/8 hr

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ผู้ป่วยขาดความรู้เรื่องการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด ข้อมูลสนับสนุน 1. ผู้ป่วยมีสีหน้ากังวล คิ้วขมวด 2. ผู้ป่วยสอบถามว่า “ยาที่รับประทานเป็นยาที่ช่วยอะไร” วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ผู้ป่วยขาดความรู้เรื่องการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด เกณฑ์การประเมินผล 1.ผู้ป่วยยอมรับการรับประทานยา aspirin, plavix 2.ผู้ป่วยเข้าใจความสำคัญ ประโยชน์และผลข้างเคียงของยา aspirin, plavix 3.สีหน้าคลายความกังวล สดชื่น ไม่มีคิ้วขมวด

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ผู้ป่วยขาดความรู้เรื่องการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้ป่วยจากการซักถาม การแสดงออก 2. ให้คำแนะนำความสำคัญของการรับประทานยา ประโยชน์ กลไกการออกฤทธิ์ ผลข้างเคียงของยา 3. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้พูดคุย ซักถามข้อสงสัยและรับฟังอย่างเข้าใจ 4. ดูแลและติดตามให้ผู้ป่วยได้รับประทานยาถูกต้องตามแผนการรักษา 5. ประเมินความเข้าใจของผู้ป่วยหลังได้รับคำแนะนำ 6. ติดตามและสังเกตอาการข้างเคียงที่อาจจะเกิดขึ้น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 4.ผู้ป่วยขาดความรู้เรื่องการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือด การประเมินผล 1. ผู้ป่วยสามารถตอบคำถามเรื่องยาที่รับประทานถูกต้องได้บางข้อ 2. ผู้ป่วยคลายความกังวล สีหน้าสดชื่น เข้าใจและยอมรับการรับประทานยา

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 5. ผู้ป่วยมีแบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะคุกคามของโรค และสิ่งแวดล้อมไม่คุ้นเคย ข้อมูลสนับสนุน 1. สีหน้าอิดโรย ท่าทางอ่อนเพลีย 2. ผู้ป่วยบอกว่านอนไม่หลับมา 2 วัน และเวลานอนต้องปิดไฟ

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 5. ผู้ป่วยมีแบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะคุกคามของโรค และสิ่งแวดล้อมไม่คุ้นเคย วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยพักผ่อนได้ เกณฑ์การประเมินผล 1. ผู้ป่วยสามารถนอนหลับได้อย่างต่อเนื่อง 4 - 6 ชั่วโมง 2. ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 5. ผู้ป่วยมีแบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะคุกคามของโรค และสิ่งแวดล้อมไม่คุ้นเคย กิจกรรมการพยาบาล 1. แนะนำสิ่งแวดล้อมและสภาพภายในหอผู้ป่วย ให้ผู้ป่วยเกิดความคุ้นเคย 2. ให้ผู้ป่วยบอกถึงสาเหตุของการนอนไม่เพียงพอ เพื่อประเมินและร่วมกันแก้ไข 3. จัดกิจกรรมการพยาบาลในเวลาเดียวกัน เพื่อลดการรบกวนผู้ป่วย 4. จัดสิ่งแวดล้อมให้ผ่อนคลาย ลดสิ่งกระตุ้น โดยดูแลความสะอาดภายในหอผู้ป่วยให้สะอาดอยู่ ตลอดเวลา ปิดไฟเมื่อถึงเวลานอน 5. ดูแลจัดท่านอนให้สุขสบายที่สุด 6. ให้ยา lorazepam (1) 1 tab ๏hs เพื่อให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเพียงพอ

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 5. ผู้ป่วยมีแบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลงเนื่องจากภาวะคุกคามของโรค และสิ่งแวดล้อมไม่คุ้นเคย การประเมินผล 1. นอนหลับได้ต่อเนื่อง 5 ชั่วโมง 2. สีหน้าสดชื่นขึ้น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 6. ผู้ป่วยอาจมีความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ข้อมูลสนับสนุน 1. ปวดไหล่ซ้าย PS = 6/10 นานกว่า 10 ชั่วโมง PTA 2. ช่วยเหลือตนเองได้น้อยลง บอกว่า “ไม่กล้าขยับร่างกายกลัวเจ็บหน้าอกอีก” 3. อ่อนเพลีย

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 6. ผู้ป่วยอาจมีความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด วัตถุประสงค์ 1. ผู้ป่วยสามารถทำกิจกรรมและดูแลกิจวัตรประจำวันตนเองได้ เกณฑ์การประเมินผล 1. สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ ขณะทำกิจกรรมไม่มีอาการหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก pain score เท่ากับ 0 2. RR=16 - 20 bpm 3. ขณะทำกิจกรรม HR จังหวะสม่ำเสมอ อัตราไม่เพิ่มขึ้นจากเดิม > 20 bpm, HR 60 - 100 bpm 4. สีหน้าสดชื่น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 6. ผู้ป่วยอาจมีความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินอาการหอบเหนื่อย อาการเจ็บแน่นหน้าอก ปวดไหล่ เพื่อประเมินความสามารถ และเตรียมความพร้อมก่อนการทำกิจกรรม 2. ประเมินอาการขณะผู้ป่วยทำกิจกรรมต่าง ๆ 3. ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวัน เพื่อลดการทำงานของหัวใจ 4. ดูแลให้ผู้ป่วยนอนพักผ่อนบนเตียง 5.record V/S ก่อนและหลังการทำกิจกรรม

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 6. ผู้ป่วยอาจมีความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เนื่องจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด การประเมินผล 1. ผู้ป่วยทำกิจวัตรประจำวันได้เองบนเตียง ไม่มีหอบเหนื่อย แน่นหน้าอกขณะทำกิจกรรม pain score เท่ากับ 0 วันต่อมาสามารถลุก เดินไปห้องน้ำได้ดี 2. ขณะทำกิจกรรม RR = 20 bpm 3. ขณะทำกิจกรรม HR = 75 bpm จังหวะสม่ำเสมอ 4. ผู้ป่วยสีหน้าสดชื่นขึ้น

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 7. ผู้ป่วยขาดความรู้ความเข้าใจ ก่อน - หลังการสวนหัวใจและหลอดเลือด ข้อมูลสนับสนุน 1. ผู้ป่วยสีหน้ากังวล 2. ผู้ป่วยและญาติ ถามว่า “ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง ปวดแผลมากไหม” วัตถุประสงค์ 1.ผู้ป่วยเข้าใจและมั่นใจในการปฏิบัติตัวก่อน - หลังการสวนหัวใจและหลอดเลือด ได้อย่างถูกต้อง

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 7. ผู้ป่วยขาดความรู้ความเข้าใจ ก่อน - หลังการสวนหัวใจและหลอดเลือด เกณฑ์การประเมินผล 1. สีหน้าสดชื่นขึ้น นอนหลับได้เพียงพอ 2. ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ ตอบคำถามและปฏิบัติตัวก่อน - หลัง การสวนหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง กิจกรรมการพยาบาล (ก่อนการสวนหัวใจและหลอดเลือด) 1. ส่งผู้ป่วยและครอบครัวพบเจ้าหน้าที่ที่ห้องปฏิบัติการสวนหัวใจและหลอดเลือด 2. เปิดโอกาสให้ผู้ป่วย ครอบครัวได้ซักถามข้อสงสัย พร้อมรับฟังอย่างเข้าใจ 3. ส่งตรวจและติดตามผลเลือดระบบภูมิคุ้มกันทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ anti HIV, HBsAg, anti HCV ก่อนเข้าทำการสวนหัวใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook