Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ITA Manual 2022 (v2)

ITA Manual 2022 (v2)

Published by Dab Techa, 2022-02-22 04:28:35

Description: ITA Manual 2022 (v2)

Search

Read the Text Version

INTEGRITY AND DECADE OF ITA TRANSPARENCY JOURNEY ASSESSMENT ทศวรรษแห่งการเดินทางของ คุณธรรมและความโปรง่ ใส Manual 2022 ค่มู ือการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงาน ของหน่วยงานภาครฐั ประจำ� ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ Office of the National Anti-Corruption Commission of Thailand



MANUAL 2022

สารบญั หน้า 6 เรอื่ ง 7 Integrity and Transparency Assessment 8 9 ความเปน็ มาและวตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน ITA 10 หลักการประเมินของ ITA 11 ความส�ำคัญของ ITA 12 ITA 2565 14 ITA 2565 15 กลไกขบั เคล่ือน ITA 2565 16 หน่วยงานภาครฐั ที่เขา้ รว่ ม ITA 2565 17 ปฏิทิน ITA 2565 18 ข้นั ตอนและรายละเอยี ด ITA 2565 20 ขนั้ ที่ 1 ลงทะเบียนเขา้ รว่ มการประเมิน 32 ขนั้ ที่ 2 ระบุขอ้ มูลผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย 40 ขนั้ ที่ 3 แบบวดั IIT 54 ขนั้ ที่ 4 แบบวดั EIT 55 ขนั้ ที่ 5 แบบวดั OIT 56 ผลการประเมิน ITA 2565 56 การค�ำนวณผลการประเมิน 58 ผลคะแนนและระดับผลการประเมิน 59 ผลตามเปา้ หมายตัวชวี้ ดั ของแผนแม่บทฯ ภาคผนวก หน่วยงานภาครฐั ที่เขา้ รว่ มการประเมนิ 4 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ค�ำน�ำ การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment) หรอื การประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 น้ัน นับเป็นปีที่ 10 ของการด�ำเนินการท่ีผ่านมา และเป็นปีที่ 5 ท่ีได้ปรบั เข้าสู่การประเมินในรูปแบบ ออนไลน์ อีกทั้งยังเป็นปีสุดท้ายของช่วงระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 - 2565) ของแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยในการขับเคล่ือน การประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นี้ยังเป็นการท�ำงานรว่ มกันของหน่วยงาน รว่ มก�ำกับติดตามท้ัง 5 หน่วยงาน ได้แก่ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น สำ� นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกิจ และสำ� นักงานปลัดกระทรวง การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมีหน่วยงานภาครฐั จ�ำนวน 8,303 แห่ง ท่ัวประเทศเข้ารว่ มการประเมิน กล่าวได้ว่าเป็นการประเมินด้านธรรมาภิบาลและการบรหิ าร จัดการภาครฐั ท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทยในปัจจุบัน สำ� หรบั รายละเอยี ดของการประเมนิ ITA ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 นั้น สำ� นักงาน ป.ป.ช. ได้ท�ำการศึกษา รวมรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เพ่ือสรุปเป็นรายละเอียด การประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และน�ำเสนอต่อคณะอนุกรรมการก�ำกับ และพัฒนาการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั คณะกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ตลอดจนคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพอ่ื พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ โดยรายละเอยี ดของการประเมนิ ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยังคงก�ำหนดกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานที่เชื่อมโยงและ ต่อเนื่องจากการประเมินในปีที่ผ่านมา เพ่ือให้หน่วยงานที่เข้ารว่ มการประเมินได้มีการพัฒนา การด�ำเนินงานตามกรอบและหลักเกณฑ์การประเมิน ITA ได้อย่างต่อเนื่อง การปรบั ปรุงพัฒนา ตนเองในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาสามารถส่งผลต่อผลการประเมินของหน่วยงานและสามารถ เปรยี บเทียบกับช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาได้อย่างชัดเจน คู่มือการประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณพ.ศ. 2565 ฉบับน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบาย รายละเอียดท่ีเก่ียวข้องกับการประเมิน ITAประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้หน่วยงาน ภาครฐั ทเ่ี ขา้ รว่ มการประเมนิ ได้ทำ� ความเขา้ ใจในรายละเอียดของการประเมนิ และใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการปรบั ปรุงพัฒนาการด�ำเนินงานของตนเองให้มีการบรหิ ารงานภาครฐั ท่ีมีประสิทธิภาพ มากยง่ิ ขนึ้ เกดิ ประโยชนต์ อ่ ประชาชนผรู้ บั บรกิ ารและตอ่ ประเทศมากยง่ิ ขน้ึ ดงั น้นั การประเมนิ ITA จึงเปรยี บเสมือนกรอบมาตรฐานด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใสของหน่วยงานภาครฐั ของ ประเทศไทยในปัจจุบัน สำ� นักประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ส�ำนักงาน ป.ป.ช. DECADE OF ITA JOURNEY 5

INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT 01 6 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ความเปน็ มาและวตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมนิ ITA การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั หรอื Integrity and Transparency Assessment หรอื ท่ีเรยี กว่าการประเมิน ITA ถือเป็นเครอ่ื งมือในการขับเคลื่อนนโยบายของรฐั เครอื่ งมือหนึ่ง โดยเปน็ เครอ่ื งมอื ในเชงิ บวกทมี่ งุ่ พฒั นาระบบราชการไทยในเชงิ สรา้ งสรรค์มากกวา่ มงุ่ จับผดิ เปรยี บเสมอื นเครอ่ื งมอื ตรวจสขุ ภาพองค์กรประจำ� ปี โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ใหห้ น่วยงานภาครฐั ทว่ั ประเทศได้รบั ทราบถึงสถานะและปญั หา การด�ำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใสขององค์กร ผลการประเมนิ ทไ่ี ด้จะช่วยให้หน่วยงานภาครฐั สามารถ น�ำไปใชใ้ นการปรบั ปรุงพฒั นาองค์กรใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั ิงาน การใหบ้ รกิ าร สามารถอำ� นวยความสะดวก และตอบสนองตอ่ ประชาชนไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ ซงึ่ ถอื เปน็ การยกระดบั มาตรฐานการดำ� เนินงานภาครฐั ดงั นั้น การประเมนิ ITA จงึ ไมไ่ ดเ้ ปน็ เพยี งการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสเพยี งเทา่ นน้ั แตย่ งั เปน็ การประเมนิ ประสทิ ธภิ าพการปฏบิ ตั งิ าน และการใหบ้ รกิ ารประชาชน เพอ่ื ใหท้ ราบถึงชอ่ งวา่ งของความไมเ่ ปน็ ธรรมและความด้อยประสทิ ธภิ าพ สำ� หรบั น�ำไป จัดท�ำแนวทางมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการทุจรติ และประพฤติมชิ อบในระบบราชการไทยต่อไป การประเมิน ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นับเป็นปีที่ 10 ของการด�ำเนินการที่ผ่านมา และเป็นปีที่ 5 ท่ีได้ปรบั เข้าสู่การประเมินในรูปแบบออนไลน์ อีกท้ังยังเป็นปีสุดท้ายของช่วงระยะที่ 1 (พ.ศ. 2561 – 2565) ของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเด็นการต่อต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ โดยมีหน่วยงานภาครฐั จำ� นวน 8,303 แหง่ ทว่ั ประเทศ เขา้ รว่ มการประเมนิ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ การประเมนิ ดา้ นธรรมาภบิ าลและการบรหิ ารจดั การ ภาครฐั ทม่ี ีขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ของประเทศไทยในปัจจุบัน การประเมิน ITA ถือเป็นเครอื่ งมือท่ีหน่วยงานภาครฐั ได้ส�ำรวจและประเมินตนเอง เพ่ือให้ได้รบั ทราบข้อมูล อันส่งผลให้เกิดความตระหนักและปรับปรุงการบริหารงานและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อประชาชน และให้ความส�ำคัญกับด้านคุณธรรมและความโปรง่ ใสขององค์กรตนเองมากย่ิงขึ้น นอกจากนี้ การประเมิน ITAยังส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงและพัฒนาการของหน่วยงานภาครฐั ในทางปฏิบัติ อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งความต่ืนตัวและหันมาให้ความสนใจต่อการพัฒนาแฟลตฟอรม์ อิเล็กทรอนิกส์ ของตนเองให้ทนั สมยั และน่าสนใจมากขน้ึ ทส่ี ำ� คัญคือสง่ ผลให้หน่วยงานมกี ารจัดการขอ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งเปน็ ระบบ ระเบียบและเตรยี มความพรอ้ มในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะให้ได้รบั ทราบและส่งเสรมิ ให้เกิดการตรวจสอบ อีกด้วย นอกจากนี้ ในด้านของประชาชนและสงั คมไทยแล้ว การประเมิน ITA ถือเปน็ เครอื่ งมอื ทท่ี กุ คนจะได้มสี ่วนรว่ ม ในการสะทอ้ นความคดิ เหน็ เพอ่ื น�ำไปสพู่ ฒั นาการบรหิ ารงานภาครฐั เพอื่ ใหป้ ระชาชนคนไทยไดร้ บั บรกิ ารจากภาครฐั ท่ีดีข้ึนและยังส่งผลให้ประชาชนและสาธารณชนมีโอกาสได้มีส่วนรว่ มก�ำกับติดตามและตรวจสอบการด�ำเนินงาน ของภาครฐั ได้มากข้นึ อีกด้วย DECADE OF ITA JOURNEY 7

หลักการประเมนิ ของ ITA หลักการพื้นฐานของการประเมนิ ITA เพื่อใหส้ ามารถสะท้อนคณุ ธรรม และความโปรง่ ใสของหน่วยงานภาครฐั การประเมนิ ITA เปน็ เครอื่ งมอื ทคี่ �ำนึงถึงการเก็บขอ้ มลู อยา่ งรอบด้านและหลากหลายมติ ิ การก�ำหนดระเบยี บวธิ ี การประเมินผลท่ีเป็นไปตามหลักการทางวิชาการเพ่ือให้ผลการประเมินสามารถสะท้อนสุขภาวะขององค์กรในด้าน คุณธรรมและความโปรง่ ใสได้อยา่ งแทจ้ รงิ โดยมีการเก็บขอ้ มูลจาก 3 ส่วน ดังน้ี IIT ส่วนที่ 1 : แบบวดั การรบั รขู้ องผู้มีส่วนได้ ตัวชวี้ ดั ที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ส่วนเสียภายใน (Internal Intergrity ตัวชวี้ ดั ที่ 2 การใชง้ บประมาณ and Tranparency Assessment) ตัวชวี้ ดั ที่ 3 การใชอ้ ำ� นาจ หรอื แบบวดั IIT ตัวชวี้ ดั ที่ 4 การใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ โดยเปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรภาครฐั ทกุ ระดับ ตัวชวี้ ดั ที่ 5 การแก้ไขปั ญหาการทุจรติ ที่ปฏิบตั ิงานมาไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี ได้มโี อกาส สะท้อนและแสดงความคิดเหน็ ต่อคณุ ธรรม และความโปรง่ ใสของหน่วยงานตนเอง EIT ส่วนที่ 2 : แบบวดั การรบั รผู้ ู้มีส่วนได้ ตัวชวี้ ดั ที่ 6 คณุ ภาพการด�ำเนินงาน ส่วนเสียภายนอก (External Integrity ตัวชวี้ ดั ที่ 7 ประสิทธภิ าพการสื่อสาร and Transparency Assessment) ตัวชวี้ ดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ ระบบการท�ำงาน หรอื แบบวดั EIT โดยเปดิ โอกาสใหผ้ ู้รบั บรกิ ารหรอื ผู้ติดต่อ ตัวชวี้ ดั ที่ 9 การเปดิ เผยขอ้ มูล หน่วยงานภาครฐั ในชว่ งปงี บประมาณ • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.1 ขอ้ มูลพื้นฐาน พ.ศ. 2565 ได้มโี อกาสสะท้อนและ • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.2 การบรหิ ารงาน แสดงความคิดเหน็ ต่อการด�ำเนินงาน • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.3 การบรหิ ารเงนิ ของหน่วยงานภาครฐั งบประมาณ OIT สว่ นที่ 3 : แบบวดั การเปดิ เผยขอ้ มลู สาธารณะ • ตัวชวี้ ดั ยอ่ ยที่ 9.4 การบรหิ าร (Open Data Integrity and Transparency Assessment) หรอื แบบวดั OIT และพัฒนาทรพั ยากรบุคคล เปน็ การตรวจสอบระดับการเปดิ เผยขอ้ มูล • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.5 การส่งเสรมิ ของหน่วยงานภาครฐั ที่เผยแพรไ่ ว้ ทางหน้าเวบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงาน ความโปรง่ ใส และ การจดั การเรอื่ งรอ้ ง เรยี นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ ตัวชวี้ ดั ที่ 10 การปอ้ งกันการทุจรติ • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 10.1 การด�ำเนินการ เพื่อปอ้ งกันการทจุ รติ • ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 10.2 มาตรการภายใน เพื่อปอ้ งกันการทจุ รติ 8 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ความส�ำคัญของ ITA การประเมนิ ITA ได้รบั การใหค้ วามส�ำคัญในระดับประเทศ จากการถกู ก�ำหนดเปน็ เปา้ หมายของนโยบายและแผนงานระดับประเทศ แผนแม่บทภายใต้ แผนการปฏิรปู ประเทศ ยุทธศาสตรช์ าติประเด็น ด้านการป้องกันและ การต่อต้านการทุจรติ และ ปราบปรามการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ ประพฤติมชิ อบ (ฉบบั ปรบั ปรงุ เดือน (พ.ศ. 2561 – 2580) กันยายน 2563) “หนว่ ยงานทีเ่ ขา้ รว่ มการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ในการดำ� เนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั มผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ (คะแนน 85 คะแนนข้นึ ไป) จำ� นวนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 80” แผนบูรณาการต่อต้าน แผนปฏิบตั ิการด้าน การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบระยะที่ 1 ประจำ� ปงี บประมาณ (พ.ศ. 2563 – 2565) พ.ศ. 2565 DECADE OF ITA JOURNEY 9

ITA 2565 02 10 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

2 ITA 2565 การประเมนิ ITA ในปี 2565 มอี ะไรเปลีย่ นแปลงจากปที ี่ผ่านมา การประเมนิ ITA ประจ�ำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ยงั คงก�ำหนดกรอบแนวทางในการด�ำเนินงานทเ่ี ชื่อมโยงและ ตอ่ เนอ่ื งจากการประเมนิ ในปที ผ่ี า่ นมา เพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานทเี่ ขา้ รว่ มการประเมนิ ไดม้ กี ารพฒั นาการดำ� เนนิ งานตามกรอบ และหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ITAไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งการปรบั ปรงุ พฒั นาตนเองในชว่ งระยะเวลาทผ่ี า่ นมาสามารถสง่ ผลตอ่ ผลการประเมนิ ของหนว่ ยงานและสามารถแสดงใหเ้ หน็ ถงึ พฒั นาของของแตล่ ะหนว่ ยงานเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ชว่ งระยะ เวลาท่ีผ่านมาได้อยา่ งชดั เจน อย่างไรก็ตาม การประเมนิ ITA ในปีน้ีมีการปรบั เปลี่ยนทสี่ ำ� คัญบางประการ ได้แก่ การปรับกลไกด�ำเนินการประเมิน ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จะเป็นหน่วยเก็บข้อมูลและ ประเมนิ ผลหลกั โดยกำ� กบั ตดิ ตามและใหค้ ำ� แนะนำ� รว่ มกบั หนว่ ยงานกำ� กบั ตดิ ตามการประเมนิ ไดแ้ ก่ สำ� นักงาน ป.ป.ท. สำ� นักงานคณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกจิ สำ� นักงานปลดั กระทรวง การอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและนวตั กรรม และกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถิ่น การปรับระยะเวลาในบางข้ันตอน การเพ่ิมระยะเวลาของการเปิดโอกาสให้บุคลากร ภาครฐั และประชาชนผู้รบั บรกิ ารจากภาครฐั ได้เข้ามามีส่วนรว่ มในการสะท้อนความคิดเห็น เพอื่ พัฒนาการบรหิ ารงานภาครฐั ให้ดียิ่งขึน้ การปรบั ประเดน็ การประเมนิ ในแบบวดั OIT บางขอ้ ความรว่ มมือระหว่างสำ� นักงาน ป.ป.ช. และส�ำนักงาน ป.ป.ท. ในการขับเคลื่อนนโยบายไม่รับของขวัญ (No Gift Policy) และปรบั องค์ประกอบของการตรวจประเมินในบางขอ้ ให้มคี วามชัดเจนมากยิง่ ข้นึ DECADE OF ITA JOURNEY 11

กลไกขบั เคล่ือน ITA 2565 กลไกส�ำคัญและหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งในการประเมนิ ITA 2565 กลไกอำ� นวยการประเมิน ได้แก่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั คณะอนุกรรมการก�ำกับและพัฒนาการประเมนิ คณุ ธรรมและ ความโปรง่ ใสในการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั และส�ำนักงาน ป.ป.ช. จะเปน็ หน่วยงานศูนยก์ ลาง และด�ำเนินการทางนโยบายที่เกีย่ วขอ้ งกับการประเมนิ ในภาพรวม รวมไปถึงหลักการและหลักเกณฑต์ ่าง ๆ การก�ำกับติดตามการประเมนิ และการด�ำเนินการต่อผลการประเมนิ กลไกก�ำกับติดตามการประเมิน ได้แก่ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. ส�ำนักงานคณะกรรมการนโยบาย รฐั วสิ าหกิจ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม และกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ทัง้ ในระดับส่วนกลางและในระดับพื้นที่ จะมบี ทบาทในการรว่ มก�ำหนดแนวทางและ รว่ มก�ำกับติดตามการประเมนิ รวมไปถึงการประสานงานในระหวา่ งกระบวนการต่าง ๆ ในการประเมนิ แก่หน่วยงานภายใต้การก�ำกับดแู ลของตนเอง กลไกด�ำเนินการประเมิน ได้แก่ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มบี ทบาทหน้าที่ในการด�ำเนินกระบวนการต่าง ๆ ในการประเมนิ เชน่ ด�ำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล การตรวจสอบและใหค้ ะแนนตามแบบส�ำรวจที่ก�ำหนด รวมไปถึง มบี ทบาทในการใหค้ �ำปรกึ ษาแก่หน่วยงานที่เขา้ รบั การประเมนิ ทัง้ ในด้านกระบวนการประเมนิ และในด้านเนื้อหาในการประเมนิ โดยจำ� แนกบทบาทหน้าที่ในการด�ำเนินการประเมนิ ดังนี้ ส�ำนักงาน ส�ำนักงาน หน่วยงาน ป.ป.ช. ภาค ป.ป.ช. ภาครฐั ในจงั หวดั ประจำ� จงั หวดั ส�ำนักงาน หน่วยงาน ป.ป.ช. ภาครฐั ส่วนกลาง ในส่วนกลาง 12 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

DECADE OF ITA JOURNEY 13

หน่วยงานภาครฐั ที่เขา้ รว่ ม ITA 2565 การประเมนิ ITA เปน็ การประเมนิ หน่วยงานภาครฐั ทกุ หน่วยงานและทัว่ ประเทศ การประเมนิ ITA ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 มหี น่วยงานภาครฐั ที่เขา้ รว่ มการประเมนิ มจี ำ� นวนรวมทัง้ สิ้น 8,303 หน่วยงาน ดังนี้ รัฐน่ธวรรยมง ูนาญนขน่อวยงงหรัา ่นนฐวขสยองงภารัานฐขสอภงาศาล รัฐธรรม ูนญ ห ่นวยงานของศาล ห องคก์ ารบรหิ ารส่วนองจเคทงั ก์ ศหารบวบรดาั หิ ลารเสม่วือนจเงทงั ศหบวดาั ลเมจืองัสงห่ววนดั รจางัสชห่วกวนดั ราารชรกเะาทดรศรับเะทบดกศับารบกลมารนลมนคครร เทศบาลตําบล องคก์ ารบรหิ าร องคอ์กงาคร์มกหาารชนมหาหชน่วนยงานหขน่องวรัยฐงอื่หนา ่นวๆนยขงรัาอฐนวิงขสอารังหฐอกิจงอื่หค์นก ่นรอิวๆสยระงตรัาามฐนวิขสอางหอกิจงหค์กรอิสระตาม ส่วนตําบล เทศบาลตําบล องคก์ ารบรหิ าร ส่วนตําบล ส ถาบันอดุ มถาศบันึกอษดุ มาศึกอษงาคอก์งครก์ ปรปกกคครรอองงสส่วน่วทน้อทงถ้อิน่ งรถปู แิน่ บรบพปู ิเแศษบบพหนิเว่ ศยงษาน ของอัยการ ส ของอัยการ กองทุน หนว่ ยงาน กองทุน หน่วยงานของรฐั สภา 3 หน่วยงาน สถาบนั อดุ มศึกษา 86 หน่วยงาน หน่วยงานของศาล 3 หน่วยงาน จงั หวดั 76 หน่วยงาน หน่วยงานของหรนฐั ่วสยงภาานข3องหองนค่วก์ ยรองสิ ารนะตามรฐั ธรรมนูญ 5 หน่วยงาน องคก์ สาถรบารบหิ านั รอส่วดุ นมจงัศหึกวดัษ7า68ห6น่วหยงนา่วนยงาน หน่วยงานของอยั การ 1 หน่วยงาน เทศบาลนคร 30 หน่วยงาน หน่วยงานของสศ่วานลราช3กาหรนระ่วดยับกงรามน146 หน่วยงาน เทศบจาลงั เมหอื วงดั 19756หนห่วนยง่วายนงาน เทศบอาลงตคําบก์ ลา2ร,บ24ร7หิ หานร่วสย่วงานนจงั หวดั 76 หน่วยงาน หน่วยงานของอองงคคก์ าก์ รมรหอาสิ ชนระ5ต7าหมน่วรยฐั งธานรรมนูญ 5 หน่วยงาน องคก์ เาทรศบรบหิ าารลสน่วนคตรําบ3ล05,ห30น0่วหยนง่วายงนาน หน่วยงานของรอฐั ยัวสิ กาาหรกิจ151หหนน่ว่วยยงงาานน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นรปู แบบพิเศษ 2 หน่วยงาน หน่วยงานของรฐั อนื่ ๆ 18 หน่วยงาน เทศบาลเมอื ง 195 หน่วยงาน ส่วนราชการระกดอับงทกนุ ร7มห1น่ว4ย6งานหน่วยงาน เทศบาลตําบล 2,247 หน่วยงาน องคก์ ารมหาชน 57 หน่วยงาน องคก์ ารบรหิ ารส่วนตําบล 5,300 หน่วยงาน รฐั วสิ าหกิจ 51 หน่วยงาน องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นรปู แบบพิเศษ 2 หน่วยงาน 14 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022 หน่วยงานของรฐั อนื่ ๆ 18 หน่วยงาน



















ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี i6 บคุ ลากรในหนว่ ยงานของทา่ น มกี ารใหส้ ิง่ ดงั ต่อไปนี้ แกบ่ คุ คลภายนอกหรอื ภาคเอกชน เพือ่ สรา้ งความสัมพันธท์ ดี่ แี ละคาดหวงั ใหม้ กี ารตอบแทนในอนาคต หรอื ไม่ • เงนิ • ทรพั ยส์ ิน • ประโยชน์อื่น ๆ เชน่ การยกเว้นค่าบรกิ าร การอ�ำนวยความสะดวก เปน็ กรณีพิเศษ เปน็ ต้น ตัวชวี้ ดั ที่ 2 การใชง้ บประมาณ เปน็ ตวั ชวี้ ดั ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ประเมนิ การรบั รขู้ องบคุ ลากรภายในหนว่ ยงานตอ่ การดำ� เนนิ การตา่ งๆของหนว่ ยงาน ของตนเอง ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินงบประมาณ นับตั้งแต่การจัดท�ำแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจ�ำปีและเผยแพรอ่ ย่างโปรง่ ใส ไปจนถึงลักษณะการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ และไม่เอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรอื พวกพ้อง การเบิกจ่ายเงินของบุคลากรภายในในเรอื่ งต่าง ๆ เชน่ ค่าทำ� งานล่วงเวลา ค่าวสั ดอุ ุปกรณ์ หรอื ค่าเดินทาง ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดซอ้ื จัดจ้างและการตรวจรบั พสั ดดุ ้วย นอกจากน้ี ยังให้ความสำ� คัญกับการเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนรว่ มในการตรวจสอบการใช้จ่าย งบประมาณของหน่วยงานตนเองได้ ตัวชวี้ ดั ที่ 2 การใชง้ บประมาณ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 6 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i7 ท่านรเู้ กีย่ วกับแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจำ� ปี ของหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด i8 หน่วยงานของท่าน ใชจ้ า่ ยงบประมาณ โดยค�ำนึงถึง หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก ประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด • คุ้มค่าต่อผลประโยชน์ทไี่ ด้รบั • เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ของงบประมาณที่ตั้งไว้ 24 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i9 หน่วยงานของท่าน ใชจ้ า่ ยงบประมาณเพื่อประโยชน์ ส่วนตัว กล่มุ หรอื พวกพ้อง มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i10 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มกี ารเบกิ จา่ ยเงนิ ที่เปน็ เท็จ เชน่ ค่าท�ำงานล่วงเวลา ค่าวสั ดอุ ปุ กรณ์ หรอื ค่าเดินทาง ฯลฯ มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อย มาก i11 หนว่ ยงานของทา่ น มกี ารจดั ซอื้ จดั จา้ ง/การจดั หาพัสดุ น้อยที่สุด มากที่สุด และการตรวจรบั พสั ดใุ นลกั ษณะดงั ตอ่ ไปนี้ มากนอ้ ยเพยี งใด หรอื ไมม่ เี ลย • โปรง่ ใส ตรวจสอบได้ • เอื้อประโยชน์ให้ผ้ปู ระกอบการรายใดรายหนึ่ง ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด i12 หน่วยงานของท่าน เปดิ โอกาสใหท้ ่าน มสี ่วนรว่ ม หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก ในการตรวจสอบการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ตามประเด็น ดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด • สอบถาม • ทักท้วง • รอ้ งเรยี น DECADE OF ITA JOURNEY 25

ตัวชวี้ ดั ที่ 3 การใชอ้ ำ� นาจ เปน็ ตวั ชว้ี ดั ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประเมนิ การรบั รูข้ องบคุ ลากรภายในหนว่ ยงานตอ่ การใชอ้ �ำนาจของผบู้ งั คบั บญั ชา ของตนเอง ในประเด็นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการมอบหมายงานการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน การคัดเลือกบุคลากรเพ่อื ให้ สทิ ธปิ ระโยชนต์ า่ ง ๆ ซงึ่ จะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งเปน็ ธรรมและไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ รวมไปถงึ การใชอ้ ำ� นาจสง่ั การใหผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชา ทำ� ในธุระสว่ นตัวของผบู้ งั คับบญั ชาหรอื ทำ� ในสง่ิ ทไ่ี มถ่ กู ต้อง นอกจากนี้ ยงั ประเมนิ เก่ียวกับกระบวนการบรหิ ารงาน บุคคลทีอ่ าจเกิดการแทรกแซงจากผู้มีอ�ำนาจ การซ้ือขายต�ำแหน่ง หรอื การเอ้ือผลประโยชน์ให้กลุ่มหรอื พวกพอ้ ง ตัวชวี้ ดั ที่ 3 การใชอ้ ำ� นาจ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 6 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i13 ท่านได้รบั มอบหมายงานตามต�ำแหน่งหน้าที่ จากผู้บงั คับบญั ชาอยา่ งเปน็ ธรรม มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i14 ท่านได้รบั การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน จากผู้บงั คับบญั ชาอย่างเปน็ ธรรม มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i15 ผู้บงั คับบญั ชาของท่าน มกี ารคัดเลือกผู้เขา้ รบั การฝึกอบรม การศึกษาดงู าน หรอื การใหท้ นุ การศึกษา อย่างเปน็ ธรรม มากน้อยเพียงใด 26 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i16 ท่านเคยถกู ผู้บงั คับบญั ชาสัง่ การใหท้ �ำธรุ ะส่วนตัว ของผู้บงั คับบญั ชา มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i17 ท่านเคยถกู ผู้บงั คับบญั ชาสัง่ การใหท้ �ำในสิ่งที่ไม่ ถกู ต้อง หรอื มคี วามเสี่ยงต่อการทจุ รติ มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด i18 การบรหิ ารงานบุคคลของหน่วยงานของท่าน หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก มลี ักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด • ถูกแทรกแซงจากผมู้ อี �ำนาจ • มีการซ้อื ขายต�ำแหน่ง • เอ้ือประโยชน์ให้กลุ่มหรอื พวกพ้อง DECADE OF ITA JOURNEY 27

ตัวชวี้ ดั ที่ 4 การใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรบั รูข้ องบุคลากรภายในหน่วยงานต่อการใช้ทรพั ย์สินของราชการ ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากรภายใน ในการน�ำทรพั ย์สินของราชการของหน่วยงานไปเป็นของ ตนเองหรอื น�ำไปให้ผอู้ ่ืน และพฤติกรรมในการขอยมื ทรพั ยส์ นิ ของราชการ ทัง้ การยมื โดยบุคลากรภายในหน่วยงาน และการยืมโดยบุคคลภายนอกหน่วยงาน ซ่งึ หน่วยงานจะต้องมกี ระบวนการในการขออนุญาตที่ชดั เจนและสะดวก นอกจากน้ี หน่วยงานจะต้องมกี ารจัดทำ� แนวทางปฏิบตั ิเกี่ยวกับการใช้ทรพั ยส์ ินของราชการท่ีถูกต้อง เพอ่ื เผยแพร่ ให้บุคลากรภายในได้รบั ทราบและน�ำไปปฏิบัติ รวมไปถึงหน่วยงานจะต้องมีการก�ำกับดูแลและตรวจสอบการใช้ ทรพั ยส์ ินของราชการของหน่วยงานด้วย ตัวชวี้ ดั ที่ 4 การใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 6 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i19 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มกี ารเอาทรพั ยส์ ิน ของราชการ ไปเปน็ ของส่วนตัว หรอื น�ำไปใหก้ ล่มุ หรอื พวกพ้อง มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i20 ขนั้ ตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรพั ยส์ ินของราชการ ไปใชป้ ฏิบตั ิงานในหน่วยงานของท่าน มคี วามสะดวก มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i21 ถ้าต้องมกี ารขอยมื ทรพั ยส์ ินของราชการไปใชป้ ฏิบตั ิ งาน บุคลากรในหน่วยงานของท่านมกี ารขออนุญาต อย่างถกู ต้อง มากน้อยเพียงใด 28 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i22 บุคคลภายนอกหรอื ภาคเอกชน มกี ารน�ำทรพั ยส์ ิน ของราชการไปใช้ โดยไมไ่ ด้ขออนุญาตอยา่ งถกู ต้อง จากหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i23 ท่านรแู้ นวปฏิบตั ิของหน่วยงานของท่าน เกีย่ วกับ การใชท้ รพั ยส์ ินของราชการที่ถกู ต้อง มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i24 หน่วยงานของท่าน มกี ารก�ำกับดแู ลและตรวจสอบ การใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ เพื่อปอ้ งกันไมใ่ หม้ กี ารน�ำไป ใชป้ ระโยชนส์ ่วนตัว กล่มุ หรอื พวกพ้อง มากน้อยเพียงใด DECADE OF ITA JOURNEY 29

ตัวชวี้ ดั ที่ 5 การแก้ไขปั ญหาการทุจรติ เปน็ ตวั ชวี้ ดั ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ประเมนิ การรบั รขู้ องบคุ ลากรภายในหนว่ ยงานตอ่ การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ ของหนว่ ยงาน ในประเดน็ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การใหค้ วามสำ� คญั ของผบู้ รหิ ารสงู สดุ ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ อยา่ งจรงิ จงั โดยหนว่ ยงานจะตอ้ ง ทบทวนนโยบายทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การปอ้ งกนั การทจุ รติ ในหนว่ ยงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและจดั ทำ� แผนงานดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ของหนว่ ยงานเพอื่ ใหเ้ กดิ การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ ไดอ้ ยา่ งเปน็ รปู ธรรมรวมไปถงึ การประเมนิ เกย่ี วกบั ประสทิ ธภิ าพการแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ ของหนว่ ยงานทจี่ ะตอ้ งทำ� ใหก้ ารทจุ รติ ในหนว่ ยงานลดลงหรอื ไมม่ เี ลย และจะตอ้ งสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ใหบ้ คุ ลากรภายใน ในการรอ้ งเรยี นเมอื่ พบเหน็ การทจุ รติ ภายในหนว่ ยงานดว้ ย นอกจากน้ี หน่วยงานจะต้องมกี ระบวนการเฝา้ ระวงั ตรวจสอบการทจุ รติ ภายในหน่วยงาน รวมถึงการน�ำผลการตรวจสอบของ ฝ่ายตรวจสอบ จากทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงานไปปรบั ปรุงการท�ำงาน เพื่อป้องกันการทจุ รติ ตัวชวี้ ดั ที่ 5 การแก้ไขปญั หาการทุจรติ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 6 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i25 ผู้บรหิ ารสูงสุดของหน่วยงานของท่าน ใหค้ วามส�ำคัญ กับการต่อต้านการทจุ รติ มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี i26 หน่วยงานของท่าน มกี ารด�ำเนินการ ดังต่อไปนี้ หรอื ไม่ • ทบทวนนโยบายหรอื มาตรการปอ้ งกันการทุจรติ ในหน่วยงานให้มี ประสิทธภิ าพ • จัดทำ� แผนงานด้านการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ ของหน่วยงาน ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i27 หน่วยงานของท่านมปี ญั หาการทจุ รติ ที่ยงั ไมไ่ ด้รบั การแก้ไข มากน้อยเพียงใด 30 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i28 หน่วยงานของท่าน มกี ารด�ำเนินการดังต่อไปนี้ ต่อการทจุ รติ ในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด • เผา้ ระวังการทจุ รติ • ตรวจสอบการทุจรติ • ลงโทษทางวินัย เม่อื มีการทุจรติ หมายเหตุ: หากหน่วยงานของทา่ นไมม่ กี ารทจุ รติ จึงทำ� ให้ไมม่ กี ารลงโทษทางวินัย ให้ตอบ \"มากทส่ี ดุ \" ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i29 หน่วยงานของท่าน มกี ารน�ำผลการตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงาน ไปปรบั ปรงุ การท�ำงาน เพื่อปอ้ งกันการทจุ รติ ในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด หมายเหตุ: ฝา่ ยตรวจสอบภายใน หมายถึง ส่วนงานตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ฝา่ ยตรวจสอบภายนอก หมายถึง หน่วยงานทีม่ อี �ำนาจ หน้าทต่ี รวจสอบการด�ำเนินงานของหน่วยงานภาครฐั เชน่ สำ� นักงานการตรวจเงนิ แผ่นดิน สำ� นักงาน ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ท. เปน็ ต้น ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก i30 หากท่านพบเหน็ แนวโน้มการทจุ รติ ที่จะเกิดข้นึ ในหน่วยงานของท่าน ท่านมคี วามคิดเหน็ ต่อประเด็น ดังต่อไปนี้ อย่างไร • สามารถรอ้ งเรยี นและส่งหลักฐานได้อยา่ งสะดวก • สามารถติดตามผลการรอ้ งเรยี นได้ • มน่ั ใจวา่ จะมกี ารด�ำเนินการอยา่ งตรงไปตรงมา • มนั่ ใจวา่ จะปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อตนเอง DECADE OF ITA JOURNEY 31

ขนั้ ที่ 4 แบบวดั EIT แบบวดั EIT เปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ รู้ บั บรกิ ารหรอื ผตู้ ดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงานภาครฐั ไดส้ ะทอ้ นประสิทธภิ าพภาครฐั แบบวดั EIT แบบวดั การรบั รขู้ องผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT) เป็นแบบวดั ที่ให้ผู้ตอบเลือกตัวเลือกค�ำตอบตามการรบั รขู้ องตนเอง โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก โดยเปน็ การประเมนิ ระดบั การรบั รขู้ องผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอกทมี่ ตี อ่ หนว่ ยงานทปี่ ระเมนิ ใน 3 ตวั ชวี้ ดั ไดแ้ ก่ ตวั ชวี้ ดั คณุ ภาพการดำ� เนนิ งาน ตัวชวี้ ดั ประสิทธภิ าพการสื่อสาร และตัวชวี้ ดั การปรบั ปรงุ ระบบการท�ำงาน กล่มุ ตัวอย่างของแบบวดั EIT จำ� นวนกล่มุ ตัวอยา่ งขนั้ ต่ำ� หมายถึง จำ� นวนน้อยที่สุดที่จะต้องมผี ู้ตอบแบบวดั ใหไ้ ด้ครบถ้วน เพื่อใหม้ ี ขอ้ มูลทีเ่ พียงพอส�ำหรบั การประมวลผลคะแนนจากแบบวดั ได้ อยา่ งไรกต็ าม ระบบไมไ่ ด้จำ� กัดจำ� นวนผตู้ อบเพียงจำ� นวนขนั้ ต่ำ� เท่านนั้ หนว่ ย งานจงึ สามารถเชญิ ชวนใหม้ ผี ู้เขา้ มามสี ่วนรว่ มตอบแบบวดั ได้มากที่สุด กลมุ่ ตัวอยา่ งขนั้ ต่ำ� ของผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอก ก�ำหนดจำ� นวนรอ้ ยละ 10 ของประมาณการจำ� นวนผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกทัง้ หมด แต่จะต้องมจี ำ� นวนไมน่ ้อยกวา่ 30 คน กรณีหน่วยงานมผี ู้มสี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกจำ� นวนน้อยกวา่ 30 คน ใหเ้ ก็บขอ้ มูลจากผู้มสี ่วนได้ ส่วนเสียภายนอกทัง้ หมด กรณีหน่วยงานมผี ู้มสี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกจำ� นวนมากกวา่ 4,000 คน ใหเ้ ก็บขอ้ มูลจากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกไมน่ ้อยกวา่ 400 คน โดยระบบ ITAS จะค�ำนวณจำ� นวนกล่มุ ตัวอย่างขนั้ ต่�ำของแต่ละหน่วยงานโดยอตั โนมตั ิ วธิ กี ารเก็บข้อมลู แบบวดั EIT แอดมนิ สง่ เสรมิ ใหผ้ รู้ บั บรกิ ารหรอื ผมู้ าตดิ ตอ่ งาน ตามภารกิจให้เขา้ มามีสว่ นรว่ มสะทอ้ นความ คดิ เหน็ ตอ่ การด�ำเนินงานของหน่วยงานได้ โดยด�ำเนินการ ดังนี้ • เขา้ สู่เวบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th • เขา้ สู่เมนู กล่องขอ้ ความ (mail box) บรเิ วณมุมขวาบนของหน้าแรกในระบบ ITAS • คัดลอก QR code หรอื URL ชอ่ งทาง การเขา้ ตอบแบบวดั EIT หน่วยงาน น�ำ URL หรอื QR code ไปเผยแพร่ แ ล ะ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ แ ก่ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ภายนอกของหน่วยงาน โดยหน่วยงานควร ค�ำนึงถึงช่องทางการเผยแพร่ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกจะสามารถเขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งสะดวกและคำ� นึงถงึ ก า ร เ ผ ย แพ ร่ใ ห้ ค ร อ บ ค ลุ ม ท่ั ว ถึ ง ทุ ก ส่ ว น ง า น แ ล ะ ทุกภารกิจของหน่วยงาน จากน้ัน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายนอกจะเข้ามาตอบแบบวัด EIT ด้วยตนเอง ผ่านทาง URL หรือ QR code ซึ่งจะเป็นการตอบ เขา้ สูร่ ะบบ ITAS โดยตรง 32 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ระบบจะค�ำนวณจ�ำนวนกลุ่มตัวอย่างข้ันต่�ำ โดยอัตโนมัติ จากจ�ำนวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ภายในตามทห่ี น่วยงานระบุไว้ และหน่วยงาน สามารถกำ� กบั ตดิ ตามจำ� นวนของผเู้ ขา้ ตอบแบบวดั EIT โดยด�ำเนินการ ดังนี้ • เขา้ สู่เมนู ติดตามสถานะ • เขา้ สู่เมนู รายละเอยี ดสถานการณต์ อบ แบบวดั การรบั รู้ ค�ำอธบิ ายเพิ่มเติม • หน่วยงานมีบทบาทในการประชาสัมพันธแ์ ละส่งเสรมิ ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้ามาตอบตามระยะเวลาที่ก�ำหนดให้ได้มากที่สุด เท่าที่สามารถด�ำเนินการได้ • ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จะมบี ทบาทหลักในการก�ำกับติดตามและการเก็บรวบรวมขอ้ มูลแบบวดั EIT ของหน่วยงาน โดยจะมกี ารสุ่มคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างตามหลักสถิติ และเก็บข้อมูลจากรายชื่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกตามที่หน่วยงานน�ำเข้าข้อมูลไว้ในระบบ ITAS ทัง้ นี้ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. อาจขอรบั ขอ้ มูลรายชอื่ และชอ่ งทางการติดต่อผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียภายนอกเพิ่มเติม หรอื อาจขอเขา้ เก็บรวบรวม ขอ้ มูลภาคสนามที่หน่วยงาน หรอื แหล่งขอ้ มูลตามที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ก�ำหนด โดยจะเก็บรวบรวมขอ้ มูลให้ได้ไม่น้อยกวา่ จำ� นวนกลุ่ม ตัวอย่างขนั้ ต่�ำตามที่ก�ำหนดและมลี ักษณะความเปน็ ตัวแทนที่ดีมากที่สุด • นอกจากนี้ ผรู้ บั บรกิ ารหรอื ผทู้ เี่ คยตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงานกส็ ามารถเขา้ รว่ มสะทอ้ นความคดิ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเองโดยตรงทางระบบ ITAS อกี ดว้ ย DECADE OF ITA JOURNEY 33

ตัวชวี้ ดั และขอ้ ค�ำถามของแบบวดั EIT ตัวชวี้ ดั ที่ 6 คณุ ภาพการด�ำเนินงาน เปน็ ตัวชว้ี ดั ทมี่ วี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ประเมนิ การรบั รูข้ องผรู้ บั บรกิ าร ผมู้ าติดต่อ หรอื ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ของหน่วยงาน ต่อการคณุ ภาพการด�ำเนินงาน ในประเด็นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับการปฏิบตั ิหน้าท่ขี องเจ้าหน้าท่ี โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขน้ั ตอน และระยะเวลาทก่ี �ำหนดไวอ้ ยา่ งเครง่ ครดั และจะต้องเปน็ ไปอยา่ งเทา่ เทยี มกันไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ รวมถึงจะต้อง ใหข้ อ้ มลู เกยี่ วกบั การดำ� เนนิ การ/ใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานแกร่ บั บรกิ าร ผมู้ าตดิ ตอ่ หรอื ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี อยา่ งตรงไป ตรงมาไม่ปดิ บงั หรอื บดิ เบอื นข้อมูล ซ่ึงสะทอ้ นถึงการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคณุ ธรรม และยังประเมินการรบั รูเ้ ก่ียวกับ ประสบการณ์ตรงในการถูกเจ้าหน้าท่ีเรยี กรบั เงิน ทรพั ย์สิน หรอื ประโยชน์อ่ืน ๆ เพ่ือแลกกับการปฏิบัติหน้าที่ด้วย นอกจากน้ี ยงั ประเมนิ การรบั รูเ้ กยี่ วกบั การบรหิ ารงานและการดำ� เนนิ งานในภาพรวมของหนว่ ยงาน ทจ่ี ะตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ประโยชน์ของประชาชนและสว่ นรวมเปน็ หลัก ไมม่ กี ารเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรอื กล่มุ ใดกล่มุ หน่ึง ตัวชวี้ ดั ที่ 6 คณุ ภาพการด�ำเนินงาน ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 5 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน ระดับ น้อย มาก e1 เจา้ หน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบตั ิงาน/ น้อยที่สุด มากที่สุด ใหบ้ รกิ ารแก่ท่าน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด หรอื ไมม่ เี ลย • เปน็ ไปตามขัน้ ตอนท่ีก�ำหนด • เป็นไปตามระยะเวลาทก่ี �ำหนด ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e2 เจา้ หน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบตั ิงาน/ ใหบ้ รกิ ารแกท่ า่ น กบั ผมู้ าตดิ ต่อคนอนื่ ๆ อยา่ งเทา่ เทยี มกนั มากน้อยเพียงใด 34 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e3 เจา้ หน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารปดิ บงั หรอื บดิ เบอื นขอ้ มูลเกีย่ วกับการด�ำเนินการ/ใหบ้ รกิ ารแก่ท่าน มากน้อยเพียงใด ประเด็นการประเมิน ระดับ e4 ในระยะเวลา 1 ปที ี่ผ่านมา ท่านเคยถกู เจา้ หน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ มี ไมม่ ี รอ้ งขอใหจ้ า่ ยหรอื ใหส้ ิ่งดังต่อไปนี้ เพื่อแลกกับการปฏิบตั ิงาน การอนุมตั ิ อนุญาต หรอื ใหบ้ รกิ าร หรอื ไม่ • เงนิ • ทรพั ยส์ ิน • ประโยชน์อ่ืน ๆ ที่อาจค�ำนวณเป็นเงนิ ได้ เช่น การลดราคา การให้ความบันเทงิ เปน็ ต้น หมายเหต:ุ เปน็ การให้ทีน่ อกเหนือจากทีก่ ฎหมายก�ำหนด เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าบรกิ าร ค่าปรบั เปน็ ต้น ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e5 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารด�ำเนินงาน โดยค�ำนึง ถึงประโยชนข์ องประชาชนและส่วนรวมเปน็ หลัก มากน้อยเพียงใด DECADE OF ITA JOURNEY 35

ตัวชวี้ ดั ที่ 7 ประสิทธภิ าพการสื่อสาร เปน็ ตัวชว้ี ดั ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ประเมนิ การรบั รูข้ องผรู้ บั บรกิ าร ผมู้ าติดต่อ หรอื ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ของหน่วยงาน ต่อประสทิ ธภิ าพการสอื่ สาร ในประเด็นทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการเผยแพรข่ อ้ มลู ของหน่วยงานในเรอื่ งต่าง ๆ ต่อสาธารณชน ผา่ นชอ่ งทางทห่ี ลากหลาย สามารถเขา้ ถึงได้งา่ ย และไมซ่ บั ซอ้ น โดยขอ้ มลู ทเ่ี ผยแพรจ่ ะต้องครบถ้วนและเปน็ ปจั จบุ นั โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ผลการด�ำเนินงานของหน่วยงานและขอ้ มลู ทสี่ าธารณชนควรรบั ทราบ รวมถึงการจัดใหม้ ชี อ่ งทาง ให้ผู้รบั บรกิ าร ผู้มาติดต่อ หรอื ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งค�ำติชมหรอื ความคิดเห็นเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน/ การให้บรกิ าร และมีการชี้แจงในกรณีที่มีข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังประเมินการรบั รูเ้ ก่ียวกับ การจดั ใหม้ ชี อ่ งทางใหผ้ มู้ าตดิ ตอ่ สามารถรอ้ งเรยี นการทจุ รติ ของเจา้ หน้าทใี่ นหน่วยงานดว้ ย ซง่ึ สะทอ้ นถงึ การสอ่ื สาร กับผ้รู บั บรกิ าร ผมู้ าติดต่อ หรอื ผ้มู ีสว่ นได้ส่วนเสียอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตัวชวี้ ดั ที่ 7 ประสิทธภิ าพการส่ือสาร ประเด็นส�ำรวจ ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 5 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด e6 การเผยแพรข่ อ้ มูลของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก มลี ักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด • เขา้ ถึงงา่ ย ไม่ซับซอ้ น • มีช่องทางหลากหลาย ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e7 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารเผยแพรผ่ ลงาน หรอื ขอ้ มูลที่สาธารณชนควรรบั ทราบอย่างชดั เจน มากน้อยเพียงใด 36 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี e8 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มชี อ่ งทางรบั ฟงั ค�ำติชมหรอื ความคิดเหน็ เกีย่ วกับ การด�ำเนินงาน/การใหบ้ รกิ าร หรอื ไม่ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e9 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารชแี้ จงและตอบค�ำถาม เมอื่ มขี อ้ กังวลสงสัยเกีย่ วกับการด�ำเนินงาน ได้อย่างชดั เจน มากน้อยเพียงใด หมายเหต:ุ หากท่านไมม่ ขี อ้ กังวลสงสัยให้ตอบ “มากที่สุด” ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี e10 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มชี อ่ งทางใหผ้ ู้มาติดต่อรอ้ งเรยี นการทจุ รติ ของเจา้ หน้าที่ ในหน่วยงาน หรอื ไม่ DECADE OF ITA JOURNEY 37

ตัวชวี้ ดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ ระบบการท�ำงาน เปน็ ตัวชว้ี ดั ทม่ี วี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ประเมนิ การรบั รูข้ องผรู้ บั บรกิ าร ผมู้ าติดต่อ หรอื ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ของหน่วยงาน ต่อการปรบั ปรุงระบบการท�ำงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปรบั ปรุงพัฒนาหน่วยงาน ทั้งการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าที่และกระบวนการท�ำงานของหน่วยงานให้ดีย่ิงข้ึน รวมไปถึงการน�ำเทคโนโลยีมาใช้ในการด�ำเนินงาน เพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเรว็ มากยิ่งข้ึน โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รบั บรกิ ารหรอื ผู้มาติดต่อ เข้ามา มีส่วนรว่ มในการปรบั ปรุงพัฒนาการด�ำเนินงานเพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการด้วย ทั้งน้ี นอกจากหน่วยงาน จะต้องปรบั ปรุงพัฒนา การด�ำเนินงานให้ดีขึ้นแล้ว ยังควรให้ความส�ำคัญกับการปรบั ปรุงการด�ำเนินงานให้มี ความโปรง่ ใสมากขนึ้ อีกด้วย ตัวชวี้ ดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ ระบบการท�ำงาน ประกอบด้วยขอ้ ค�ำถามจำ� นวน 5 ขอ้ ดังนี้ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e11 เจา้ หน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อมกี ารปรบั ปรงุ คณุ ภาพการปฏิบตั ิงาน/การใหบ้ รกิ าร ใหด้ ีข้นึ มากน้อย เพียงใด หมายเหต:ุ หากท่านติดต่อครงั้ แรก ให้เปรยี บเทียบกับคณุ ภาพการปฏิบตั ิงาน/การให้บรกิ ารท่ที า่ นคาดหวงั ไว้ก่อนมาติดต่อ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e12 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารปรบั ปรงุ วธิ กี ารและ ขนั้ ตอนการดำ� เนนิ งาน/การใหบ้ รกิ ารใหด้ ขี น้ึ มากนอ้ ยเพยี งใด หมายเหต:ุ หากท่านติดต่อครงั้ แรก ให้เปรยี บเทยี บกับวิธกี ารและขั้นตอนการด�ำเนินงาน/การให้บรกิ ารทีท่ ่านคาดหวังไว้ก่อนมาติดต่อ 38 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ประเด็นการประเมิน ระดับ มี ไมม่ ี e13 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มกี ารน�ำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการด�ำเนินงาน/การใหบ้ รกิ าร ใหเ้ กิดความสะดวกรวดเรว็ มากข้นึ หรอื ไม่ ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e14 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ เปดิ โอกาสใหผ้ ู้รบั บรกิ าร ผู้มาติดต่อ หรอื ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย เขา้ ไปมสี ่วนรว่ ม ในการปรบั ปรงุ พัฒนาการด�ำเนินงาน/การใหบ้ รกิ ารของ หน่วยงานใหด้ ีข้นึ มากน้อยเพียงใด หมายเหต:ุ การมสี ่วนรว่ ม เชน่ รว่ มวางแผน รว่ มด�ำเนินการ รว่ มแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และรว่ มติดตามประเมนิ ผล เปน็ ต้น ประเด็นการประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากที่สุด หรอื ไมม่ เี ลย น้อย มาก e15 หนว่ ยงานทที่ า่ นติดต่อ มกี ารปรบั ปรงุ การดำ� เนนิ งาน/ การใหบ้ รกิ าร ใหม้ คี วามโปรง่ ใสมากข้นึ มากน้อยเพียงใด DECADE OF ITA JOURNEY 39

ขนั้ ที่ 5 แบบวดั OIT แบบวดั OIT เปน็ การรายงานตนเองของหนว่ ยงานภาครฐั เกยี่ วกบั การเปดิ เผยขอ้ มลู บนเวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน แบบวดั OIT แบบวดั การเปดิ เผยขอ้ มลู สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) เปน็ แบบวดั ทใี่ ห้ ผู้ตอบแสดงหลักฐานวา่ มีการเปดิ เผยขอ้ มูลตามที่ก�ำหนดต่อสาธารณชน ผ่านทางการระบุ URL ที่เชอื่ มโยงไปยังเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงาน โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเก็บข้อมูลจากเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงาน โดยเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลในเวบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงานได้ ใน 2 ตัวชวี้ ดั ได้แก่ ตัวชวี้ ดั การเปิดเผยข้อมูล (ประกอบด้วย 5 ตัวชวี้ ดั ย่อย ได้แก่ ขอ้ มูลพื้นฐาน การบรหิ ารงาน การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล และการส่งเสรมิ ความโปรง่ ใส) และตัวชวี้ ดั การปอ้ งกันการทจุ รติ (ประกอบด้วย 2 ตัวชวี้ ดั ยอ่ ย ได้แก่ การด�ำเนินการเพื่อปอ้ งกันการทจุ รติ และมาตรการ ภายในเพื่อปอ้ งกันการทจุ รติ ) วิธกี ารตอบแบบวัด OIT แอดมิน ตอบแบบวัด OIT ของหน่วยงาน โดยด�ำเนินการ ดังนี้ • เขา้ สู่เวบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th • เขา้ สู่เมนู แบบส�ำรวจ • เขา้ สู่เมนู แบบตรวจการเปดิ เผยขอ้ มูลสาธารณะ (OIT) การตอบแบบวัด OIT จะต้องระบุขอ้ มูล ให้ครบถ้วนท้ัง 3 สว่ น ได้แก่ • (1) มี / ไมม่ ี • (2) URL เพ่ือเชอ่ื มโยงไปสู่ขอ้ มูล • (3) ระบุค�ำอธบิ ายเพ่ิมเติมประกอบค�ำตอบ ผบู้ รหิ ารของหนว่ ยงานจะตอ้ งมกี ารตรวจสอบ ค�ำอธบิ ายเพิ่มเติม รบั รองความถูกต้อง และอนุมัติขอ้ มูลเพ่ือให้ • หน่วยงานจะต้องตอบแบบวดั OIT โดยแอดมนิ จะเปน็ ผู้ระบุ ถกู ตอ้ งตามขอ้ เทจ็ จรงิ มากทสี่ ดุ จงึ จะครบถว้ น ตามขัน้ ตอนที่ก�ำหนด โดยด�ำเนินการ ดังนี้ ค�ำตอบ และผู้บรหิ ารของหน่วยงานจะเป็นผู้ตรวจสอบและ อนุมตั ิค�ำตอบในแบบวดั OIT ของหน่วยงาน โดยหน่วยงาน • เขา้ สู่เวบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th จะต้องตอบให้ครบถ้วนทุกข้อและด�ำเนินการให้เสร็จสิ้น • เขา้ สู่เมนู แบบส�ำรวจ ภายในกรอบระยะเวลาที่ก�ำหนด • เขา้ สู่เมนู อนุมตั ิแบบตรวจ • หน่วยงานสามารถเพิ่มชอ่ งส�ำหรบั ระบุ URL ได้ แต่ควรเปน็ URLทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยตรงกบั ขอ้ คำ� ถามนนั้ เทา่ นนั้ และไมค่ วรเกนิ การเปดิ เผยขอ้ มูลสาธารณะ 10 URL ต่อขอ้ ค�ำถาม 40 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

เงื่อนไขท่ัวไปเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูล ข้อก�ำหนดพ้ืนฐานส�ำคัญเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลบนเว็บไซตข์ องหน่วยงาน ซ่งึ ถือเปน็ เงอื่ นไขท่ัวไปในการประเมินแบบวดั OIT มีดังนี้ • หน่วยงานจะต้องเปดิ เผยขอ้ มูลบนเวบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงาน • การเปดิ เผยขอ้ มูลจะพิจารณาด้านความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มูลบนเวบ็ ไซตห์ นว่ ยงานได้ ดังนนั้ หนว่ ยงานจะต้องรกั ษาและคงสภาพ เวบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงานใหส้ าธารณชนสามารถเขา้ ถึงได้ทุกชว่ งเวลา อย่างไรก็ตาม ในชว่ งเวลาในการประเมินแบบวดั OIT พบวา่ เกิดเหตุขดั ขอ้ งหรอื ปัญหาทางเทคนิคท�ำใหเ้ วบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงานไม่สามารถเขา้ ถึงได้ชวั่ คราว หน่วยงานจะต้องแก้ไขใหส้ ามารถ เขา้ ถึงได้โดยเรว็ หรอื ภายในระยะเวลา 5 วนั นับแต่วนั ที่ได้รบั แจง้ จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. • การเปดิ เผยขอ้ มูลจะพิจารณาด้านความสะดวกในการเขา้ ถึงขอ้ มูลได้ของประชาชนทวั่ ไป ดังนนั้ หน่วยงานจะต้องแสดง URL ตามลำ� ดับ การเข้าถึงข้อมูลหรอื อธบิ ายให้ชัดเจนวา่ ข้อมูลเปิดเผยอยู่ในต�ำแหน่งใดบนเวบ็ ไซตข์ องหน่วยงานและประชาชนทัว่ ไปสามารถเข้าถึง ได้อยา่ งไร โดยเฉพาะกรณีหน่วยงานระบุค�ำตอบในแบบวดั OIT เปน็ URL ที่มลี ักษณะไฟล์ pdf หรอื google drive หรอื กรณีหน่วยงาน ระบุค�ำตอบเปน็ หน้าแรก (Home page) ของเวบ็ ไซต์ • กรณีที่หน่วยงานที่ไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลใดได้ เน่ืองจากมีข้อจำ� กัดหรอื เหตุผลความจำ� เป็นท�ำให้ไม่สามารถเผยแพรข่ ้อมูลตาม รายละเอยี ดทกี่ ำ� หนดได้ ใหห้ นว่ ยงานอธบิ ายเหตผุ ลความจำ� เปน็ มาอยา่ งละเอยี ดโดยจะตอ้ งเปน็ เหตผุ ลทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ขอ้ จำ� กดั ดา้ นกฎหมาย ข้อจำ� กัดอนั สุดวสิ ัย หรอื ข้อจำ� กัดอนั ส่งผลต่อความมัน่ คง หรอื การแข่งขันทางการค้า (เฉพาะองคก์ รที่มีภารกิจตามกฎหมายซ่ึง โดยทัว่ ไปจะมกี ารแขง่ ขนั ทางธรุ กิจ) โดยหากพิจารณาแล้วเหน็ วา่ มเี หตุผลอนั น่าเชอื่ ถือได้ จะไมน่ �ำประเด็นการประเมนิ นัน้ มาคิดคะแนน • ในกรณีหน่วยงานไมส่ ามารถด�ำเนินการหรอื จดั กิจกรรมโครงการฝึกอบรม ประชมุ สัมมนา หรอื ศึกษาดงู านตามหลักเกณฑท์ ี่ก�ำหนด ไวใ้ นแบบวดั OIT อนั เนื่องมาจากมติคณะรฐั มนตรี หรอื ค�ำสัง่ จงั หวดั หรอื ค�ำสัง่ ของแต่ละส่วนราชการ ขอใหร้ ะบุเหตุผลที่ไมส่ ามารถ ด�ำเนินการตามประเด็นการประเมนิ ที่ก�ำหนด รวมถึงระบุค�ำสัง่ หรอื ประกาศ หรอื มาตรการที่ส่งผลใหห้ น่วยงานไมส่ ามารถด�ำเนินการ ได้ไว้ในช่องค�ำอธิบายเพิ่มเติมประกอบค�ำตอบ โดยไม่ต้องเผยแพร่ข้อมูลดังกล่าวต่อสาธารณะทางเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน โดยหากพิจารณาแล้วเหน็ วา่ มเี หตุผลอนั น่าเชอื่ ถือได้ จะไมน่ �ำประเด็นการประเมนิ นัน้ มาคิดคะแนน ค�ำนิยามส�ำคัญ • “เวบ็ ไซต”์ หมายถึง เวบ็ ไซตห์ ลักของหน่วยงานภาครฐั ที่ใชใ้ นการสื่อสารต่อสาธารณะ • “หน่วยงาน” หมายถึง ภาพรวมของหน่วยงาน ดังนั้น ข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานจะต้องเป็นข้อมูลในภาพรวมของหน่วยงาน ไมใ่ ชข่ อ้ มูลของส่วนงานหรอื ภารกิจใดภารกิจหน่ึงของหน่วยงาน เวน้ แต่ขอ้ มูลในหมวดการปฏิบตั ิงาน (o13) และหมวดการใหบ้ รกิ าร (o14 – o17) • “ปี พ.ศ. 2565” หมายถึง รอบปีที่หน่วยงานบรหิ ารราชการ หากหน่วยงานบรหิ ารราชการโดยใช้ปีงบประมาณ ให้ใช้ข้อมูลของ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หากหน่วยงานบรหิ ารราชการโดยใชป้ ปี ฏิทิน ใหใ้ ชข้ อ้ มูลของปี พ.ศ. 2565 และหากหน่วยงานบรหิ ารราชการ โดยใช้รอบปีอย่างอื่นนอกเหนือจากปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน ให้ใช้ข้อมูลของรอบปีที่หน่วยงานใช้ ประจ�ำปี พ.ศ. 2565 และกรณีที่หน่วยงานบรหิ ารราชการโดยใชป้ ีปฏิทินหรอื รอบปีอนื่ ซ่งึ ท�ำให้ไม่สามารถตอบข้อค�ำถามที่เกี่ยวข้องกับการก�ำกับติดตาม รอบ 6 เดือน ใหใ้ ชข้ อ้ มูลในรอบ 3 เดือนในการตอบขอ้ ค�ำถาม • “อย่างน้อยประกอบด้วย” หมายถึง รายละเอยี ดขัน้ ต่�ำที่ควรจะมีในข้อมูลนั้น ซ่ึงการเปิดเผยข้อมูลจะพิจารณาด้านความถูกต้อง และครบถ้วนของข้อมูลเมื่อเปรยี บเทียบกับองคป์ ระกอบของข้อมูลในแต่ละข้อ ซ่ึงถือเป็นเงือ่ นไขขัน้ ต่�ำที่หน่วยงานจะต้องด�ำเนินการ และเปิดเผยข้อมูลในเรอ่ื งนั้น โดยในกรณีที่องคป์ ระกอบของข้อมูลก�ำหนดวา่ “อย่างน้อยประกอบด้วย” จะหมายถึงข้อมูลจะต้อง มลี ักษณะตรงตามลักษณะที่ก�ำหนดอยา่ งครบถ้วน กรณีหน่วยงานประเภท “จงั หวดั ” ก�ำหนดค�ำนิยาม ดังนี้ • “หน่วยงาน” หมายถึง จงั หวดั ซ่งึ มขี อบเขตของการประเมนิ ในภาพรวมของการบรหิ ารราชการส่วนภมู ภิ าคซ่งึ มขี อบเขตการประเมนิ ครอบคลมุ เฉพาะกลไกการบรหิ ารราชการระดับจงั หวดั ประกอบด้วย ส�ำนักงานจงั หวดั และส่วนราชการส่วนภมู ภิ าคทีอ่ ยูใ่ นการควบคมุ ดแู ลของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั (ไมร่ วมสว่ นราชการในจงั หวดั ทขี่ ้นึ ตรงตอ่ สว่ นกลาง และสว่ นราชการระดบั อำ� เภอ สงั กดั กระทรวงมหาดไทย) • “ผู้บรหิ าร” หมายถึง ผู้วา่ ราชการจงั หวดั ดังนัน้ ในกรณีของจงั หวดั จะต้องเปน็ ขอ้ มูลในภาพรวมของจงั หวดั ไมใ่ ชข่ อ้ มูลของส่วนราชการภายในจงั หวดั หน่วยใดหน่วยหน่ึง เวน้ แต่ขอ้ มูลในหมวดการปฏิบตั ิงาน (o13) หมวดการใหบ้ รกิ าร (o14 – o17) และหมวดการจดั ซอื้ จดั จา้ ง (o21 – o24) DECADE OF ITA JOURNEY 41

ตัวชวี้ ดั และขอ้ ค�ำถามของแบบวดั OIT ตัวชวี้ ดั ที่ 9 การเปดิ เผยขอ้ มูล เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพรข่ ้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพ่ือเปิดเผย ข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รบั ทราบ ใน 5 ประเด็น คือ (1) ข้อมูลพ้ืนฐาน ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล (2) การบรหิ ารงาน ได้แก่ แผนด�ำเนินงาน การปฏิบัติงาน และ การให้บรกิ าร (3) การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ ได้แก่ แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณประจ�ำปี และการจัดซอื้ จัดจ้างหรอื การจดั หาพสั ดุ (4) การบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบคุ คล ไดแ้ ก่ นโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล การด�ำเนินการ ตามนโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล และหลักเกณฑก์ ารบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบุคคล และ (5) การสง่ เสรมิ ความโปรง่ ใสในหน่วยงาน ได้แก่ การจัดการเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ และการเปดิ โอกาสให้เกิด การมีส่วนรว่ ม ซึ่งการเผยแพรข่ ้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงความโปรง่ ใสในการบรหิ ารงานและการด�ำเนินงาน ของหน่วยงาน ตัวชวี้ ดั ที่ 9 การเปดิ เผยขอ้ มูล ประกอบด้วย 5 ตัวชวี้ ดั ย่อย ดังนี้ ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.1 ขอ้ มูลพื้นฐาน ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o1 โครงสรา้ ง o2 ขอ้ มลู ผู้บรหิ าร • แสดงแผนผงั แสดงโครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการของหนว่ ยงาน • แสดงต�ำแหน่งท่สี ำ� คัญและการแบ่งสว่ นงานภายใน ยกตัวอย่าง o3 อ�ำนาจหน้าท่ี เชน่ สำ� นัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กล่มุ เป็นต้น *กรณีองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นให้แสดงแผนผงั โครงสรา้ ง ทั้งฝ่ายการเมือง และฝา่ ยขา้ ราชการประจ�ำ • แสดงข้อมูลของผูบ้ รหิ ารสงู สดุ และผูด้ �ำรงต�ำแหน่งทางการ บรหิ ารของหน่วยงาน อยา่ งน้อยประกอบด้วย ผบู้ รหิ ารสูงสดุ และรองผ้บู รหิ ารสูงสดุ • แสดงขอ้ มลู อยา่ งน้อยประกอบด้วย ชือ่ -นามสกุล ต�ำแหน่ง รูปถ่าย และช่องทางการติดต่อของผูบ้ รหิ ารแต่ละคน *กรณีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นให้แสดงขอ้ มูลผู้บรหิ ารในฝา่ ยการเมือง และฝ่ายขา้ ราชการประจ�ำ • แสดงขอ้ มลู หนา้ ทแี่ ละอำ� นาจของหนว่ ยงานตามทกี่ ฎหมายกำ� หนด 42 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o4 แผนยุทธศาสตรห์ รอื แผน • แสดงแผนการด�ำเนินภารกิจของหน่วยงานทมี่ รี ะยะมากกวา่ 1 ปี พฒั นาหน่วยงาน • มีข้อมลู รายละเอียดของแผนฯ อย่างน้อยประกอบด้วย o5 ข้อมลู การติดต่อ ยุทธศาสตรห์ รอื แนวทาง เป้าหมาย และตัวช้วี ดั • เปน็ แผนทมี่ รี ะยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2565 o6 กฎหมายทเี่ กี่ยวข้อง • แสดงข้อมลู การติดต่อของหน่วยงาน อยา่ งน้อยประกอบด้วย การประชาสัมพันธ ์ • ท่อี ยูห่ น่วยงาน ขอ้ ขอ้ มูล • หมายเลขโทรศพั ท์ o7 ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ • E-mail • แผนที่ตั้ง การปฏิสัมพันธข์ อ้ มูล • แสดงกฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับการด�ำเนินงานหรอื การปฏิบัติงาน ขอ้ ขอ้ มูล ของหน่วยงาน o8 Q&A องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o9 Social Network • แสดงข้อมลู ข่าวสารต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการด�ำเนินงาน ตามอ�ำนาจหน้าที่หรอื ภารกิจของหน่วยงาน • เป็นขอ้ มูลขา่ วสารทีเ่ กิดขึ้นในปี พ.ศ. 2565 องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล • แสดงต�ำแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานที่บุคคลภายนอก สามารถสอบถามขอ้ มลู ต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสอื่ สาร ใหค้ ำ� ตอบกบั ผสู้ อบถามได้ โดยมลี กั ษณะเปน็ การสอ่ื สารไดส้ องทาง ทางหนา้ เวบ็ ไซตข์ องหนว่ ยงาน (Q&A) ยกตวั อยา่ งเชน่ Web board, กลอ่ งขอ้ ความถาม-ตอบ, Messenger Live Chat, Chatbot เปน็ ตน้ • แสดงต�ำแหน่งบนเวบ็ ไซต์ของหน่วยงานทส่ี ามารถเชอื่ มโยง ไปยังเครอื ขา่ ยสงั คมออนไลน์ของหน่วยงาน ยกตัวอย่างเชน่ Facebook, Twitter, Instagram เป็นต้น DECADE OF ITA JOURNEY 43

ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.2 การบรหิ ารงาน การด�ำเนินงาน ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o10 แผนด�ำเนินงานประจ�ำปี • แสดงแผนการด�ำเนินภารกิจของหน่วยงานท่ีมีระยะ 1 ปี o11 รายงานการก�ำกับติดตาม • มีขอ้ มูลรายละเอียดของแผนฯ อยา่ งน้อยประกอบด้วย การด�ำเนินงานประจ�ำปี รอบ 6 เดือน โครงการหรอื กจิ กรรม งบประมาณทใี่ ช้ และระยะเวลาในการดำ� เนนิ การ • เป็นแผนทม่ี รี ะยะเวลาบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2565 o12 รายงานผลการด�ำเนินงาน ประจ�ำปี • แสดงความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานตามแผนด�ำเนินงาน ประจ�ำปใี นขอ้ o10 การปฏิบตั ิงาน • มเี นื้อหาหรอื รายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย ความก้าวหน้าการด�ำเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม และรายละเอียดงบประมาณที่ใช้ด�ำเนินงาน • สามารถจัดทำ� ขอ้ มลู เปน็ แบบรายเดือน หรอื รายไตรมาส หรอื ราย 6 เดือน ท่ีมขี ้อมลู ครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปี พ.ศ. 2565 • แสดงผลการด�ำเนินงานตามแผนด�ำเนินงานประจ�ำปี • มขี อ้ มลู รายละเอยี ดสรปุ ผลการดำ� เนนิ งาน อยา่ งนอ้ ยประกอบดว้ ย ผลการดำ� เนนิ การโครงการหรอื กจิ กรรม ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2564 ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o13 คู่มอื หรอื มาตรฐาน • แสดงค่มู อื หรอื แนวทางการปฏิบัติงานทเ่ี จ้าหน้าทีข่ องหน่วยงาน การปฏิบตั ิงาน ใชย้ ดึ ถือปฏิบัติให้เปน็ มาตรฐานเดียวกัน • มขี อ้ มูลรายละเอียดของการปฏิบตั ิงาน อยา่ งน้อยประกอบด้วย เป็นค่มู อื ปฏิบตั ิภารกิจใด สำ� หรบั เจ้าหน้าท่ีหรอื พนักงาน ต�ำแหน่งใด และก�ำหนดวิธกี ารขั้นตอนการปฏิบตั ิอยา่ งไร • จะต้องมอี ยา่ งน้อย 1 คู่มอื 44 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

การใหบ้ รกิ าร * การใหบ้ รกิ าร หมายถงึ การใหบ้ รกิ ารตามอำ� นาจหนา้ ทห่ี รอื ภารกจิ ตามกฎหมายของหนว่ ยงาน สำ� หรบั หนว่ ยงานทมี่ กี ารปฏบิ ตั งิ านหรอื การให้บรกิ ารเป็นจ�ำนวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพรก่ ารปฏิบตั ิงานหรอื การให้บรกิ ารทม่ี ีความส�ำคัญต่อภารกิจของหน่วยงาน ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o14 คู่มือหรอื มาตรฐาน • แสดงค่มู ือการให้บรกิ ารประชาชนหรอื คู่มอื แนวทางการปฏิบัติ การให้บรกิ าร ทีผ่ รู้ บั บรกิ ารหรอื ผู้มาติดต่อกับหน่วยงานใช้เป็นขอ้ มลู ในการขอรบั บรกิ ารหรอื ติดต่อกับหน่วยงาน o15 ขอ้ มลู เชิงสถิติ การให้บรกิ าร • มขี อ้ มูลรายละเอียดของการปฏิบตั ิ อยา่ งน้อยประกอบด้วย เปน็ บรกิ ารหรอื ภารกจิ ใด และกำ� หนดวธิ กี ารขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ าร o16 รายงานผลการส�ำรวจ หรอื การติดต่ออยา่ งไร ความพงึ พอใจ การให้บรกิ าร • หน่วยงานจะต้องเปิดเผยอย่างน้อย 1 ค่มู อื o17 E–Service • แสดงขอ้ มูลสถิติการให้บรกิ ารของหน่วยงาน • สามารถจัดทำ� ขอ้ มลู เปน็ แบบรายเดือน หรอื รายไตรมาส หรอื ราย 6 เดือน ที่มีขอ้ มูลครอบคลมุ ในระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปี พ.ศ. 2565 • แสดงผลส�ำรวจความพงึ พอใจการให้บรกิ ารของหน่วยงาน • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2564 • แสดงช่องทางการให้บรกิ ารขอ้ มูลหรอื ธุรกรรมภาครฐั ท่ี สอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานผา่ นเครอื ข่ายอินเทอรเ์ น็ต โดยผ้ขู อรบั บรกิ ารไม่จ�ำเปน็ ต้องเดินทางมายังหน่วยงาน • สามารถเขา้ ถึงหรอื เชอื่ มโยงไปยังชอ่ งทางขา้ งต้นได้จาก เว็บไซต์หลักของหน่วยงาน ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.3 การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจำ� ปี ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o18 แผนการใชจ้ ่าย • แสดงแผนการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานท่ีมรี ะยะ 1 ปี งบประมาณประจ�ำปี • มขี ้อมลู รายละเอียดของแผนฯ อยา่ งน้อยประกอบด้วย งบประมาณตามแหล่งที่ได้รบั การจัดสรร และงบประมาณ ตามประเภทรายการใช้จ่าย • เปน็ แผนทม่ี ีระยะเวลาบงั คับใชใ้ นปี พ.ศ. 2565 DECADE OF ITA JOURNEY 45

ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o19 รายงานการก�ำกับติดตาม • แสดงความก้าวหน้าในการด�ำเนินงานตามแผนการใช้จ่าย การใชจ้ ่ายงบประมาณ งบประมาณประจ�ำปใี นขอ้ o18 ประจ�ำปี รอบ 6 เดือน • มีขอ้ มลู รายละเอียดความก้าวหน้า อย่างน้อยประกอบด้วย o20 รายงานผลการใชจ้ ่าย ความก้าวหน้าการใชจ้ ่ายงบประมาณ งบประมาณประจ�ำปี • สามารถจัดท�ำข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรอื รายไตรมาส การจดั ซอ้ื จดั จา้ งหรอื การจดั หาพัสดุ หรอื ราย 6 เดือน ท่ีมีข้อมลู ครอบคลมุ ในระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปี พ.ศ. 2565 • แสดงผลการดำ� เนนิ งานตามแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจำ� ปี • มขี ้อมูลรายละเอียดสรุปผลการใชจ้ ่ายงบประมาณ อยา่ งน้อย ประกอบด้วย ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปญั หา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ • เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2564 ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o21 แผนการจัดซ้ือจัดจ้าง • แสดงแผนการจัดซือ้ จัดจ้างหรอื แผนการจัดหาพสั ดตุ ามที่ หรอื แผนการจัดหาพสั ดุ หน่วยงานจะต้องด�ำเนินการตามพระราชบญั ญตั ิการจัดซ้อื จัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 • เปน็ ขอ้ มลู การจัดซ้ือจัดจ้างในปี พ.ศ. 2565 * กรณีไมม่ ีการจัดจ้างท่ีมวี งเงินเกิน 5 แสนบาทหรอื การจัดจ้างทก่ี ฎหมายไมไ่ ด้ ก�ำหนดให้ต้องเผยแพรแ่ ผนการจัดซือ้ จัดจ้าง ให้หน่วยงานอธบิ ายเพิ่มเติม โดยละเอียด หรอื เผยแพรว่ า่ ไม่มีการจัดซือ้ จัดจ้างในกรณีดังกล่าว o22 ประกาศต่าง ๆ เก่ียวกับ • แสดงประกาศการจดั ซอื้ จดั จา้ งตามทหี่ นว่ ยงานจะตอ้ งดำ� เนนิ การ การจัดซอื้ จัดจ้างหรอื ตามพระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั การจัดหาพัสดุ พ.ศ. 2560 ยกตัวอยา่ งเช่น ประกาศเชญิ ชวน ประกาศผล การจัดซอ้ื จัดจ้าง เป็นต้น • เป็นข้อมลู การจัดซอ้ื จัดจ้างในปี พ.ศ. 2565 o23 สรุปผลการจัดซ้ือจัดจ้าง • แสดงสรุปผลการจัดซ้ือจัดจ้างของหน่วยงาน หรอื การจดั หาพสั ดรุ ายเดอื น • มขี อ้ มลู รายละเอียดผลการจัดซอ้ื จัดจ้าง ยกตัวอย่างเชน่ งานที่ซอ้ื หรอื จ้าง วงเงนิ ทีซ่ อ้ื หรอื จ้าง ราคากลาง วธิ กี ารซอื้ หรอื จ้าง รายช่ือผูเ้ สนอราคาและราคาทเี่ สนอ ผ้ไู ด้รบั การ คัดเลือกและราคาท่ตี กลง เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขท่ี และวันท่ขี องสัญญาหรอื ขอ้ ตกลงในการซื้อหรอื จ้าง เป็นต้น • เป็นขอ้ มูลแบบรายเดือน ที่มขี อ้ มูลครอบคลมุ ในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2565 * กรณีไม่มีการจัดซือ้ จัดจ้างในรอบเดือนใดให้เผยแพรว่ า่ ไมม่ ีการจัดซอื้ จัดจ้าง ในเดือนนั้น 46 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o24 รายงานผลการจดั ซอื้ จดั จา้ ง • แสดงผลการจัดซือ้ จัดจ้างของหน่วยงาน หรอื การจดั หาพสั ดปุ ระจำ� ปี • มขี อ้ มูลรายละเอียด อย่างน้อยประกอบด้วย งบประมาณ ทใี่ ช้ในการจัดซอื้ จัดจ้าง ปญั หา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ • เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2564 ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.4 การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o25 นโยบายการบรหิ าร • เปน็ นโยบายหรอื แผนการบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบุคคล ทรพั ยากรบุคคล ที่ยงั ใชบ้ งั คับในหน่วยงานในปี พ.ศ. 2565 • แสดงนโยบายของผบู้ รหิ ารสูงสดุ หรอื แผนการบรหิ ารและ พัฒนาทรพั ยากรบุคคลที่ก�ำหนดในนามของหน่วยงาน o26 การด�ำเนินการตาม • แสดงการด�ำเนินการทม่ี คี วามสอดรบั ตามนโยบาย นโยบายการบรหิ าร หรอื แผนการบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคลในขอ้ o25 ทรพั ยากรบุคคล • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 o27 หลักเกณฑ์การบรหิ ารและ • แสดงหลักเกณฑ์การบรหิ ารและพฒั นาทรพั ยากรบุคคลท่ียังใช้ พัฒนาทรพั ยากรบุคคล บงั คับในหน่วยงานในปี พ.ศ. 2565 อย่างน้อยประกอบด้วย • การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร • การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร • การพัฒนาบุคลากร • การประเมนิ ผลการปฏิบัติงานบุคลากร • การให้คณุ ให้โทษและการสรา้ งขวัญก�ำลังใจ * กรณีหน่วยงานใช้หลักเกณฑ์ขององค์กรกลางบรหิ ารงานบุคคลหน่วยงาน สามารถน�ำหลักเกณฑ์ดังกล่าวเผยแพรบ่ นเวบ็ ไซต์ของหน่วยงาน o28 รายงานผลการบรหิ ารและ • แสดงผลการบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล พฒั นาทรพั ยากรบุคคล • มขี ้อมลู รายละเอียดของการด�ำเนินการ อยา่ งน้อยประกอบด้วย ประจ�ำปี ผลการด�ำเนินการตามนโยบายการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะผลการวเิ คราะห์การบรหิ าร และพัฒนาทรพั ยากรบุคคล • เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2564 DECADE OF ITA JOURNEY 47

ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 9.5 การส่งเสรมิ ความโปรง่ ใส การจดั การเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o29 แนวปฏิบตั ิการจัดการ • แสดงคู่มอื หรอื แนวทางการด�ำเนินการต่อเรอื่ งรอ้ งเรยี น เรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทุจรติ ทเี่ ก่ียวข้องกับการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบของเจ้าหน้าท่ี และประพฤติมิชอบ ของหน่วยงาน • มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย รายละเอียดวธิ กี ารท่บี ุคคลภายนอกจะทำ� การรอ้ งเรยี น รายละเอียดข้นั ตอนหรอื วธิ กี ารในการจัดการต่อเรอ่ื งรอ้ งเรยี น สว่ นงานทีร่ บั ผิดชอบ และระยะเวลาด�ำเนินการ o30 ช่องทางแจ้งเรอื่ งรอ้ งเรยี น • แสดงชอ่ งทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรอื่ งรอ้ งเรยี น การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ เกยี่ วกบั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของเจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน ผ่านทางช่องทางออนไลน์ของหน่วยงาน โดยแยกต่างหาก จากชอ่ งทางการรอ้ งเรยี นเรอ่ื งทั่วไป เพอ่ื เปน็ การค้มุ ครองข้อมูล ของผู้แจ้งเบาะแสและเพอ่ื ให้สอดคล้องกับแนวปฏิบตั ิการจัดการ เรอื่ งรอ้ งเรยี นการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ • สามารถเข้าถึงหรอื เชอื่ มโยงไปยงั ช่องทางขา้ งต้นได้จาก เวบ็ ไซต์หลักของหน่วยงาน o31 ข้อมูลเชงิ สถิติเรอื่ ง • แสดงขอ้ มูลสถิติเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ รอ้ งเรยี นการทุจรติ ของเจ้าหน้าทข่ี องหน่วยงาน และประพฤติมชิ อบ • มีขอ้ มลู ความก้าวหน้าการจัดการเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทุจรติ และ ประพฤตมิ ชิ อบ อยา่ งนอ้ ยประกอบดว้ ย จำ� นวนเรอื่ งรอ้ งเรยี นทงั้ หมด จำ� นวนเรอ่ื งทด่ี ำ� เนนิ การแลว้ เสรจ็ และจำ� นวนเรอ่ื งทอี่ ยรู่ ะหวา่ งดำ� เนนิ การ • สามารถจัดทำ� ขอ้ มูลเป็นแบบรายเดือน หรอื รายไตรมาส หรอื ราย 6 เดือน ที่มีข้อมูลครอบคลมุ ในระยะเวลา 6 เดือนแรก ของปี พ.ศ. 2565 * กรณีไมม่ เี รอ่ื งรอ้ งเรยี นให้เผยแพรว่ า่ ไม่มีเรอื่ งรอ้ งเรยี น 48 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022

การเปดิ โอกาสใหเ้ กิดการมสี ่วนรว่ ม ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o32 ช่องทางการรบั ฟัง • แสดงช่องทางท่บี ุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็น ความคิดเห็น ต่อการด�ำเนินงานตามอ�ำนาจหน้าท่ีหรอื ภารกิจของหน่วยงาน ผ่านทางชอ่ งทางออนไลน์ o33 การเปิดโอกาสให้เกิด การมสี ่วนรว่ ม • สามารถเขา้ ถึงหรอื เช่อื มโยงไปยังช่องทางขา้ งต้นได้จาก เวบ็ ไซต์หลักของหน่วยงาน • แสดงการด�ำเนินการหรอื กิจกรรมทีแ่ สดงถึงการเปดิ โอกาส ให้บุคคลภายนอกได้มสี ว่ นรว่ มในการด�ำเนินงานตามภารกิจ ของหน่วยงาน • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 ตัวชวี้ ดั ที่ 10 การปอ้ งกันการทุจรติ เป็นตัวชี้วัดท่ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการเผยแพรข่ ้อมูลท่ีเป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพ่ือเปิดเผย การดำ� เนนิ การตา่ งๆของหนว่ ยงานใหส้ าธารณชนไดร้ บั ทราบใน2ประเดน็ คอื (1)การดำ� เนนิ การเพอ่ื ปอ้ งกนั การทจุ รติ ได้แก่ เจตจ�ำนงสุจรติ ของผู้บรหิ ารการประเมินความเสี่ยงเพ่ือการป้องกันการทุจรติ การเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรม องค์กร และแผนปฏิบตั ิการปอ้ งกันการทจุ รติ และ (2) มาตรการภายในเพอ่ื ปอ้ งกันการทจุ รติ ได้แก่ มาตรการภายใน เพอื่ สง่ เสรมิ ความโปรง่ ใสและปอ้ งกันการทจุ รติ ซง่ึ การเผยแพรข่ อ้ มลู ในประเด็นขา้ งต้นแสดงถึงการให้ความสำ� คัญ ต่อผลการประเมินเพื่อน�ำไปสู่การจัดท�ำมาตรการส่งเสรมิ ความโปรง่ ใสภายในหน่วยงาน และมีการก�ำกับติดตาม การน�ำไปสกู่ ารปฏิบัติอย่างเปน็ รูปธรรม ตัวชวี้ ดั ที่ 10 การปอ้ งกันการทจุ รติ ประกอบด้วย 2 ตัวชวี้ ดั ย่อย ดังนี้ ตัวชวี้ ดั ย่อยที่ 10.1 การด�ำเนินการเพื่อปอ้ งกันการทุจรติ เจตจำ� นงสุจรติ ของผู้บรหิ าร ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o34 นโยบายไมร่ บั ของขวญั • แสดงนโยบายว่าผู้บรหิ าร เจ้าหน้าที่และบุคลากรทุกคน (No Gift Policy) จะต้องไมม่ ีการรบั ของขวัญ (No Gift Policy) • ด�ำเนินการโดยผูบ้ รหิ ารสูงสุดคนปจั จุบัน • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 * ทั้งน้ี ให้เปน็ ไปตามแนวทางทีส่ �ำนักงาน ป.ป.ท. ก�ำหนด DECADE OF ITA JOURNEY 49

ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o35 การมีสว่ นรว่ มของผบู้ รหิ าร • แสดงการด�ำเนินการหรอื กิจกรรมท่ีแสดงถึงการมีส่วนรว่ ม ของผูบ้ รหิ ารสงู สุด • เปน็ การดำ� เนนิ การหรอื กจิ กรรมทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ การใหค้ วามสำ� คญั กับการปรบั ปรุง พฒั นา และส่งเสรมิ หน่วยงานด้านคณุ ธรรม และโปรง่ ใส • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 การประเมนิ ความเสี่ยงเพ่ือปอ้ งกันการทุจรติ ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o36 การประเมินความเส่ียง • แสดงผลการประเมินความเสี่ยงของการด�ำเนินงานหรอื การทจุ รติ และประพฤติ การปฏิบตั ิหน้าท่ที ีอ่ าจก่อให้เกิดการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ มชิ อบประจ�ำปี • มขี อ้ มลู รายละเอยี ดของผลการประเมนิ อยา่ งน้อยประกอบด้วย o37 การด�ำเนินการ เหตุการณ์ความเส่ียงและระดับของความเส่ยี ง มาตรการ เพอื่ จัดการความเสี่ยง และการด�ำเนินการในการบรหิ ารจัดการความเสี่ยง การทจุ รติ และ ประพฤติมชิ อบ • เป็นการด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร • แสดงการดำ� เนนิ การหรอื กจิ กรรมทแ่ี สดงถงึ การจดั การความเสยี่ ง ในกรณที อี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบของหนว่ ยงาน • เปน็ กิจกรรมหรอื การด�ำเนินการท่ีสอดคล้องกับมาตรการ หรอื การด�ำเนินการเพอื่ บรหิ ารจัดการความเสยี่ งตามขอ้ o36 • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล o38 การเสรมิ สรา้ งวัฒนธรรม • แสดงถงึ การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ รใหเ้ จา้ หนา้ ทขี่ องหนว่ ยงาน องค์กร ตามมาตรฐาน มที ศั นคติ คา่ นยิ มในการปฏบิ ตั งิ านอยา่ งซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ มจี ติ สำ� นกึ ทด่ี ี ทางจรยิ ธรรม รบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี ตามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั • เป็นการด�ำเนินการทหี่ น่วยงานเป็นผู้ด�ำเนินการเอง • เปน็ การด�ำเนินการในปี พ.ศ. 2565 50 INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT MANUAL 2022


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook