Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตร คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2561

คู่มือหลักสูตร คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2561

Published by Regis, 2019-08-02 03:21:36

Description: คู่มือหลักสูตร คณะพยาบาลศาสตร์ ปี 2561

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ ส น ดุ ส ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 4 ประวตั คิ วามเป็นมาคณะพยาบาลศาสตร์ 10 สัญลักษณค์ ณะพยาบาลศาสตร์ 12 รายนามผ้บู รหิ ารและอาจารย์ 25 เบอรโ์ ทรศพั ท์อาจารย์ และเจา้ หนา้ ท่ี ห ลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต 28 สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี 33 แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ 37 คำ�อธิบายรายวชิ า สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ 50 แหล่งฝกึ ปฏิบตั ิงานท้งั ในโรงพยาบาลและชมุ ชน 51 สมรรถนะทค่ี าดหวงั (Expected competencies)ของบณั ฑติ สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 54 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั นกั ศกึ ษา ภ าคผนวก 68 ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิตว่าดว้ ยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 83 หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 87 เคร่อื งแบบการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 90 คา่ ใช้จา่ ยหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต 3

ประวตั ิความเป็นมาคณะพยาบาลศาสตร์ ประวตั ิความเปน็ มา การจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเป็นความต้องการและความจำ�เป็นของสังคม เนื่องจาก ในปัจจุบันสัดส่วนของพยาบาลต่อประชากรยังสูง จากรายงานเบ้ืองต้นการศึกษาสถานการณ์กำ�ลังคน สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2549 (กฤษดา แสวงด,ี 2549) พบวา่ ในปี พ.ศ. 2548 สดั สว่ นของพยาบาลตอ่ ประชากร เปน็ 1 : 703 เพอื่ ทจ่ี ะใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานองคก์ ารอนามยั โลกทก่ี �ำ หนดวา่ ในประเทศทก่ี �ำ ลงั พฒั นา ควรจะมสี ดั สว่ น ของพยาบาลตอ่ ประชากรเปน็ 1 : 500 ดงั นนั้ เพอ่ื ใหส้ ามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการดแู ลสขุ ภาพของประชาชน และ สอดรบั กบั การปฏริ ปู ระบบสขุ ภาพแหง่ ชาต ิ ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 โดยมเี ปา้ หมาย เพอื่ ใหป้ ระชาชนชาวไทยทงั้ ประเทศสามารถเขา้ รบั บรกิ ารทางสขุ ภาพอยา่ งทว่ั ถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ณุ ภาพ ซง่ึ สง่ ผลโดยตรง ตอ่ ระบบบรกิ ารพยาบาลทมี่ งุ่ เนน้ ดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเพมิ่ ขน้ึ และมกี ารพฒั นาระบบบรกิ ารพยาบาลทง้ั ระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภมู ิ และตตยิ ภมู เิ พอื่ ใหม้ คี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพ ซง่ึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมบี คุ ลากรพยาบาลทเ่ี พยี งพอตอ่ การใหบ้ รกิ าร สุขภาพ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ พจิ ารณาเหน็ วา่ บคุ ลากรสายวชิ าชพี ทางดา้ นสขุ ภาพโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในสาขา วชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ์ ซ่งึ เป็นท่ยี อมรบั กนั โดยทัว่ ไปว่าบุคลากรสาขาน้ียังขาดแคลนเปน็ จำ�นวนมาก ทง้ั ในและตา่ งประเทศ กอปรกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ มศี กั ยภาพและความพรอ้ มดา้ นทรพั ยากรทจี่ ะจดั การศกึ ษา ในสาขานใ้ี หม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐานตามทส่ี ภาวชิ าชพี และคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาก�ำ หนด จงึ เหน็ สมควรใหจ้ ดั ตงั้ คณะพยาบาลศาสตรแ์ ละจดั ท�ำ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ขนึ้ เพอ่ื ผลติ บคุ ลากรสาขาพยาบาลศาสตรช์ ว่ ยแกป้ ญั หา ความขาดแคลนบุคลากรพยาบาลของสงั คมอีกสาขาหน่งึ ดงั นน้ั เมอ่ื ตน้ ปี พ.ศ. 2548 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ โดยรองศาสตราจารย์ ดร. ชวนี ทองโรจน์ รองอธกิ ารบดี ฝา่ ยวจิ ยั และพฒั นา ประสานกบั รองศาสตราจารย์ ดร. ทศั นา บญุ ทอง นายกสภาการพยาบาลและคณบดคี ณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ขณะน้ันเพ่ือหารือเร่ืองการจัดต้ังคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดสุ ติ ขอเชญิ ให้เปน็ ท่ปี รกึ ษาการจดั ตงั้ และปลายปี พ.ศ. 2548 รองศาสตราจารย์ดร.ทัศนา บุญทอง นายกสภา การพยาบาลไดร้ บั การประสานจากรองศาสตราจารย์ ดร. ชวนี ทองโรจน์ แจง้ วา่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดเ้ ชญิ อาจารย์เบ็ญจา เตากล่ำ� อดีตผู้อำ�นวยการวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ มาทำ�หน้าท่ีเป็นผู้รับผิดชอบหลักสูตรสาขา พยาบาลศาสตรท์ จ่ี ะจัดต้งั ขนึ้ วนั ท่ี 25 มกราคม 2549 รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา บญุ ทอง พจิ ารณาเหน็ วา่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ มคี วามตั้งใจจริง และเห็นความส�ำ คญั โดยไดจ้ ัดหาบคุ ลากร ซึง่ เปน็ ผู้ประกอบวชิ าชพี การพยาบาลมาเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบ หลกั แลว้ จงึ ไดเ้ ขา้ พบอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ รองศาสตราจารย์ ดร.ศโิ รจน์ ผลพนั ธนิ เพอื่ ปรกึ ษาหารอื เกี่ยวกับแนวคิดนโยบายเกี่ยวกับการจัดต้ังคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซ่ึงอธิการบดีได้เห็น ความสำ�คัญอย่างยิ่งของวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และมหาวิทยาลัยมีความมุ่งมั่นอย่างสูงในการที่จะ ดำ�เนนิ การให้การจดั การศึกษาวชิ าชีพนมี้ ีคณุ ภาพและมาตรฐานตามท่ีก�ำ หนด วนั ที่ 5 เมษายน 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ได้มคี ำ�ส่ังที่ 2232/2549 เรอ่ื งแตง่ ตั้งคณะกรรมการ จัดทำ�ร่างโครงการจัดต้ังคณะพยาบาลศาสตร์และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึง่ ประกอบดว้ ย 1. รองศาสตราจารย ์ ดร. ทัศนา บญุ ทอง ประธาน 2. ดร. เบญ็ จา เตากล่�ำ รองประธาน 3. รองศาสตราจารยส์ ุปราณ ี อัทธเสรี กรรมการ 4. รองศาสตราจารยส์ ุปาณ ี เสนาดิสยั กรรมการ 5. รองศาสตราจารยอ์ รพินธ์ เจรญิ ผล กรรมการ 6. รองศาสตราจารย์ศศธิ ร วรรณพงษ์ กรรมการ 4

7. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จรยิ า วทิ ยะศุภร กรรมการ 8. รองศาสตราจารย์จารวุ รรณ ต.สกุล กรรมการ 9. รองศาสตราจารย์ ดร. จริยาวตั ร คมพยคั ฆ์ กรรมการ 10. รองศาสตราจารยอ์ ษุ าพร ชวลติ นธิ ิกุล กรรมการ 11. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อรพรรณ โตสิงห ์ กรรมการ 12. รองศาสตราจารย์ผจงพร สุภาวิตา กรรมการ 13. นาวาอากาศเอกหญงิ จรรยา กองจนิ ดา กรรมการ/เลขานุการ 14. นางสาววนิดา สุขน้อย กรรมการ/ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร เมอื่ คณะกรรมการไดจ้ ดั ท�ำ หลกั สตู รแลว้ จงึ เสนออนมุ ตั ติ ามขนั้ ตอนและหลกั สตู รไดร้ บั การพจิ ารณาเหน็ ชอบ จากสภาพยาบาล เมอ่ื วนั ที่ 20 เมษายน 2550 ดงั นน้ั มหาวทิ ยาลยั จงึ เรมิ่ เปดิ รบั นกั ศกึ ษาพยาบาลรนุ่ แรกในปกี ารศกึ ษา 2550 จ�ำ นวน 53 คน โดยมรี องศาสตราจารย์ ดร. ทศั นา บญุ ทอง เปน็ ทปี่ รกึ ษา ดร. เบญ็ จา เตากล�่ำ รกั ษาการคณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ยั ทศั น์ พันธกจิ และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร ความสำ�คญั และปรัชญา การพยาบาลเปน็ สาขาวชิ าทางการปฏบิ ตั แิ ละเปน็ วชิ าชพี สาขาสขุ ภาพทม่ี คี วามส�ำ คญั ตอ่ สงั คม เกย่ี วขอ้ งกบั ภาวะสขุ ภาพของประชาชนทกุ ชว่ งวัย ทั้งในภาวะสขุ ภาพดี ภาวะสขุ ภาพเสี่ยงและภาวะเบยี่ งเบนทางสขุ ภาพตลอดจน บุคคลที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต ขอบเขตการปฏิบัติของวิชาชีพการพยาบาล ครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การปอ้ งกนั โรคและการบาดเจบ็ การรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ การบ�ำ บดั ทางการพยาบาล และการฟนื้ ฟสู ภาพในระดบั บคุ คล ครอบครวั กลมุ่ คนและชมุ ชน เปา้ หมายของการพยาบาลเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพของสงั คมและสง่ เสรมิ ให้ผใู้ ช้บรกิ ารทกุ ระดับมีศักยภาพในการดูแลตนเองและสามารถพัฒนาตนเองใหเ้ กดิ สุขภาวะได้ คณะพยาบาลศาสตร ์ มคี วามเชอื่ วา่ การจดั การศกึ ษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ เปน็ การผลติ บณั ฑติ ทมี่ ี ความสามารถในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลแบบองคร์ วม โดยใชค้ วามรจู้ ากศาสตร์ 4 รปู แบบ ประกอบดว้ ยศาสตรเ์ ชงิ ประจกั ษ์ ความรเู้ ชงิ สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นการพยาบาลหรอื ศลิ ปะการพยาบาล ความรทู้ เ่ี กดิ จากประสบการณเ์ ฉพาะตน และความรเู้ ชงิ จรยิ ศาสตร์ ใหเ้ กดิ ผลลพั ธท์ ด่ี ตี อ่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร องคก์ ร และสงั คม มที กั ษะทางปญั ญา ศกั ยภาพการน�ำ ทกั ษะการสอื่ สารและ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ มคี วามสนใจใฝร่ แู้ ละศรทั ธาในวชิ าชพี เปน็ พลเมอื งดี พฒั นาตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง มคี วาม เป็นสากล เป็นทยี่ อมรับและเป็นท่ีต้องการของสงั คม ปณธิ าน คณะพยาบาลศาสตรม์ ุง่ หวงั ผลิตบัณฑิต ให้ปฏิบัติการพยาบาลดว้ ย ภมู ิปัญญา ศรัทธา และคณุ ธรรม วสิ ยั ทัศน์ของคณะพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ เปน็ สถาบนั ทีเ่ นน้ ความโดดเดน่ ด้านการดูแลสุขภาพเดก็ ปฐมวัยและผู้สงู อาย ุ มุง่ สร้าง บัณฑติ พยาบาล ให้เป็นท่ียอมรับในระดับชาติและภูมิภาคอาเซยี น พันธกิจของคณะพยาบาลศาสตร์ 1. ผลติ บณั ฑติ พยาบาลใหม้ คี ณุ ภาพ มงุ่ เนน้ การดแู ลสขุ ภาพเดก็ ปฐมวยั และผสู้ งู อาย ุ มคี วามเปน็ สากล และ มีทกั ษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. ศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื ใหเ้ กดิ องคค์ วามรู้ ทางการพยาบาล และสามารถเผยแพร่ หรอื สรา้ งคณุ คา่ ได้ สรา้ งเครอื ขา่ ย ทางวิชาชีพกบั องค์กรในประเทศและต่างประเทศ 3. บรกิ ารวิชาการแก่สังคม และพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน 4. ทำ�นุบ�ำ รุงศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม และประเพณีอันดงี ามของไทย 5

กรอบแนวคดิ ของหลกั สตู ร ผเู้ รยี น คอื ปจั จยั น�ำ เขา้ ของกระบวนการเรยี นการสอนซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ระบบเปดิ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั สงิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผเู้ รยี นในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ อยใู่ นวยั ผใู้ หญต่ อนตน้ เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบและมคี วามตงั้ ใจ ใฝ่รใู้ นวชิ าชพี การพยาบาล เปา้ หมาย การผลติ บณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ การเตรยี มนกั ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทไี่ มเ่ จาะจงความเชยี่ วชาญ เฉพาะสาขาโดยต้องสามารถปฏิบัตติ ามขอบเขตทีก่ �ำ หนดไว้ในพระราชบญั ญตั วิ ชิ าชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ กระบวนการ การผลติ บณั ฑติ พยาบาลใหม้ คี วามสามารถดงั กลา่ ว จ�ำ เปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ มโนมตหิ ลกั ของ วชิ าชพี ไดแ้ ก ่ คน สงิ่ แวดลอ้ ม สขุ ภาพและการพยาบาล โดยจดั ประสบการณใ์ หผ้ เู้ รยี นไดบ้ รู ณาการความรู้ 4 รปู แบบ ความรจู้ ากศาสตรเ์ ชงิ ประจกั ษ์ ทไ่ี ดจ้ ากงานวจิ ยั จากทฤษฎที างการพยาบาล ทฤษฎหี รอื แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ สงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ ความรสู้ ว่ นนไ้ี ดจ้ ากการสบื คน้ จากแหลง่ ภายนอกตา่ งๆ ทง้ั ทอี่ ยใู่ นรปู ของสอ่ื สง่ิ พมิ พแ์ ละ สอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ความรเู้ ชงิ สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นการพยาบาลหรอื ศลิ ปะทางการพยาบาล เกดิ จากการไดซ้ มึ ซบั แบบอยา่ ง จากตน้ แบบอดุ มคต ิ ซงึ่ รวมทงั้ ผสู้ อนและตน้ แบบอนื่ ๆของวชิ าชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ ์ และเกดิ จากการจดั ประสบการณท์ างคลนิ กิ โดยใหเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ ประสบการณจ์ ากผสู้ อนและพยาบาลวชิ าชพี ความรทู้ เี่ กดิ จากประสบการณ์ เฉพาะตน ความรสู้ ว่ นนเี้ กดิ จากการแลกเปลยี่ นและสะทอ้ นคดิ ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน ผเู้ รยี นกบั กลมุ่ เพอ่ื นผเู้ รยี น ผเู้ รยี น กับผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการกลุ่มอ่ืนๆ ความรู้ส่วนน้ีทำ�ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่สั่งสมในตนเอง รวมทั้งได้ แลกเปลยี่ นและเรยี นรจู้ ากประสบการณข์ องผอู้ นื่ ทงั้ สว่ นทมี่ คี วามส�ำ เรจ็ และสว่ นทไี่ มส่ �ำ เรจ็ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตนเอง เขา้ ใจบคุ คลแวดลอ้ ม พฒั นาการยอมรบั และเคารพผอู้ นื่ พรอ้ มกบั การยอมรบั และเคารพในศกั ยภาพของตนเอง และ ความรเู้ ชงิ จรยิ ศาสตร์ เกดิ จากการปลกู ฝงั ส�ำ นกึ ในตนของผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั รวมทงั้ การปลกู ฝงั โดยอาศยั แบบอยา่ งทดี่ ี และเกิดจากการสะท้อนคิดการปฏบิ ตั ริ ะหว่างกลมุ่ ผเู้ รียนกบั ผู้สอน การจดั การเรยี นรู้ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ เนน้ การปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน ทเี่ นน้ การเคารพ ในความเปน็ บคุ คลและอสิ ระในการคดิ เพอ่ื พฒั นาวธิ คี ดิ วธิ คี น้ ความรวู้ ธิ วี เิ คราะหค์ วามรแู้ ละวธิ นี �ำ ความรมู้ าใช ้ การเรยี นรู้ และฝึกฝน วิธีบูรณาการความรู้จากแหล่งต่างๆ เพื่อใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจในสถานการณ์จริงทางคลินิกโดยใช้ กระบวนการพยาบาล การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนกับทีมสุขภาพและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งนี้เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดวิจารณญาณ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการทำ�งานร่วมกับทีม พัฒนาตนเองให้มีความเจริญงอกงาม มคี วามคิดสรา้ งสรรค์และรกั การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ การจดั สภาพแวดลอ้ ม ตลอดกระบวนการศกึ ษาเนน้ ทก่ี ารจดั หาแหลง่ ความรตู้ า่ งๆทง้ั 4 รปู แบบ ใหค้ รอบคลมุ การเรยี นรตู้ ามเปา้ หมายการเรยี นรทู้ รี่ ะบไุ ว้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นใหส้ ามารถสบื คน้ ความร ู้ คดั กรอง ความรู้และตีความข้อมูลความรู้ต่างๆ เพ่ือนำ�มาบูรณาการ การปฏิบัติการพยาบาลตามขอบเขตของวิชาชีพ องค์กร การศึกษาต้องจัดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีวัสดุอุปกรณ์ต่างๆที่ส่งเสริมการแสวงหาความรู้อย่างสมบูรณ์ เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนและทุกคนในองค์กร เคารพและยอมรับในความหลากหลาย ทางความคิดและวัฒนธรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนตัดสินใจและแสดงออกอย่างเสรี ภายใต้ความถูกต้องเชิงกฎหมายและ คณุ ธรรมจริยธรรม 6

กรอบแนวคิดของหลักสูตรแสดงด้วยแผนภูมิ ดังน้ี แผนภูมิ กรอบแนวคดิ ของหลักสูตร วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร ภายหลังส�ำ เร็จการศึกษา บัณฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์ จะมีคณุ ลักษณะและความสามารถดงั นี้ 1. ใหก้ ารพยาบาลบคุ คลทกุ ชว่ งวยั ทง้ั ในระดบั บคุ คล ครอบครวั กลมุ่ คนและชมุ ชน ครอบคลมุ ภาวะสขุ ภาพดี ภาวะสุขภาพเสย่ี งและภาวะเบ่ียงเบนทางสุขภาพในระยะเฉียบพลนั วิกฤต เรือ้ รงั ตลอดจนระยะสดุ ทา้ ยของชวี ติ 2. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามขอบเขตวชิ าชพี การพยาบาลและการผดุงครรภ์ ครอบคลมุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรคและการบาดเจบ็ การรกั ษาโรคเบอื้ งตน้ การบ�ำ บดั ทางการพยาบาล และการฟน้ื ฟสู ภาพโดยใชก้ ระบวน การพยาบาล 3. ใหบ้ รกิ ารพยาบาลแบบองคร์ วมอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยบรู ณาการความรจู้ ากศาสตรเ์ ชงิ ประจกั ษ์ ความรเู้ ชงิ สุนทรียศาสตร์ในการพยาบาลหรือศิลปะทางการพยาบาล ความรู้ท่ีเกิดจากประสบการณ์เฉพาะตน และความรู้เชิง จริยศาสตร์ 4. มีศักยภาพการน�ำ มพี ฤตกิ รรมการแสดงออกที่เหมาะสม โดยคิดวิเคราะห์ และตดั สนิ ใจอย่างมีเหตผุ ล มีมนุษยสมั พันธใ์ นการบรหิ ารจดั การ ท�ำ งานรว่ มกบั บุคลากรในทีมสุขภาพและสงั คมไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5. มีทักษะการสอ่ื สารทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และเข้าถึง แหล่งขอ้ มูลอย่างมปี ระสิทธภิ าพ 6. ความเปน็ สากล สนใจ ใฝร่ ู้ และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ 7. มบี คุ ลกิ ภาพทดี่ ี มคี วามรบั ผดิ ชอบ เปน็ พลเมอื งดขี องสงั คม และสามารถด�ำ รงตนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี ณุ คา่ 8. ยึดม่ันในคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ รัก และศรัทธา ในวชิ าชพี 7

ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ การจัดการศึกษาเป็นแบบทวิภาค ข้อกำ�หนดต่างๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก) 1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น มีการจดั การเรยี นการสอนภาคฤดรู ้อน ในชั้นปีท่ี 1, 2 และ 3 1.3 การเทยี บเคียงหนว่ ยกติ ในระบบทวภิ าค ไม่มี การดำ�เนินการหลักสตู ร วัน-เวลาในการดำ�เนินการเรยี นการสอน 1. จัดการเรยี นการสอน ปีการศึกษาละ 2 ภาคการศึกษา และภาคการศึกษาฤดูรอ้ น ภาคการศกึ ษาที่ 1 ระหวา่ ง วันที่ 15 สงิ หาคม – วันที่ 30 ธันวาคม ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ระหวา่ ง วนั ที่ 16 มกราคม – วนั ท่ี 19 พฤษภาคม ภาคการศกึ ษาฤดรู ้อน ระหว่าง วันที่ 5 มถิ นุ ายน – วนั ที่ 28 กรกฎาคม หมายเหตุ หากมกี ารเปลี่ยนแปลงให้เป็นไปตามประกาศมหาวทิ ยาลัย 2. การจดั การเรยี นการสอนในเวลา มที งั้ ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ิ โดยจดั การเรยี นการสอนไมเ่ กนิ สปั ดาหล์ ะ 35 ช่ัวโมง คณุ สมบัติของผเู้ ขา้ ศึกษา 1. สำ�เร็จการศึกษาไม่ตำ่�กว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ ในแผนการเรียนวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์ 2. มบี คุ ลิกภาพดี รูปร่างสมส่วน น�ำ้ หนกั สัมพนั ธก์ ับส่วนสูง และความสูงไมน่ ้อยกว่า 155 เซนติเมตร 3. มีความประพฤติดี สามารถปฏิบัตติ ามระเบยี บ ขอ้ บงั คับของมหาวิทยาลัยโดยเครง่ ครัด 4. ยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข 5. เปน็ ผมู้ สี ขุ ภาพสมบรู ณแ์ ขง็ แรง ปราศจากโรคและอาการของโรค หรอื ความพกิ าร อนั เปน็ อปุ สรรคตอ่ การ ศึกษา ดังต่อไปนี้ 1) ปญั หาทางจติ เวชขน้ั รุนแรง 2) โรคติดตอ่ ในระยะตดิ ต่ออันตราย 3) โรคหรอื ภาวะอนั เปน็ อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา เชน่ โรคลมชกั โรคหวั ใจระดบั รนุ แรง โรคความดนั โลหติ สงู รุนแรง ภาวะไตวายเรื้อรัง โรคติดสารเสพติดใหโ้ ทษ 4) ตาบอดสี ชนิดรนุ แรงท้ังสองข้าง 5) ความผิดปกตใิ นการมองเหน็ ภาพ เช่น ไมส่ ามารถมองเหน็ ภาพเปน็ สามมิติ 6) หูหนวกหรอื หตู งึ 7) โรคหรอื ความพิการอ่นื ๆ ท่ีคณะกรรมการและผูต้ รวจร่างกาย เห็นว่าจะเป็นอปุ สรรคต่อการศกึ ษา คุณสมบตั ผิ ู้เข้ารับการศึกษา 1. คณุ สมบัติท่ัวไป 1. เป็นผู้ยดึ ม่ันในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 2. ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาหลกั สตู รมธั ยมศกึ ษาตอนปลายสายวทิ ยาศาสตรห์ รอื เทยี บเทา่ จากสถาบนั การศกึ ษา ท่กี ระทรวงศกึ ษาธิการให้การรบั รองวทิ ยฐานะ 3. เปน็ ผไู้ ม่มีโรคติดตอ่ ร้ายแรง โรคท่สี งั คมรงั เกยี จหรอื โรคส�ำ คญั ทจ่ี ะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การศึกษา 4. เปน็ ผู้มีความประพฤติเรียบรอ้ ย และรบั รองตอ่ มหาวิทยาลัยได้ว่าจะต้ังใจศกึ ษาเลา่ เรยี นเต็มความ สามารถ และจะปฏิบัติตามระเบียบข้อบงั คับของมหาวทิ ยาลัยที่มีอยแู่ ล้ว หรือทจี่ ะมีต่อไปโดยเคร่งครดั ทุกประการ 5. เป็นผู้ไม่ถูกให้ออกจากสถาบันอุดมศึกษาใดๆมาแล้วเพราะความประพฤติไม่เหมาะสมหรือกระทำ� ความผดิ ตา่ งๆ ทไี่ ม่ใช่ทางด้านวชิ าการ 8

2. คณุ สมบัตเิ ฉพาะ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาวิชาการพยาบาลซึ่งมีการเรียนการสอนท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติท่ีต้อง ฝกึ ให้การพยาบาลแก่ผู้ใชบ้ รกิ าร ผสู้ มคั รเข้าศึกษาสาขาพยาบาลศาสตร์จะตอ้ งมรี ูปรา่ งสมส่วน น้ำ�หนักสัมพันธ์กับ สว่ นสงู และความสงู ไมน่ อ้ ยกวา่ 155 เซนตเิ มตร สขุ ภาพสมบรู ณแ์ ขง็ แรง และปราศจากโรค อาการของโรค หรอื ความพกิ าร อันเป็นอุปสรรคตอ่ การศึกษา ดงั ต่อไปน้ี 1. มคี วามพิการอันเปน็ อปุ สรรคต่อการศกึ ษา 2. มปี ัญหาทางจติ เวชขนั้ รนุ แรง ไดแ้ ก ่ โรคจิต (psychosis) โรคประสาทรุนแรง (severe neurosis) หรอื โรคบคุ ลิกภาพแปรปรวน โดยเฉพาะ antisocial personality หรือ borderline personality รวมถงึ ปญั หาทาง จติ เวชอื่นๆ อันเปน็ อุปสรรคต่อการศกึ ษาและการประกอบวชิ าชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ 3. โรคติดต่อในระยะติดต่ออันตราย ที่จะมีผลต่อผู้ใช้บริการหรือส่งผลให้เกิดความพิการอย่างถาวรอัน เปน็ อุปสรรคต่อการศกึ ษา 4. โรคตดิ ตอ่ หรอื ภาวะอันเป็นอปุ สรรคต่อการศึกษา 1) โรคลมชกั ทย่ี งั ไมส่ ามารถควบคมุ ได ้ (โรคลมชกั ทไ่ี มม่ อี าการชกั มาแลว้ อยา่ งนอ้ ย 3 ป ี โดยมกี าร รับรองจากแพทยผ์ เู้ ชยี่ วชาญ ถือเป็นโรคลมชกั ทคี่ วบคุมได)้ 2) โรคหวั ใจระดบั รนุ แรงจนเปน็ อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษาและการประกอบวชิ าชพี การพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ 3) โรคความดนั โลหติ สงู รนุ แรง และมภี าวะแทรกซอ้ นซง่ึ ท�ำ ใหเ้ กดิ พยาธสิ ภาพตอ่ อวยั วะอยา่ งถาวร 4) ภาวะไตวายเรื้อรงั 5) โรคติดสารเสพตดิ ใหโ้ ทษ 5. ตาบอดสีชนิดรุนแรงทัง้ สองข้าง 6. ความผดิ ปกติในการเห็นภาพ โดยมอี ยา่ งน้อยขอ้ ใดขอ้ หนง่ึ ดังต่อไปนี้ 1) สายตาไมป่ กติ เมอื่ รักษาโดยการใชแ้ วน่ ตาแล้วยังมสี ายตาต่ำ�กวา่ 6/24 ทง้ั สองขา้ ง 2) สายตาขา้ งดี ตำ่�กวา่ 6/12 เมื่อได้รับการแก้ไขอย่างดที ่สี ดุ แลว้ 3) ไมส่ ามารถมองเห็นภาพเปน็ สามมติ ิ 7. หหู นวกหรอื หตู งึ (Threshold ของการไดย้ นิ สงู กวา่ 40 dB) จากความผดิ ปกตทิ างประสาทและการไดย้ นิ (sensor neural hearing loss) ถา้ ได้รบั การรกั ษาแล้วไม่ดีขน้ึ 8. โรคหรอื ความพกิ ารอนื่ ๆ ซง่ึ มไิ ดร้ ะบไุ ว้ คณะกรรมการและผทู้ �ำ การตรวจรา่ งกายเหน็ วา่ เปน็ อปุ สรรค ต่อการศกึ ษา ท้ังน้คี ณบดีคณะพยาบาลศาสตร์อาจแต่งต้งั ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะโรคตรวจเพมิ่ เติมได้ การคัดเลือกผเู้ ข้าศกึ ษา การสมัครและการรับเข้าเปน็ นักศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั ระบบการศึกษา 1. ระบบการศึกษาใช้ระบบทวภิ าค โดยหน่ึงปีการศึกษาแบง่ ออกเปน็ สองภาคเรยี นปกตแิ ละ/หรือภาค เรียนฤดูรอ้ น หน่ึงภาคเรยี นปกติใชร้ ะยะเวลาการเรียนไม่นอ้ ยกวา่ 15 สปั ดาห ์ สำ�หรับภาคเรียนฤดรู ้อนกำ�หนดระยะ เวลาการเรยี นและจ�ำ นวนหนว่ ยกติ โดยมสี ดั สว่ นเทยี บเคียงไดก้ บั ภาคเรยี นปกติ 2. การก�ำ หนดปรมิ าณการเรยี นของแตล่ ะรายวชิ า ใหก้ �ำ หนดเปน็ หนว่ ยกติ โดยมวี ธิ กี ารก�ำ หนดหนว่ ยกติ ดังนี้ 1) รายวิชาภาคทฤษฎ/ี อภปิ ราย/สมั มนาทใ่ี ชเ้ วลา 1 ชั่วโมงต่อสปั ดาห์หรอื ไม่นอ้ ยกว่า 15 ชวั่ โมง ตลอดหน่ึงภาคเรียนปกติใหม้ ีคา่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกิต 2) รายวิชาการทดลองในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์หรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการพยาบาลท่ีใช้ เวลา 2 - 3 ช่วั โมงต่อสัปดาห์ หรือระหวา่ ง 30 - 45 ช่ัวโมงตลอดหนึ่งภาคเรียนปกติ ใหม้ คี ่าเท่ากับ 1 หนว่ ยกติ 3) รายวชิ าการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นคลนิ กิ หรอื ชมุ ชนทใี่ ชเ้ วลา 4 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ หรอื ไมน่ อ้ ยกวา่ 60 ชวั่ โมง ตลอดหนง่ึ ภาคเรียนปกติ ให้มีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกติ 9

สญั ลักษณ์คณะพยาบาลศาสตร์ ดอกไม้ประจ�ำ คณะพยาบาลศาสตร์ ดอกพดุ น้ำ�บุศย์ ดอกพดุ น�ำ้ บศุ ย์มกี ล่ินหอมและความสวยงาม เสมือนความสงา่ งาม และชอ่ื เสียงดงี ามทข่ี จรขจาย ลกั ษณะ ดอกเดย่ี วทอ่ี อกดอกใกลป้ ลายยอด กลบี ดอกทม่ี ตี ง้ั แต่ 6-9 กลบี เสมอื นบณั ฑติ ทม่ี คี วามโดดเดน่ มสี มรรถนะหลายดา้ น นอกจากนด้ี อกพดุ น�ำ้ บศุ ยย์ งั มคี วามเจรญิ งอกงามภายใตแ้ สงแดดไดด้ ี และเปลย่ี นสเี รม่ิ จากสขี าวนวลเมอ่ื เรม่ิ บานไปจน ถงึ สเี หลอื ง และมสี เี หลอื งทองจนออกสสี ม้ เขม้ เสมอื นความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ อดทนในการสง่ั สมความรู้ ความเชยี่ วชาญ เป็นประสบการณ์เพิ่มขน้ึ ตามกาลเวลา สีประจำ�คณะพยาบาลศาสตร์ สขี าว-สแี ดง เปน็ สีขาวของความบริสุทธิ์ดีงามของวิชาชพี การพยาบาล และสแี ดงเป็นสธี งของสภาการพยาบาล ซ่งึ เป็นที่ รวมพลงั ของวิชาชพี 10

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผู้บริหารและอาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์

Faculty of Nursing ครายณนามผะพบู้ ริหยารแาลบะอาาจาลรยศ์ าสตร์ ผบู้ ริหารคณะ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรีสดุ า วงศ์วิเศษกลุ 3. อาจารยผ์ ้สู อนวิชา - การพยาบาลพนื้ ฐาน ต�ำ แหนง่ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - แนวคดิ และทฤษฎีทางการพยาบาล และการผดงุ ครรภช์ ้ันหน่ึง 4511057425 - ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารเชิงวชิ าชีพ • ประวัตกิ ารศกึ ษา - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ - ครุศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต (อดุ มศกึ ษา) การผดงุ ครรภ์ 1, 2 จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - ปฏิบตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่ - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต - วิจัยทางการพยาบาล (สาธารณสขุ ศาสตร์) อาจารยธ์ ณดิ า พมุ่ ทา่ อิฐ มหาวิทยาลยั มหิดล ต�ำ แหน่ง รองคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ - พยาบาลศาสตรบณั ฑติ (พยาบาล) เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช •แลปะกราะรวผตั ดิกุงาครรศรภึกช์ ษ้ันาหนึ่ง 4511035870 - ศิลปศาสตรบณั ฑิต (ภาษาองั กฤษ) - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั รามคำ�แหง (การพยาบาลอายุรศาสตร์และศลั ยศาสตร์) - อนปุ รญิ ญาพยาบาลและอนามัย มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และประกาศนยี บัตรผดงุ ครรภ์ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ มหาวิทยาลัยมหิดล ผดุงครรภ์ช้ันสูง วิทยาลัยพยาบาลพุทธ • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ชินราช พิษณโุ ลก ดา้ นการพยาบาล - ประกาศนียบัตรการจัดการเรียน 1. พยาบาลวิชาชีพ และนักวิชาการ การสอนในสาขาพยาบาลศาสตร์ พยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุขของ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนกี รุงเทพ กรงุ เทพมหานคร ส�ำ นกั อนามยั - วุฒิบัตรความเช่ียวชาญด้านการ กรงุ เทพมหานคร พยาบาลขั้นสูง (APNs) สาขาการพยาบาล 2. สอนวิชาการพยาบาลชุมชนภาค อายรุ ศาสตร์ และศลั ยศาสตร์ ปฏิบัติให้แก่นักศึกษาพยาบาลจากวิทยาลัย สภาการพยาบาล พยาบาลเก้ือการุณย์วิทยาลัยพยาบาลบรม - ประกาศนยี บตั รผจู้ ดั การการดแู ลผปู้ ว่ ย ราชชนนี กรุงเทพ ส�ำ หรับผบู้ ริหาร สภาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และ มหาวทิ ยาลยั อัสสัมชญั ณ ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ สำ�นกั อนามัย • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ ด้านการสอน 1. หวั หน้าสาขาการพยาบาลชุมชน 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ อาจารย์ผู้สอนวิชา - ระบบสขุ ภาพและการพยาบาล - การสร้างเสรมิ สุขภาพ - การพยาบาลชุมชน - ปฏิบตั ิการพยาบาลชมุ ชน - สารสนเทศทางการพยาบาล 12

• ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นภสั กรณ์ วทิ รู เมธา สาขาการพยาบาลมารดาทารกและ ด้านการพยาบาล การผดุงครรภ์ - รองหวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมอบุ ตั เิ หตุ ต�ำ แหนง่ ประธานหลกั สตู รพยาบาลศาสตร โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ บัณฑติ อาจารย์ ดร.เนตรรัชนี กมลรตั นานนั ท์ - พ ย า บ า ล วิ ช า ชี พ ป ฏิ บั ติ ง า น ห อ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ต�ำ แหนง่ หัวหนา้ สาขา ผ้ปู ว่ ยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ และการผดุงครรภช์ นั้ หนง่ึ 4511009083 เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วย • ประวัติการศึกษา และการผดุงครรภ์ชน้ั หนึ่ง 4511054604 พิเศษ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ - ครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต (อดุ มศกึ ษา) • ประวตั ิการศกึ ษา - คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั - ครศุ าสตรดุษฏบี ัณฑิต พยาบาลของ ทมี ดแู ลผูป้ ว่ ยศัลยกรรม - ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการ (การวดั และประเมินผลการศึกษา) - คณะกรรมการบรหิ ารความเสยี่ งของทมี พยาบาล) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ดแู ลผู้ป่วยศัลยกรรม - พยาบาลศาสตรบัณฑิต - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ - ผู้จัดการการดูแลผู้ป่วยศัลยกรรม มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล (การพยาบาลเวชปฏบิ ตั คิ รอบครัว) ประสาท • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ มหาวิทยาลัยบรู พา - ผตู้ รวจการนอกเวลาราชการ ดา้ นการพยาบาล - สาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ เป็นพยาบาลวิชาชีพ แผนกศัลยกรรม (อาชีวอนามยั และความปลอดภยั ) - อาจารย์พ่เี ลย้ี งนกั ศกึ ษาพยาบาล โรงพยาบาลศริ ริ าช มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีอุตรดิตถ์ ดา้ นการสอน และผดงุ ครรภช์ น้ั สงู วทิ ยาลยั พยาบาลล�ำ ปาง รายวิชา ปฏบิ ตั พิ ยาบาลพนื้ ฐาน 1. สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ นกั ศกึ ษาพยาบาล ระดบั ปรญิ ญาตรี เปน็ เวลา ด้านการพยาบาล ปฏิบัติการพยาบาลผใู้ หญ่ 25 ปี 1. พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ัตกิ ารห้องคลอด ปฏบิ ตั บิ ริหารการพยาบาล 2. สอนนกั ศกึ ษาพยาบาลระดบั ปรญิ ญาโท โรงพยาบาลล�ำ ปาง • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ และเป็นอาจารย์ ทปี่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์เป็น 2. พยาบาลปฏบิ ัติการหอ้ งคลอด ดา้ นการสอน เวลา 14 ปี โรงพยาบาลชลบุรี 1. ประธานหลกั สูตรประกาศนียบัตร 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ผูช้ ่วยพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ดา้ นการสอน 2. หัวหน้าสาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต 1. การสอนคลินิกการพยาบาล แม่และ ผูส้ งู อายุ 4. ผูร้ ับผดิ ชอบรายวชิ า เด็ก 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล บรู พา ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - กระบวนการพยาบาล 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ - ศักยภาพการน�ำ ทางการพยาบาล มารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ - การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ 3. ผูร้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า อาจารยผ์ ูส้ อนวิชา 5. อาจารยผ์ สู้ อนวิชา - ทฤษฎีและแนวคดิ หลักในวิชาชพี - การพยาบาลพน้ื ฐาน - การพยาบาลผใู้ หญ1่ การพยาบาล - กระบวนการพยาบาล - การพยาบาลผู้ใหญ2่ - กระบวนการพยาบาล - ปฏิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน - ป ร ะ เ ด็ น แ ล ะ แ นว โ น้ ม วิ ช า ชี พ - การพยาบาลผใู้ หญ่ 5. อาจารย์ผสู้ อนวิชา การพยาบาล - การพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น - การพยาบาลผ้ใู หญ่ 1 - การพยาบาลพน้ื ฐาน - การพยาบาลมารดาทารกและ - การพยาบาลผ้ใู หญ่ 2 - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน การผดุงครรภ์ 1 - วิจยั ทางการพยาบาล - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผู้ใหญ่ 2 - การพยาบาลชมุ ชน - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั - ปฏิบัติการบรหิ ารการพยาบาล - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพื้นฐาน - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และ - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญ่ 1 ผสู้ งู อายุ 1 - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารกและ - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และ การผดงุ ครรภ1์ ผู้สงู อายุ 2 - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ - ปฏิบัติการเสริมทักษะทางการ การผดงุ ครรภ์ 2 พยาบาล - ระบบคณุ ภาพโรงพยาบาล (หลกั สูตรเลขานกุ ารการแพทย)์ 13

อาจารยส์ นุ ดิ า ชแู สง - ประกาศนียบัตร หลักสูตรการจัดการ • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ ตำ�แหน่ง รองหัวหน้าสาขา เรียนการสอนในสาขาพยาบาลศาสตร์ ด้านการสอน เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนกี รุงเทพ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล และการผดงุ ครรภช์ นั้ หนงึ่ 5511182033 • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล • ประวตั ิการศึกษา ดา้ นการพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานห้องคลอด 2. ผู้รบั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า (การพยาบาลมารดาและทารก) แ ล ะ ผู้ ป่ ว ย ใ น โ ร ง พ ย า บ า ล บ า ง ป ล า ม้ า จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั สพุ รรณบุรี - การพยาบาลมารดา ทารกและ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ การผดงุ ครรภ์ 1 มหาวิทยาลยั มหิดล ดา้ นการสอน - การพยาบาลมารดา ทารกและ ประสบการณ์ความเช่ียวชาญ 1. พยาบาลวิชาชีพ (ด้านการสอน) การผดงุ ครรภ์ 2 ด้านการพยาบาล ร ะ ดั บ 7 วิ ท ย า ลั ย พ ย า บ า ล บ ร ม ร า ช ช น นี - ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วย ชยั นาท 3 ปี และการผดุงครรภ์ 1 ห้องคลอด และ สตู ิกรรม 2 โรงพยาบาลรามาธบิ ดี 2. พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการพิเศษ ฝากครรภ์ • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ (ดา้ นการสอน) วิทยาลัยพยาบาลบรม - ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก ด้านการสอน ราชชนนีชัยนาท 7 ปี และ การผดงุ ครรภ์ 2 ห้องคลอด และหลงั 1. อาจารย์สอนคณะพยาบาลศาสตร์ 3. ผูร้ บั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า คลอด มหาวทิ ยาลัยครสิ เตียน - ปฏิบัติวิชาการดูแลสุขภาพข้าม 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การพยาบาลมารดาทารกและการ วฒั นธรรม มารดา ทารกและการผดุงครรภ์ คณะ ผดุงครรภ์ 1 - วิชาศกั ยภาพการน�ำ และการบรหิ าร พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต จัดการทางคลนิ ิก 3. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวิชา - การพยาบาลมารดาทารกและการ อาจารยล์ กั ขณา ศรบี ญุ วงศ์ ผดุงครรภ์ 2 ต�ำ แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร - การพยาบาลมารดาทารก เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - การผดุงครรภ์ - ปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารก และการผดุงครรภ์ชนั้ หน่ึง 4511015294 - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ และการผดุงครรภ์ 1,2 • ประวัติการศึกษา การผดงุ ครรภ์ - วจิ ัยทางการพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ - วิจัยทางการพยาบาล อาจารย์อารยี า เตชะไมตรีจิตต์ (การพยาบาลแม่และเด็ก) มหาวิทยาลัย - การพยาบาลพ้ืนฐาน ตำ�แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร มหดิ ล อาจารย์ ดร.บญุ สง่ สุประดษิ ฐ์ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ ตำ�แหน่ง อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร และการผดงุ ครรภช์ ้ันหน่งึ 4511050166 (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตร)ี เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั หนง่ึ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประวตั กิ ารศึกษา วทิ ยาลัยพยาบาลเกือ้ การณุ ย์ และการผดุงครรภช์ นั้ หน่ึง 4511058078 - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ - วฒุ บิ ตั รความเชย่ี วชาญเฉพาะทางการ • ประวตั ิการศกึ ษา (การพยาบาลมารดา และทารก) พยาบาลและการผดุงครรภ์ (สาขาการ - ปรชั ญาดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั มหิดล พยาบาลมารดาและทารก) สภาการพยาบาล (การบรหิ ารการศกึ ษาและภาวะผูน้ �ำ ) - วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต - ประกาศนียบัตรศาสตร์และศิลป์ มหาวิทยาลยั เซน็ ตจ์ อห์น (การพยาบาลและผดงุ ครรภ์) การสอนทางการพยาบาลจุฬาลงกรณ์ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยมหดิ ล มหาวิทยาลยั (การพยาบาลแม่และเด็ก) มหาวิทยาลัย - ประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะ • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ มหดิ ล ทางสาขา ศาสตร์และศิลป์การสอนทางการ ดา้ นการพยาบาล - ประกาศนียบัตรการพยาบาลและ พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยศัลยกรรม ผดุงครรภ์ (ต่อเนือ่ ง) เทยี บเท่าปรญิ ญาตรี - Mini-MBA in Hospital administration เดก็ วิทยาลัยพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก รนุ่ 5 สถาบนั IHMCรว่ มกบั คณะสาธารณสขุ 2. พยาบาลวชิ าชีพหอผปู้ ่วยสูตกิ รรม 4 - วุฒิบัตร แสดงความรู้ ความชำ�นาญ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 3. พยาบาลวิชาชีพหน่วยวางแผน เฉพาะทางการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ครอบครัว สาขาการพยาบาล มารดาทารก สภาการ ดา้ นการพยาบาล 4. พยาบาลวชิ าชพี หอ้ งตรวจนรเี วชกรรม พยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานการ • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ พยาบาลสูต-ิ นรเี วชฯ ตึกหลงั คลอด ด้านการสอน โรงพยาบาลรามาธบิ ดี 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 2. ผู้ชว่ ยหวั หน้าฝา่ ยการพยาบาล มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล โรงพยาบาลบางมด ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ 3. หัวหน้าแผนกห้องผ่าตัดดูแลด้านการ 2. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวิชา พยาบาล ห้องผา่ ตัด การพยาบาลห้องคลอด วิสัญญี และพกั ฟื้นหลังผ่าตดั หน่วยงานจ่าย - การพยาบาลมารดาทารกและ กลาง โรงพยาบาลบางมด การผดงุ ครรภ์ 1 - การพยาบาลมารดาทารกและ การผดุงครรภ์ 2 14

- ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ สาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ การผดงุ ครรภ์ 1 ด้านการพยาบาล อาจารย์ ดร.ชรรนิ ขวญั เนตร 1. พยาบาลประจำ�การหอผู้ป่วยกุมาร - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ ตำ�แหน่ง หวั หนา้ สาขา เวชกรรมและ ศัลยกรรม โรงพยาบาล การผดงุ ครรภ์ 2 เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล จุฬาลงกรณ์ อาจารย์นิรตั นช์ ฎา ไชยงาม และการผดงุ ครรภช์ ้นั หน่ึง 4511007892 2. หัวหน้าหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรมและ ตำ�แหน่ง อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร • ประวัติการศึกษา ศัลยกรรมพิเศษ หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - Ph.D. (International Program) สามัญ หนว่ ยไตเทยี มเด็ก และหน่วยเปลย่ี น และการผดงุ ครรภ์ชัน้ หน่งึ 5511233984 (Nursing Science) Burapha University ถ่ายไขกระดกู เด็ก โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ • ประวัติการศึกษา - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต (เภสัชวทิ ยา) 3. ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการพัฒนาบริการ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ (การผดุงครรภ์) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ - พยาบาลศาสตรบณั ฑิต บูรพา ด้านการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ติ • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลเดก็ • ประสบการณ์ความเช่ยี วชาญ ดา้ นการพยาบาล และวยั รนุ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ด้านการพยาบาล พยาบาลประจำ�หอผ้ปู ่วยวิกฤติ (ICU) สวนดุสติ พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ตั กิ ารหอ้ งฉกุ เฉนิ โรง โรงพยาบาลวภิ าวดี 2. ผรู้ บั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า พยาบาลเปาโล • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ - การพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ ดา้ นการสอน - การพยาบาลพื้นฐาน ดา้ นการสอน 1. อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล วิทยาลยั เทคโนโลยรี าชธานี อดุ รธานี - พฒั นาการมนษุ ย์ มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล 2. อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ - กระบวนการพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น - การประเมินภาวะสขุ ภาพ 2. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร เด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ จดั การทางคลนิ ิก - การพยาบาลมารดาทารกและ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ - ประเด็นและแนวโน้มของวิชาชีพ ผดงุ ครรภ์ 4. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวิชา พยาบาล - การพยาบาลพน้ื ฐาน - ระบบคุณภาพโรงพยาบาล - การพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ (หลกั สูตรเลขานุการทางการแพทย)์ - เภสชั วทิ ยา - ปฏบิ ตั กิ ารการพยาบาลเดก็ และ - วิจยั ทางการพยาบาล วยั รนุ่ - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน - ปฏบิ ัติการการพยาบาลพน้ื ฐาน - ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ อาจารย์ ดร.ณฐั ยา ศรีทะแก้ว - นวตั กรรมทางการพยาบาล ตำ�แหน่ง อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร อาจารย์พชั มน อ้นโต เลขที่ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี ต�ำ แหน่ง รองหัวหน้าสาขา การพยาบาลและการผดุงครรภ์ชั้นหน่ึง เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล 4411163867 และการผดุงครรภช์ ัน้ หนึง่ 4511052568 • ประวัตกิ ารศกึ ษา • ประวตั ิการศึกษา - Ph.D. (Nursing) The University of - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (บริหาร Newcastle, Australia การพยาบาล) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั - พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต - วิทยาศาตรบัณฑิต (พยาบาลและ (การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น) จุฬาลงกรณ์ ผดงุ ครรภ)์ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ มหาวทิ ยาลัย - พยาบาลศาสตรบณั ฑติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ ด้านการพยาบาล 1. พยาบาลวชิ าชพี หอผปู้ ว่ ยวกิ ฤตและ หัวใจโรงพยาบาลนนทเวช 2. พยาบาลวิชาชีพ หอผู้ป่วยวิกฤติ ศัลยกรรม โรงพยาบาลธรรมศาสตร์ เฉลมิ พระเกยี รติ 15

• ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ อาจารยก์ ติ ิวฒั นา ศรวี งศ์ สาขาการพยาบาลผูใ้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ ดา้ นการสอน ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร 1. อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล อาจารย์ ดร.เพลนิ ตา พิพัฒน์สมบตั ิ มหาวทิ ยาลัยอสี เทริ ์นเอเชีย และการผดงุ ครรภ์ช้ันหนึ่ง 4511087597 ตำ�แหนง่ หวั หนา้ สาขา 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล • ประวตั กิ ารศึกษา เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ และการผดงุ ครรภช์ ัน้ หนึง่ 45511011527 มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ (นิติวทิ ยาศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร • ประวัติการศกึ ษา 3. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - พยาบาลศาสตรบณั ฑติ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหารการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พยาบาล) มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตียน - การพยาบาลเด็ก • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ - Advanced Adult Nursing I & II, - การประเมินภาวะสขุ ภาพ ด้านการพยาบาล Concept of Advanced Nursing Practice - การพยาบาลพืน้ ฐาน 1. พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงาน มหาวทิ ยาลยั มหิดล - ภาษาอังกฤษ ผปู้ ว่ ยนอกและอบุ ตั เิ หต-ุ ฉุกเฉิน - Theoretical Foundation in Advanced - นวัตกรรม Nursing Practice มหาวทิ ยาลยั มหิดล - การดูแลผปู้ ่วยขา้ มวัฒนธรรม โรงพยาบาลอัมพวา สมุทรสงคราม และ - วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ (สขุ ศกึ ษา) - ปฎบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน โรงพยาบาล นครธน กรุงเทพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น 2. หวั หนา้ แผนกอบุ ัตเิ หต-ุ ฉุกเฉิน - พยาบาลบาลศาสตรบณั ฑติ อาจารยร์ ัชนี ชัยประเดมิ ศกั ดิ์ งานรับ-ส่งผู้ป่วย และงานบริการการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร ฉุกเฉินโรงพยาบาลเอกชัยสมุทรสาคร - ประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ ผดุงครรภ์ วิทยาลยั พยาบาลเก้ือการณุ ย์ และการผดุงครรภ์ช้นั หนง่ึ 4511057302 ด้านการสอน • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ประวตั กิ ารศกึ ษา 1. อาจารยภ์ าคทดลอง ดา้ นการพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น 1. รองหวั หน้าพยาบาลผู้ป่วยนอก (การพยาบาลเด็ก) มหาวิทยาลัยมหดิ ล 2. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลเดก็ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑติ และวยั รนุ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั 2. หวั หนา้ หน่วยสวนหวั ใจ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ สวนดสุ ิต โรงพยาบาลวชริ พยาบาล • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ 3. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวิชา 3. พยาบาลประจำ�การหน่วยส่วนหัวใจ ดา้ นการพยาบาล โรงพยาบาลวชริ พยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤตและ - การพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ 4. พยาบาลประจำ�การหน่วยตรวจหัวใจ ฉุกเฉนิ โรงพยาบาลพญาไท 2 - เภสัชวทิ ยาสำ�หรับพยาบาล ด้วยคลืน่ เสยี งความถสี่ งู 2. พยาบาลวชิ าชีพหอผปู้ ่วยเด็ก - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร โรงพยาบาลวชิรพยาบาล โรงพยาบาลทหารผ่านศกึ ษา จัดการทางคลินกิ 5. พยาบาลประจ�ำ หออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนกั • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ - กระบวนการพยาบาลและประเมิน โรคหวั ใจและหลอดเลือด ด้านการสอน ภาวะสขุ ภาพ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การพยาบาลพืน้ ฐาน • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ เด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ - การประกอบธุรกิจด้านสุขภาพ ด้านการสอน มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ - การพยาบาลพื้นฐาน 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 2. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลเด็กและวยั รุน่ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - การพยาบาลพ้นื ฐาน มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต - กระบวนการพยาบาล 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา - วิจัยทางการพยาบาล - การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผสู้ งู อายุ 1 - การพยาบาลเด็กและวัยร่นุ - การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผูส้ งู อายุ 2 - ปฏิบัติการพยาบาลพืน้ ฐาน - ทฤษฎีและแนวคดิ หลกั ในวิชาชีพ - ปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ พยาบาล - กระบวนการพยาบาล - การพยาบาลพน้ื ฐาน - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั - วจิ ัยทางการพยาบาล - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง อายุ 1 - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง อายุ 2 - ปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารจดั การทางคลนิ ิก 16

อาจารย์ ดร.ดวงเนตร ธรรมกุล 10. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา อาจารยส์ มจิต นิปัทธหตั ถพงศ์ ต�ำ แหนง่ รองหวั หนา้ สาขา - การพยาบาลผใู้ หญ่ และผสู้ ูงอายุ ตำ�แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - วจิ ัยทางการพยาบาล หวั หนา้ หน่วยปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ชัน้ หนงึ่ 4511006919 - การประเมินภาวะสขุ ภาพ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประวัตกิ ารศกึ ษา - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน และการผดุงครรภ์ชน้ั หนงึ่ 4511001896 - ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (วธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ • ประวตั กิ ารศกึ ษา การศึกษา) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ผสู้ ูงอายุ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (บริหาร - พยาบาลศาตรมหาบณั ฑิต - ปฏบิ ตั ิการบรหิ ารการพยาบาล การพยาบาล) มหาวิทยาลยั บรู พา (การพยาบาลผู้ใหญ)่ มหาวิทยาลัยมหดิ ล อาจารย์เรณู ขวญั ยนื - การศึกษาบัณฑิต (วิชาเอกพยาบาล - นติ ิศาสตรบณั ฑิต ตำ�แหน่ง รองหวั หน้าสาขา ศกึ ษา) วิทยาลัยพยาบาลกรงุ เทพฯ สถาบนั มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล สมทบ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ - วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและ และการผดงุ ครรภช์ ัน้ หนึ่ง 4511015075 - ประกาศนยี บตั รพยาบาลผดงุ ครรภแ์ ละ ผดงุ ครรภ)์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ • ประวัตกิ ารศกึ ษา อนามัย วิทยาลัยพยาบาลวชิรพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ - ก�ำ ลงั ศกึ ษาต่อระดับปริญญาเอก • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ ดา้ นการพยาบาล จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ด้านการพยาบาล 1. พยาบาลวิชาชพี - ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ 1. หัวหน้าหออภิบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่ (การวดั และประเมินผลทางการศกึ ษา) และหลอดเลือด วิทยาลัยแพทยศาสตร์ 2. พยาบาลวิชาชีพ มหาวิทยาลยั รามค�ำ แหง กรงุ เทพมหานครและวชริ พยาบาล โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ - วิ ท ย า ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ( บ ริ ห า ร 2. ผู้ช่วยหัวหน้าหออภิบาลผู้ป่วยโรค • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ สาธารณสขุ ) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช หัวใจ และหลอดเลอื ดวทิ ยาลัยแพทยศาสตร์ ด้านการสอน - ประกาศนียบัตรการพยาบาลและ กรงุ เทพมหานครและวชิรพยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ-ชำ�นาญ ผดุงครรภ์ชั้นสูง วิทยาลัยพยาบาลบรมราช 3. ผตู้ รวจการเวรวกิ าล ฝา่ ยการพยาบาล การพเิ ศษ (ดา้ นการสอน) ชนนพี ทุ ธชินราช พษิ ณโุ ลก วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรงุ เทพมหานคร วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี นนทบุรี • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ และวชริ พยาบาล 2. สอนการพยาบาลและการปอ้ งกนั การ ด้านการพยาบาล 4. พยาบาลประจำ�การ ตึกอายุรกรรม ติดเชอ้ื เอชไอวี/เอดส์ แบบองค์รวม 1. พยาบาลวชิ าชีพ แผนกผูป้ ว่ ยใน พิเศษกองโอสถกรรม วทิ ยาลัยแพทยศาสตร์ หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางระยะส้ัน โรงพยาบาลบ้านแหลม กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล นานาชาติ การพยาบาลและการปอ้ งกัน 2. พยาบาลวชิ าชพี แผนกผปู้ ว่ ยหนกั โรง ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ การติดเช้อื เอชไอวี/เอดส์ แบบองคร์ วม พยาบาลสงฆ์ ดา้ นการสอน 3. สอนในคลนิ กิ ส�ำ หรบั นกั ศกึ ษา Taipei 3. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยสูงอายุ 1. การสอนคลินิกระบบหัวใจและหลอด Medical University ทห่ี อผปู้ ว่ ยหนกั สถาบนั โรงพยาบาลสงฆ์ เลือดวิกฤตบนหอผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอด บำ�ราศนราดูร หลักสูตร International 4. พยาบาลวชิ าชพี แผนกผูป้ ว่ ย เลอื ดวทิ ยาลยั แพทยศาสตรก์ รงุ เทพมหานคร Internship in Nursing Program จกั ษุ โรงพยาบาลสงฆ์ และวชิรพยาบาล 4. Family-Centered Care 5. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยนอก 2. สอนนักศกึ ษาพยาบาล หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการ เบาหวานโรงพยาบาลสงฆ์ วทิ ยาลยั บรมราชชนนนี พรตั นว์ ชริ ะ พยาบาล ผู้ปว่ ยระบบหัวใจ • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ 3. หวั หนา้ สาขาการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผู้ 5. Family-Centered Care ดา้ นการสอน สงู อายุ หลกั สตู รเฉพาะทางการพยาบาลผปู้ ว่ ยระบบ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 4. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล หายใจ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 6. การปฏิบัติพยาบาลโดยใช้หลักฐาน มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต มหาวิทยาลัยสวนดุสิต เชิงประจักษ์ (Evidence Based Nursing 2. ผ้รู ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา 5. หวั หนา้ หน่วยปฏบิ ัติการพยาบาล Practice) และหัวข้อการบันทึกทางการ - การพยาบาลพ้ืนฐาน 6. ผูร้ บั ผิดชอบ/สอนรายวิชา พยาบาลและการจัดเก็บข้อมูลที่สำ�คัญ และ - การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 - การพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผู้สูงอายุ 1 ร่วมอภิปรายแนวคิดและกลยุทธ์ด้านการ - การพยาบาลผใู้ หญ่ 2 - การพยาบาลผูใ้ หญ่และผ้สู งู อายุ 2 พยาบาลเพ่ือป้องกันและควบคุมการติด - การรักษาโรคเบอ้ื งตน้ - ทฤษฎีและแนวคิดหลักในวิชาชีพ เช้ือในแต่ละระบบและหน่วยงานต่างๆ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน พยาบาล หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลผู้ป่วยโรค - ปฏิบัตกิ ารเสรมิ ทักษะการพยาบาล - การพยาบาลผ้สู ูงอายุ ติดเช้ือและป้องกนั การติดเชื้อ - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญ่และผูส้ งู - กระบวนการพยาบาล 7. การสอนหลักสูตรผูช้ ่วยพยาบาล อายุ 1 - การพยาบาลพน้ื ฐาน 8. ที่ปรึกษางานวิจัยนักศึกษาพยาบาล - ปฏิบัติการบรหิ ารพยาบาล - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั ในรายวิชาวจิ ัยทางการพยาบาล - พัฒนาการมนษุ ย์ 9. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การรักษาโรคเบือ้ งตน้ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - ปฏบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐาน มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 17

- ปฏิบัติการเสริมทักษะทางการ พยาบาล - ปฏบิ ตั ิการบริหารจดั การทางคลนิ กิ อาจารย์ลดั ดาวัลย์ เตชางกรู อาจารยช์ ญานศิ ชอบอรุณสิทธิ อาจารย ์ดร. ฐติ าพร เขียนวงษ์ ต�ำ แหน่ง อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร ตำ�แหน่ง อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และการผดุงครรภช์ ้นั หนงึ่ 4511043000 และการผดงุ ครรภช์ ัน้ หนงึ่ 4711108940 และการผดงุ ครรภ์ชนั้ หนึง่ 5111093990 • ประวตั กิ ารศกึ ษา • ประวัตกิ ารศึกษา • ประวัตกิ ารศกึ ษา - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ - Doctoral of Philosophy (Ph.D.) (การพยาบาลผ้ใู หญ่) มหาวิทยาลยั มหดิ ล (การพยาบาลผใู้ หญ่) มหาวิทยาลยั มหดิ ล in Nursing, School of Nursing and - ประกาศนยี บตั วิ ชิ าพยาบาลศาสตรแ์ ละ - ประกาศนียบัติวิชาพยาบาลศาสตร์ Midwifery, Faculty of Health and ผดงุ ครรภ์ชัน้ สูง วิทยาลยั พยาบาลกรงุ เทพ แ ล ะ ผ ดุ ง ค ร ร ภ์ ชั้ น สู ง วิ ท ย า ลั ย พ ย า บ า ล Medicine, The University of Newcastle, - ประกาศนยี บตั รการพยาบาลเฉพาะทาง นครราชสมี า Australia สาขาศาสตร์และศิลปทางการสอนทางการ - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความชำ�นาญปฏิบัติ - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วชิ าสขุ ศกึ ษา) พยาบาล สถาบนั การพยาบาลศรีสวรนิ ทิรา การพยาบาลขน้ั สูง สภาการพยาบาล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สภากาชาดไทย • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยม - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความชำ�นาญปฏิบัติ ด้านการพยาบาล อันดับ 1) วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ การพยาบาลขนั้ สงู สภาการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการด้านการ (สมทบมหาวิทยาลัยมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล) - ประกาศนยี บตั รการพยาบาลเฉพาะทาง พยาบาลโรงพยาบาล พระพุทธบาท สระบุรี • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ สาขาการพยาบาล โรคหวั ใจและทรวงอก • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ ดา้ นการพยาบาล สถาบันโรคทรวงอก ด้านการสอน พยาบาลวชิ าชีพหอผปู้ ่วยวกิ ฤติ • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ 1. อาจารย์ประจำ�ภาควิชาการพยาบาล คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล ดา้ นการพยาบาล ผู้ใหญ่และผูส้ ูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ พยาบาลวชิ าชพี ชำ�นาญการพิเศษ มหาวทิ ยาลัยเวสเทริ ์น ดา้ นการสอน ดา้ นการพยาบาลโรงพยาบาลราชวถิ ี 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล • ประสบการณค์ วามเชี่ยวชาญ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุคณะพยาบาลศาสตร์ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ดา้ นการสอน มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 1. อาจารย์ประจำ�หลักสูตรการพยาบาล 3. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา 2. ผูร้ บั ผิดชอบ/สอนรายวิชา เฉพาะทางสาขาหัวใจและหลอดเลือด โรง - การพยาบาลพื้นฐาน - การพยาบาลผใู้ หญ่ พยาบาลราชวิถี ร่วมกับวิทยาลัยพยาบาล - การประเมินภาวะสุขภาพ - การพยาบาลผู้สูงอายุ บรมราชชนนีกรุงเทพ - การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 - การพยาบาลพืน้ ฐาน 2. วิทยากรรับเชิญด้านการดูแลผู้ป่วย - การพยาบาลผูส้ งู อายุ - กระบวนการและการประเมินภาวะ ระยะวกิ ฤตแิ ละผู้ปว่ ยโรคหัวใจ สมาคม - การพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับ สขุ ภาพทางการพยาบาล พยาบาลโรคหัวใจและทรวงอกแหง่ ประคอง - การสอื่ สารเชงิ วชิ าชพี ทางการพยาบาล ประเทศไทย - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร - การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม 3. วิทยากรในหลักสูตรการพยาบาล จดั การทางคลินกิ - การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ผู้ป่วยวิกฤตสิ �ำ หรบั ผู้ปฏิบตั ิ โครงการรว่ ม - วิจยั ทางการพยาบาล - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ โรงพยาบาลราชวถิ ี และParkway Nursing - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ - ปฏบิ ตั ิการบรหิ ารจัดการทางคลินคิ College ประเทศสิงค์โปร์ ผู้สูงอายุ 1 4. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ใหญแ่ ละ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ผ้สู ูงอายุ 2 มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 5. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา - การพยาบาลพ้นื ฐาน - กระบวนการพยาบาล - การประเมินภาวะสขุ ภาพ - การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 - การยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภัย - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร จดั การทางคลินกิ - การรักษาโรคเบ้ืองตน้ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผ้ใู หญ่ 2 - ปฏบิ ัตกิ ารบริหารการพยาบาล 18

อาจารยศ์ รทั ธา ประกอบชัย อาจารยร์ กั ชนก โคตรเจรญิ อาจารยพ์ มิ พข์ วญั แกว้ เกลอ่ื น ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร ตำ�แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร ต�ำ แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร เลขทใ่ี บประกอบวชิ าชพี การพยาบาลและการ เลขท่ีใบประกอบวชิ าชพี การพยาบาลและ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ผดงุ ครรภ์ชัน้ 1 4811189861 การผดงุ ครรภ์ชั้น 1 และการผดุงครรภช์ ้ันหน่งึ 5011199785 • ประวัติการศกึ ษา 5311193295 • ประวตั กิ ารศกึ ษา - กำ�ลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก • ประวตั ิการศึกษา - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ หลกั สตู ร Doctor of Philosophy in Nursing - กำ�ลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก (กายวิภาคศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น (Ph.D. Nursing) Saint Louis University หลักสูตร Ph.D. in (Nursing School of - พยาบาลศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ Nursing & Midwifery and Social Work,) อันดบั 2) มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ (การพยาบาลผใู้ หญ)่ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล The University of Queensland Australia - ประกาศนียบตั ร หลักสูตรฝกึ อบรม - พยาบาลศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พยาบาล ระยะสั้น สาขาการจัดการเรียนการสอน มหิดล สาธารณสุข) มหาวิทยาลยั มหดิ ล ทางการพยาบาล วิทยาลยั พยาบาลบรม - ประกาศนียบัตร หลกั สตู รการพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ราชชนนี กรงุ เทพ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด หลกั สตู รฝา่ ยการ มหดิ ล • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ พยาบาล คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล - วุฒบิ ตั รการดูแลผูป้ ว่ ยภาวะวิกฤต ด้านการพยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - วุฒบิ ัตรอบรมปฏิบัติการก้ฟู ืน้ คืนชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหิดล จงั หวัดขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล - วุฒิบัตรการดูแลผู้ป่วยโรคไตและ • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ มหาวทิ ยาลัยมหิดล Hermodialysis มลู นธิ โิ รคไตแหง่ ประเทศไทย ด้านการสอน - Certificate Continuous Renal โรงพยาบาลสงฆ์ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล Replacement Therapy (CRRT) Theory • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ผู้ใหญและผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ and Practice บรษิ ทั EDWARD life Science ด้านการพยาบาล มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ พยาบาลวิชาชีพประจำ�หอผู้ป่วยวิกฤต 2. ผูร้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า ดา้ นการพยาบาล หลังผ่าตัดหัวใจและทรวงอกโรงพยาบาล - กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยา 1 1. พยาบาล หอผู้ป่วยซีซียู งานการ รามาธบิ ดี - กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วทิ ยา 2 พยาบาลอายุรศาสตร์และจติ เวชศาสตร์ • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ - การพยาบาลพน้ื ฐาน โรงพยาบาลศริ ริ าช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าช ดา้ นการสอน - การรกั ษาโรคเบอื้ งต้น พยาบาลมหาวิทยาลยั มหดิ ล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - กระบวนการพยาบาล 2. พยาบาลหอผปู้ ่วยไอซยี แู ละซซี ยี ู ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - วิจัยทางการพยาบาล โรงพยาบาลนนทเวช มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 3. พยาบาลปฏบิ ตั ิงานบางเวลา 2. ผ้รู ับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง โรงพยาบาลบางมด - การพยาบาลผ้ใู หญ่ 1 อายุ 1 • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ - การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 ดา้ นการสอน - กระบวนการพยาบาล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การพยาบาลพืน้ ฐาน ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุคณะพยาบาลศาสตร์ - วจิ ยั ทางการพยาบาล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต - ปฏิบัติการพยาบาลผ้ใู หญแ่ ละ 2. ผูร้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา ผ้สู ูงอายุ 1 - การพยาบาลพนื้ ฐาน - ปฏิบัติการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ - กระบวนการพยาบาล ผูส้ ูงอายุ 2 - การพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 - การรกั ษาโรคเบ้ืองต้น - การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 - ปฏิบตั ิการพยาบาลผ้ใู หญ่และ ผสู้ งู อายุ 1 - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง อายุ 2 - การพยาบาลผู้สงู อายุ - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพืน้ ฐาน 19

อาจารยธ์ รี ะชล สาตสิน • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ ตำ�แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลกั สตู ร ดา้ นการพยาบาล ด้านการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล 1. พยาบาลประจำ�การ แผนก 1. พยาบาลห้องผ่าตดั หนว่ ยผ่าตดั และ และการผดงุ ครรภ์ชั้นหนง่ึ 5511233980 ศัลยกรรมชอ่ งทอ้ งและ หลอดเลือด พกั ฟน้ื สูติศาสตรแ์ ละนรเี วชวิทยา • ประวัตกิ ารศกึ ษา โรงพยาบาลศริ ริ าช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าช คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต พยาบาลมหาวิทยาลยั มหิดล 2. พยาบาลวชิ าชีพปฏบิ ตั กิ ารหอ (การพยาบาลผู้ใหญ่) มหาวิทยาลัย 2. พยาบาลประจ�ำ การ แผนกศลั ยกรรม ผปู้ ว่ ยหนกั อายรุ กรรม โรงพยาบาลประสาท ธรรมศาสตร์ หลอดเลือด, ศัลยกรรมศีรษะลำ�คอ-เต้านม, เชียงใหม่ - พยาบาลศาสตรบณั ฑติ ศัลยกรรมตกแตง่ โรงพยาบาลศิริราช • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสวนดสุ ิต คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล ด้านการสอน • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ มหาวิทยาลัยมหดิ ล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ด้านการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาลวชิ าชีพปฏิบตั กิ าร ตกึ เวชศาสตร ์ ด้านการสอน มหาวิทยาลยั สวนดุสิต ฉกุ เฉนิ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล 1. อาจารย์นิเทศ หลักสูตรพยาบาล 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ เฉพาะทางการพยาบาลผู้ป่วยหัวใจและ - การพยาบาลพ้ืนฐาน ด้านการสอน หลอดเลือด - กระบวนการพยาบาลและการ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 2. อาจารย์ผู้สอนและนิเทศ อบรมเชิง ประเมินภาวะสุขภาพ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ปฏบิ ตั กิ ารการพยาบาลผปู้ ว่ ยโรคหลอดเลอื ด - การพยาบาลผู้สงู อายุ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ แดงส่วนปลาย คณะแพทยศาสตร์ศิริราช - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน 2. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา พยาบาล มหาวิทยาลัยมหดิ ล ปี พ.ศ. 2560 - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง - การพยาบาลพน้ื ฐาน (สอนบรรยาย เรือ่ ง Acute Limb Ischemia อายุ 1 - การพยาบาลผูใ้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ 1 and Nursing Management) - ปฏบิ ัตกิ ารบริหารจดั การทางคลนิ ิก - การพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผ้สู งู อายุ 2 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล อาจารย์อิสรา โยรยิ ะ - การพยาบาลการพยาบาลฉกุ เฉนิ และ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ตำ�แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร สาธารณภยั มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - การดูแลแบบประคบั ประคอง 4. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวิชา และผดงุ ครรภช์ ้ันหนึง่ 5311216753 - การพยาบาลผสู้ ูงอายุ - การพยาบาลพ้นื ฐาน • ประวัตกิ ารศกึ ษา - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และ - การพยาบาลผใู้ หญ่ 2 - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต ผู้สงู อายุ 1 - การพยาบาลฉุกเฉนิ และ (การพยาบาลผใู้ หญ่) มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ - ปฎบิ ตั ิการพยาบาลผ้ใู หญแ่ ละ สาธารณภยั - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย ผู้สูงอายุ 2 - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร เชียงใหม่ - ปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารการพยาบาล จดั การทางคลินิก • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 ด้านการพยาบาล - ปฏิบตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่ 2 พยาบาลวชิ าชพี หอผปู้ ว่ ยหนกั อายรุ กรรม - นิเทศหลักสูตรพยาบาลเฉพาะ โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่ ทางการพยาบาลผปู้ ว่ ย หวั ใจและหลอดเลอื ด • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล ดา้ นการสอน มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - ผู้สอนและนิเทศ อบรมเชิงปฏิบัติ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ การการพยาบาล ผูป้ ่วยโรคหลอดเลือดแดง 2. ผู้รบั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า สว่ นปลายคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล - การพยาบาลพื้นฐาน มหาวิทยาลัยมหดิ ล - กระบวนการพยาบาลและ การประเมินภาวะสขุ ภาพ อาจารย์พชั รินทร์ พรมสอน อาจารย์จตุรดา จริยารตั นกลู - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐาน ตำ�แหน่ง อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ผสู้ งู อายุ 1 และการผดุงครรภช์ นั้ หนง่ึ 4811189815 และผดงุ ครรภ์ช้ันหน่งึ 5311219644 - ปฏบิ ตั กิ ารบริหารการพยาบาล • ประวตั ิการศึกษา • ประวัตกิ ารศกึ ษา - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ผู้ใหญ่) มหาวทิ ยาลยั มหิดล (การพยาบาลผู้สูงอายุ) มหาวิทยาลัย - พยาบาลศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มหดิ ล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม - ประกาศนยี บตั ร หลกั สตู รฝกึ อบรมระยะสน้ั อันดับสอง) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ อาจารย์ผู้ชว่ ยสอน มหาวทิ ยาลัยมหิดล 20

สาขาการพยาบาลชุมชน อาจารย์ศตวรรษ อุดรศาสตร์ อาจารยร์ งุ่ นภา ปอ้ งเกียรติชัย อาจารย์รงั สรรค์ มาระเพ็ญ ตำ�แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตร ต�ำ แหน่ง หัวหนา้ สาขา ตำ�แหน่ง รองหัวหน้าสาขา เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และผดุงครรภช์ น้ั หนง่ึ 5611242684 และผดงุ ครรภ์ชั้นหนง่ึ 4511052217 และผดุงครรภช์ ัน้ หนง่ึ 4511041368 • ประวตั กิ ารศกึ ษา • ประวัตกิ ารศกึ ษา • ประวัติการศึกษา - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ - กำ�ลังศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขดุษฎี - ก�ำ ลังศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอกหลกั สูตร (การพยาบาลผูส้ งู อาย)ุ มหาวิทยาลยั บูรพา บณั ฑิตมหาวทิ ยาลัยมหิดล ปรัชญาดุษฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลัยศิลปากร - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุข - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ พยาบาลศรีมหาสารคาม (สถาบันสมทบ ศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น) - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย - พยาบาลศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ สภากาชาดไทย (สถาบนั สมทบจฬุ าลงกรณ์ สงขลานครนิ ทร์ ด้านการพยาบาล มหาวิทยาลยั ) • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ 1. เป็นพยาบาลวิชาชีพ แผนกอุบัติเหตุ • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ ด้านการพยาบาล และฉุกเฉินโรงพยาบาลพญาไท 1 ดา้ นการพยาบาล พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการหน่วยงาน 2. เป็นพยาบาลวิชาชีพ แผนกอุบัติเหตุ 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ อุบตั เิ หตุฉกุ เฉนิ และหอ้ งคลอด และฉุกเฉิน โรงพยาบาลบางนา 1 ศลั ยกรรมประสาท โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลอัมพวา สมทุ รสงคราม 3. เปน็ พยาบาลวชิ าชพี สขุ กมลคลนิ กิ เวช 2. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ การ ฉกุ เฉนิ และผปู้ ว่ ยไฟไหมน้ ำ�้ รอ้ นลวก ดา้ นการสอน • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 1. อาจารย์สาขาการพยาบาลชมุ ชน ดา้ นการสอน 3. พยาบาลวิชาการ และการควบคุม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ระบบคณุ ภาพฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาล 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์ ชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ สวนดสุ ิต 2. ผูร้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา ด้านการสอน 3. ผรู้ บั ผิดชอบ/สอนรายวิชา - การพยาบาลพน้ื ฐาน 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การพยาบาลชุมชน - การพยาบาลผูใ้ หญ่ 2 ชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย - ระบบสขุ ภาพ - กระบวนการพยาบาลและประเมิน สวนดุสติ - การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ ภาวพสุขภาพ 2. ผ้รู ับผิดชอบ/สอนรายวิชา - วทิ ยาการระบาด - การพยาบาลแบบประคบั ประคอง - การพยาบาลชมุ ชน - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลชมุ ชน - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่ 1 - วทิ ยาการระบาด - ปฏบิ ตั กิ ารรักษาโรคเบ้ืองต้น - การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ - โภชนาการเพ่ือสขุ ภาพ - วจิ ัยทางการพยาบาล - การรักษาโรคเบอ้ื งต้น - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลชมุ ชน - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลรักษา โรคเบอ้ื งตน้ อาจารย์ ดร.เพชรรัตน์ เจิมรอด ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจำ�หลักสตู ร เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และผดงุ ครรภ์ชนั้ หน่งึ 4511020627 • ประวตั ิการศึกษา - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยและสถิติ ทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลยั บรู พา - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การบรหิ าร การพยาบาล) จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ ผดงุ ครรภ์ชนั้ สงู (เทียบเท่าปรญิ ญาตร)ี วิทยาลยั พยาบาลสวรรคป์ ระชารกั ษ์ จังหวดั นครสวรรค์ 21

- ศึกษาศาสตรบัณฑิต (สุขศึกษา) • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ อาจารยว์ ิวินท์ ปุรณะ มหาวทิ ยาลยั รามค�ำ แหง ดา้ นการสอน ต�ำ แหนง่ อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร - นติ ศิ าสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั 1. อาจารยพ์ ยาบาลชุมชน เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยอสั สัมชนั และผดุงครรภช์ ัน้ หนง่ึ 4511176153 • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล • ประวัตกิ ารศึกษา ดา้ นการพยาบาล ชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย - กำ�ลังศึกษาระดับปริญญาเอกหลักสูตร 1. พยาบาลแผนกผปู้ ่วยใน สวนดสุ ิต ปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา 3. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า (Doctor of Philosophy Program in 2. พยาบาลแผนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและ - การพยาบาลชุมชน Nursing Science) มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ฉกุ เฉิน โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา - การรักษาโรคเบือ้ งตน้ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ 3. พยาบาลแผนกหอ้ งผ่าตดั - การสรา้ งเสริมสุขภาพ (การพยาบาลเวชปฏิบัตชิ ุมชน) โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา - วทิ ยาการระบาด มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 4. พยาบาลแผนก เวชศาสตร์ครอบครัว - สารสนเทศทางการพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย และชุมชน โรงพยาบาลบางปะกง จังหวัด - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลชุมชน พยาบาลศรมี หาสารคาม จงั หวดั มหาสารคาม ฉะเชิงเทรา - ปฏิบัตกิ ารรักษาโรคเบอ้ื งตน้ - ประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม 5. พยาบาลหนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิ อาจารย์ณัฐรพี ใจงาม เฉพาะทางสาขาศาสตรและศิลป์การสอน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำ�บลท่าสะอ้าน ต�ำ แหน่ง อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร ทางการพยาบาล รนุ่ ที่ 9 วทิ ยาลยั บรมราช สาธารณสุขอ�ำ เภอบางปะกง จงั หวัด เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ชนนี กรุงเทพ ฉะเชิงเทรา และผดุงครรภ์ช้ันหนง่ึ 4611096773 • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ • ประวตั ิการศกึ ษา ด้านการพยาบาล ด้านการสอน - ก�ำ ลงั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก หลกั สตู ร พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�กลุ่มงานการ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล Plublic Health (Community Health & พยาบาลผู้ป่วยอบุ ตั เิ หตแุ ละฉุกเฉนิ ชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย Reproductive) จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั โรงพยาบาลร้อยเอ็ด สวนดุสิต - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาล • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ 2. ผูร้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา สาธารณสุข) มหาวิทยาลัยมหดิ ล ดา้ นการสอน - การรักษาโรคเบื้องต้น (ภาคทฤษฎี - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน และภาคปฏิบัต)ิ บูรพา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ - การพยาบาลชมุ ชน (ภาคทฤษฎแี ละ • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า ภาคปฏิบัต)ิ ดา้ นการพยาบาล - การพยาบาลชมุ ชน - การสรา้ งเสริมสุขภาพ (ภาคทฤษฎี 1. พยาบาลวิชาชีพแผนกอุบัติเหตุและ - การรักษาโรคเบือ้ งตน้ และภาคทดลอง) ฉกุ เฉิน โรงพยาบาลราชพพิ ัฒน์ - ความเปน็ สวนดุสติ - กฎหมายและจริยธรรมวชิ าชีพ 2. พยาบาลวิชาชพี แผนกผ้ปู ว่ ยนอก - วทิ ยาการระบาด - ประเด็นและแนวโน้มกฎหมายและ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รตั นาธิเบศร์ - ปฏบิ ัติการพยาบาลในการรกั ษา จริยธรรมทเ่ี กยี่ วกบั วชิ าชีพการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ โรคเบือ้ งตน้ - แนวคิดพื้นฐาน และทฤษฎีการ ด้านการสอน พยาบาล 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน - ความเป็นสวนดสุ ติ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ - วจิ ยั ทางการพยาบาล (ภาคทดลอง) 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา อาจารย์ ดร.อรนชุ ชูศรี - การพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ ตำ�แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร - การรักษาโรคเบื้องต้น เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - วิทยาการระบาด และผดุงครรภช์ ั้นหนึ่ง 4511008395 - ปฏิบตั ิการพยาบาลชุมชน • ประวตั กิ ารศกึ ษา - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ - พยาบาลศาสตรดุษฎีบัณฑิต (Ph.D Nursing) มหาวทิ ยาลยั บูรพา - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต (สาขาการพยาบาลครอบครวั ) มหาวทิ ยาลยั บูรพา - ประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยบรมราชชนนีชลบรุ ี • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ ด้านการพยาบาล - พยาบาลวิชาชพี หอผูป้ ่วยหนกั อายุรกรรมโรงพยาบาลสมเด็จพระนารายณ์ ลพบรุ ี 22

สาขาการพยาบาลสขุ ภาพจติ และจติ เวช - การพยาบาลสาธารณภยั - ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ การพยาบาล จติ เวช อาจารย์ปณวตั ร สนั ประโคน อาจารย์ศิริพร นันทเสนีย์ อาจารย์อรยิ า ดีประเสรฐิ ต�ำ แหน่ง อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร ตำ�แหนง่ หัวหน้าสาขา ตำ�แหน่ง อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสูตร เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และผดุงครรภ์ช้นั หนึง่ 5011199446 และผดุงครรภ์ช้ันหนึง่ 4511008906 และผดงุ ครรภช์ ้นั หน่งึ 4511041342 • ประวัติการศกึ ษา • ประวัตกิ ารศึกษา • ประวตั กิ ารศึกษา - กำ�ลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ หลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(พยาบาล (การพยาบาลสุขภาพจิตและจติ เวช (สขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช) ศาสตร์) หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล มหาวิทยาลัยมหิดล บูรพา - ครศุ าสตรมหาบัณฑิต (สุขศกึ ษา) - ประกาศนยี บตั รการฝกึ อบรมหลกั สตู ร - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาศาสตร์และศิลป์การสอนทางการ (การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ชิ มุ ชน) มหาวทิ ยาลยั - ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาองั กฤษ) พยาบาล จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย มหิดล สถาบันราชภัฏจนั ทรเกษม - ประกาศนยี บัตรการฝกึ อบรม - พยาบาลศาสตรบัณฑติ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลผู้สูงอายุ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตร)ี วทิ ยาลยั พยาบาลเกอื้ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนีล�ำ ปาง • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ การณุ ย์ วชิรพยาบาล - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (บริหาร ด้านการพยาบาล - ประกาศนยี บตั รวชิ าพยาบาลและอนามยั สาธารณสขุ )มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช 1. พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสมิติเวช วทิ ยาลยั พยาบาลเกอื้ การุณย์ วชริ พยาบาล - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ สุขุมวทิ • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบุรี 2. พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเวิลด์เมดิ ดา้ นการพยาบาล • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ คอล 1. หวั หนา้ หอผู้ป่วยจติ เวชเดก็ และ ด้านการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ วัยรุ่นโรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบรุ ี 1. พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ัติงานทตี่ กึ ด้านการสอน 2. ร อ ง หั ว ห น้ า ห อ ผู้ ป่ ว ย ห อ ผู้ ป่ ว ย ผู้ป่วยในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาล 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน หญิง 2 โรงพยาบาลศรธี ญั ญา นนทบุรี อมั พวา สมุทรสงคราม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 3. รองหวั หน้าหอผ้ปู ่วยหอผ้ปู ่วย 2. พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ัติงาน 2. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า อโสก 2 โรงพยาบาลศรีธญั ญา นนทบุรี ทีก่ ลุ่มงานประกันสขุ ภาพยทุ ธศาสตร์ - การพยาบาลชมุ ชน 4. รองหัวหน้าหอผู้ป่วยหอผู้ป่วยพิเศษ และสารสนเทศ โรงพยาบาลอัมพวา - การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ ชาย 4/1 โรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบุรี สมทุ รสงคราม - การรักษาโรคเบ้อื งต้น 5. พยาบาลประจำ�การหอผู้ป่วยพิเศษ 3. พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบตั ิงานทีก่ ลุ่มงาน - สารสนเทศทางการพยาบาล หญิง 1 โรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบุรี เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาล - ปฏิบตั ิการพยาบาลชุมชน 6. พยาบาลประจ�ำ การหอผปู้ ว่ ย อมั พวา สมุทรสงคราม - ปฏิบตั ิการรักษาโรคเบ้ืองตน้ อายุรกรรม(ตึกสงฆ์) โรงพยาบาลเมือง • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ด้านการสอน 7. พยาบาลประจำ�การหอผู้ป่วยหนัก 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ศลั ยกรรมประสาท โรงพยาบาลวชริ พยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ กรงุ เทพ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ 2. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า ดา้ นการสอน - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล การพยาบาลจติ เวช 1 สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ - การสร้างเสรมิ สุขภาพจิตและ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต การพยาบาลจติ เวช 2 2. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา - พัฒนาการมนุษย์ - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ - ประเดน็ และแนวโนม้ ของวิชาชีพ การพยาบาลจติ เวช 1 การพยาบาล - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ - การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ การพยาบาลจติ เวช 2 - การสร้างเสรมิ สุขภาพ - พัฒนาการมนุษย์ - สารสนเทศทางการพยาบาล - ประเด็นและแนวโน้มของวิชาชีพ - ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ การพยาบาล การพยาบาลจติ เวช - การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ - การสือ่ สารเชงิ วิชาชีพการพยาบาล - แนวคิดพ้ืนฐานและทฤษฎีการ พยาบาล - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร จดั การทางคลนิ ิก 23

อาจารย์ณัฐกฤตา วงคต์ ระกูล อาจารย์อนั ธฌิ า สายบญุ ศรี ตำ�แหนง่ อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตร ต�ำ แหนง่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสูตร เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และผดงุ ครรภช์ ัน้ หนง่ึ 4311152573 และผดงุ ครรภช์ น้ั หนง่ึ 4511016846 • ประวัตกิ ารศกึ ษา • ประวัติการศึกษา - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การ (การพยาบาลเวชปฏบิ ัติชมุ ชน) จดั การการพยาบาล) มหาวทิ ยาลัยรงั สติ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร - ประกาศนียบัตรหลักสูตรเฉพาะ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต ทางการพยาบาล สุขภาพจิตและจติ เวช (การพยาบาลศกึ ษา) มหาวทิ ยาลยั นเรศวร โรงพยาบาลศรีธัญญา - พยาบาลศาสตรบัณฑติ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ มหาวิทยาลยั นเรศวร ผดุงครรภ์ชนั้ สูง(เทยี บเทา่ ปริญญาตรี) - ประกาศนยี บตั รหลกั สตู รเฉพาะทางการ วิ ท ย า ลั ย พ ย า บ า ล ส ร ร พ สิ ท ธิ ป ร ะ ส ง ค์ พยาบาลสุขภาพจิต และจติ เวช 4 เดอื น อุบลราชธานี • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ ดา้ นการพยาบาล ด้านการพยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพประจำ�หอผู้ป่วยหนัก 1. พยาบาลใหค้ �ำ ปรึกษาคลนิ กิ จิตเวช โรงพยาบาลพุทธชนิ ราช โรงพยาบาลสงฆ์ 2. พยาบาลวิชาชีพ ฝ่ายบริการปฐมภูมิ 2. ให้การพยาบาลด้านสุขภาพจติ แก่ สุขภาพชุมชน พระสงฆ์อาพาธทั้งผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ โรงพยาบาลสงฆ์ ดา้ นการสอน • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ 1. อาจารยพ์ ยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ ดา้ นการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา 1. อาจารย์ประจำ�สาขาสุขภาพจิตและ 2. อาจารย์พยาบาล จติ เวชคณะพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตรม์ หาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยปทุมธานี กรงุ เทพธนบรุ ี 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดุสิต มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 3. ผู้รบั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า 4. ผรู้ บั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการ - การสรา้ งเสริมสุขภาพจิตและ พยาบาลจติ เวช 1 การพยาบาลจติ เวช 1 - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการ - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการ พยาบาลจติ เวช 2 พยาบาลจิตเวช 2 - พัฒนาการมนษุ ย์ - พัฒนาการมนุษย์ - การพยาบาลพ้ืนฐาน - การพยาบาลพน้ื ฐาน - วจิ ยั ทางการพยาบาล 24

เบอร์โทรศพั ท์อาจารยแ์ ละเจา้ หนา้ ท่ี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต รายชือ่ อาจารย์ มือถอื โทรศัพท์ อเี มล์ 1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรสี ุดา วงศว์ ิเศษกลุ 089 - 9272324 9461 [email protected] คณบดี 092 - 4565058 9462 [email protected] 086 - 0360561 9463 [email protected] 2. อาจารยธ์ ณดิ า พมุ่ ท่าอิฐ รองคณบดี 3. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นภัสกรณ์ วทิ รู เมธา ประธานหลักสูตร สาขาวชิ าการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผู้สงู อายุ 4. อาจารย์ ดร.เพลินตา พพิ ัฒนส์ มบตั ิ 080 - 9749888 9471 [email protected] 081 - 2553363 5. อาจารยช์ ญานศิ ชอบอรุณสิทธิ 086 - 3727978 9470 [email protected] 6. อาจารย์ลดั ดาวัลย์ เตชางกูร 086 - 7584821 9470 [email protected] 7. อาจารยส์ มจติ นิปทั ธหตั ถพงศ์ 087 - 7026799 9475 [email protected] 8. อาจารย์ ดร.ดวงเนตร ธรรมกลุ 089 - 1310107 9470 [email protected] 9. อาจารย์เรณู ขวัญยืน 089 - 1411086 [email protected] 9471 [email protected] 10. อาจารย์รกั ชนก โคตรเจรญิ 092 - 4011893 ศึกษาต่อ [email protected] 11. อาจารย์ ดร.ฐิตาพร เขยี นวงษ์ 062 - 1954426 9471 [email protected] 12. อาจารย์ศรัทธา ประกอบชัย 081 - 4425365 ศึกษาต่อ [email protected] 13. อาจารย์พชั รนิ ทร์ พรมสอน 083 - 0185611 9471 [email protected] 14. อาจารยพ์ มิ พข์ วัญ แก้วเกลื่อน 086 - 2394331 9470 [email protected] 15. อาจารย์จตุรดา จริยารัตนกลู 081 - 8835873 9471 [email protected] 16. อาจารย์อิสรา โยรยิ ะ 081 - 0326342 9471 [email protected] 17. อาจารย์ธีระชล สาตสิน 094 - 2626453 9471 [email protected] 18. อาจารย์ศตวรรษ อดุ รศาสตร์ 097 - 0020280 9471 [email protected] สาขาวิชาการสุขภาพจิตและการพยาบาลจติ เวช 19. อาจารย์ศริ ิพร นันทเสนีย์ 089 - 1459505 9468 [email protected] 20. อาจารยอ์ รยิ า ดปี ระเสริฐ 087 - 4545927 9468 [email protected] 21. อาจารยอ์ นั ธิฌา สายบญุ ศรี 084 - 0443015 9468 [email protected] 22. อาจารยณ์ ฐั กฤตา วงค์ตระกูล 096 - 5639428 9468 [email protected] สาขาวิชาการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 23. อาจารย์ ดร.เนตรรัชนี กมลรตั นานันท์ 084 - 7133711 9474 [email protected] 24. อาจารยส์ ุนิดา ชูแสง 092 - 2739882 9473 [email protected] 25. อาจารยอ์ ารยี า เตชะไมตรีจติ ต์ 081 - 2984398 9473 [email protected] 25

รายชอ่ื อาจารย์ มือถอื โทรศพั ท์ อเี มล์ 26. อาจารย์ ดร.บุญสง่ สปุ ระดษิ ฐ์ 089 - 9188917 9473 [email protected] 27. อาจารย์ลักขณา ศรีบุญวงศ์ 081 - 3763401 9473 [email protected] 28. อาจารย์นิรัตน์ชฎา ไชยงาม 080 - 0074507 9474 [email protected] สาขาวชิ าการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ 29. อาจารย์ ดร.ชรริน ขวัญเนตร 30. อาจารย์พชั มน อน้ โต 087 - 5169148 9467 [email protected] 31. อาจารย์กิติวฒั นา ศรวี งศ์ 081 - 6517476 9467 [email protected] 32. อาจารยร์ ชั นี ชัยประเดมิ ศักด์ิ 081 - 9868534 9467 [email protected] 33. อาจารย์ ดร.ณฐั ยา ศรที ะแกว้ 080 - 2795649 9467 [email protected] 34. อาจารยว์ ฒุ ิพงษ์ เจริญวงษ์ 088 - 9922415 9467 [email protected] 081 - 2832370 ศกึ ษาต่อ [email protected] 35. อาจารย์ ดร.รงุ่ นภา ป้องเกยี รติชัย สาขาวิชาการพยาบาลชมุ ชน 36. อาจารยร์ ังสรรค์ มาระเพ็ญ [email protected] 37. อาจารย์ ดร.เพชรรตั น์ เจมิ รอด 082 - 4454565 9469 [email protected] 38. อาจารย์ ดร.อรนชุ ชศู รี 061 - 6194155 9469 [email protected] 39. อาจารย์วิวนิ ท์ ปุรณะ 081 - 8612596 9469 [email protected] 40. อาจารยณ์ ฐั รพี ใจงาม 086 - 3756615 9469 [email protected] 41. อาจารยป์ ณวตั ร สนั ประโคน 085 - 4593420 ศกึ ษาต่อ [email protected] 42. อาจารยจ์ ริ าภรณ์ ชนมาสุข 085 - 8422295 9469 [email protected] 099 - 6984986 ศกึ ษาต่อ [email protected] 43. นายอุทยั ชำ�นาญกิจ 085 - 8261091 ศกึ ษาต่อ [email protected] 44. นางสมพิศ กองแกว้ 45. นางสาวสุกญั ญา จิ๋วน้อย เจ้าหนา้ ทีส่ ำ�นักงานคณะ 9464 [email protected] 46. นางสาวกรรัก ธันยธนนท์ 085 - 0425894 9465 - 47. นางสาวชุตมิ า ก้านล�ำ ใย 089 - 1131737 9465 [email protected] 48. นางสาวจิรวี กยุ๋ เกดิ 087 - 5619015 9465 [email protected] 49. นางสาวนำ�้ ฝน บุตรวงค์ 086 - 5250042 9465 [email protected] 082 - 3332626 9465 [email protected] 081 - 4132040 9465 [email protected] 098 - 2599780 26

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ Bachelor of Nursing Science Program Suan Dusit

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ระดับปรญิ ญาตรี 1. ชอ่ื หลกั สตู ร หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ ภาษาไทย : Bachelor of Nursing Science Program ภาษาอังกฤษ : 2. ชื่อปริญญา พยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย ช่ือเต็ม : พย.บ. ชื่อย่อ : Bachelor of Nursing Science ภาษาอังกฤษ ช่อื เตม็ : B.N.S. ชอื่ ยอ่ : 3. วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร ภายหลงั ส�ำ เรจ็ การศกึ ษา บณั ฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์ จะมีคณุ ลกั ษณะและความสามารถดังน้ี 3.1 มีความรอบรู้ในศาสตร์การพยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้องโดยบูรณาการความรู้จากศาสตร์ เชงิ ประจกั ษ์ ความรใู้ นเชงิ สนุ ทรศี าสตรใ์ นการพยาบาลหรอื ศลิ ปะทางการพยาบาล ความรทู้ เี่ กดิ จากประสบการณเ์ ฉพาะตน และความรู้ในเชิงจรยิ ศาสตร์ สามารถประยุกตใ์ ชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสมในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ 3.2 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภอ์ ยา่ งเปน็ องคร์ วมทกุ ชว่ งวยั ระดบั บคุ คล ครอบครวั กลมุ่ คนและชมุ ชนทงั้ ใน ภาวะสุขภาพดี ภาวะสุขภาพเสย่ี ง และภาวะเบ่ยี งเบนทางสขุ ภาพในระยะเฉยี บพลนั วิกฤต เรื้อรงั ตลอดจนระยะสุดท้าย ของชวี ติ ครอบคลุมมติ ิการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกันโรคและการบาดเจบ็ การบ�ำ บัดทางการพยาบาล และการฟ้ืนฟู สขุ ภาพ 3.3 มศี ักยภาพการนำ�และการบรหิ ารจดั การ มีความรบั ผิดชอบ สามารถคิดอยา่ งเป็นระบบ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ แก้ปญั หาและตัดสนิ ใจอยา่ งมเี หตุผล มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ทำ�งานร่วมกับบคุ ลากรสหสาขาวิชาชพี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.4 มคี วามเปน็ สากล มที กั ษะการสอ่ื สารทง้ั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื เขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมลู อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 3.5 มีความรใู้ นหลกั คณิตศาสตร์ กระบวนการวจิ ัย การสรา้ งนวตั กรรม และใช้ผลการวจิ ัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 3.6 มคี วามรักและศรัทธาในวชิ าชพี มีคณุ ธรรม จริยธรรม ในการครองตน และการปฏิบตั วิ ชิ าชีพ เคารพในศักดิ์ศรี ของความเป็นมนษุ ยแ์ ละความแตกตา่ งทางวัฒนธรรม 3.7 มีทักษะดำ�เนินชีวิต สนใจ ใฝร่ ู้ และสามารถปรับตัวได้ทนั กบั การเปลยี่ นแปลงของสงั คม 3.8 มีบุคลิกภาพท่ีดี มีความประณีตในงานที่ทำ� ดำ�รงชีวิตในสังคมอย่างมีคุณค่า เป็นพลเมืองดีของสังคมไทยและ สงั คมโลก 4. คุณสมบัตขิ องผู้เขา้ ศกึ ษา 4.1 สำ�เรจ็ การศึกษาไม่ต่�ำ กวา่ ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลายสายสามัญ ในแผนการเรียนวทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 4.2 มบี ุคลกิ ภาพดี รปู รา่ งสมส่วน น�้ำ หนักสัมพันธก์ ับสว่ นสงู และความสูงไมน่ ้อยกว่า 155 เซนตเิ มตร 4.3 มคี วามประพฤตดิ ี สามารถปฏบิ ตั ิตามระเบียบ ขอ้ บังคบั ของมหาวทิ ยาลยั โดยเครง่ ครัด 4.4 ยดึ มนั่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 4.5 เปน็ ผ้มู สี ขุ ภาพสมบรู ณ์แขง็ แรง ปราศจากโรคและอาการของโรค หรือความพกิ าร อนั เปน็ อุปสรรคตอ่ การศึกษา ดังต่อไปน้ี 1) ปัญหาทางจติ เวชขั้นรุนแรง 2) โรคตดิ ตอ่ ในระยะตดิ ต่ออันตราย 3) โรคหรอื ภาวะอนั เปน็ อปุ สรรคตอ่ การศกึ ษา เชน่ โรคลมชกั โรคหวั ใจระดับรนุ แรง โรคความดันโลหติ สูงรนุ แรง ภาวะไตวายเร้ือรัง โรคติดสารเสพตดิ ใหโ้ ทษ 28

4) ตาบอดสี ชนิดรนุ แรงท้ังสองขา้ ง 5) ความผดิ ปกติในการมองเหน็ ภาพ เชน่ ไม่สามารถมองเห็นภาพเปน็ สามมิติ 6) หูหนวกหรือ หูตงึ 7) โรคหรือความพิการอนื่ ๆ ทค่ี ณะกรรมการและผูต้ รวจรา่ งกาย เห็นว่าจะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การศึกษา 4.6 ในกรณที ี่เปน็ นักศึกษาตา่ งชาติ ตอ้ งผ่านการทดสอบทกั ษะภาษาไทยตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 5. อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดห้ ลังส�ำ เร็จการศึกษา 5.1 พยาบาลวชิ าชีพในสถานบริการสขุ ภาพของภาครฐั หรอื เอกชน ทั้งในระดบั ปฐมภมู ิ ทุติยภมู ิ และ ตติยภูมิ 5.2 พยาบาลวชิ าชพี ในสถานประกอบการ หรอื โรงเรียน 5.3 ประกอบอาชีพอสิ ระดา้ นสขุ ภาพ ท่ไี มข่ ดั ตอ่ พระราชบัญญตั วิ ิชาชีพ โครงสรา้ งหลักสตู ร จ�ำ นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า 146 หน่วยกติ มีสัดส่วนจำ�นวนหน่วยกติ แยกตามหมวดวิชาและ กลุ่มวิชา ดังน้ี จำ�นวนหนว่ ยกิต รวมตลอดหลกั สูตร 146 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 33 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ 107 หนว่ ยกิต 2.1 กลุ่มวชิ าพ้ืนฐานวชิ าชีพ 29 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มวิชาชพี 78 หน่วยกติ - รายวชิ าภาคทฤษฎี/ทดลอง 42 หนว่ ยกติ - รายวิชาภาคปฏิบัติ 36 หนว่ ยกิต 3. หมวดวิชาเลอื กเสรีไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ การจัดการเรียนการสอน 4(2-4-6) 1500201 ความเปน็ สวนดุสติ 6(6-0-12) (Suan Dusit Spirit) 4(4-0-8) 1500119 ภาษาไทยเพือ่ พฒั นาความเป็นผู้รอบร ู้ 4(4-0-8) (Thai for Being Scholar) 4(2-4-6) 1500120 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนำ�ตน 4(2-4-6) (English for Self-direction) 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสะทอ้ นคิด 3(2-2-5) (English for Reflective Thinking) 2500116 สังคมอารยชน (Civilized People Societies) 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทดี่ ี (Smart Thai and Global Citizens) 4000112 วิทยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรใ์ นชีวติ ประจ�ำ วัน (Science and Mathmatics in Daily Life) 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) 29

หมวดวิชาเฉพาะ ให้เรียนไมน่ ้อยกวา่ 107 หนว่ ยกิต (1) กลุม่ วชิ าพืน้ ฐานวิชาชพี 29 หน่วยกติ 6011103 วทิ ยาศาสตร์กายภาพสำ�หรับพยาบาล 1(1-0-2) (Physical Science for Nurses) 6011104 หลักชวี เคม ี (Principles of Biochemistry) 2(1-2-3) 6011201 กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวทิ ยา 1 3(2-2-5) (Anatomy and Physiology 1) 6011202 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2 (Anatomy and Physiology 2) 3(2-2-5) 6011203 พฒั นาการมนุษย ์ 2(2-0-4) (Human Development) 2(1-2-3) 6011301 จลุ ชีววิทยาและปรสิตวทิ ยา 2(1-2-3) (Microbiology and Parasitology) 6011401 โภชนาการและสขุ ภาพ (Nutrition and Health) 4(4-0-8) 6013502 การสือ่ สารเชงิ วิชาชีพการพยาบาล 3(3-0-6) (Communications in Nursing Profession) 6012608 พยาธิสรรี วทิ ยา (Pathophysiology) 2(2-0-4) 6012709 เภสัชวิทยาสำ�หรบั พยาบาล 2(1-2-3) (Pharmacology for Nurses) 6022406 การสร้างเสรมิ สุขภาพ (Health Promotion) 3(3-0-6) 6003103 วิจยั และนวัตกรรม (Research and Innovation) 78 หนว่ ยกติ (2) กลุม่ วชิ าชพี 2(2-0-4) รายวชิ าภาคทฤษฎ/ี ทดลอง 42 หน่วยกติ 3(2-2-5) 6021203 แนวคดิ พ้นื ฐาน และทฤษฎีการพยาบาล 3(2-2-5) (Basic Concept and Nursing Theory) 3(3-0-6) 6021503 การพยาบาลพ้นื ฐาน 3(3-0-6) (Fundamentals of Nursing) 3(3-0-6) 6022305 กระบวนการพยาบาล และการประเมินภาวะสขุ ภาพ 2(2-0-4) (Nursing Process and Health Assessment) 3(3-0-6) 6032102 การพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ (Child and Adolescent Nursing) 6042102 การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 (Adult Nursing 1) 6042103 การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 (Adult Nursing 2) 6042201 การพยาบาลผูส้ งู อายุ (Gerontological Nursing) 6052101 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 1 (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 1) 30

6052102 การพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ ์ 2 3(3-0-6) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 2) 3(3-0-6) 6023401 การสรา้ งเสรมิ สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 4(4-0-8) (Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing) 2(1-2-3) 6073102 การพยาบาลอนามยั ชมุ ชน (Community Health Nursing) 6002201 การพยาบาลสาธารณภยั 2(2-0-4) (Disaster Nursing) 6073201 การรักษาโรคเบอ้ื งต้น (Primary Medical Care) 2(2-0-4) 6083102 กฎหมายและจรยิ ธรรมวิชาชีพ 2(2-0-4) (Laws and Professional Ethics) 2(2-0-4) 6024103 ศักยภาพการน�ำ และการบริหารจดั การทางคลนิ กิ (Leadership and Clinical Nursing Management) 36 หน่วยกติ 6024201 สมั มนาประเดน็ และแนวโนม้ ของวิชาชีพการพยาบาล 4(0-12-0) (Seminar on Issues and Trends in Nursing Profession) รายวิชาภาคปฏบิ ตั ิ 6022506 ปฏบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 4(0-12-0) (Fundamentals of Nursing Practicum) 4(0-12-0) 6032103 ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ 4(0-12-0) (Child and Adolescent Nursing Practicum) 4(0-12-0) 6042104 ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผูส้ งู อายุ 1 (Adult and Older Person Nursing Practicum 1) 6043106 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผูส้ งู อาย ุ 2 3(0-9-0) (Adult and Older Person Nursing Practicum 2) 3(0-9-0) 6053105 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 1 4(0-12-0) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery Practicum1) 3(0-9-0) 6053106 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ 2 3(0-9-0) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery Practicum 2) 6024401 ปฏบิ ตั ิการสรา้ งเสริมสุขภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช (Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing Practicum) 6073103 ปฏิบัติการพยาบาลอนามยั ชุมชน (Community Health Nursing Practicum) 6074204 ปฏิบตั กิ ารรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ (Primary Medical Care Practicum) 6024202 ปฏิบตั ิการพยาบาลสวู่ ิชาชีพ (Transition into Professional Nursing Practicum) 31

หมวดวชิ าเลอื กเสรไี มน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต วิชาเลือกเสรีส�ำ หรบั นกั ศกึ ษาคณะพยาบาลศาสตร์ 6023101 นวัตกรรม และงานสร้างสรรคท์ างการพยาบาล 2(1-2-3) (Innovation and Creative Work in Nursing) 6023201 การประกอบธรุ กิจดา้ นสุขภาพ 2(1-2-3) (Entrepreneurship in Health Business) 6023102 การดูแลแบบประคบั ประคอง 2(1-2-3) (Palliative Care) 6023103 การดแู ลสขุ ภาพข้ามวัฒนธรรม 2(1-2-3) (Transcultural Healthcare) 6013104 ภาษาจนี เพ่ือการสือ่ สารเบอื้ งต้น 2(2-0-4) (Basic Chinese for Communication) 6013105 ภาษาญี่ปนุ่ เพือ่ การสอ่ื สารเบ้ืองตน้ 2(2-0-4) (Basic Japanese for Communication) 6013106 ภาษาอาหรับเพ่ือการสอื่ สารเบอ้ื งตน้ 2(2-0-4) (Basic Arabic for Communication) หมายเหตุ: นักศกึ ษาสามารถเลอื กเรียนวิชาเลอื กเสรีอ่ืน ๆ ทีเ่ ปิดสอนในมหาวิทยาลยั หรือสถาบันอ่นื วิชาเลอื กเสรีทีค่ ณะพยาบาลศาสตรเ์ ปดิ สอนใหค้ ณะอื่น 3(3-0-6) 6033201 ความรกั และชีวิตของวัยร่นุ (Love and Life of Young Adolescents) 6023502 การดูแลตนเอง และการปฐมพยาบาล 3(3-0-6) (Self-care and First Aid) 32

แผนการเรียนตลอดหลักสตู ร นักศกึ ษารหสั 61 หลักสตู รพยาบาลศาสตร์ ระดบั ปริญญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกติ รวม 146 หน่วยกติ ปที ่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 4(2-4-6) 1500119 ภาษาไทยเพ่ือการพฒั นา 6(6-0-12) 2500117 พลเมอื งไทยและพลโลกที่ดี 4(2-4-6) ความเป็นผู้รอบรู้ 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร ์ 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) ในชีวติ ประจำ�วัน 1500201 ความเปน็ สวนดุสติ 4(2-4-6) 1500120 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำ�ตน 4(4-0-8) หมวดวชิ าเฉพาะ : กลมุ่ วชิ าพื้นฐานวิชาชีพ 6011103 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ 1(1-0-2) ส�ำ หรบั พยาบาล หมวดวิชาเฉพาะ : กลุ่มวชิ าพื้นฐานวิชาชพี 6011202 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรีรวิทยา 2 3(2-2-5) 6011201 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วทิ ยา 1 3 (2-2-5) 6011104 หลักชวี เคมี 2(1-2-3) 6011301 จลุ ชีววิทยา และปรสติ วิทยา 2(1-2-3) หมวดวิชาเฉพาะ : กลมุ่ วิชาชีพ 6021503 การพยาบาลพืน้ ฐาน 3(2-2-5) รวม 21 หน่วยกติ รวม 19 หน่วยกติ ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาฤดูรอ้ น ปีการศึกษา 2561 หมวดวิชาเฉพาะ : กลมุ่ พืน้ ฐานวิชาชีพ 6011203 พัฒนาการมนุษย ์ 2(2-0-4) 6011401 โภชนาการและสุขภาพ 2(1-2-3) หมวดวิชาเฉพาะ : กลมุ่ วิชาวิชาชพี 2(2-0-4) 6021203 แนวคิดพน้ื ฐาน และทฤษฎกี ารพยาบาล รวม 6 หน่วยกิต 33

ปที ่ี 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2562 หมวดวิชาเฉพาะ : กลมุ่ วิชาพน้ื ฐานวชิ าชพี หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 6012608 พยาธสิ รรี วทิ ยา 3(3-0-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสะท้อนคิด 4(4-0-8) 6012709 เภสชั วทิ ยาส�ำ หรบั พยาบาล 2(2-0-4) 4000113 ความเขา้ ใจและการใชด้ จิ ทิ ลั 3(2-2-5) 6022406 การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ 2(1-2-3) หมวดวชิ าเฉพาะ : กล่มุ วิชาชีพ 3(3-0-6) 6042103 การพยาบาลผ้ใู หญ่ 2 หมวดวิชาเฉพาะ : กลุม่ วิชาวิชาชีพ 6052101 การพยาบาลมารดา 3(3-0-6) 6022305 กระบวนการพยาบาล 3(2-2-5) และการประเมินภาวะสุขภาพ ทารกและการผดุงครรภ์ 1 6032102 การพยาบาลเด็กและวัยร่นุ 3(3-0-6) 6032103 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ 4(0-12-0) 6042102 การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 3(3-0-6) 6042104 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผ้ใู หญ่และ 4(0-12-0) 6042201 การพยาบาลผู้สงู อายุ 2(2-0-4) ผสู้ งู อาย1ุ 6022506 ปฏบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐาน 4(0-12-0) รวม 22 หน่วยกติ รวม 21 หน่วยกิต ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น ปกี ารศกึ ษา 2562 หมวดวชิ าเฉพาะ : กลุ่มวิชาชีพ 2(1-2-3) 6002201 การพยาบาลสาธารณภัย หมวดวชิ าเสรี 2-3 นก. วชิ าเลือกเสรี 2-3 นก. วชิ าเลือกเสรี รวม 6-8 หน่วยกิต 34

ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 หมวดวิชาเฉพาะ : กล่มุ พื้นฐานวชิ าชพี หมวดวชิ าเฉพาะ : กลุ่มพนื้ ฐานวชิ าชพี 6003103 วิจัยและนวัตกรรม 3(3-0-6) 6013502 การสื่อสารเชิงวชิ าชีพการพยาบาล 4(4-0-8) หมวดวชิ าเฉพาะ : กลมุ่ วชิ าชีพ หมวดวชิ าเฉพาะ : กลมุ่ วิชาชีพ 6052102 การพยาบาลมารดา ทารกและ 3(3-0-6) การผดงุ ครรภ์2 6023401 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพจิตและ 3(3-0-6) การพยาบาลจิตเวช 6073102 การพยาบาลอนามัยชุมชน 4(4-0-8) 6083102 กฎหมาย และจริยธรรมวิชาชพี 2(2-0-4) 6043106 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่ 4(0-12-0) และผู้สงู อายุ 2 6073201 การรักษาโรคเบ้ืองต้น 2(2-0-4) 6053106 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดา 3(0-9-0) 6053105 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารกและ 4(0-12-0) ทารกและการผดุงครรภ์ 2 การผดุงครรภ์ 1 6073103 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลอนามยั ชมุ ชน 4(0-12-0) หมวดวชิ าเสรี 2 นก. วชิ าเลอื กเสรี รวม 18 หน่วยกิต รวม 20 หน่วยกติ ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาฤดรู ้อน ปีการศึกษา 2563 หมวดวชิ าเสรี วชิ าเลือกเสร ี 2 วชิ าเลือกเสรี 2 รวม 4 หนว่ ยกิต 35

ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 หมวดวชิ าเฉพาะ : กลุ่มวชิ าชีพ หมวดวิชาเฉพาะ : กลุ่มวชิ าชีพ 3(0-9-0) 6024103 ศกั ยภาพการน�ำ และบริหาร 2(2-0-4) 6024202 ปฏิบตั ิการพยาบาลสวู่ ชิ าชีพ จัดการทางคลนิ ิก 6024201 สัมมนาประเดน็ และแนวโน้ม 2(2-0-4) ของวชิ าชพี การพยาบาล 6074204 ปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ 3(0-9-0) 6024401 ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจติ 3(0-9-0) และการพยาบาลจิตเวช รวม 10 หน่วยกิต รวม 3 หน่วยกติ 36

คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าพยาบาลศาสตร์ 6011103 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพส�ำ หรับพยาบาล 1(1-0-2) (Physical Science for Nurses) ระบบหนว่ ยการวดั ทางการพยาบาล พลศาสตรก์ ารเคลอื่ นที่ ของไหลและความดนั คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ นวิ เคลยี รแ์ ละกมั มนั ตภาพรงั สี โครงสรา้ งอะตอม ตารางธาตุ พนั ธะเคมี สารละลาย เคมอี นิ ทรยี เ์ บอื้ งตน้ การประยกุ ต์ เน้ือหาทางวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพกบั การปฎิบตั งิ านทางบรกิ ารสุขภาพ Unit and physical measurement in nursing, dynamics and kinetics motion, fluid and pressure, electromagnetic wave, nuclear and radiation, atomic structure, periodic table, chemical bonding, solution, basic biochemistry and their applications in healthcare working 6011104 หลกั ชีวเคม ี 2(1-2-3) (Principles of Biochemistry) โครงสรา้ ง และคณุ สมบตั ขิ องสารชวี โมเลกลุ ไดแ้ ก่ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรท ลพิ ดิ กรดนวิ คลอี กิ และวติ ามนิ รวมถึงเมทาบอลิซึมของสารชีวโมเลกุลเหล่านั้น ผลของเกลือแร่ท่ีมีต่อการทำ�งานของร่างกาย โครงสร้างและ การทำ�งานของเอนไซม์ Structure and property of the major macromolecules i.e. protein, carbohydrate, lipid, nucleic acid, vitamin and mineral; and their metabolisms; the effects of minerals on body function; enzymes and their kinetics 6011201 กายวิภาคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 1 3(2-2-5) (Anatomy and Physiology 1) โครงสร้าง หน้าที่ และกลไกการทำ�งานของเซลล์ เน้ือเยื่อ อวัยวะของระบบปกคลุมร่างกาย ระบบกระดูก และกล้ามเนอ้ื ระบบประสาท และการรบั รู้ชนดิ พเิ ศษของร่างกาย ระบบการไหลเวียนเลือด และ น�ำ้ เหลอื ง ความสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงระหวา่ งระบบตา่ งๆ การตอบสนองรวมของระบบ ตลอดจนการปรบั ตวั เพอ่ื รกั ษา ดุลยภาพในหนา้ ที่ของอวยั วะตา่ งๆของรา่ งกาย Structure, function and mechanism of cells, tissues, organs of human body in integumentary system, musculoskeletal system, nervous system, special sensory functions, and circulatory system; Interrelationships among systems and systemic responses illustrating their dynamic functioning and adjustment to maintain stability of organ’s function 6011202 กายวภิ าคศาสตร์และสรรี วทิ ยา 2 3(2-2-5) (Anatomy and Physiology 2) โครงสรา้ ง หนา้ ท่ี และกลไกการท�ำ งานของเซลล์ เนอื้ เยอื่ อวยั วะของระบบหายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ ระบบสบื พนั ธ์ุ ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ระบบการควบคมุ อณุ หภมู ขิ องรา่ งกาย ความสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยง ระหวา่ งระบบตา่ งๆ การตอบสนองรวมของระบบ ตลอดจนการปรบั ตวั เพอ่ื รกั ษาดลุ ยภาพในหนา้ ทขี่ องอวยั วะตา่ งๆ ของร่างกาย Structure, function and mechanism of cells, tissues, organs of human body in respiratory system, gastrointestinal system, urinary tract system, reproductive system, endocrine system, and regulation of body temperature system. Interrelationships among systems and systemic responses, dynamic functioning and adjustment to maintain stability of organ’s function 37

6011203 พัฒนาการมนษุ ย์ 2(2-0-4) (Human Development) แนวคิด ทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์ตามข้ันตอนของวงจรชีวิตต้ังแต่ปฏิสนธิจนถึงวัยชรา ปัจจัย ท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การพฒั นาการ การประเมินพฒั นาการ กลไกการปรบั ตวั พฤตกิ รรมทเี่ ป็นปัญหา และการปอ้ งกัน การสง่ เสริมพัฒนาการในแตล่ ะวัย Concepts and theories of human development according to the stages of the human life cycle from fertilization through old age; factors affecting the human development, assessment of human development in each stage of life, coping mechanism, prevention of maladaptive and deviated behaviors, promotion of human development in each stage of life 6011301 จลุ ชวี วทิ ยาและปรสิตวิทยา 2(1-2-3) (Microbiology and Parasitology) คุณสมบัติวงชีวิต และชนิดของแบคทีเรีย รา ไวรัส ปรสิต โรคติดเช้ือ และโรคอุบัติใหม่ อุบัติซำ้� ทีม่ ีความสำ�คญั ทางด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ปัจจัยทที่ ำ�ใหเ้ กิดความรุนแรงในการก่อโรค การติดตอ่ และ พยาธกิ �ำ เนิดของโรคติดเช้อื หลกั การตรวจวนิ ิจฉยั โรคตดิ เชอื้ และการปอ้ งกนั เชอ้ื การควบคมุ และกำ�จัดจลุ ินทรีย์ ความรู้พ้ืนฐานทางภูมิคุ้มกัน กลไกการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจน และแอนติบอดี โรคท่เี ก่ยี วขอ้ งกับระบบภูมคิ ุ้มกนั และวคั ซนี Morphology, life circle and classification of bacteria, fungus, virus, parasite; infectious, emerging, and re-emerging diseases which is common in medicine and public health, virulence factors, transmission and pathogenesis;principle of infectious diseases investigation; prevention, control and elimination of microbes; basic knowledge of immunology, immune response, antigen-antibody reaction, autoimmune diseases and vaccine 6011401 โภชนาการและสขุ ภาพ 2(1-2-3) (Nutrition and Health) แหลง่ อาหาร และหนา้ ทข่ี องสารอาหารทจี่ �ำ เปน็ ตอ่ รา่ งกาย ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งโภชนาการ และสขุ ภาพ อาหารท่ีเหมาะสมแต่ละช่วงวัยเพอ่ื การส่งเสริม ปอ้ งกัน บ�ำ บัด และฟน้ื ฟสู ขุ ภาพ โดยคำ�นงึ ถงึ ความชอบของแตล่ ะ บคุ คล และความแตกตา่ งทางเศรษฐกจิ สงั คม และวัฒนธรรม Sources and functions of essential nutrients, relationships between nutrition and health, food for the promotion, prevention, treatment and restoration of health in each stage of life regarding to individual preferences, socioeconomic and cultural differences 6013502 การสื่อสารเชิงวิชาชีพการพยาบาล 4(4-0-8) (Communications in Nursing Profession) ทกั ษะการสอ่ื สารในวชิ าชพี การพยาบาลโดยใชภ้ าษาองั กฤษ ในการฟงั พดู อา่ น และเขยี น โดยเนน้ เนอื้ หา ด้านสขุ ภาพ การติดตอ่ ส่ือสารกบั ผใู้ ช้บริการ และบคุ ลากรในทมี สขุ ภาพ การบนั ทึกข้อมูลทางการพยาบาล การให้ ความรดู้ า้ นสขุ ภาพ การอา่ นบทความทางวชิ าชพี การน�ำ เสนอรายงาน การซกั ถาม และแสดงความคดิ เหน็ ขณะเขา้ รว่ ม การประชมุ วิชาการ Communication skills in nursing profession include listening, speaking, reading, and writing in English focusing on health related contents; communication with clients and health team; writing nursing documentation, giving health education, reading professional articles, report presentation, question and discussion in a conference 38

6012608 พยาธสิ รรี วิทยา 3(3-0-6) (Pathophysiology) หลักการท่ัวไปทางพยาธิวิทยา การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะในร่างกายเมื่อเกิดพยาธิสภาพ กลไก ปฏกิ ริ ยิ าตอบโต้ ตลอดจนการปรบั ตวั ของรา่ งกายในภาวะทม่ี พี ยาธสิ ภาพในระบบตา่ ง ๆ การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั ิ การเพอ่ื ช่วยในการวินจิ ฉัย General principles of pathology causing alteration of organs and systems functions; response mechanism and adaptation of various human organ systems; laboratory investigation as means for diagnosis are included 6012709 เภสชั วทิ ยาสำ�หรับพยาบาล 2(2-0-4) (Pharmacology for Nurses) พ้ืนฐานทางเภสัชวิทยา บัญชียาหลักแห่งชาติและบัญชียาตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุข เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ ยาที่ใช้รักษาโรคตามระบบต่างๆ ยาลดไข้ ยาระงับปวด ยาต้านอักเสบ และยารกั ษาการติดเชือ้ ขอบเขตและความรับผดิ ชอบของพยาบาลในการบรหิ ารยาภายใต้จรรยาบรรณวิชาชพี Basic of pharmacology, the National drug list and the Ministry of Public Health’s list, pharmacodynamics, pharmacokinetics; drugs used in the treatment of diseases in according to human body systems; antipyretics, analgesic, anti-inflammatory and antibiotic drugs; roles and responsibilities of nurses in drug administration under professional ethics 6022406 การสรา้ งเสริมสขุ ภาพ 2(1-2-3) (Health Promotion) แนวคิด หลักการ และทฤษฎี ที่เก่ียวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ วิถีชีวิตเชิงสร้างเสริมสุขภาพ การประยกุ ตใ์ ช้ หลกั การ และวิธีการสรา้ งเสริมสุขภาพในระดบั บุคคล และกลุ่มคน Concepts, principles and theories on health promotion; health promoting life-style; the application of health promotion principles and strategies on individuals and population groups 6003103 วิจัยและนวตั กรรม 3(3-0-6) (Research and Innovation) แนวคิดการวิจัย นวัตกรรมและกระบวนการพัฒนานวัตกรรม ระเบียบวิธีวิทยาการวิจัย การเขียน โครงรา่ งวจิ ยั เทคนคิ การเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง สถติ ิ และการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การเขยี นรายงานการวจิ ยั และการเผยแพร่ ผลงานวจิ ยั หลักฐานเชิงประจกั ษท์ างการพยาบาล และแนวทางการเลือกผลงานวิจัยมาใชป้ ระโยชน์ โดยยึดหลกั จรยิ ธรรมการวจิ ัย และจรยิ ธรรมการวจิ ัยในมนษุ ย์ Concepts of research, innovation and process of innovation development, research methodology, writing research proposal, sampling technique, statistics and data analysis, writing and disseminating research report; evidenced-based nursing and guidelines on utilizing of research reports considering research ethics principles, and basic principles in human research 6021203 แนวคิดพนื้ ฐาน และทฤษฎกี ารพยาบาล 2(2-0-4) (Basic Concept and Nursing Theory) ประวัติ และวิวัฒนาการของวิชาชีพการพยาบาล ระบบสุขภาพ ทฤษฎีพื้นฐานทางการพยาบาล มโนมตหิ ลักของทฤษฏกี ารพยาบาล ทฤษฏแี ละแนวคิดหลักในวิชาชีพพยาบาลท่เี ลอื กสรร และการประยกุ ต์ใช้ History and evolution of nursing profession; health system, basic theories in nursing, the four metaparadigms of nursing theory, selected nursing theories and their application 39

6021503 การพยาบาลพ้ืนฐาน 3(2-2-5) (Fundamentals of Nursing) แนวคิด หลักการการพยาบาล บทบาทของพยาบาล และการทดลองปฏิบัติการพยาบาล อย่างเป็น องค์รวม โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล เกย่ี วกับความปลอดภยั ของผใู้ ชบ้ ริการ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างพยาบาลกับ ผ้ใู ชบ้ ริการ และครอบครัว การปอ้ งกนั และควบคมุ การแพร่กระจายเชอื้ การตอบสนองความตอ้ งการพนื้ ฐานของ ผู้ป่วย ด้านความสุขสบายและความปลอดภัย สุขอนามัยส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม อาหารและน้ำ� ออกซิเจน และการขับถ่าย การใช้ความร้อน ความเย็นในการบำ�บัด การประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ การบริหารยา การรบั ใหม่ และการจ�ำ หนา่ ย ครอบคลมุ ทง้ั 4 มติ ขิ องการดแู ลสขุ ภาพ โดยค�ำ นงึ ถงึ สทิ ธผิ ใู้ ชบ้ รกิ าร และจรยิ ธรรมวชิ าชพี Concepts, principles of nursing, nurses’ roles; laboratory nursing practices using nursing process and holistic approach on patient safety, nurse-client and family relationships, prevention and control of the transmission of microorganisms, to respond to patient’s basic needs on comfort and safety, personal hygiene and environment, food and water, oxygen and excretion; applying heat and cold for therapeutic purposes, taking and recording vital signs, drug administration, admission and discharge of patient; covering four dimensions of caring regarding to clients’ rights and professional ethics 6022305 กระบวนการพยาบาล และการประเมินภาวะสขุ ภาพ 3(2-2-5) (Nursing Process and Health Assessment) แนวคิด หลักการ ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล การประเมินภาวะสุขภาพทางกาย จิตสังคม และจิตวิญญาณของบุคคลทุกช่วงวัย การวินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาลการปฏิบัติการพยาบาล การประเมินผลการพยาบาล การบันทึกทางการพยาบาล และสารสนเทศทางการพยาบาล Concepts, principles, major steps of nursing process, heath assessment on physical, psychosocial and spiritual aspects of individuals in all ages; nursing diagnosis, planning, implementation, evaluation, documentation and nursing informatics 6032102 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 3(3-0-6) (Child and Adolescent Nursing) แนวคดิ การดแู ลเดก็ และวยั รนุ่ ตงั้ แตภ่ าวะสขุ ภาพปกตถิ งึ เจบ็ ปว่ ย การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ อาหาร สำ�หรับเด็ก การเล่น วัคซีน การนำ�กระบวนการพยาบาลมาให้การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาการเจ็บป่วย ท่ีพบบ่อย ทั้งในระยะเฉียบพลันและเร้ือรังอย่างเป็นองค์รวม ครอบคลุมทั้ง 4 มิติของการดูแลสุขภาพ โดยคำ�นึงถงึ สทิ ธเิ ด็ก จรยิ ธรรมวชิ าชีพ และการใหค้ รอบครวั เป็นศูนยก์ ลาง Concepts of caring for healthy and sick children and adolescents, growth and development, food for children, playing, vaccination; holistically nursing care of children and adolescents with common illnesses, in acute and chronic stages using nursing process, covering four dimensions of caring; considering to child’s rights, professional ethics and family-centered 40

6042102 การพยาบาลผูใ้ หญ ่ 1 3(3-0-6) (Adult Nursing 1) แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย และหลักฐานเชิงประจักษ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการเปล่ียนแปลง การตอบสนอง ของร่างกาย และผลกระทบของความเจ็บป่วยต่อชีวิต และความเป็นอยู่ ของบุคคลในวัยผู้ใหญ่ และครอบครัว การพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมแก่บุคคลในวัยผู้ใหญ่ ทั้งในระยะเฉียบพลัน วิกฤติ และเรื้อรัง ที่เกี่ยวข้องกับ ความผิดปกตขิ อง ระบบต่อมไร้ท่อ ความไมส่ มดลุ ของสารนำ�้ เกลอื แร่ และกรด ดา่ ง ระบบกระดูกและกลา้ มเนื้อ ระบบเลือดและนำ้�เหลือง ระบบทางเดินอาหาร ระบบการรับความรู้สึก โรคเฉพาะสตรี เน้ืองอกและมะเร็งการ จัดการความปวด รวมทง้ั การพยาบาลผปู้ ่วยทีไ่ ดร้ บั การผา่ ตดั โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล ครอบคลุมท้งั 4 มิติ ของการดแู ลสขุ ภาพ ยึดหลักจริยธรรมวชิ าชพี และเคารพสทิ ธิผู้ป่วย C oncepts, theories and empirical evidence related to humans in response to illnesses; the impacts of illnesses on lives and well-being of adult patients and their families; holistic nursing care for adult patients in acute, critical, and chronic stages relating to the problems of endocrine system; electrolyte, acid, base, fluid and mineral imbalance; musculo-skeletal system, blood and lymphatic system, gastrointestinal tract system, sensory system, gynaecological conditions, tumor and cancer, pain management, including pre, peri and postoperative care; using nursing process, covering four dimensions of caring, regarding to professional ethics and clients’ rights 6042103 การพยาบาลผใู้ หญ ่ 2 3(3-0-6) (Adult Nursing 2) การพยาบาลเพ่ือตอบสนองความเจ็บป่วย และผลกระทบของความเจ็บปว่ ยตอ่ ชวี ิต และความเป็นอยู่ ของบคุ คลในวยั ผใู้ หญ่ และครอบครวั ในระยะเฉยี บพลนั วกิ ฤติ และเรอื้ รงั เกย่ี วกบั โรคหรอื ปญั หาของ ระบบทางเดนิ หายใจ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ระบบผวิ หนงั และแผลไหม้ ระบบประสาท ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ ระบบภมู คิ มุ้ กนั ปัญหาโรคเขตร้อน ภาวะช็อก การช่วยฟ้ืนคืนชีพ และการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย โดยใช้กระบวนการพยาบาล หลักฐานเชิงประจักษ์ และความรู้ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์ ครอบคลุมทั้ง 4 มิติของการดูแลสุขภาพ และ ยึดหลักจรยิ ธรรมวิชาชพี และการเคารพสิทธิผูป้ ่วย Nursing care to respond to illnesses and the impacts of illnesses on lives and well-being of adult patients and their families in acute, critical, and chronic stages relating to the problems of respiratory tract system, cardiovascular system, integument system and burns, neurological system, urinary tract system, immune system, tropical diseases, shock, cardiopulmonary resuscitation and end-of-life care; using nursing process, empirical evidence and knowledge about advanced medical technology, covering four dimensions of caring, regarding to professional ethics and clients’ rights 6042201 การพยาบาลผู้สงู อาย ุ 2(2-0-4) (Gerontological Nursing) มโนทศั น์ และจรยิ ธรรมการพยาบาลผู้สงู อายุ นโยบาย และแผนระดบั ชาตเิ กี่ยวกับผสู้ ูงอายุ ทฤษฎี ความสงู อายุ กระบวนการเปลย่ี นแปลงของการสงู อาย ุ การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรคและความเจบ็ ปว่ ย การฟน้ื ฟสู ภาพ การพยาบาลผสู้ งู อายทุ มี่ ปี ญั หาสขุ ภาพทพ่ี บบอ่ ย หลกั การใชย้ าในผสู้ งู อายุ การสง่ เสรมิ การปรบั ตัวเพ่ือการด�ำ รงชีวติ ในสังคมอยา่ งมีสขุ ภาวะ Concepts and ethics of gerontological nursing; national policies and plans on the older persons; theories of ageing, changes associated with the aging process; health assessment, promotion, prevention and rehabilitation; nursing care of older persons with common health problems; drug utilization principles in the older persons; nursing intervention to promote adaptation and well-being of the older persons 41

6052101 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1 3(3-0-6) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 1) แนวคิด ทฤษฎี และหลักฐานเชิงประจักษใ์ นการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ ในการให้ ค�ำ ปรกึ ษากอ่ นสมรส การพยาบาลแบบองค์รวม ในระยะตงั้ ครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลงั คลอดปกติ ทารกแรกเกดิ และการเลีย้ งลูกดว้ ยนมแม่ ปจั จัยทีส่ ่งผลต่อภาวะสุขภาพมารดาทารก การส่งเสริมสขุ ภาพ ปอ้ งกนั ภาวะเบี่ยงเบน ทางสขุ ภาพ โดยการสนับสนนุ ใหค้ รอบครัวมสี ว่ นร่วม บนพน้ื ฐานของจรยิ ธรรมวิชาชีพ และสิทธขิ องมารดา ทารก และครอบครวั Concepts, theories, and empirical evidence relating to maternal and newborn nursing and midwifery care; pre-marriage counseling; holistic nursing care to mothers, newborns and families in prenatal, intrapartum, and postpartum, normal newborn care and breastfeeding; factors affecting to maternal and child health, health promotion and health deviation protection; regarding to family participation, professional ethics and clients’ rights 6052102 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 2 3(3-0-6) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 2) แนวคดิ ทฤษฎี และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งการพยาบาลอยา่ งเปน็ องคร์ วม แกม่ ารดา ทารก ทมี่ ี ภาวะเสย่ี ง ภาวะแทรกซอ้ น ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสตู ศิ าสตร์ และสตู ศิ าสตรห์ ตั ถการ ทเี่ กดิ ขน้ึ ในระยะตง้ั ครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลงั คลอด โดยค�ำ นงึ ถงึ การมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั จรยิ ธรรมวชิ าชพี และสทิ ธขิ องมารดา ทารกและครอบครวั Concepts, theories, and empirical evidence relating to holistic maternal and newborn nursing and midwifery care to mothers with high-risk, complications, emergency in labor conditions and obstetrics operation; which occur in prenatal, intrapartum, and postpartum stages; regarding to family participation, professional ethics and clients’ rights 6023401 การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 3(3-0-6) (Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing) แนวคดิ หลักการ และทฤษฎที างการพยาบาลสุขภาพจติ และจติ เวช แนวคิดพ้นื ฐานในการบำ�บดั รกั ษา ทางจติ เวช การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพจติ ในบคุ คลทกุ ชว่ งวยั กลมุ่ คน ครอบครวั และชมุ ชน การพยาบาลจติ เวชในระยะ เฉยี บพลนั วิกฤติ และเรอ้ื รงั ภายใตจ้ รรยาบรรณ และกฎหมายวชิ าชีพ Concepts, principles and theories on mental health and psychiatric nursing; basic con- cepts on psychotherapeutic interventions; mental health promotion and mental health therapy for individuals, groups, families and communities; psychiatric nursing in acute, critical and chronic stages; under professional code of ethics and related laws 42

6073102 การพยาบาลอนามัยชุมชน 4(4-0-8) (Community Health Nursing) แนวคดิ หลกั การเกย่ี วกบั การพยาบาลอนามยั ชมุ ชนโดยใชป้ ระชากรเปน็ ฐาน การใชก้ ระบวนการพยาบาล ในการดแู ลบคุ คล ครอบครวั กลมุ่ ประชากร และชมุ ชน ครอบคลมุ การพยาบาลในโรงเรยี น การพยาบาลอาชวี อนามยั และการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มในครอบครวั และชมุ ชน โดยการน�ำ กลวธิ ที างระบาดวทิ ยา ระบาดวทิ ยาวเิ คราะห์ หลกั ฐาน เชิงประจักษ์และข้อมูลสารสนเทศมาใช้ประกอบการออกแบบกิจกรรมการพยาบาลและโครงการเพ่ือสุขภาพ การเสรมิ พลงั อ�ำ นาจชมุ ชนในการมสี ว่ นรว่ มดา้ นสขุ ภาพ และการดแู ลเชงิ พหวุ ฒั นธรรม โดยค�ำ นงึ ถงึ เปา้ หมายสงู สดุ คือผลลัพธด์ ้านสุขภาพที่พึงประสงค์ของประชากรไทย Concepts and principles of community health nursing and population based nursing; application of nursing process in the care of individuals, families, population groups and communities; school health nursing, occupational health nursing and environmental management in family and community; using epidemiology method, epidemiology analysis, evidences, data and information to design nursing intervention and health care program; community empowerment for health engagement and multicultural care that leading to optimum goals of Thai population health outcomes 6002201 การพยาบาลสาธารณภัย 2(1-2-3) (Disaster Nursing) แนวคิดเก่ียวกบั สาธารณภยั สถานการณแ์ ละแนวโน้มสาธารณภยั หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องกบั การจดั การ สาธารณภยั การจดั การสาธารณภยั ในระยะกอ่ นเกดิ ภยั ขณะเกดิ ภยั และหลงั เกดิ ภยั บทบาทและหนา้ ทขี่ องพยาบาล ในการจดั การสาธารณภยั Concept about disasters, situations and trends of disasters, organizations involved in disaster management, disaster management in each phase of a disaster:- pre-impact phase, impact phase and post-impact phase; roles and responsibilities of nurses in disasters 6073201 การรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ 2(2-0-4) (Primary Medical Care) หลกั การ และ วธิ กี ารรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ ตามขอบเขตของกฎหมาย และจรยิ ธรรมทค่ี วบคมุ การประกอบ วชิ าชพี การพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ โดยใชก้ ระบวนการประเมนิ สขุ ภาพ การซกั ประวตั กิ ารตรวจรา่ งกาย การตรวจ ทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เพอื่ วนิ จิ ฉยั แยกโรค หลกั การรกั ษาดว้ ยยา การท�ำ หตั ถการทางศลั ยกรรมเบอ้ื งตน้ การคดั กรอง และส่งต่อผู้ป่วยไปรบั การรกั ษาท่ีเหมาะสม Principles and methods of providing primary medical care under the scope of nursing professional laws and ethics; using health assessment process:- history taking, physical examination, laboratory test, differential diagnosis; principles of medication therapy, basic surgical procedures for treatment; screening and referring for appropriate treatment 6083102 กฎหมายและจริยธรรมวชิ าชพี 2(2-0-4) (Laws and Professional Ethics) หลักจริยศาสตร์ จริยธรรมสำ�หรับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ จริยธรรม ในการปฏิบัติการพยาบาล หลักการตัดสินใจในประเด็นปัญหาทางจริยธรรม หลักกฎหมายทั่วไป ประมวล กฎหมายอาญา ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ที่เกย่ี วกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ พระราชบญั ญัตวิ ชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หลักสทิ ธิมนุษยชน พระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครองผ้บู ริโภค และ กฎหมายสขุ ภาพอน่ื ๆ ที่เก่ยี วข้องกับวิชาชพี การพยาบาลและการผดุงครรภ์ Ethics and morality for professional nurses and midwives, ethics in nursing practice; principles of judgement on ethical issues or problems; general principles of law, criminal code, civil and commercial code; Professional Nursing and Midwifery Act, human right principles, Consumer Protection Act and other health related laws 43

6024103 ศกั ยภาพการนำ�และการบรหิ ารจดั การทางคลนิ ิก 2(2-0-4) (Leadership and Clinical Nursing Management) แนวคิด หลกั การ ทฤษฎีการบริหาร กระบวนการ และหลักการบรหิ ารการพยาบาล การบรหิ ารองคก์ ร พยาบาลในทกุ ระดบั ของสถานบรกิ ารสขุ ภาพ เนน้ การบรหิ ารงานในหอผปู้ ว่ ย และการน�ำ ทมี การพยาบาลการตดั สนิ ใจ ทางคลนิ กิ ภาวะผนู้ �ำ และศกั ยภาพทจี่ �ำ เปน็ ส�ำ หรบั ผนู้ �ำ ทางการพยาบาล การบรหิ ารคณุ ภาพการพยาบาลโดยยดึ หลกั จรยิ ธรรมในการบรหิ าร Concepts, principles, and theories of administration; process and principles of nursing organizations management at all levels of healthcare settings; management of care team and clinical unit; clinical judgement, leadership, essential competencies of effective nursing leaders; and quality management regarding to ethical principles of administration 6024201 สมั มนาประเด็นและแนวโน้มของวิชาชีพการพยาบาล 2(2-0-4) (Seminar on Issues and Trends in Nursing Profession) การเปลยี่ นแปลงทางด้านการศึกษา เศรษฐกิจสงั คม วัฒนธรรม การเมือง และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทีม่ ีผลตอ่ วิชาชพี การพยาบาล สัมมนาประเด็นปัญหา แนวโน้ม และแนวทางในการแกป้ ัญหา หรือพัฒนาวิชาชีพ การพยาบาล ทั้งดา้ นการศึกษา การบรกิ าร การบริหาร และการวิจยั ทางการพยาบาล The effect of changes on education, socioeconomics, culture, politics and information technology on nursing profession; issues, trends and development strategies of nursing profession in aspect of education, service, administration and research 6022506 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน 4(0-12-0) (Fundamentals of Nursing Practicum) ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ กั ษะการพยาบาลพน้ื ฐาน โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการขน้ั พนื้ ฐาน ของบุคคลในภาวะเจบ็ ปว่ ย ทั้ง 4 มติ ิของการดูแล อยา่ งเป็นองคร์ วม เน้นการมปี ฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพยาบาลกับผู้ ใชบ้ ริการ ครอบครวั และทีมสุขภาพ โดยคำ�นึงถึงสทิ ธผิ ปู้ ว่ ยจรยิ ธรรมวิชาชีพ และความปลอดภัยของผู้ใช้บริการ Practicum on the application of nursing process to respond to individual clients’ basic needs during illness; covering four dimensions of caring holistically and focusing on relationships among nurse, client, family and health team; considering to patient’s rights, professional ethics and the safety of client 6032103 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กและวัยร่นุ 4(0-12-0) (Child and Adolescent Nursing Practicum) ฝกึ ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ แรกเกดิ จนถงึ วัยรุ่น ในภาวะสุขภาพปกติ และเจ็บป่วย ด้วยโรค หรือปัญหา ท่ีพบบอ่ ย ในระยะเฉียบพลนั และเรื้อรงั อย่างเป็นองคร์ วม ท้ัง 4 มิตขิ องการดแู ล โดยนำ�กระบวนการพยาบาล มาใช้ ให้ครอบครวั เปน็ ศนู ยก์ ลาง ภายใตก้ ฏหมาย และจริยธรรมวชิ าชีพ Practicum on the application of nursing process to provide holistic and family-centered care for infant, children and adolescents who are healthy or having common illnesses or health problems, in acute and chronic stages, covering four dimensions of caring, under the laws and professional ethics 44

6042104 ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผ้ใู หญ่และผสู้ งู อายุ 1 4(0-12-0) (Adult and older Person Nursing Practicum 1) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ท่ีมีปัญหาสุขภาพ หรือ เจ็บป่วย ทั้งในภาวะเฉียบพลัน และเรื้อรงั ทางดา้ นอายุรกรรม ศัลยกรรม ศัลยกรรมระบบกระดกู /กลา้ มเน้ือ และปัญหาเฉพาะโรคสตรี โดยใช้ กระบวนการพยาบาล ม่งุ เน้นความปลอดภยั ของผู้ปว่ ย ครอบคลุมท้งั 4 มิตขิ องการดูแลสขุ ภาพ บนพนื้ ฐานของ ความเคารพในความเปน็ ปัจเจก จรยิ ธรรมวิชาชพี และขอบเขตการปฏบิ ัตขิ องวิชาชพี Practicum on the provision of holistic nursing care for adults and older persons with health problems or illnesses of medical, surgical, musculo-skeletal surgery and gynaecological conditions in acute and chronic stages using nursing process, focusing on patient safety, covering four dimensions of caring, regarding to individuality, professional ethics and scope of professional practice 6043106 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผูใ้ หญแ่ ละผ้สู งู อาย ุ 2 4(0-12-0) (Adult and Older Person Nursing Practicum 2) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ท่ีมีปัญหาสุขภาพ หรือ เจ็บป่วย ท้ังในระยะฉุกเฉิน วิกฤต ในแผนกฉุกเฉิน และหอผู้ป่วยวิกฤต ทั้งด้านอายุรกรรมและศัลยกรรม โดยใช้กระบวนการพยาบาล หลักฐานเชิงประจักษ์ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ มุ่งเน้นความปลอดภัยของผปู้ ว่ ย ครอบคลุมทั้ง 4 มิติของการ ดแู ลสขุ ภาพ บนพื้นฐานของความเคารพในความเป็นปัจเจก จรยิ ธรรมวชิ าชพี และขอบเขตการปฏิบัติของวชิ าชีพ Practicum on the provision of holistic nursing care for adults and older persons with health problems or illnesses in emergency and critical conditions admitted in emergency depart- ment and medical and surgical intensive care units; using nursing process, empirical evidence and current medical technology, focusing on patient safety, covering four dimensions of caring, regarding to individuality, professional ethics and scope of professional practice 6053105 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์ 1 4(0-12-0) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery Practicum 1) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม แก่มารดาในระยะต้ังครรภ์ปกติ หรือมีภาวะเส่ียง หรือมีภาวะ แทรกซอ้ นในระยะต้ังครรภ์ ระยะคลอด ทารกแรกเกิดปกติ การวางแผนครอบครัว การทำ�คลอดปกติ และการชว่ ย คลอดปกติ และการส่งเสริมการเล้ียงลกู ด้วยนมแม่ โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล และการมสี ่วนร่วมของครอบครัว ครอบคลุมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพ โดยคำ�นึงถึงจริยธรรม วชิ าชพี และสทิ ธิของมารดา ทารกและครอบครวั Practicum on the provision of holistic nursing care for mothers during normal pregnancy or with high risk or complications, and during intrapartum; care of normal newborn, family planning, normal delivery or assisting normal delivery, breastfeeding; using nursing process and family participation in order to promote, prevent, restore, and rehabilitate health regarding to professional ethics and clients’ rights 6053106 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์ 2 3(0-9-0) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery Practicum 2) ฝึกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล แกม่ ารดาในระยะคลอดที่มคี วามเสีย่ ง ภาวะแทรกซอ้ น และการใชส้ ตู ศิ าสตร์ หตั ถการชว่ ยคลอด ระยะหลงั คลอดปกตแิ ละทมี่ ภี าวะแทรกซอ้ น ทารกแรกเกดิ ปกตแิ ละมคี วามผดิ ปกตเิ ลก็ นอ้ ย โดย น�ำ กระบวนการพยาบาลมาใชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลแบบองคร์ วม และการมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั ทค่ี รอบคลมุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ การปอ้ งกนั โรค การรกั ษาพยาบาลและการฟ้นื ฟูสภาพ โดยคำ�นึงถงึ จรยิ ธรรมวิชาชีพ และ สิทธขิ องมารดา ทารกและครอบครวั Practicum on the provision of holistic nursing care for mothers with high risk or complications during intrapartum or having obstetrics operation, and during postpartum; normal or mild abnormal newborn; using nursing process and family participation in order to promote, prevent, restore, and rehabilitate health regarding to professional ethics and clients’ rights 45

6024401 ปฏิบัติการสร้างเสริมสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช 3(0-9-0) (Mental Health Promotion and Psychiatric Nursing Practicum) การฝึกปฏิบัติการพยาบาลจิตเวชจากการบูรณาการความรู้ทั้งทางด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต และ จติ เวช การบ�ำ บดั รกั ษาทางจติ เวช และหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ เพอ่ื แกป้ ญั หาและตอบสนองความตอ้ งการของผปู้ ว่ ย อยา่ งเปน็ องคร์ วม โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล และการตดั สนิ ใจทางคลนิ กิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ ฝกึ ทกั ษะการสรา้ ง สมั พนั ธภาพเพอื่ การบ�ำ บดั การใชเ้ ทคนคิ การสนทนาเพอ่ื การบ�ำ บดั และการใชต้ นเองเปน็ สอ่ื เพอ่ื การบ�ำ บดั ทางจติ เปน็ รายบคุ คล และรายกลมุ่ ปฏบิ ตั กิ ารสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพจติ และปอ้ งกนั ปญั หาทางจติ ทงั้ ในโรงพยาบาลและชมุ ชน ภายใตจ้ รรยาบรรณวชิ าชีพ Practicum on the provision of psychiatric nursing care for clients by integrating knowledges on mental health promotion, psychiatrics, psychotherapeutic interventions, and empirical evidence to holistically respond to health problems and needs of patients using nursing process and critically clinical judgement; establishment of therapeutic relationship, communication and self-understanding, as therapeutic tools for individual and group psychotherapy. The practicum also emphasizes on mental health promotion and prevention in hospital and community settings under professional code of ethics 6073103 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลอนามัยชุมชน 4(0-12-0) (Community Health Nursing Practicum) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน โดยประยุกต์ใช้กรอบแนวคิดทางการพยาบาลอนามัยชุมชน วทิ ยาการระบาด การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ และทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ใชก้ ระบวนการพยาบาลในการดูแลสขุ ภาพบุคคล ครอบครวั ชมุ ชน โรงเรียน และสถานประกอบการ โดยเน้นความหลากหลายทางวัฒนธรรม การระดมทรพั ยากร ที่มีคา่ ของชุมชน การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน และทมี สุขภาพ Practicum in community health nursing by applying community health nursing concepts, epidemiology, health promotion, and related theories through nursing process in caring of individuals, families, communities and those in schools and work places; emphasizing on cultural diversities, the mobilization of community assets and the participation of community and health team 6074204 ปฏิบตั ิการรักษาโรคเบอื้ งตน้ 3(0-9-0) (Primary Medical Care Practicum) ฝึกปฏิบัติการรักษาโรคเบ้ืองต้น ตามขอบเขตของกฎหมาย และจริยธรรมที่ควบคุมการประกอบ วิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ โดยใช้กระบวนการประเมินสุขภาพ การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร เพอ่ื วนิ จิ ฉยั แยกโรค หลกั การรกั ษาดว้ ยยา การฝกึ ทกั ษะใหส้ ารน�ำ้ ทางหลอดเลอื ดด�ำ และการท�ำ หัตถการทางศลั ยกรรมเบ้อื งตน้ การคัดกรอง และส่งตอ่ ผปู้ ว่ ย Practicum in giving primary medical care under the scope of nursing professional laws and ethics; using health assessment process:- history taking, physical examination, laboratory test, differential diagnosis, principles of mediaction therapy; practicing skills on giving intravenous fluid infusion and basic surgical procedures for treatment; screening and referring patients 6024202 ปฏบิ ัติการพยาบาลส่วู ชิ าชีพ 3(0-9-0) (Transition into Professional Nursing Practicum) ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลตามบทบาทหนา้ ทข่ี องพยาบาลวชิ าชพี ในบทบาทผนู้ �ำ และสมาชกิ ทมี การพยาบาล การบรหิ ารจัดการหอผปู้ ว่ ย และการพฒั นาคุณภาพการพยาบาล Practicum in professional nurses’ roles, and as a leader or a member of the team; management of clinical unit; and quality developemnt in nursing 46

หมวดวชิ าเลอื กเสรี สำ�หรับนกั ศกึ ษาคณะอ่ืนๆ 6033201 ความรกั และชวี ติ ของวยั ร่นุ 3(3-0-6) (Love and Life of Young Adolescents) มนษุ ย์และศกั ดศิ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์การรจู้ กั ตนเองการยอมรบั ตนเองและผอู้ น่ื อาณาจกั รใจของตนเอง และผอู้ นื่ วฒุ ภิ าวะทางดา้ นอารมณ์ การจดั การกบั อารมณ์ การควบคมุ ตนเอง การพฒั นาไปสมู่ ติ รภาพทย่ี ง่ั ยนื ความรกั และแนวคดิ เกย่ี วกบั ความรกั ของผู้ท่ีมีวุฒิภาวะ เพศภาวะ วิถีชีวติ ทางเพศ สุขอนามัยทางเพศ แนวคิดทางจิตวิทยา สังคมวิทยา และศาสนา เก่ียวกับการตัดสินใจเลือกคู่ครอง และการสร้างครอบครัว การเตรียมตัวเป็นพ่อแม่ท่ีดี กฎหมาย และจรยิ ธรรมท่เี กย่ี วข้อง Human and human dignity, self-understanding, understanding of others, boundaries of oneself and others, emotional maturity, emotional management, self-control, long-lasting relationships development; love and concepts of love in the view of matured persons; gender, sexual lifestyle, sexual health; psychological, sociological and religious concepts related to spouse selection and marriage; preparation for good parenting, legal and ethical concerns 6023502 การดแู ลตนเอง และการปฐมพยาบาล 3(3-0-6) (Self-care and First Aid) การประเมินการเจ็บป่วยเบื้องต้น การสังเกตอาการและอาการแสดง การดูแลตนเอง และช่วยเหลือ ผทู้ มี่ อี าการผดิ ปกตขิ องโรคทพี่ บบอ่ ย การไดร้ บั สารพษิ สตั วม์ พี ษิ กดั ตอ่ ย การเปน็ ลมหมดสต ิ บาดแผล การเคลอื่ นยา้ ย ผู้ป่วย การช่วยฟ้ืนคืนชีพเบ้ืองต้น การช่วยเหลือผู้คลอดฉุกเฉิน การช่วยเหลือผู้ท่ีมีภาวะวิกฤติทางจิตใจ เบอ้ื งตน้ การปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ ตอ่ บทบาทของบคุ คลทวั่ ไปในการชว่ ยเหลอื เมอื่ เกดิ อบุ ตั เิ หตฉุ กุ เฉนิ และสาธารณภยั ตามขอบเขตของกฎหมาย และจรยิ ธรรม Basic of health problems assessment, signs and symptoms observation; self-care and care for others with common health problems; poisoning, venomous animal bite, fainting, wound, fracture, patient transport, basic life support, handle persons in psychological crisis, prevention of transmission diseases; roles of ordinary person on helping others in emergency and mass casualty; under scope of laws and ethics สำ�หรบั นกั ศึกษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑติ 2(1-2-3) 6023101 นวัตกรรม และงานสร้างสรรค์ทางการพยาบาล (Innovation and Creative Work in Nursing) แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ กระบวนการสร้างงานนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ การบูรณาการศาสตร์ทางการพยาบาลและที่เก่ียวข้องในการจัดทำ�โครงการนวัตกรรมและงานสร้างสรรค์ทางการ พยาบาลสาขาต่างๆ การจดั การทรัพยส์ นิ ทางปัญญา และการถา่ ยทอดเทคโนโลยี Concepts on innovation and creative work, process of innovation and creative work develpment; practicing in developing an innovation and creative work project in various fields of nursing based on the integration of nursing science and related fields; management of intellectual property and technology transfer 47

6023201 การประกอบธรุ กจิ ด้านสขุ ภาพ 2(1-2-3) (Entrepreneurship in Health Business) แนวคิดเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ คุณลักษณะผู้ประกอบการ สถานการณ์และแนวโน้มท่ีเกี่ยวกับ การประกอบธรุ กิจดา้ นสขุ ภาพ การจดั การองค์การธรุ กิจและบุคคล การผลิตและการตลาด การเงนิ และการบัญชี การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ กฎหมายและภาษีท่ีเก่ียวข้องกับการประกอบธุรกิจ จริยธรรมสำ�หรับ ผ้ปู ระกอบธุรกิจ การจดั ทำ�แผนธรุ กจิ ดา้ นสขุ ภาพเด็กและผสู้ งู อายุ Concepts on entrepreneurship, characteristics of business owners, situations and trends in health business, business and personnel management, production and marketing, finance and accounting, brand and packaging desings, related laws and business tax; entrepreneur ethics, practicing in developing a business plan relating to children and elderly health 6023102 การดูแลแบบประคับประคอง 2(1-2-3) (Palliative Care) แนวคิด หลักการ การดูแลแบบประคับประคอง การยอมรับกระบวนการธรรมชาติของชีวิต วิถีการ ด�ำ เนนิ ชวี ติ บรบิ ทของสภาวะจติ ทกั ษะการสอ่ื สาร การสรา้ งสมั พนั ธภาพกบั ผปู้ ว่ ย ญาติ การใหค้ รอบครวั มสี ว่ นรว่ ม ในการดแู ล การสง่ เสรมิ การใชช้ วี ติ แบบปกติ และการประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย โดยยดึ หลกั ความเชอื่ ศาสนา สิทธิผปู้ ว่ ย และกฎหมายอ่นื ๆ ที่เกี่ยวข้อง Concepts, principles of palliative care; acceptance of the nature of life’s process, ways of life, context of mentality; communication skills, developing relationships with patients and relatives; promoting family participation and a routine of life; and its application in the end-of-life care of patients; regarding to personal beliefs, religions, patient’s right and related laws 6023103 การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม 2(1-2-3) (Transcultural Healthcare) สขุ ภาพของบคุ คลขา้ มวฒั นธรรม รปู แบบของโรค และการเจบ็ ปว่ ย ความเชอ่ื และการแสวงหาการรกั ษา ของประชากรโลก ทแ่ี ตกต่างกันตามสภาพภมู ศิ าสตร์ เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ระบบการดแู ลสขุ ภาพ และ ระบบประกนั สขุ ภาพของประเทศที่เลอื กสรร และการประยุกตใ์ ชใ้ นการดูแลบคุ คลต่างวฒั นธรรม Transcultural health, patterns of diseases and illnesses, beliefs, and health seeking behaviors of people who are living in different parts of the world and having different economic and social backgrounds; health care delivery system and health insurance systems of some selected countries and its application in providing care for clients from diverse cultural backgrounds 6013104 ภาษาจนี เพ่ือการส่ือสารเบอ้ื งตน้ 2(2-0-4) (Basic Chinese for Communication) ลกั ษณะ และความเปน็ มาทางวฒั นธรรมของภาษาจนี ความเข้าใจวัฒนธรรมของคนจนี ทักษะการฟัง การพดู การอ่าน การเขียน คำ�ศพั ทแ์ ละประโยคพืน้ ฐานภาษาจนี ท่ีใชใ้ นการสือ่ สารในชวี ิตประจ�ำ วนั Characteristics of Mandarin Chinese language and its cultural background;understanding the culture of Chinese people; listening, speaking, reading and writing skills in Chinese language; basic words and sentences used in daily life communication 48

6013105 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการส่อื สารเบ้ืองต้น 2(2-0-4) (Basic Japanese for Communication) ลักษณะของภาษาญ่ีปุ่น ความเข้าใจวัฒนธรรมของคนญ่ีปุ่น ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขยี น ค�ำ ศพั ทแ์ ละประโยคพนื้ ฐานภาษาญปี่ นุ่ ที่ใช้ในการส่อื สารในชีวติ ประจ�ำ วัน Characteristics of Japanese language and its cultural background; understanding the culture of Japanese people; listening, speaking, reading and writing skills in Japanese language; basic words and sentences used in daily life communication 6013106 ภาษาอาหรบั เพอื่ การสอื่ สารเบ้อื งต้น 2(2-0-4) (Basic Arabic for Communication) ลกั ษณะของภาษาอาหรบั ความเขา้ ใจวฒั นธรรมของคนอาหรบั ทกั ษะการฟงั การพดู การอา่ น การเขยี น คำ�ศัพท์และประโยคพ้ืนฐานภาษาอาหรบั ที่ใชใ้ นการส่ือสารในชวี ิตประจำ�วนั Characteristics of Arabic language and its cultural background; understanding the culture of Arabs; listening, speaking, reading and writing skills in Arabic language; basic words and sentences used in daily life communication 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook