ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ สิ ต น ดุ สิ ต ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต
2
ส า ร บั ญ 4 ประวตั คิ วามเป็นมาคณะพยาบาลศาสตร์ 10 สญั ลักษณ์คณะพยาบาลศาสตร์ 12 รายนามผู้บริหารและอาจารย์ 24 เบอร์โทรศัพทอ์ าจารย์ และเจ้าหน้าที่ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ 27 หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ระดับปรญิ ญาตรี 31 ค�ำ อธิบายรายวิชาหลกั สูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ 43 แหล่งฝึกปฏิบตั งิ านทง้ั ในโรงพยาบาลและชุมชน 44 สมรรถนะทค่ี าดหวงั (Expected Competencies) 47 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ภาคผนวก 61 เคร่อื งแบบการปฏิบตั กิ ารพยาบาล 64 หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 3
ประวัติความเป็นมาคณะพยาบาลศาสตร์ ประวัติความเป็นมา การจัดการศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตเป็นความต้องการและความจำ�เป็นของสังคม เนื่องจาก ในปัจจุบันสัดส่วนของพยาบาลต่อประชากรยังสูง จากรายงานเบื้องต้นการศึกษาสถานการณ์กำ�ลังคน สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2549 (กฤษดา แสวงดี, 2549) พบว่าในปี พ.ศ. 2548 สัดส่วนของพยาบาลต่อประชากร เปน็ 1 : 703 เพอ่ื ทจี่ ะใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานองคก์ ารอนามยั โลกทกี่ �ำ หนดวา่ ในประเทศทก่ี �ำ ลงั พฒั นา ควรจะมสี ดั สว่ น ของพยาบาลตอ่ ประชากรเปน็ 1 : 500 ดงั นนั้ เพอื่ ใหส้ ามารถตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการดแู ลสขุ ภาพของประชาชน และ สอดรบั กบั การปฏริ ปู ระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ ตามพระราชบญั ญตั หิ ลกั ประกนั สขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2545 โดยมเี ปา้ หมาย เพอ่ื ใหป้ ระชาชนชาวไทยทง้ั ประเทศสามารถเขา้ รบั บรกิ ารทางสขุ ภาพอยา่ งทวั่ ถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ณุ ภาพ ซง่ึ สง่ ผลโดยตรง ตอ่ ระบบบรกิ ารพยาบาลทมี่ งุ่ เนน้ ดา้ นการสง่ เสรมิ สขุ ภาพเพมิ่ ขนึ้ และมกี ารพฒั นาระบบบรกิ ารพยาบาลทง้ั ระดบั ปฐมภมู ิ ทุติยภูมิ และตติยภูมเิ พอื่ ใหม้ ีคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพ ซ่งึ จำ�เป็นตอ้ งมบี ุคลากรพยาบาลทเี่ พียงพอตอ่ การใหบ้ รกิ าร สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ พจิ ารณาเหน็ วา่ บคุ ลากรสายวชิ าชพี ทางดา้ นสขุ ภาพโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในสาขา วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ซึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปว่าบุคลากรสาขานี้ยังขาดแคลนเป็นจำ�นวนมาก ทง้ั ในและตา่ งประเทศ กอปรกบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ มศี กั ยภาพและความพรอ้ มดา้ นทรพั ยากรทจี่ ะจดั การศกึ ษา ในสาขานใ้ี หม้ คี ณุ ภาพและมาตรฐานตามทสี่ ภาวชิ าชพี และคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาก�ำ หนด จงึ เหน็ สมควรใหจ้ ดั ตง้ั คณะพยาบาลศาสตรแ์ ละจดั ท�ำ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ขน้ึ เพอ่ื ผลติ บคุ ลากรสาขาพยาบาลศาสตรช์ ว่ ยแกป้ ญั หา ความขาดแคลนบคุ ลากรพยาบาลของสงั คมอกี สาขาหนงึ่ ดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ ใน พ.ศ. 2548 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดม้ อบใหร้ องศาสตราจารย์ ดร.ชวนี ทองโรจน์ รองอธกิ ารบดฝี ่ายวจิ ยั และพฒั นา ประสานกับ รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา บญุ ทอง นายกสภา การพยาบาล และคณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เพ่อื จัดทำ�โครงการจดั ตงั้ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ พรอ้ มท้ังเชญิ เปน็ ประธานที่ปรึกษาการจดั ตัง้ ในขณะเดียวกัน มหาวิทยาลยั สวนดุสิต ได้เชิญ ดร.เบ็ญจา เตากล่�ำ อดตี ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลยั พยาบาล เกือ้ การุณย์ เป็นผู้รับผดิ ชอบหลักสตู รพยาบาลศาสตร์ ทจ่ี ัดตง้ั ขนึ้ วนั ท่ี 25 มกราคม 2549 รองศาสตราจารย์ ดร.ทศั นา บญุ ทอง พจิ ารณาเหน็ วา่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ มีความตั้งใจจริง และเห็นความส�ำ คัญโดยได้จดั หาบุคลากร ซึง่ เปน็ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลมาเป็นผรู้ ับผิดชอบ หลักแล้ว จึงได้เข้าพบอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน เพ่ือปรึกษา หารอื เกยี่ วกบั แนวคดิ นโยบายเกยี่ วกบั การจดั ตงั้ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ซงึ่ อธกิ ารบดไี ดเ้ หน็ ความสำ�คัญอย่างย่ิงของวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และมหาวิทยาลัยมีความมุ่งม่ันอย่างสูงในการท่ีจะ ด�ำ เนินการให้การจดั การศึกษาวิชาชพี นีม้ ีคุณภาพและมาตรฐานตามทก่ี ำ�หนด วนั ที่ 5 เมษายน 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ ได้มคี �ำ สั่งที่ 2232/2549 เรือ่ งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ จัดทำ�ร่างโครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์และหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ซึ่งประกอบดว้ ย 1. รองศาสตราจารย์ ดร. ทัศนา บุญทอง ประธาน 2. ดร. เบญ็ จา เตากล่�ำ รองประธาน 3. รองศาสตราจารย์สุปราณี อทั ธเสรี กรรมการ 4. รองศาสตราจารยส์ ุปาณี เสนาดสิ ยั กรรมการ 5. รองศาสตราจารย์อรพินธ์ เจรญิ ผล กรรมการ 6. รองศาสตราจารย์ศศิธร วรรณพงษ์ กรรมการ 4
7. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จริยา วทิ ยะศุภร กรรมการ 8. รองศาสตราจารย์จารวุ รรณ ต.สกุล กรรมการ 9. รองศาสตราจารย์ ดร. จรยิ าวัตร คมพยัคฆ ์ กรรมการ 10. รองศาสตราจารยอ์ ุษาพร ชวลิตนิธกิ ลุ กรรมการ 11. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรพรรณ โตสงิ ห ์ กรรมการ 12. รองศาสตราจารย์ผจงพร สภุ าวิตา กรรมการ 13. นาวาอากาศเอกหญิงจรรยา กองจินดา กรรมการ/เลขานุการ 14. นางสาววนิดา สขุ นอ้ ย กรรมการ/ผ้ชู ่วยเลขานุการ เมอ่ื คณะกรรมการไดจ้ ดั ท�ำ หลกั สตู รแลว้ จงึ เสนออนมุ ตั ติ ามขน้ั ตอนและหลกั สตู รไดร้ บั การพจิ ารณาเหน็ ชอบ จากสภาพยาบาล เมอื่ วนั ท่ี 20 เมษายน 2550 ดงั นน้ั มหาวทิ ยาลยั จงึ เรมิ่ เปดิ รบั นกั ศกึ ษาพยาบาลรนุ่ แรกในปกี ารศกึ ษา 2550 จ�ำ นวน 53 คน โดยมรี องศาสตราจารย์ ดร. ทศั นา บญุ ทอง เปน็ ทป่ี รกึ ษา ดร. เบญ็ จา เตากล�ำ่ รกั ษาการคณบดี คณะพยาบาลศาสตร์ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ กรอบแนวคิด และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร ปรัชญา หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ คณะพยาบาลศาสตร์ มคี วามเช่อื วา่ การพยาบาลเป็นวิชาชพี ทีก่ อปรด้วย องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และสุนทรียศาสตร์ท่ีบูรณาการอย่างสมดุล ภายใต้การจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้น การพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่สามารถใช้ความรู้ความสามารถเชิงวิชาชีพ ทักษะของการเป็นพลโลกในศตวรรษ ท่ี 21 ทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือตอบสนองความต้องการด้านสุขภาวะของ สังคม ปณิธาน คณะพยาบาลศาสตรม์ งุ่ หวังผลติ บณั ฑติ ใหป้ ฏิบตั กิ ารพยาบาลด้วย ภูมปิ ัญญา ศรทั ธา และคณุ ธรรม วิสัยทัศน์ คณะพยาบาลศาสตร์ เปน็ สถาบันทีเ่ น้นความโดดเดน่ ดา้ นการดแู ลสขุ ภาพเดก็ ปฐมวยั และผสู้ งู อายุ มุง่ สร้าง บณั ฑติ พยาบาล ใหเ้ ป็นทย่ี อมรับในระดบั ชาติและภมู ิภาคอาเซยี น พนั ธกจิ 1. ผลติ บัณฑิตใหม้ สี มรรถนะของวชิ าชีพพยาบาลและการเปน็ พลโลกในศตวรรษที่ 21 2. วจิ ยั เพอื่ พฒั นาวชิ าการดา้ นการพยาบาล สขุ ภาวะ การเรยี นการสอนและพฒั นาแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี ใี นการบรหิ าร จดั การ 3. บรกิ ารวชิ าการเพือ่ เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั เครอื ขา่ ยวชิ าชีพและชมุ ชน 4. ทำ�นบุ ำ�รุงศลิ ปวัฒนธรรมเพอ่ื พฒั นาความเป็น Suan Dusit Spirit ในนกั ศกึ ษาและบุคลากร 5
กรอบแนวคิด ผเู้ รยี น คอื ปจั จยั น�ำ เขา้ ของกระบวนการเรยี นการสอนซงึ่ มลี กั ษณะเปน็ ระบบเปดิ มปี ฏสิ มั พนั ธก์ บั สงิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ผเู้ รยี นในหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ อยใู่ นวยั ผใู้ หญต่ อนตน้ เปน็ ผมู้ คี วามรบั ผดิ ชอบและมคี วามตง้ั ใจ ใฝ่รใู้ นวิชาชีพการพยาบาล เปา้ หมาย การผลติ บณั ฑติ ระดบั ปรญิ ญาตรเี ปน็ การเตรยี มนกั ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทไี่ มเ่ จาะจงความเชยี่ วชาญ เฉพาะสาขาโดยต้องสามารถปฏิบตั ิตามขอบเขตทีก่ ำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัตวิ ิชาชีพการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ กระบวนการ การผลติ บณั ฑติ พยาบาลให้มคี วามสามารถดงั กลา่ ว จำ�เปน็ ต้องตระหนกั ถงึ มโนมตหิ ลักของ วิชาชีพ ไดแ้ ก่ คน ส่งิ แวดล้อม สขุ ภาพและการพยาบาล โดยจดั ประสบการณ์ให้ผ้เู รียนไดบ้ รู ณาการความรู้ 4 รูปแบบ ความรจู้ ากศาสตรเ์ ชงิ ประจกั ษ์ ทไ่ี ดจ้ ากงานวจิ ยั จากทฤษฎที างการพยาบาล ทฤษฎหี รอื แนวคดิ ทางวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ สงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ ความรู้ส่วนน้ไี ด้จากการสืบค้นจากแหล่งภายนอกต่างๆ ท้งั ที่อยใู่ นรูปของสอ่ื สง่ิ พิมพแ์ ละ สอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ความรเู้ ชงิ สนุ ทรยี ศาสตรใ์ นการพยาบาลหรอื ศลิ ปะทางการพยาบาล เกดิ จากการไดซ้ มึ ซบั แบบอยา่ ง จากตน้ แบบอดุ มคติ ซงึ่ รวมทงั้ ผสู้ อนและตน้ แบบอนื่ ๆ ของวชิ าชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ และเกดิ จากการจดั ประสบการณท์ างคลนิ กิ โดยใหเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ ประสบการณจ์ ากผสู้ อนและพยาบาลวชิ าชพี ความรทู้ เ่ี กดิ จากประสบการณ์ เฉพาะตน ความรสู้ ว่ นนเี้ กดิ จากการแลกเปลยี่ นและสะทอ้ นคดิ ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน ผเู้ รยี นกบั กลมุ่ เพอ่ื นผเู้ รยี น ผเู้ รยี น กับผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการกลุ่มอ่ืนๆ ความรู้ส่วนน้ีทำ�ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ที่สั่งสมในตนเอง รวมทั้งได้ แลกเปลย่ี นและเรยี นรจู้ ากประสบการณข์ องผอู้ น่ื ทง้ั สว่ นทมี่ คี วามส�ำ เรจ็ และสว่ นทไี่ มส่ �ำ เรจ็ ท�ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตนเอง เข้าใจบคุ คลแวดลอ้ ม พฒั นาการยอมรบั และเคารพผู้อื่น พรอ้ มกบั การยอมรบั และเคารพในศกั ยภาพของตนเอง และ ความรเู้ ชงิ จรยิ ศาสตร์ เกดิ จากการปลกู ฝงั ส�ำ นกึ ในตนของผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั รวมทง้ั การปลกู ฝงั โดยอาศยั แบบอยา่ งทดี่ ี และเกิดจากการสะท้อนคดิ การปฏบิ ตั ริ ะหวา่ งกลุ่มผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน การจดั การเรยี นรู้ หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ เนน้ การปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผเู้ รยี นกบั ผสู้ อน ทเี่ นน้ การเคารพ ในความเปน็ บคุ คลและอสิ ระในการคดิ เพอื่ พฒั นาวธิ คี ดิ วธิ คี น้ ความรวู้ ธิ วี เิ คราะหค์ วามรแู้ ละวธิ นี �ำ ความรมู้ าใช้ การเรยี นรู้ และฝึกฝน วิธีบูรณาการความรู้จากแหล่งต่างๆ เพื่อใช้แก้ปัญหาและตัดสินใจในสถานการณ์จริงทางคลินิกโดยใช้ กระบวนการพยาบาล การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้เรียนกับทีมสุขภาพและผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ท้ังนี้เพ่ือให้ ผู้เรียนเกิดวิจารณญาณ พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการทำ�งานร่วมกับทีม พัฒนาตนเองให้มีความเจริญงอกงาม มคี วามคิดสรา้ งสรรค์และรกั การเรียนร้ตู ลอดชีวิต การจดั สภาพแวดลอ้ ม ตลอดกระบวนการศกึ ษาเนน้ ทกี่ ารจดั หาแหลง่ ความรตู้ า่ งๆ ทงั้ 4 รปู แบบ ใหค้ รอบคลมุ การเรยี นรตู้ ามเปา้ หมายการเรยี นรทู้ รี่ ะบไุ ว้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นใหส้ ามารถสบื คน้ ความรู้ คดั กรอง ความรู้และตีความข้อมูลความรู้ต่างๆ เพ่ือนำ�มาบูรณาการ การปฏิบัติการพยาบาลตามขอบเขตของวิชาชีพ องค์กร การศึกษาต้องจัดให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยมีวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีส่งเสริมการแสวงหาความรู้อย่างสมบูรณ์ เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการส่งเสริมให้ผู้เรียนและทุกคนในองค์กร เคารพและยอมรับในความหลากหลาย ทางความคิดและวัฒนธรรม ส่งเสริมให้ผู้เรียนตัดสินใจและแสดงออกอย่างเสรี ภายใต้ความถูกต้องเชิงกฎหมายและ คุณธรรมจรยิ ธรรม 6
กรอบแนวคิดของหลกั สูตรแสดงด้วยแผนภมู ิ ดังนี้ กรอบแนวคดิ ของหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต มสด. บริบททางสังคม ระบบการศึกษาพยาบาล - ทมี สขุ ภาพ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล การศกึ ษากพายราศบึกาษลาพยาบาล - ครอบครวั บทบาทหน้าทข่ี องพยาบาล - ชุมชน - การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ นกั ศึกษา รูปแบบของความรู้ - การปอ้ งกนั โรคและการบาดเจ็บ สุขภาวะ พยาบาล - ความรู้จากศาสตรเ์ ชงิ ประจักษ์ บัณฑิต - การรักษาโรคเบอื้ งตน้ ของผใู้ ช้บริการ - ความรเู้ ชงิ สนุ ทรยี ศาสตร์ พยาบาล - การบาบัดทางการพยาบาล ทัง้ ดา้ น กาย จิต ในการพยาบาล คุณลกั ษณะบณั ฑติ พยาบาล - การฟน้ื ฟูสภาพ - ความรจู้ ากประสบการณ์เฉพาะคน - มสี มรรถนะในวชิ าชีพพยาบาล สังคม และ - ความรูเ้ ชิงจรยิ ศาสตร์ - มคี ณุ สมบัตเิ ฉพาะคนอันดงี าม การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล จติ วญิ ญาณ - มคี วามสามารถในการดารงตน ปฏบิ ัติการพยาบาลดว้ ย... ก ในสังคม “ภูมปิ ญั ญา ศรทั ธา การจดั การเรียนรู้ และคณุ ธรรม” - เรยี นร้จู ากการถ่ายทอด - เรยี นรู้จากการศึกษาคน้ คว้า - เรยี นรู้จากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้ - เรยี นรจู้ ากต้นแบบ - เรยี นรจู้ ากการปฏสิ ัมพนั ธ์ - เรีนยนรจู้ ากการฝึกฝน ปฏบิ ัตจิ รงิ แผนภูมิ กรอบแนวคดิ ของหลกั สตู ร วัตถุประสงค์ ภายหลังสำ�เรจ็ การศกึ ษา บณั ฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์ จะมีคณุ ลกั ษณะและความสามารถดังนี้ 1. มคี วามรูใ้ นศาสตรก์ ารพยาบาล การผดงุ ครรภ์ และศาสตร์ท่ีเกย่ี วข้อง โดยบูรณาการศาสตร์เชิงประจกั ษ์ เชิงสนุ ทรีศาสตร์ในการพยาบาล มีความรู้ทีเ่ กดิ จากประสบการณ์เฉพาะตน และความรเู้ ชงิ จรยิ ศาสตร์ 2. ปฏบิ ตั ิการพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ ท้งั ในภาวะสขุ ภาพดี ภาวะเสยี่ ง และภาวะเบ่ียงเบนทางสขุ ภาพ ในระยะเฉยี บพลนั วิกฤต เรอื้ รัง ตลอดจนระยะสดุ ทา้ ยของชีวติ ครอบคลมุ มิตกิ ารสรา้ งเสริมสุขภาพ การป้องกนั โรค การบำ�บัดทางการพยาบาล และการฟนื้ ฟูสุขภาพ 3. มีศักยภาพการนำ�และการบริหารจัดการ มีความรับผิดชอบ สามารถคิดอย่างเป็นระบบคิดอย่างมี วิจารณญาณ แกป้ ัญหา และตัดสนิ ใจอย่างมีเหตุผล มีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ำ�งานรว่ มกับบุคลากรสหสาขาวิชาชพี ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 4. สื่อสารทัง้ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือเขา้ ถงึ แหล่งข้อมลู 5. ใช้กระบวนการวิจยั การสรา้ งนวตั กรรม และใช้ผลการวจิ ัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และทกั ษะการเรยี นรตู้ ลอด ชีวิต 6. มีความสามารถในการปกป้องสิทธิ มีจิตอาสา จิตบริการ มีคุณธรรม จริยธรรม ในการครองตน และ การปฏบิ ตั วิ ชิ าชพี เคารพในศกั ดศ์ิ รแี ละความแตกตา่ งของมนษุ ย์ ภายใตข้ อบเขตของกฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชพี และ จรยิ ธรรมสากลของผู้ประกอบวชิ าชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 7
ผลลพั ธก์ ารเรยี นรทู้ ค่ี าดหวังระดับหลกั สตู ร (Program learning Outcomes: PLOs) PLO 1 อธิบายองค์ความรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพกบั ศาสตรแ์ ละศลิ ปด์ า้ น การพยาบาล และการผดุงครรภ์ PLO 2 ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการพยาบาล การผดุงครรภ์ และองค์ความรู้อ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแล ประชากรทุกช่วงวัย และภาวะสุขภาพ PLO 3 ใชภ้ าษาในการติดต่อส่อื สารเชิงวิชาชพี ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องและสรา้ งสรรค์ PLO 4 แสดงออกถึงการปกป้องสิทธิและความเปน็ ธรรมตามกฎหมาย และมาตรฐานจรยิ ธรรมจรรยาบรรณ วิชาชพี PLO 5 แสดงออกถงึ ภาวะผนู้ าํ ทาํ งานเปน็ ทีม จิตอาสา และจิตบรกิ าร PLO 6 สาธติ และปฏบิ ัติการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ ในโรงพยาบาล และในชมุ ชน PLO 7 ออกแบบกิจกรรมการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ สำ�หรบั บคุ คล กลุ่มคน ครอบครัว ชมุ ชน ภายใต้ แนวคิดการจัดการทางพยาบาล สถานการณส์ ุขภาพ และสารสนเทศทางการพยาบาล PLO 8 วิจัยและพฒั นานวตั กรรมการพยาบาล บนพืน้ ฐานทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวติ ระบบการจดั การศึกษา 1. ระบบ ระบบการจัดการศึกษา ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ว่าด้วย การจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี 2. การก�ำ หนดปรมิ าณการเรยี นของแตล่ ะรายวชิ า ใหก้ �ำ หนดเปน็ หนว่ ยกติ โดยมวี ธิ กี ารก�ำ หนดหนว่ ยกติ ดงั น้ี 1) รายวิชาภาคทฤษฎ/ี อภปิ ราย/สัมมนาทใี่ ชเ้ วลา 1 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์หรือไมน่ ้อยกวา่ 15 ช่วั โมงตลอด หนึง่ ภาคการศกึ ษาปกตใิ ห้มคี า่ เทา่ กบั 1 หน่วยกติ 2) รายวิชาการทดลองในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์หรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการพยาบาล ทใ่ี ชเ้ วลา 2 - 3 ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์ หรอื ระหวา่ ง 30 - 45 ชว่ั โมงตลอดหนง่ึ ภาคการศกึ ษาปกต ิ ใหม้ คี า่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ 3) รายวชิ าการฝึกปฏิบัติในคลินกิ หรอื ชุมชนท่ีใช้เวลา 4 ชว่ั โมงต่อสัปดาห์ หรือไม่น้อยกวา่ 45 ชวั่ โมง ตลอดหนึง่ ภาคการศกึ ษาปกติ ให้มคี ่าเทา่ กบั 1 หน่วยกติ 3. การจดั การศกึ ษาภาคฤดูรอ้ น มกี ารจดั การศกึ ษาภาคฤดรู อ้ น ในชนั้ ปที ่ี 1 และชนั้ ปที ี่ 2 โดยมรี ะยะเวลาการศกึ ษาไมน่ อ้ ยกวา่ 9 สปั ดาห์ เป็นไปตามขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ วา่ ดว้ ย การจดั การศึกษาระดับปริญญาตรี 4. การเทยี บเคยี งหนว่ ยกติ ในระบบทวิภาค ไมม่ ี การดำ�เนินการหลกั สูตร 1. วนั - เวลาในการดำ�เนินการเรียนการสอน ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ระหว่างเดอื นสงิ หาคม - เดือนธันวาคม ภาคการศึกษาท่ี 2 ระหว่างเดือนมกราคม - เดอื นพฤษภาคม ภาคการศกึ ษาท่ี 3 ระหวา่ งเดือนมถิ ุนายน - เดือนกรกฎาคม 2. ภาคทฤษฎี เรยี นในวนั พฤหสั บดี - ศุกร์ เวลา 08.00 - 17.00 น. 3. ภาคปฏิบตั ิ เรยี นในวันจนั ทร์ - พุธ เวรเชา้ เวลา 08.00 - 16.00 น. เวรบา่ ย เวลา 16.00 - 24.00 น เวรดึก เวลา 24.00 - 08.00 น. การเรยี นทงั้ ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ไม่เกิน 35 ชวั่ โมงต่อสปั ดาห์ 8
คุณสมบตั ขิ องผูเ้ ขา้ ศกึ ษา 1. ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จากสถาบนั การศกึ ษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารรบั รองวทิ ยฐานะ 2. เปน็ ผมู้ สี ุขภาพสมบูรณ์ทัง้ ร่างกายและจิตใจ ไม่เจบ็ ป่วย หรือเป็นโรคตดิ ตอ่ ร้ายแรง หรือมคี วามผิดปกติ ที่เป็นอุปสรรคตอ่ การศกึ ษา การคัดเลือกผูเ้ ขา้ ศึกษา การสมคั รและการรับเขา้ เป็นนกั ศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั 9
สัญลกั ษณค์ ณะพยาบาลศาสตร์ ดอกไม้ประจำ�คณะพยาบาลศาสตร์ ดอกพุดน�ำ้ บศุ ย์ ดอกพุดน้ำ�บศุ ย์มกี ล่ินหอมและความสวยงาม เสมือนความสง่างาม และชอ่ื เสยี งดีงามท่ีขจรขจาย ลักษณะ ดอกเดย่ี วทอี่ อกดอกใกลป้ ลายยอด กลบี ดอกทมี่ ตี ง้ั แต่ 6 - 9 กลบี เสมอื นบณั ฑติ ทม่ี คี วามโดดเดน่ มสี มรรถนะหลายดา้ น นอกจากนด้ี อกพดุ น�้ำ บศุ ยย์ งั มคี วามเจรญิ งอกงามภายใตแ้ สงแดดไดด้ ี และเปลย่ี นสเี รมิ่ จากสขี าวนวลเมอื่ เรมิ่ บานไปจน ถงึ สเี หลอื ง และมสี เี หลอื งทองจนออกสสี ม้ เขม้ เสมอื นความวริ ยิ ะ อตุ สาหะ อดทนในการสง่ั สมความรู้ ความเชยี่ วชาญ เป็นประสบการณ์เพิม่ ข้นึ ตามกาลเวลา สีประจ�ำ คณะพยาบาลศาสตร์ สขี าว-สีแดง เป็นสีขาวของความบริสุทธ์ิดีงามของวิชาชีพการพยาบาล และ สีแดง อันเป็นสีแห่งวันพระราชสมภพของ สมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี พระผทู้ รงคุณปู การต่อวิชาชพี พยาบาลและการสาธารณสุขไทย 10
Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผู้บรหิ ารและอาจารย์ คณะพยาบาลศาสตร์
Faculty of Nursing ครายณนามผะพูบ้ ริหยารแาลบะอาาจาลรยศ์ าสตร์ ผู้บริหารคณะ 3. อาจารย์ผูส้ อนวชิ า - การพยาบาลพน้ื ฐาน ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศรสี ุดา วงศ์วเิ ศษกุล (FHEA) - แนวคิดและทฤษฎที างการพยาบาล - ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอื่ สารเชงิ วชิ าชีพ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ - ปฏบิ ัติการพยาบาลมารดาทารกและ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล การผดงุ ครรภ์ 1 และการผดุงครรภช์ ้ันหน่งึ 4511057425 - ปฏิบัติการพยาบาลมารดาทารกและ • ประวัติการศึกษา การผดงุ ครรภ์ 2 - ครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (อุดมศกึ ษา) - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญ่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั - วิจยั ทางการพยาบาล - วิทยาศาสตรมหาบัณฑติ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยธ์ ณิดา พุม่ ท่าอฐิ (สาธารณสขุ ศาสตร)์ - รักษาการหัวหน้าสาขาการพยาบาลเด็ก มหาวิทยาลยั มหิดล และวัยรนุ่ - พยาบาลศาสตรบัณฑติ - รองคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) แ•ลปะกราะรวผตั ดกิ ุงาครรศรภึก์ชษน้ั าหนง่ึ 4511035870 มหาวทิ ยาลัยรามค�ำ แหง - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต - อนุปริญญาพยาบาลและอนามัย (การพยาบาลอายรุ ศาสตรแ์ ละศลั ยศาสตร์) และประกาศนียบตั รผดุงครรภ์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ ผดุงครรภ์ชั้นสูง วิทยาลัยพยาบาลพุทธ ดา้ นการพยาบาล ชินราช พิษณุโลก 1. พยาบาลวิชาชีพ และนักวิชาการ - ประกาศนียบัตรการจัดการเรียน พยาบาล ศูนย์บริการสาธารณสุขของ การสอนในสาขาพยาบาลศาสตร์ กรงุ เทพมหานคร สำ�นกั อนามยั วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนกี รงุ เทพ กรงุ เทพมหานคร - วุฒิบัตรความเช่ียวชาญด้านการ 2. สอนวิชาการพยาบาลชุมชนภาค พยาบาลข้ันสูง (APNs) สาขาการพยาบาล ปฏิบัติให้แก่นักศึกษาพยาบาลจากวิทยาลัย อายรุ ศาสตร์ และศลั ยศาสตร์ พยาบาลเกื้อการุณย์วิทยาลัยพยาบาลบรม สภาการพยาบาล ราชชนนี กรุงเทพ - ประกาศนยี บตั รผจู้ ดั การการดแู ลผปู้ ว่ ย สำ�หรับผ้บู รหิ าร สภาการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ และ มหาวทิ ยาลยั อัสสัมชญั ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข ส�ำ นัก อนามัย • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ด้านการสอน 1. หัวหน้าสาขาการพยาบาลชมุ ชน 2. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ อาจารยผ์ ูส้ อนวิชา - ระบบสขุ ภาพและการพยาบาล - การสร้างเสริมสุขภาพ - การพยาบาลชุมชน - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลชุมชน - สารสนเทศทางการพยาบาล 12
• ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ อาจารย์ ดร.รุ่งนภา ป้องเกยี รตชิ ยั สาขาการพยาบาลมารดาทารกและ ดา้ นการพยาบาล ประธานหลกั สตู ร การผดงุ ครรภ์ - รองหวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมอบุ ตั เิ หตุ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล โรงพยาบาลอตุ รดิตถ์ และผดุงครรภช์ ้นั หนึ่ง 4511052217 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เนตรรชั นี กมลรตั นานนั ท์ - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วย • ประวัตกิ ารศกึ ษา หวั หน้าสาขา ศลั ยกรรมชาย โรงพยาบาลอุตรดติ ถ์ - สาธารณสขุ ศาสตรดุษฎีบัณฑิต เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วย - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต (สาธารณสุข และการผดุงครรภช์ นั้ หน่ึง 4511054604 พิเศษ โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ ศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล • ประวตั ิการศึกษา - คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย - ครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต ของทีมดแู ลผปู้ ่วยศัลยกรรม สภากาชาดไทย (สถาบนั สมทบจุฬาลงกรณ์ (การวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา) - คณะกรรมการบรหิ ารความเสย่ี งของทมี มหาวทิ ยาลยั ) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ดูแลผปู้ ่วยศลั ยกรรม • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต - ผจู้ ดั การการดแู ลผปู้ ว่ ยศลั ยกรรมประสาท ดา้ นการพยาบาล (การพยาบาลเวชปฏิบตั คิ รอบครวั ) - ผู้ตรวจการนอกเวลาราชการ 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤติ มหาวทิ ยาลัยบูรพา โรงพยาบาลอตุ รดติ ถ์ ศลั ยกรรมประสาท โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ - สาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิต - อาจารย์พ่ีเลี้ยงนกั ศกึ ษาพยาบาล 2. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอุบัติเหตุ (อาชีวอนามยั และความปลอดภัย) วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนอี ตุ รดติ ถ์ ฉุกเฉินและผ้ปู ว่ ยไฟไหมน้ ำ้�รอ้ นลวก มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช รายวิชา ปฏิบัติพยาบาลพ้ืนฐานปฏิบัติการ โรงพยาบาลจฬุ าลงกรณ์ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ พยาบาลผูใ้ หญ่ปฏิบตั บิ รหิ ารการพยาบาล 3. พยาบาลวิชาการ และการควบคุม และผดงุ ครรภช์ น้ั สงู วทิ ยาลยั พยาบาลล�ำ ปาง • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ ระบบคณุ ภาพฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาล • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ ดา้ นการสอน จฬุ าลงกรณ์ ดา้ นการพยาบาล 1. ประธานหลักสตู รประกาศนียบตั ร • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ 1. พยาบาลวิชาชพี ปฏบิ ตั กิ ารหอ้ งคลอด ผูช้ ว่ ยพยาบาล ด้านการสอน โรงพยาบาลลำ�ปาง 2. หัวหน้าสาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 2. พยาบาลปฏบิ ตั กิ ารห้องคลอด ผู้สูงอายุ ชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลชลบรุ ี 3. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล สวนดสุ ติ • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 2. ผรู้ บั ผิดชอบ/สอนรายวิชา ดา้ นการสอน มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ - การพยาบาลชุมชน 1. การสอนคลินิกการพยาบาล แม่และ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและ - วทิ ยาการระบาด เด็ก 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย อาจารย์ผสู้ อนวชิ า - การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ บรู พา - การพยาบาลพื้นฐาน - โภชนาการเพ่ือสุขภาพ 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - กระบวนการพยาบาล - วิจัยทางการพยาบาล มารดา ทารกและการผดุงครรภ์ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน - การรกั ษาโรคเบอื้ งต้น 3. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวิชา 5. อาจารย์ผ้สู อนวชิ า - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลชุมชน - ทฤษฎีและแนวคดิ หลกั ในวชิ าชีพ - การพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 - ปฏบิ ัติการพยาบาลรกั ษา การพยาบาล - การพยาบาลผใู้ หญ่ 2 โรคเบอื้ งตน้ - กระบวนการพยาบาล - วิจัยทางการพยาบาล - การพยาบาลผูใ้ หญ่ - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั - การพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ - การพยาบาลมารดาทารกและ ผสู้ ูงอายุ 1 การผดงุ ครรภ์ 1 - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญ่และ - การพยาบาลชุมชน ผสู้ ูงอายุ 2 - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน - ปฏบิ ตั กิ ารเสรมิ ทกั ษะทางการพยาบาล - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 - ระบบคณุ ภาพโรงพยาบาล - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารกและ (หลักสตู รเลขานกุ ารการแพทย์) การผดุงครรภ1์ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ การผดงุ ครรภ์ 2 13
อาจารย์ ดร.สุนิดา ชแู สง - Mini-MBA in Hospital administration • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ รองหัวหน้าสาขา รนุ่ 5 สถาบนั IHMC รว่ มกบั คณะสาธารณสขุ ดา้ นการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยศัลยกรรม และการผดงุ ครรภ์ชั้นหนึง่ 5511182033 • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ เด็ก • ประวตั ิการศึกษา ดา้ นการพยาบาล 2. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ปว่ ยสูติกรรม 4 - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและ 1. พยาบาลวชิ าชพี หนว่ ยงานการพยาบาล 3. พยาบาลวิชาชีพหน่วยวางแผน การสอน) มหาวทิ ยาลัยศิลปากร สูติ-นรีเวชฯ ตึกหลังคลอด โรงพยาบาล ครอบครัว - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต รามาธิบดี 4. พยาบาลวชิ าชพี หอ้ งตรวจนรเี วชกรรม (การพยาบาลมารดาและทารก) 2. ผู้ช่วยหัวหน้าฝ่ายการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย โรงพยาบาลบางมด ด้านการสอน - พยาบาลศาสตรบัณฑิต 3. หัวหน้าแผนกห้องผ่าตัดดูแลด้านการ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล พยาบาล ห้องผ่าตัด การพยาบาลห้องคลอด มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล • ประสบการณค์ วามเชย่ี วชาญ วสิ ญั ญี และพกั ฟ้นื หลังผา่ ตดั หนว่ ยงานจา่ ย ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ดา้ นการพยาบาล กลาง โรงพยาบาลบางมด 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวิชา - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วย • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ สูติกรรม 2 โรงพยาบาลรามาธบิ ดี ด้านการสอน - การพยาบาลมารดาทารกและ • ประสบการณ/์ ความเช่ียวชาญ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล การผดงุ ครรภ์ 1 ด้านการสอน มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล 1. อาจารย์สอนคณะพยาบาลศาสตร์ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต - การพยาบาลมารดาทารกและ มหาวทิ ยาลยั คริสเตียน 2. ผูร้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า การผดงุ ครรภ์ 2 2. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลมารดา - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ ทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์ - การพยาบาลมารดา ทารกและ การผดงุ ครรภ์ 1 มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต การผดงุ ครรภ์ 1 3. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลมารดา ทารกและ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ การผดุงครรภ์ 2 การผดุงครรภ์ 2 - การพยาบาลมารดาทารกและ - ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก อาจารย์นิรัตน์ชฎา ไชยงาม การผดุงครรภ์ และการผดงุ ครรภ์ 1 หอ้ งคลอด และ อาจารย์ประจำ�หลักสูตร ฝากครรภ์ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดาทารกและ - ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภช์ ้นั หน่ึง 5511233984 การผดงุ ครรภ์ และ การผดุงครรภ์ 2 หอ้ งคลอด และหลัง • ประวัตกิ ารศกึ ษา คลอด - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต - วิจัยทางการพยาบาล - ปฏิบัติวิชาการดูแลสุขภาพข้าม (การผดุงครรภ)์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล - การพยาบาลพ้นื ฐาน วฒั นธรรม - พยาบาลศาสตรบณั ฑิต อาจารยอ์ ารยี า เตชะไมตรีจติ ต์ - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร จัดการทางคลินิก • ประสบการณ์ความเช่ยี วชาญ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล อาจารย์ ดร.ลักขณา ศรบี ญุ วงศ์ ด้านการพยาบาล และการผดงุ ครรภช์ นั้ หน่ึง 4511050166 อาจารยป์ ระจำ�หลักสูตร พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการห้องฉุกเฉิน • ประวตั ิการศึกษา เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล โรงพยาบาลเปาโล - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต และการผดงุ ครรภ์ชัน้ หนึง่ 4511015294 • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ (การพยาบาลมารดา และทารก) • ประวตั กิ ารศึกษา ดา้ นการสอน มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหาร 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - วิทยาศาสตรบณั ฑิต การพยาบาล) มหาวิทยาลยั คริสเตียน มารดาทารกและการผดงุ ครรภ์ คณะพยาบาล (การพยาบาลและผดุงครรภ์) - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต มหาวทิ ยาลยั มหิดล (การพยาบาลแม่และเด็ก) มหาวิทยาลัย 2. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวชิ า - ประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะ มหิดล ทางสาขา ศาสตร์และศิลป์การสอนทางการ - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ - การพยาบาลมารดาทารกและ พยาบาล วทิ ยาลัยพยาบาลสภากาชาดไทย (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตร)ี เกยี รตนิ ยิ มอนั ดบั หนง่ึ ผดุงครรภ์ วิทยาลยั พยาบาลเกื้อการุณย์ - วฒุ บิ ตั รความเชย่ี วชาญเฉพาะทางการ พยาบาลและการผดุงครรภ์ (การพยาบาล มารดาและทารก) สภาการพยาบาล - ประกาศนียบัตรศาสตร์และศิลป์ การสอนทางการพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย 14
สาขาการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น • ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ / ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ อาจารย์กติ วิ ฒั นา ศรวี งศ์ ดา้ นการพยาบาล อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร อาจารย์ ดร.ชรริน ขวญั เนตร - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หออภิบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล อาจารย์ประจ�ำ หลกั สตู ร ทารกแรกเกดิ (NICU) โรงพยาบาลศริ ิราช และการผดุงครรภช์ ัน้ หนึง่ 4511087597 เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ / ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ • ประวตั ิการศกึ ษา และการผดงุ ครรภ์ชั้นหนึง่ 4511007892 ด้านการสอน - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ • ประวัติการศึกษา - สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสาขา (นิติวทิ ยาศาสตร)์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต พยาบาลศาสตร์ การพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น คณะพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรนานาชาต)ิ มหาวทิ ยาลยั บรู พา ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ (เภสชั วิทยา) ศรีนครนิ ทรวิโรฒ • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั - ผู้สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสาขา ดา้ นการพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย การพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น คณะพยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ตั งิ าน บรู พา ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ผู้ป่วยนอกและอบุ ตั เิ หตุ - ฉุกเฉิน • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ - ผู้สอนภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติสาขา ดา้ นการพยาบาล การพยาบาลเด็ก และวัยรุ่น คณะพยาบาล โรงพยาบาลอมั พวา สมุทรสงคราม และ พยาบาลประจำ�หอผู้ปว่ ยวิกฤติ (ICU) ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ โรงพยาบาล นครธน กรงุ เทพ โรงพยาบาลวภิ าวดี อาจารย์รชั นี ชยั ประเดมิ ศกั ดิ์ 2. หวั หนา้ แผนกอบุ ัตเิ หตุ - ฉกุ เฉนิ • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร งานรบั - ส่งผู้ป่วย และงานบริการการแพทย์ ดา้ นการสอน เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ฉกุ เฉนิ โรงพยาบาลเอกชยั สมุทรสาคร 1. อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ และการผดงุ ครรภช์ ั้นหนงึ่ 4511057302 • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ วทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชธานี อุดรธานี • ประวัติการศึกษา ดา้ นการสอน 2. อาจารยค์ ณะพยาบาลศาสตร์ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ 1. อาจารยภ์ าคทดลอง มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตียน (การพยาบาลเด็ก) มหาวิทยาลยั มหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น 3. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลเดก็ และ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต 2. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลเดก็ วัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ และวยั รนุ่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ สวนดสุ ิต 4. ผู้รบั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา ด้านการพยาบาล 3. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลพืน้ ฐาน 1. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤตและ - การพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่ ฉุกเฉิน โรงพยาบาลพญาไท 2 - การพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น - เภสชั วทิ ยา 2. พยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยเด็ก - เภสัชวทิ ยาสำ�หรบั พยาบาล - วจิ ัยทางการพยาบาล โรงพยาบาลทหารผา่ นศกึ - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพืน้ ฐาน • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ จดั การทางคลนิ ิก - ปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวัยร่นุ ด้านการสอน - กระบวนการพยาบาลและประเมิน - นวตั กรรมทางการพยาบาล 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ภาวะสุขภาพ อาจารยอ์ ดุ มญา พนั ธนิตย์ เด็กและวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ - การพยาบาลพ้ืนฐาน อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสูตร มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ - การประกอบธุรกจิ ด้านสุขภาพ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล 2. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลพนื้ ฐาน และการผดุงครรภ์ชนั้ หนงึ่ 4511059514 - การพยาบาลพ้ืนฐาน - การพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ • ประวตั กิ ารศึกษา อาจารยไ์ พรัตน์ ผ่องแผ้ว - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การ - กระบวนการพยาบาล อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู ร พยาบาลแมแ่ ละเดก็ ) มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล - วจิ ยั ทางการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางการ - การพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น และการผดุงครรภช์ ัน้ หน่ึง 4611093796 รกั ษาโรคขน้ั ตน้ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน • ประวัติการศกึ ษา - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย - ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ - พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต มหิดล (การพยาบาลเดก็ ) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั - พยาบาลศาสตรบัณฑติ มหาวิทยาลยั นเรศวร 15
• ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ สาขาการพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ ูงอายุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ดวงเนตร ธรรมกลุ ดา้ นการพยาบาล รองหัวหนา้ สาขา ปฏิบัติงานการพยาบาลเด็ก สถาบัน อาจารย์ ดร.เพลินตา พิพัฒนางสาวบัติ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล สขุ ภาพเดก็ แหง่ ชาตมิ หาราชินี 25 ปี หัวหนา้ สาขา และการผดงุ ครรภ์ชั้นหนึง่ 4511006919 • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประวัติการศกึ ษา ด้านการสอน และการผดงุ ครรภ์ชั้นหนง่ึ 45511011527 - ครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ (วธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั 1. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า • ประวัตกิ ารศกึ ษา การศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั ร่นุ - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การบริหาร - พยาบาลศาตรมหาบัณฑิต - การพยาบาลเดก็ และวยั รุน่ การพยาบาล) มหาวทิ ยาลัยคริสเตียน (การพยาบาลผู้ใหญ)่ มหาวทิ ยาลัยมหิดล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ จไุ ร อภัยจริ รตั น์ - Advanced Adult Nursing I & II, - นิติศาสตรบณั ฑิต อาจารยป์ ระจำ�หลกั สูตร Concept of Advanced Nursing Practice มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล Mahidol University - วิทยาศาสตรบัณฑิต (พยาบาลและ และการผดุงครรภ์ชนั้ หน่งึ 4511012144 - Theoretical Foundation in Advanced ผดุงครรภ์) มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ • ประวัตกิ ารศกึ ษา Nursing Practice Mahidol University • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ - การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยา - วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ (สขุ ศึกษา) ด้านการพยาบาล พฒั นาการ) มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 1. พยาบาลวชิ าชีพ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย - พยาบาลบาลศาสตรบัณฑิต โรงพยาบาลมหาราชนครเชยี งใหม่ สุโขทัยธรรมาธิราช มหาวทิ ยาลัยมหิดล 2. พยาบาลวชิ าชพี - ค รุ ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ - ประกาศนียบัตรพยาบาลอนามัยและ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกยี รติ มหาวิทยาลยั ผดงุ ครรภ์ วทิ ยาลัยพยาบาลเกื้อการณุ ย์ • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ - อนุปริญญาพยาบาลและอนามัย • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ ด้านการสอน มหาวิทยาลยั มหิดล ด้านการพยาบาล 1. พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ-ชำ�นาญ • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ 1. รองหัวหน้าพยาบาลผูป้ ว่ ยนอก การพเิ ศษ (ด้านการสอน) ด้านการพยาบาล โรงพยาบาลวชิรพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นนทบรุ ี - พยาบาลวิชาชพี ประจ�ำ หอผูป้ ่วยทารก 2. หัวหน้าหนว่ ยสวนหวั ใจ 2. ผู้สอนการพยาบาลและการป้องกัน คลอดก่อนกำ�หนด โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลวชริ พยาบาล การตดิ เชือ้ เอชไอว/ี เอดส์ แบบองคร์ วม (2518 – 2522) 3. พยาบาลประจำ�การหน่วยส่วนหัวใจ หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางระยะสั้น • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ โรงพยาบาลวชริ พยาบาล นานาชาติ ดา้ นการสอน 4. พยาบาลประจำ�การหน่วยตรวจหัวใจ 3. ผูส้ อนคลินกิ ส�ำ หรับนกั ศกึ ษา Taipei 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ด้วยคล่นื างสาวยงความถีส่ งู Medical University ทห่ี อผปู้ ว่ ยหนกั สถาบนั เด็ก และวัยรุ่น คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลวชริ พยาบาล บำ�ราศนราดูร หลักสูตร International มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 5. พยาบาลประจ�ำ หออภบิ าลผปู้ ว่ ยหนกั Internship in Nursing Program 2. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวิชา โรคหัวใจและหลอดเลอื ด 4. Family-Centered Care ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ รายวชิ าสาขาการ โรงพยาบาลวชริ พยาบาล หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทางสาขา พยาบาลเด็ก และวยั ร่นุ • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ การพยาบาล ผู้ปว่ ยระบบหวั ใจ ดา้ นการสอน 5. Family-Centered Care 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล หลกั สตู รเฉพาะทางการพยาบาลผปู้ ว่ ยระบบ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ หายใจ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ 6. การปฏิบัติพยาบาลโดยใช้หลักฐาน 2. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา เชิงประจักษ์ (Evidence Based Nursing - การพยาบาลผู้ใหญ่และผสู้ ูงอายุ 1 Practice) และหัวข้อการบันทึกทางการ - การพยาบาลผใู้ หญ่และผสู้ ูงอายุ 2 พยาบาลและการจัดเก็บข้อมูลที่สำ�คัญ และ - ทฤษฎแี ละแนวคิดหลักในวชิ าชีพ ร่วมอภิปรายแนวคิดและกลยุทธ์ด้านการ พยาบาล พยาบาลเพ่ือป้องกันและควบคุมการติด - กระบวนการพยาบาล เชื้อในแต่ละระบบและหน่วยงานต่างๆ - การพยาบาลพ้นื ฐาน หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลผู้ป่วยโรค - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั ติดเชอื้ และป้องกันการติดเชอื้ - วิจัยทางการพยาบาล 7. ผ้สู อนหลกั สตู รผชู้ ว่ ยพยาบาล - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และ 8. ท่ีปรึกษางานวิจัยนักศึกษาพยาบาล ผสู้ งู อายุ 1 รายวชิ าวิจัยทางการพยาบาล - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และ 9. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ผ้สู ูงอายุ 2 ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - ปฏบิ ตั ิการบริหารจดั การทางคลินิก มหาวิทยาลยั สวนดุสติ 16
10. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา อาจารยส์ มจิต นิปทั ธหัตถพงศ์ อาจารย์ลัดดาวลั ย์ เตชางกูร - การพยาบาลผ้ใู หญ่ และผ้สู งู อายุ อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร อาจารย์ประจ�ำ หลักสูตร - วจิ ยั ทางการพยาบาล หัวหน้าหน่วยปฏบิ ัติการพยาบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - การประเมินภาวะสุขภาพ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล และการผดุงครรภช์ ั้นหนึง่ 4511043000 - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลพื้นฐาน และการผดุงครรภ์ชัน้ หนงึ่ 4511001896 • ประวตั ิการศกึ ษา - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และ • ประวัตกิ ารศกึ ษา - ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พยาบาลศาสตร์ ผ้สู งู อายุ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (บริหาร และผดุงครรภ์ช้ันสูง (เทียบเท่าปริญญาตรี) - ปฏิบตั กิ ารบริหารการพยาบาล การพยาบาล) มหาวิทยาลยั บรู พา วทิ ยาลยั พยาบาลกรุงเทพ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เรณู ขวญั ยืน - การศึกษาบัณฑิต (วิชาเอกพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ รองหัวหนา้ สาขา ศึกษา) วิทยาลยั พยาบาลกรงุ เทพฯ สถาบนั (การพยาบาลผใู้ หญ่) มหาวทิ ยาลยั มหิดล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล สมทบ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ - ประกาศนยี บตั วิ ชิ าพยาบาลศาสตรแ์ ละ และการผดงุ ครรภ์ชัน้ หนง่ึ 4511015075 - ประกาศนยี บตั รพยาบาลผดงุ ครรภแ์ ละ ผดุงครรภช์ ัน้ สูง วทิ ยาลัยพยาบาลกรุงเทพ • ประวัตกิ ารศึกษา อนามยั วทิ ยาลัยพยาบาลวชิรพยาบาล - ประกาศนยี บตั รการพยาบาลเฉพาะทาง - ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การวัด • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ สาขาศาสตร์และศิลปทางการสอนทางการ และประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์ ดา้ นการพยาบาล พยาบาล สถาบันการพยาบาลศรสี วรินทิรา มหาวทิ ยาลยั 1. หัวหน้าหออภิบาลผู้ป่วยโรคหัวใจ สภากาชาดไทย - ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต และหลอดเลือด วิทยาลัยแพทยศาสตร์ - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความชำ�นาญปฏิบัติ (การวัดและประเมนิ ผลทางการศกึ ษา) ก รุง2เท. พผม้ชู ่วหยาหนัวคหรนแ้าลหะอวอชภริ พิบายลาผบ้ปูา่วลยโรคหัวใจ การพยาบาลข้ันสงู สภาการพยาบาล มหาวทิ ยาลัยรามคำ�แหง และหลอดเลือดวิทยาลัยแพทยศาสตร์ - ประกาศนยี บตั รการพยาบาลเฉพาะทาง - วิ ท ย า ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ( บ ริ ห า ร กรุงเทพมหานครและวชริ พยาบาล สาขาการพยาบาล โรคหวั ใจและทรวงอก สาธารณสขุ ) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช 3. ผตู้ รวจการเวรวกิ าล ฝา่ ยการพยาบาล สถาบนั โรคทรวงอก - ประกาศนียบัตรการพยาบาลและ วิทยาลัยแพทยศาสตรก์ รุงเทพมหานคร • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ ผดุงครรภ์ชั้นสูง วิทยาลัยพยาบาลบรมราช และวชิรพยาบาล ดา้ นการพยาบาล ชนนีพุทธชนิ ราช พิษณุโลก 4. พยาบาลประจำ�การ ตึกอายุรกรรม พยาบาลวชิ าชพี ช�ำ นาญการพเิ ศษ • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ พิเศษกองโอสถกรรม วทิ ยาลัยแพทยศาสตร์ ดา้ นการพยาบาลโรงพยาบาลราชวิถี ดา้ นการพยาบาล กรุงเทพมหานคร และวชริ พยาบาล • ประสบการณค์ วามเชีย่ วชาญ 1. พยาบาลวชิ าชีพ แผนกผู้ป่วยใน • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ดา้ นการสอน โรงพยาบาลบา้ นแหลม ดา้ นการสอน 1. อาจารย์ประจำ�หลักสูตรการพยาบาล 2. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยหนัก 1. อาจารย์ผู้สอนคลินิกระบบหัวใจและ เฉพาะทางสาขาหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลสงฆ์ หลอดเลือดวิกฤตบนหอผู้ป่วยโรคหัวใจ โรงพยาบาลราชวถิ ี รว่ มกบั วทิ ยาลยั พยาบาล 3. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยสูงอายุ และหลอดเลือดวิทยาลัยแพทยศาสตร์ บรมราชชนนีกรุงเทพ โรงพยาบาลสงฆ์ กรุงเทพมหานคร และวชิรพยาบาล 2. วิทยากรรับเชิญด้านการดูแลผู้ป่วย 4. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผูป้ ว่ ย 2. อาจารยผ์ สู้ อนนกั ศกึ ษาพยาบาล ระยะวิกฤตแิ ละผูป้ ่วยโรคหวั ใจ สมาคม จักษุ โรงพยาบาลสงฆ์ วิทยาลัยบรมราชชนนนี พรัตนว์ ชริ ะ พยาบาลโรคหวั ใจและทรวงอกแหง่ 5. พยาบาลวิชาชีพ แผนกผู้ป่วยนอก 3. หัวหน้าสาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และ ประเทศไทย เบาหวานโรงพยาบาลสงฆ์ ผสู้ ูงอายุ 3. วิทยากรในหลักสูตรการพยาบาล • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ 4. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ผปู้ ่วยวิกฤติสำ�หรับ ผ้ปู ฏิบตั ิ โครงการร่วม ด้านการสอน ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลราชวถิ ี และParkway Nursing 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ College ประเทศสิงค์โปร์ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 5. หัวหนา้ หนว่ ยปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 4. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวิทยาลยั สวนดุสติ 6. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวิชา ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผู้สูงอายุ 1 มหาวิทยาลัยสวนดุสติ - การพยาบาลพื้นฐาน - การพยาบาลผใู้ หญ่และผู้สูงอายุ 2 5. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 - ทฤษฎีและแนวคิดหลักในวิชาชีพ - การพยาบาลพนื้ ฐาน - การพยาบาลผใู้ หญ่ 2 พยาบาล - กระบวนการพยาบาล - การรักษาโรคเบื้องต้น - การพยาบาลผสู้ ูงอายุ - การประเมินภาวะสขุ ภาพ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน - กระบวนการพยาบาล - การพยาบาลผ้ใู หญ่ 1 - ปฏบิ ตั ิการเสริมทักษะการพยาบาล - การพยาบาลพน้ื ฐาน - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และ - การพยาบาลฉกุ เฉนิ และสาธารณภยั - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร ผสู้ ูงอายุ 1 - พัฒนาการมนุษย์ จัดการทางคลนิ กิ - ปฏบิ ัตกิ ารบริหารพยาบาล - การรักษาโรคเบอ้ื งตน้ - การรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่ 1 - ปฏบิ ตั กิ ารเสรมิ ทกั ษะทางการพยาบาล - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผใู้ หญ่ 2 - ปฏบิ ัติการบรหิ ารจดั การทางคลินกิ - ปฏบิ ตั ิการบริหารการพยาบาล 17
อาจารยช์ ญานิศ ชอบอรณุ สิทธิ อาจารย์ศรัทธา ประกอบชยั อาจารยร์ ักชนก โคตรเจรญิ อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร อาจารยป์ ระจำ�หลักสูตร อาจารยป์ ระจำ�หลกั สูตร เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขที่ใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ เลขทใี่ บประกอบวชิ าชีพการพยาบาลและ และการผดุงครรภ์ชัน้ หนึ่ง 4711108940 การผดงุ ครรภ์ชัน้ หน่งึ 4811189861 การผดุงครรภ์ชัน้ หน่ึง 5311193295 • ประวตั ิการศึกษา • ประวตั ิการศึกษา • ประวัตกิ ารศกึ ษา - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต - กำ�ลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก - กำ�ลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอก (การพยาบาลผใู้ หญ่) มหาวิทยาลัยมหดิ ล หลกั สตู ร Doctor of Philosophy in Nursing หลักสูตร Ph.D. in (Nursing School of - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย (Ph.D. Nursing) Saint Louis University Nursing & Midwifery and Social Work) พยาบาลนครราชสมี า - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต The University of Queensland Australia - ประกาศนียบัติวิชาพยาบาลศาสตร์ (การพยาบาลผู้ใหญ)่ มหาวทิ ยาลัยมหิดล - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พยาบาล และผดุงครรภ์ช้ันสูง วิทยาลัยพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัย สาธารณสุข) มหาวิทยาลัยมหดิ ล นครราชสมี า มหิดล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย - วุฒิบัตรผู้มีความรู้ความชำ�นาญปฏิบัติ - ประกาศนยี บตั ร หลักสูตรการพยาบาล มหิดล การพยาบาลขนั้ สงู สภาการพยาบาล ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด หลกั สตู รฝา่ ยการ - วฒุ ิบตั รการดแู ลผปู้ ว่ ยภาวะวิกฤต • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ พยาบาล คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล ภาควชิ าพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ดา้ นการพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการด้านการ - วฒุ ิบัตรอบรมปฏบิ ตั ิการกฟู้ น้ื คืนชีพ - วุฒิบัตรการดูแลผู้ป่วยโรคไตและ พยาบาลโรงพยาบาล พระพุทธบาท สระบุรี คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Hermodialysis มลู นธิ โิ รคไตแหง่ ประเทศไทย • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ มหาวทิ ยาลยั มหิดล โรงพยาบาลสงฆ์ ด้านการสอน - Certificate Continuous Renal • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ 1. อาจารย์ประจำ�ภาควิชาการพยาบาล Replacement Therapy (CRRT) Theory ด้านการพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ and Practice บรษิ ทั EDWARD life Science พยาบาลวิชาชีพประจำ�หอผู้ป่วยวิกฤต มหาวิทยาลัยเวสเทริ ์น • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ หลังผ่าตัดหัวใจและทรวงอก โรงพยาบาล 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ด้านการพยาบาล รามาธิบดี ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 1. พยาบาล หอผู้ป่วยซีซียู งานการ • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ พยาบาลอายรุ ศาสตร์และจติ เวชศาสตร์ ดา้ นการสอน 3. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า โรงพยาบาลศริ ริ าช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าช 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - การพยาบาลพนื้ ฐาน พยาบาลมหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - การประเมินภาวะสขุ ภาพ 2. พยาบาลหอผู้ปว่ ยไอซียูและซซี ียู มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต - การพยาบาลผูใ้ หญ่ 1 โรงพยาบาลนนทเวช 2. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การพยาบาลผู้สูงอายุ 3. พยาบาลปฏิบัติงานบางเวลา - การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 - การพยาบาลผู้ป่วยแบบประคับ โรงพยาบาลบางมด - การพยาบาลผ้ใู หญ่ 2 ประคอง • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ - กระบวนการพยาบาล - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร ด้านการสอน - การพยาบาลพนื้ ฐาน จัดการทางคลนิ ิก 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - วิจยั ทางการพยาบาล - วิจัยทางการพยาบาล ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลผู้ใหญ่และ - ปฏบิ ัติการพยาบาลผู้ใหญ่และ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ผสู้ งู อายุ 1 ผสู้ งู อายุ 1 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และ - ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลผใู้ หญแ่ ละ - การพยาบาลพนื้ ฐาน ผสู้ งู อายุ 2 ผสู้ ูงอายุ 2 - กระบวนการพยาบาล - การรักษาโรคเบอ้ื งต้น - การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 - การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลผใู้ หญ่และ ผสู้ ูงอายุ 1 - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง อายุ 2 - การพยาบาลผูส้ งู อายุ - ปฏิบตั กิ ารพยาบาลพ้นื ฐาน 18
อาจารยพ์ มิ พ์ขวญั แกว้ เกลอ่ื น • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ - พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ แผนก อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร ดา้ นการพยาบาล อายุรกรรม โรงพยาบาลสงฆ์ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล พยาบาลวิชาชีพปฏิบตั ิการ ตึกเวชศาสตร ์ • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ และการผดุงครรภช์ ัน้ หนง่ึ 5011199785 ฉุกเฉนิ คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล ดา้ นการสอน • ประวตั กิ ารศกึ ษา • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ ด้านการสอน ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ (กายวภิ าคศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวิทยาลัยสวนดุสิต - พยาบาลศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ 2. อาจารย์ผู้สอน นักศึกษาผู้ช่วยการ อนั ดับ 2) มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ พยาบาล โรงเรยี นบางกอกเอ็นเอ - ประกาศนียบตั ร หลกั สูตรฝึกอบรม 2. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวิชา 3. ผจู้ ดั ท�ำ หลกั สตู รผชู้ ว่ ยพระศลิ านปุ ฏั ฐาก ระยะสั้นางสาวขาการจัดการเรียนการสอน - การพยาบาลพนื้ ฐาน 4. วทิ ยากร โครงการสขุ าปลอดภยั จากโรค ทางการพยาบาล วทิ ยาลยั พยาบาลบรม - การพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผ้สู ูงอายุ 1 โรงเรียนหนองเพรางาย นนทบรุ ี ราชชนนี กรุงเทพ - การพยาบาลผใู้ หญแ่ ละผ้สู งู อายุ 2 5. วิทยากร โครงการช่วยเลิกบุหร่ีให้กับ • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ - การพยาบาลการพยาบาลฉกุ เฉนิ และ อสม. จังหวัดปราจนี บุรี ด้านการพยาบาล สาธารณภัย 6. วิทยากร โครงการอบรมผู้ช่วยเหลือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศรีนครินทร์ - การดูแลแบบประคับประคอง คนไข้ โรงพยาบาลสงฆ์ จงั หวัดขอนแก่น - การพยาบาลผสู้ งู อายุ 7. ผูร้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ - ปฏบิ ัติการพยาบาลผูใ้ หญ่และ - การพยาบาลพนื้ ฐาน ดา้ นการสอน ผูส้ ูงอายุ 1 - การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - ปฎบิ ัตกิ ารพยาบาลผู้ใหญ่และ - การพยาบาลสาธารณภยั ผู้ใหญและผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ ผู้สูงอายุ 2 มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ - ปฏิบตั กิ ารบรหิ ารการพยาบาล 2. ผ้รู บั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า - กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยา 1 อาจารยว์ วิ ฒั น์ เหลา่ ชยั อาจารย์ประภสั สร เสง่ยี มกุลถาวร - กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 2 อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร - การพยาบาลพืน้ ฐาน เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - การรกั ษาโรคเบ้อื งต้น และการผดุงครรภ์ช้นั หน่งึ 5811259710 และการผดุงครรภช์ นั้ หนึง่ 4511001855 - กระบวนการพยาบาล • ประวัติการศึกษา • ประวัตกิ ารศกึ ษา - วิจัยทางการพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การ - พยาบาลมหาบัณฑิต (บริหารการ - ปฏิบตั ิการพยาบาลพนื้ ฐาน พยาบาลผู้ใหญ่) จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย พยาบาล) จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย - ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูง - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย อายุ 1 พยาบาลพระปกเกลา้ มหดิ ล อาจารยธ์ ีระชล สาตสิน - หลักสูตร จัดระบบบริการสุขภาพ - ประกาศณียบัตรพยาบาลอนามัยและ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร สำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ ผดงุ ครรภ์ วทิ ยาลยั พยาบาลเกอื้ การุณย์ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - หลกั สตู ร การพยาบาลผปู้ ว่ ยสมองเสอ่ื ม • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ และการผดงุ ครรภช์ น้ั หนงึ่ 5511233980 - Course Tobacco Cessation ดา้ นการพยาบาล • ประวัติการศกึ ษา Provider (TCP) - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วยใน - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ - หลกั สตู ร การพฒั นาศกั ยภาพเครอื ขา่ ย โรงพยาบาลวชิรพยาบาล (การพยาบาลผู้ใหญ่) มหาวิทยาลัย Intensive Practice for Tobacco Control • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ธรรมศาสตร์ - หลักสูตร การช่วยฟ้ืนฟูชีพขั้นสูง ด้านการสอน - พยาบาลศาสตรบัณฑิต (ACLS) โรงพยาบาลราชวถิ ึ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดุสิต - หลกั สตู ร 4th National palliative and ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ Hospice Care Conference : การดูแล มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต ประคับประคองคณุ ภาพสูค่ วามยงั่ ยืน 2. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - หลกั สตู ร การดแู ลผปู้ ว่ ยเรอื้ รงั ตอ่ เนอื่ ง ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ รายวชิ าสาขาการ แบบไรร้ อยตอ่ พยาบาลผ้ใู หญ่และผ้สู งู อายุ - หลกั สตู รระยะสน้ั (10 วนั ) การพยาบาล อาชีวอนามัยเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพใน สถานประกอบการ • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ ดา้ นการพยาบาล - พยาบาลวิชาชีพห้องฉุกเฉินและหอ ผปู้ ่วยหนกั โรงพยาบาลคามิลเลย่ี น - พยาบาลวิชาชีพ สถานประกอบการ โรงงานนิคมอุตสาหกรรม สมุทรสาคร - พยาบาลวิชาชีพ คลินกิ Anti Aging 19
อาจารย์ดุษฎี ดวงมณี - พยาบาลวชิ าชพี ประจ�ำ หอผปู้ ว่ ยใน โรง สาขาการพยาบาลชมุ ชน อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร พยาบาลพระปิ่นเกลา้ กรมแพทยท์ หารเรอื เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ อาจารย์ ดร.รังสรรค์ มาระเพ็ญ และการผดุงครรภ์ช้นั หน่งึ 4511019785 ด้านการสอน หวั หนา้ สาขา • ประวัติการศึกษา 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยา ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ และผดุงครรภ์ชนั้ หนึ่ง 4511041368 การให้ค�ำ ปรึกษา) มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต • ประวตั ิการศกึ ษา - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย 2. ผู้รบั ผดิ ชอบ/สอนรายวิชา - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พัฒนศึกษา) สุโขทยั ธรรมาธิราช ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ รายวชิ าสาขาการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร - ประกาศณียบัตรวิชาการพยาบาล พยาบาลผใู้ หญแ่ ละผสู้ ูงอายุ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ อนามยั และการผดงุ ครรภ์ วทิ ยาลยั พยาบาล อาจารย์สกุณ พานชิ เจรญิ นาน มหาวิทยาลัยมหิดล เก้อื การณุ ย์ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล สงขลานครินทร์ ดา้ นการพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ช้นั หนึง่ 4511021664 • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วย • ประวตั กิ ารศึกษา ดา้ นการพยาบาล สูติกรรมติดเชื้อ โรงพยาบาลวชิรพยาบาล - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (บรหิ ารการ พยาบาลวิชาชีพชำ�นาญการ หน่วยงาน - พยาบาลวิชาชีพ ปฏิบัติงานผูต้ รวจการ พยาบาล) มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช อุบตั ิเหตุฉุกเฉินและห้องคลอด เวรวิกาล โรงพยาบาลวชริ พยาบาล - วทิ ยาศาสตรบัณฑติ (อาชีวอนามยั และ โรงพยาบาลอมั พวา สมทุ รสงคราม - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หออภิบาล ความปลอดภยั ) มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ ศลั ยกรรมประสาทโรงพยาบาลวชิรพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย ด้านการสอน - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หน่วยควบคุม พยาบาลพระจอมเกล้า 1. อาจารยส์ าขาการพยาบาลชุมชน โรคติดเช้อื โรงพยาบาลวชิรพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตยี น • ประสบการณ/์ ความเชย่ี วชาญ ดา้ นการพยาบาล 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ดา้ นการสอน - พยาบาลวิชาชพี ประจำ�หอผปู้ ว่ ยวิกฤต ชุมชนคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล อายรุ กรรม โรงพยาบาลสงฆ์ สวนดุสิต ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วยเด็ก 3. ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวิชา มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ วกิ ฤต โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี - การพยาบาลชมุ ชน 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวิชา - พยาบาลวชิ าชพี ประจ�ำ หอผปู้ ่วยพเิ ศษ - ระบบสขุ ภาพ ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ รายวชิ าสาขาการ เด็ก โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี - การสร้างเสริมสขุ ภาพ พยาบาลผูใ้ หญ่และผู้สงู อายุ - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หน่วยงานไต - วทิ ยาการระบาด ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ พนั เอก กจิ จา สวุ รรณ เทียม โรงพยาบาลสงฆ์ - ปฏบิ ัติการพยาบาลชุมชน อาจารย์ประจ�ำ หลกั สตู ร - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วยอายุร - ปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล กรรม โรงพยาบาลสงฆ์ อาจารยณ์ ัฐรพี ใจงาม และการผดุงครรภช์ น้ั หนงึ่ 4521027323 - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วยฟื้นฟู รองหวั หน้าสาขา • ประวัติการศกึ ษา สมรรถภาพพระอาพาธ โรงพยาบาลสงฆ์ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (สรรี วทิ ยา) สห • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ และผดุงครรภ์ชนั้ หนง่ึ 4611096773 สาขาจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ดา้ นการสอน • ประวัติการศึกษา - การศึกษาบัณฑิต (พยาบาลศึกษา) 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - ก�ำ ลงั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอก หลกั สตู ร มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์ Plublic Health (Community Health & - ประกาศนียบัตรการพยาบาลและ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต Reproductive) จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย อนามยั โรงเรยี นพยาบาล กรมแพทยท์ หารเรอื 2. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า - วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาล • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ รายวชิ าสาขาการ สาธารณสุข) มหาวทิ ยาลยั มหิดล ดา้ นการพยาบาล พยาบาลผ้ใู หญ่และผ้สู ูงอายุ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย บรู พา 20
• ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ - การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ (ภาคทฤษฎี อาจารยว์ ิวนิ ท์ ปรุ ณะ ดา้ นการพยาบาล และภาคทดลอง) อาจารยป์ ระจำ�หลกั สูตร 1. พยาบาลวิชาชีพแผนกอุบัติเหตุและ - กฎหมายและจริยธรรมวิชาชีพ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ฉุกเฉิน โรงพยาบาลราชพพิ ัฒน์ - ประเด็นและแนวโน้มกฎหมายและ และผดงุ ครรภ์ช้นั หนงึ่ 4511176153 2. พยาบาลวิชาชีพแผนกผู้ปว่ ยนอก จริยธรรมท่ีเกย่ี วกบั วชิ าชพี การพยาบาล • ประวตั กิ ารศึกษา โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รัตนาธเิ บศร์ - แนวคิดพ้ืนฐาน และทฤษฎีการ - กำ�ลังศึกษาระดับปริญญาเอกหลักสูตร • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ พยาบาล ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์ ด้านการสอน - ความเป็นสวนดุสิต มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน - วจิ ยั ทางการพยาบาล (ภาคทดลอง) - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อรนชุ ชูศรี (การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ิชมุ ชน) 2. ผูร้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า อาจารย์ประจำ�หลักสตู ร มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น - การพยาบาลสรา้ งเสริมสขุ ภาพ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล - พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัย - การรกั ษาโรคเบอื้ งต้น และผดุงครรภ์ชน้ั หน่ึง 4511008395 พยาบาลศรมี หาสารคาม มหาสารคาม - วิทยาการระบาด • ประวัตกิ ารศึกษา - ประกาศนียบัตร หลักสูตรฝึกอบรม - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลชมุ ชน - พยาบาลศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ เฉพาะทางสาขาศาสตร์และศิลป์การสอน - ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลรกั ษาโรคเบอ้ื งตน้ มหาวทิ ยาลัยบรู พา ทางการพยาบาล รนุ่ ท่ี 9 วทิ ยาลยั บรมราช ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพชรรตั น์ เจมิ รอด - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ชนนี กรงุ เทพ อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู ร (การพยาบาลครอบครัว) มหาวิทยาลัย • ประสบการณ์/ความเชี่ยวชาญ เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล บูรพา ดา้ นการพยาบาล และผดุงครรภ์ชั้นหนงึ่ 4511020627 - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ พยาบาลวชิ าชพี ประจ�ำ กลมุ่ งานการพยาบาล • ประวตั กิ ารศึกษา วิทยาลยั บรมราชชนนชี ลบุรี ผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาล - ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยและสถิติ • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ ร้อยเอด็ ทางวิทยาการปัญญา) มหาวิทยาลัยบรู พา ด้านการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การบรหิ าร - พยาบาลวิชาชีพหอผ้ปู ่วยหนัก ด้านการสอน การพยาบาล) จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั อายรุ กรรม โรงพยาบาลสมเดจ็ พระนารายณ์ 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ ลพบุรี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ผดุงครรภ์ชั้นสงู (เทยี บเทา่ ปริญญาตร)ี • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ 2. ผ้รู ับผิดชอบ/สอนรายวิชา วทิ ยาลยั พยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัด ด้านการสอน - การพยาบาลชมุ ชน นครสวรรค์ 1. อาจารยพ์ ยาบาลชุมชน - การรกั ษาโรคเบ้ืองต้น - ศึกษาศาสตรบัณฑิต (สุขศึกษา) มหาวิทยาลยั อสั สัมชัญ - ความเป็นสวนดุสิต มหาวิทยาลยั รามคำ�แหง 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล - วทิ ยาการระบาด - นติ ศิ าสตรบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย - ปฏิบัตกิ ารพยาบาลในการรกั ษา ธรรมาธริ าช สวนดุสติ โรคเบอ้ื งตน้ • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ 3. ผรู้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า อาจารยป์ ณวัตร สันประโคน ด้านการพยาบาล - การพยาบาลชุมชน อาจารย์ประจ�ำ หลกั สตู ร 1. พยาบาลแผนกผปู้ ่วยใน - การรกั ษาโรคเบ้ืองต้น เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา - การสร้างเสริมสุขภาพ และผดุงครรภ์ช้ันหนึง่ 5011199446 2. พยาบาลแผนกผู้ป่วยอุบัติเหตุและ - วทิ ยาการระบาด • ประวตั ิการศึกษา ฉุกเฉนิ โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา - สารสนเทศทางการพยาบาล - กำ�ลังศึกษาระดับปริญญาเอกหลักสูตร 3. พยาบาลแผนกหอ้ งผา่ ตัด - ปฏบิ ตั ิการพยาบาลชมุ ชน ป รั ช ญ า ดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ( พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์ ) โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชิงเทรา - ปฏบิ ตั กิ ารรักษาโรคเบ้อื งตน้ หลกั สตู รนานาชาติ มหาวทิ ยาลัยบูรพา 4. พยาบาลแผนก เวชศาสตร์ครอบครวั - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต และชมุ ชน โรงพยาบาลบางปะกง ฉะเชงิ เทรา (การพยาบาลเวชปฏบิ ตั ชิ มุ ชน) มหาวทิ ยาลยั 5. พยาบาลหน่วยบรกิ ารปฐมภูมิ มหดิ ล โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตำ�บลท่าสะอา้ น สาธารณสุขอำ�เภอบางปะกง ฉะเชิงเทรา • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ด้านการสอน 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย สวนดสุ ติ 2. ผรู้ ับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การรักษาโรคเบื้องต้น (ภาคทฤษฎี และภาคปฏบิ ตั ิ) - การพยาบาลชมุ ชน (ภาคทฤษฎแี ละ ภาคปฏิบตั ิ) 21
- พยาบาลศาสตรบัณฑติ สาขาสขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช อาจารย์อรยิ า ดีประเสริฐ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สระบรุ ี อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ อาจารยศ์ ิริพร นันทเสนีย์ (FHEA) เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ด้านการพยาบาล หัวหนา้ สาขา และผดุงครรภช์ ัน้ หนึง่ 4511041342 1. พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสมิติเวช เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล • ประวตั กิ ารศกึ ษา สขุ ุมวิท และผดุงครรภช์ ั้นหนึง่ 4511008906 - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต 2. พยาบาลวชิ าชพี โรงพยาบาลเวลิ ดเ์ มดคิ อล • ประวตั ิการศึกษา (สขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช) • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ - พยาบาลศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั มหิดล ดา้ นการสอน (การพยาบาลสุขภาพจติ และจิตเวช) - ประกาศนยี บตั รการฝกึ อบรมหลกั สตู ร 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน มหาวิทยาลัยมหดิ ล สาขาศาสตร์และศิลป์การสอนทางการ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ - ครุศาสตรมหาบัณฑิต (สุขศึกษา) พยาบาล จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 2. ผู้รับผิดชอบ/สอนรายวชิ า จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย - ประกาศนียบตั รการฝึกอบรม - การพยาบาลชุมชน - ครศุ าสตรบณั ฑติ (ภาษาองั กฤษ) หลักสูตรเฉพาะทางการพยาบาลผู้สูงอายุ - การสรา้ งเสรมิ สุขภาพ สถาบนั ราชภัฏจันทรเกษม วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนลี �ำ ปาง - การรกั ษาโรคเบื้องตน้ - ประกาศนยี บตั รพยาบาลศาสตร์ - สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (บริหาร - สารสนเทศทางการพยาบาล (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตร)ี วทิ ยาลยั พยาบาลเกอื้ สาธารณสขุ )มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช - ปฏิบัติการพยาบาลชุมชน การณุ ย์ วชริ พยาบาล - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์ - ปฏิบัติการรกั ษาโรคเบ้ืองตน้ - ประกาศนยี บตั รวชิ าพยาบาลและอนามยั วทิ ยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จนั ทบรุ ี อาจารย์จริ าภรณ์ ชนมาสขุ วิทยาลยั พยาบาลเกอ้ื การุณย์ วชริ พยาบาล • ประสบการณ์/ความเชยี่ วชาญ อาจารย์ประจำ�หลักสตู ร • ประสบการณ/์ ความเชยี่ วชาญ ดา้ นการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ดา้ นการพยาบาล 1. พยาบาลวชิ าชพี ปฏิบัตงิ านท่ีตึก และการผดงุ ครรภ์ช้ันหนึ่ง 481189777 1. หัวหน้าหอผปู้ ่วยจติ เวชเด็กและ ผู้ป่วยในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาล • ประวตั กิ ารศึกษา วัยรนุ่ โรงพยาบาลศรีธญั ญา นนทบรุ ี อัมพวา สมุทรสงคราม - ก�ำ ลังศกึ ษาระดับปริญญาเอก หลกั สูตร 2. รองหวั หน้าหอผู้ป่วยหญิง 2 2. พยาบาลวชิ าชีพ ปฏบิ ัตงิ าน ดษุ ฎบี ัณฑิตสาขา (การพยาบาล) โรงพยาบาลศรธี ญั ญา นนทบุรี ทกี่ ลุ่มงานประกันสุขภาพยทุ ธศาสตร์ - หลักสูตรระยะสั้น ศาสตร์และศิลป์การ 3. รองหวั หนา้ หอผู้ปว่ ย และสารสนเทศ โรงพยาบาลอัมพวา สอนทางการพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ อโสก 2 โรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบุรี สมุทรสงคราม มหาวทิ ยาลัยมหิดล 4. รองหวั หน้าหอผปู้ ว่ ยพเิ ศษชาย 3. พยาบาลวชิ าชพี ปฏบิ ตั ิงานท่ีกล่มุ งาน - วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑติ 4/1 โรงพยาบาลศรีธัญญา นนทบุรี เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาล (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหดิ ล 5. พยาบาลประจำ�การหอผู้ป่วยพิเศษ อมั พวา สมุทรสงคราม - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย หญิง 1 โรงพยาบาลศรีธญั ญา นนทบุรี • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ มหดิ ล 6. พยาบาลประจำ�การหอผปู้ ่วย ด้านการสอน • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ อายุรกรรม(ตึกสงฆ์) โรงพยาบาลเมือง 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ดา้ นการพยาบาล ฉะเชิงเทรา ฉะเชงิ เทรา สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ - พยาบาลหอผู้ป่วยวิกฤต อุบัติเหตุ 7. พยาบาลประจำ�การหอผู้ป่วยหนัก มหาวิทยาลยั สวนดุสิต โรงพยาบาลศิริราช ศลั ยกรรมประสาท โรงพยาบาลวชริ พยาบาล 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวิชา - พยาบาลหอผู้ป่วย 72 ปี ช้ัน 7 กรงุ เทพ - การสรา้ งเสรมิ สุขภาพจติ และ โรงพยาบาลศริ ิราช • ประสบการณ์/ความเช่ียวชาญ การพยาบาลจติ เวช 1 • ประสบการณ์/ความเชีย่ วชาญ ดา้ นการสอน - การสรา้ งเสริมสขุ ภาพจิตและ ดา้ นการสอน 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล การพยาบาลจิตเวช 2 1. อาจารยป์ ระจ�ำ สาขาการพยาบาลชมุ ชน สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ - พัฒนาการมนษุ ย์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ - ประเดน็ และแนวโน้มของวิชาชพี 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวิชา 2. ผู้รบั ผิดชอบ/สอนรายวชิ า การพยาบาล • ผู้รับผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ - การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ 1. ระบาดวทิ ยา การพยาบาลจิตเวช 1 - การสร้างเสรมิ สุขภาพ 2. ทฤษฎกี ารพยาบาลชุมชน - การพยาบาลสาธารณภัย - สารสนเทศทางการพยาบาล 3. ปฏิบัตกิ ารพยาบาลชมุ ชน - พัฒนาการมนุษย์ - ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ 4. ปฏิบัตกิ ารรักษาโรคเบื้องต้น - ประเด็นและแนวโน้มของวิชาชีพ การพยาบาลจติ เวช 5. การสร้างเสรมิ สุขภาพ การพยาบาล - การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ - การสอื่ สารเชงิ วชิ าชีพการพยาบาล - แนวคิดพื้นฐานและทฤษฎีการ พยาบาล - ศักยภาพการนำ�และการบริหาร จดั การทางคลนิ กิ - การพยาบาลสาธารณภัย - ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ การพยาบาล จติ เวช 22
อาจารยเ์ สวิตา แกว้ กัณหา • ประสบการณ์/ความเช่ยี วชาญ อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู ร ดา้ นการพยาบาล เลขทใ่ี บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล 1. พยาบาลใหค้ �ำ ปรึกษาคลนิ ิกจิตเวช และการผดุงครรภ์ชัน้ หนึง่ 5511236465 โรงพยาบาลสงฆ์ • ประวตั ิการศกึ ษา 2. ให้การพยาบาลดา้ นสุขภาพจิตแก่ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การพยาบาล พระสงฆ์อาพาธท้ังผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก จติ เวชอละสขุ ภาพจติ ) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ โรงพยาบาลสงฆ์ - พยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัย • ประสบการณ์/ความเชย่ี วชาญ มหิดล ดา้ นการสอน • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาสุขภาพจิตและ ดา้ นการพยาบาล จิตเวชคณะพยาบาลศาสตร์ - พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศิริราช มหาวิทยาลัยปทุมธานี มหาวิทยาลัยมหิดล 8 ปี 2. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล • ประสบการณ/์ ความเชี่ยวชาญ สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ ดา้ นการสอน มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล 3. ผ้รู ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ มหาวิทยาลยั สวนดุสติ การพยาบาลจติ เวช 1 2. ผูร้ บั ผดิ ชอบ/สอนรายวชิ า - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและ - การสร้างเสริมสุขภาพจิตและการ การพยาบาลจติ เวช 2 พยาบาลจติ เวช - พัฒนาการมนุษย์ - ปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพจิตและ - การพยาบาลพน้ื ฐาน การพยาบาลจติ เวช อาจารย์จิราพร เกษรสวุ รรณ์ - ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรุน่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสตู ร - นวตั กรรมและงานสรา้ งสรรคท์ างการ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล พยาบาล และการผดงุ ครรภ์ชน้ั หนึ่ง 4511049574 - พัฒนาการมนษุ ย์ • ประวัตกิ ารศึกษา - ประเด็นและแนวโน้มของวิชาการ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (สขุ ภาพจติ พยาบาล และการพยาบาลจติ เวชศาสตร)์ มหาวทิ ยาลยั อาจารยอ์ ันธิฌา สายบญุ ศรี มหดิ ล อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู ร - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ เลขทใี่ บอนญุ าตประกอบวชิ าชพี การพยาบาล ผดงุ ครรภช์ ัน้ สงู วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราช และผดงุ ครรภ์ชั้นหนึง่ 4511016846 ชนนี สระบุรี • ประวตั ิการศกึ ษา - ประกาศนียบัตรหลักสูตรเฉพาะทาง - ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พยาบาลศาสตร์ สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช (หลัง และผดุงครรภช์ น้ั สงู (เทียบเทา่ ปรญิ ญาตร)ี การพยาบาลข้ันพนื้ ฐาน) หลกั สตู ร 1 ปี วทิ ยาลัยพยาบาลสรรพสทิ ธปิ ระสงค์ • ประสบการณ/์ ความเชีย่ วชาญ - พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ (การจดั การ ด้านการพยาบาล การพยาบาล) มหาวทิ ยาลัยรงั สติ - พยาบาลวิชาชีพ ประจำ�หอผู้ป่วยใน - ประกาศนียบัตรหลักสูตรเฉพาะ โรงพยาบาลศรธี ญั ญา ทางการพยาบาล สขุ ภาพจติ และจิตเวช • ประสบการณ/์ ความเช่ยี วชาญ โรงพยาบาลศรีธญั ญา ด้านการสอน - ประกาศนียบัตรพยาบาลศาสตร์และ 1. อาจารย์ประจำ�สาขาการพยาบาล ผดงุ ครรภช์ น้ั สงู (เทยี บเทา่ ปรญิ ญาตร)ี วทิ ยาลยั สุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ พยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 2. ผรู้ ับผิดชอบ/สอนรายวชิ า ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รายวิชาสาขา วิ ช า ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ จิ ต แ ล ะ ก า ร พยาบาลจติ เวช 23
เบอรโ์ ทรศัพทอ์ าจารย์และเจา้ หน้าท่ี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ รายชื่ออาจารย์ เบอร์โทรภายใน E - mail 1. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรสี ดุ า วงศว์ เิ ศษกุล ผบู้ รหิ าร [email protected] 2 ผชู้ ่วยศาสตราจารยธ์ ณดิ า พมุ่ ท่าอฐิ 9461 [email protected] 9462 ประธานหลักสูตร 3. อาจารย์ ดร.รงุ่ นภา ป้องเกยี รตชิ ยั 9463 [email protected] สาขาการพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์ 4. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เนตรรัชนี กมลรัตนานนั ท์ 9474 [email protected] 5 อาจารย์ ดร.สุนิดา ชูแสง 9473 [email protected] 6 อาจารยอ์ ารียา เตชะไมตรีจติ ต ์ 9473 [email protected] 7 อาจารย์ ดร.ลกั ขณา ศรบี ุญวงศ์ 9473 [email protected] 8 อาจารย์นิรตั นช์ ฎา ไชยงาม 9474 [email protected] สาขาการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ 9 อาจารย์กิตวิ ัฒนา ศรวี งศ ์ 9467 [email protected] 10 อาจารย์รัชนี ชัยประเดิมศักดิ ์ 9467 [email protected] 11 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยจ์ ไุ ร อภยั จิรรัตน์ 9467 [email protected] 12 อาจารย์ไพรตั น์ ผอ่ งแผว้ 9467 [email protected] 13 อาจารย์ ดร.ชรริน ขวญั เนตร 9467 [email protected] 14 อาจารยอ์ ดุ มญา พันธนิตย์ 9467 [email protected] สาขาการพยาบาลผ้ใู หญ่และผสู้ ูงอายุ 15 อาจารย์ ดร.เพลนิ ตา พิพัฒน์สมบัต ิ 9459 [email protected] 16 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงเนตร ธรรมกลุ 9470 [email protected] 17 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เรณู ขวญั ยืน 9471 [email protected] 18 อาจารย์ชญานิศ ชอบอรณุ สทิ ธิ 9470 [email protected] 19 อาจารย์ลัดดาวัลย์ เตชางกรู 9470 [email protected] 20 อาจารยส์ มจิต นปิ ทั ธหตั ถพงศ์ 9475 [email protected] 21 อาจารยด์ ษุ ฎี ดวงมณี 9471 [email protected] 22 ผ้ชู ่วยศาสตาจารย์ พนั เอกกิจจา สวุ รรณ 9471 [email protected] 24
รายชื่ออาจารย์ เบอร์โทรภายใน E - mail 23 อาจารย์ประภสั สร เสง่ียมกลุ ถาวร 9470 [email protected] 24 อาจารย์สกุณ พานิชเจรญิ นาน 9471 [email protected] 25 อาจารย์รักชนก โคตรเจรญิ 9471 [email protected] 26 อาจารย์ ดร.ศรัทธา ประกอบชัย 9459 [email protected] 27 อาจารยพ์ ิมพข์ วญั แก้วเกลื่อน 9470 [email protected] 28 อาจารย์ธีระชล สาตสิน ศึกษาตอ่ [email protected] 29 อาจารยว์ วิ ัฒน์ เหล่าชยั 9471 [email protected] สาขาการพยาบาลชุมชน 30 อาจารย์ ดร.รงั สรรค์ มาระเพญ็ 9469 [email protected] 31 อาจารย์ณฐั รพี ใจงาม 9469 [email protected] 32 ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพชรรัตน์ เจมิ รอด 9469 [email protected] 33 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรนชุ ชศู ร ี 9469 [email protected] 34 อาจารยว์ ิวินท์ ปุรณะ ศึกษาตอ่ [email protected] 35 อาจารยป์ ณวัตร สนั ประโคน ศึกษาต่อ [email protected] 36 อาจารย์จิราภรณ์ ชนมาสขุ 9469 [email protected] สาขาสุขภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช 37 อาจารย์ศิรพิ ร นนั ทเสนยี ์ 9468 [email protected] 38 อาจารยอ์ ริยา ดปี ระเสรฐิ 9468 [email protected] 39 อาจารยจ์ ิราพร เกษรสุวรรณ์ 9468 [email protected] 40 อาจารย์อันธิฌา สายบุญศร ี 9468 [email protected] 41 อาจารยเ์ สวิตา แกว้ กณั หา ศกึ ษาต่อ [email protected] สำ�นักงานคณะพยาบาลศาสตร์ 42 นายอทุ ัย ชำ�นาญกจิ 9464 [email protected] 43 นางวิไลวลั ย์ นจิ กรรม 9476 [email protected] 44 นางสาวสุกญั ญา จิ๋วน้อย 9460 [email protected] 45 นางสาวกรรกั ธันยธนนท ์ 9465 [email protected] 46 นางชุติมา กา้ นลำ�ใย 9465 [email protected] 47 นางสาวนาฏยา ตะ๊ ล ี 9476 [email protected] 48 นางสาวจริ ว กุ๋ยเกดิ 9465 [email protected] 49 นางสาวน�้ำ ฝน บุตรวงค์ 9460 [email protected] 25
Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบัณฑิต Bachelor of Nursing Science Program Suan Dusit
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ ระดับปริญญาตรี 1. ช่ือหลักสตู ร หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ภาษาไทย : Bachelor of Nursing Science Program ภาษาอังกฤษ : 2. ช่อื ปรญิ ญา พยาบาลศาสตรบัณฑิต ภาษาไทย ช่ือเตม็ : พย.บ. ชือ่ ย่อ : Bachelor of Nursing Science ภาษาอังกฤษ ชอื่ เต็ม : B.N.S. ชื่อย่อ : 3. วตั ถุประสงคข์ องหลักสตู ร ภายหลังส�ำ เร็จการศึกษา บณั ฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์ จะมคี ุณลกั ษณะและความสามารถดงั นี้ 1. มีความรู้ในศาสตร์การพยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตร์ที่เก่ียวข้อง โดยบูรณาการศาสตร์เชิงประจักษ์ เชิงสนุ ทรศี าสตรใ์ นการพยาบาล มคี วามร้ทู เ่ี กิดจากประสบการณเ์ ฉพาะตน และความร้เู ชงิ จรยิ ศาสตร์ 2. ปฏิบัติการพยาบาล และการผดุงครรภ์ ทั้งในภาวะสุขภาพดี ภาวะเสี่ยง และภาวะเบ่ียงเบนทางสุขภาพ ในระยะเฉียบพลัน วิกฤต เร้ือรัง ตลอดจนระยะสุดท้ายของชีวิต ครอบคลุมมิติการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การบ�ำ บัดทางการพยาบาล และการฟน้ื ฟสู ุขภาพ 3. มศี กั ยภาพการน�ำ และการบรหิ ารจดั การ มคี วามรบั ผดิ ชอบ สามารถคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ แกป้ ญั หา และตัดสนิ ใจอยา่ งมีเหตุผล มีมนษุ ยสัมพนั ธท์ ำ�งานรว่ มกับบคุ ลากรสหสาขาวิชาชพี ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 4. สอ่ื สารท้งั ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อเข้าถงึ แหลง่ ข้อมูล 5. ใชก้ ระบวนการวิจยั การสรา้ งนวัตกรรม และใช้ผลการวิจยั ไดอ้ ย่างเหมาะสม และทกั ษะการเรียนรู้ตลอดชวี ิต 6. มคี วามสามารถในการปกปอ้ งสทิ ธิ มจี ติ อาสา จติ บรกิ าร มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ในการครองตน และการปฏบิ ตั ิ วชิ าชพี เคารพในศกั ดศิ์ รแี ละความแตกตา่ งของมนษุ ย์ ภายใตข้ อบเขตของกฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชพี และจรยิ ธรรมสากล ของผู้ประกอบวิชาชพี การพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ 4. ผลลัพธก์ ารเรียนรทู้ ค่ี าดหวังระดับหลักสตู ร (Program learning Outcomes: PLOs) PLO 1 อธิบายองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สุขภาพกับศาสตร์และศิลป์ด้าน การพยาบาล และการผดุงครรภ์ PLO 2 ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรดู้ า้ นการพยาบาล การผดงุ ครรภ์ และองคค์ วามรอู้ น่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การดแู ลประชากร ทุกชว่ งวยั และภาวะสุขภาพ PLO 3 ใชภ้ าษาในการติดตอ่ สื่อสารเชิงวิชาชีพได้อยา่ งถูกต้องและสร้างสรรค์ PLO 4 แสดงออกถงึ การปกปอ้ งสทิ ธแิ ละความเปน็ ธรรมตามกฎหมาย และมาตรฐานจรยิ ธรรมจรรยาบรรณวชิ าชพี PLO 5 แสดงออกถึงภาวะผู้นาํ ทํางานเปน็ ทมี จิตอาสา และจิตบรกิ าร PLO 6 สาธติ และปฏิบัตกิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ ในโรงพยาบาล และในชุมชน PLO 7 ออกแบบกจิ กรรมการพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ ส�ำ หรบั บคุ คล กลมุ่ คน ครอบครวั ชมุ ชน ภายใตแ้ นวคดิ การจัดการทางพยาบาล สถานการณส์ ุขภาพ และสารสนเทศทางการพยาบาล PLO 8 วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการพยาบาล บนพน้ื ฐานทกั ษะการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 5. คณุ สมบตั ิของผ้เู ขา้ ศกึ ษา 1. สำ�เรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย จากสถาบันการศกึ ษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการรับรองวิทยฐานะ 2. เป็นผูม้ ีสุขภาพสมบรู ณ์ท้ังรา่ งกายและจิตใจ ไมเ่ จบ็ ป่วย หรือเป็นโรคติดต่อรา้ ยแรง หรอื มีความผดิ ปกตทิ ีเ่ ปน็ อุปสรรคต่อการศกึ ษา 27
6. อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลงั สำ�เร็จการศึกษา 1. พยาบาลวิชาชีพปฏบิ ัติการพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ในสถานบริการสุขภาพ โรงเรียน โรงงาน หรอื สถาน ประกอบการอ่ืน ๆ เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพ ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์เม่ือได้รับ การขึ้นทะเบยี น และรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี จากสภาการพยาบาลแล้ว 2. ผปู้ ระกอบการอสิ ระทางดา้ นการพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ และรวมท้งั กิจการอื่น ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกับสุขภาพ ภายใต้กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง โครงสรา้ งหลักสตู ร จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ 127 หน่วยกิต มีสัดส่วนจำ�นวนหน่วยกติ แยกตามหมวดวิชาและ กลมุ่ วิชา ดังนี้ จำ�นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตร 127 หน่วยกติ 1. หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป 30 หน่วยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะ 91 หนว่ ยกติ 2.1 กลุ่มวชิ าพ้นื ฐานวชิ าชีพ 21 หน่วยกิต 2.2 กล่มุ วชิ าชพี 70 หน่วยกติ - รายวิชาภาคทฤษฎี/ทดลอง 34 หน่วยกิต - รายวิชาภาคปฏบิ ตั ิ 36 หนว่ ยกติ 3. หมวดวิชาเลอื กเสรไี ม่นอ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต การจดั การเรยี นการสอน 3(2-2-5) หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 3(2-2-5) 1500202 ความเป็นสวนดสุ ติ 3(2-2-5) (Suan Dusit Spirit) 3(2-2-5) 1500122 ทกั ษะการสือ่ สารภาษาไทย 3(3-0-6) (Thai Language Communication Skills) 3(2-2-5) 1500123 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั วิถชี ีวิตสมยั ใหม่ 3(3-0-6) (English for Modern Lifestyle) 3(2-2-5) 1500124 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสารสากล 3(2-2-5) (English for International Communication) 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกิน (Food for Life) 2500119 วถิ ชี วี ิตตามแนวคดิ เศรษฐกิจหมุนเวยี น (Lifestyle for Circular Economy) 2500120 คณุ คา่ ของความสขุ (Values of Happiness) 2500121 พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก (Thai and Global Citizens) 4000114 จดุ ประกายความคดิ เชงิ ธรุ กิจ (Business Thinking Inspiration) 4000115 การใช้ชวี ติ ในยคุ ดิจทิ ัล (Living in the Digital Era) 28
หมวดวิชาเฉพาะ 91 หน่วยกิต 1) กล่มุ วชิ าพน้ื ฐานวิชาชีพ 21 หน่วยกติ 6011105 ชวี เคมี (Biochemistry) 2(1-2-3) 6011106 กายวภิ าคศาสตร์และสรีรวิทยา 4(3-2-7) (Anatomy and Physiology) 2(2-0-4) 6012609 พยาธวิ ทิ ยาทางการพยาบาล 2(1-2-3) (Nursing in Pathology) 3(2-2-5) 6011302 จุลชีววทิ ยาและปรสิตวทิ ยา 2(1-2-3) (Microbiology and Parasitology) 2(1-2-3) 6012710 หลักเภสชั วทิ ยากบั การปฏบิ ัติการพยาบาล 2(1-2-3) (Pharmacological Principal in Nursing Practice) 2(1-2-3) 6012901 วิทยาการระบาดสำ�หรับพยาบาล (Epidemiology for Nursing) 70 หนว่ ยกิต 6082102 กฎหมายและจริยศาสตร์การพยาบาล 34 หน่วยกิต (Nursing Laws and Ethics) 6012801 สารสนเทศการพยาบาล 3(1-4-4) (Nursing Informatics) 2(1-2-3) 6012507 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั วิชาชพี พยาบาล 2(2-0-4) (English for Nursing Professional) 3(2-2-5) 2) กลมุ่ วชิ าชีพ 3(2-2-5) 2.1) ภาคทฤษฎี และทดลอง 3(3-0-6) 6021204 เหตุผลทางคลินิกและหลักฐานเชงิ ประจักษ์ในการปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 3(2-2-5) (Clinical Reasoning and Empirical Evidence in Nursing Practice) 1(1-0-2) 6023301 จากงานประจ�ำ ส่งู านวิจยั และนวัตกรรม 2(1-2-3) (From Routine to Research and Innovation) 3(3-0-6) 6021102 การพยาบาลพน้ื ฐาน (Fundamentals of Nursing) 29 6033102 การพยาบาลเด็กและวัยรุน่ (Child and Adolescent Nursing) 6042105 การพยาบาลผใู้ หญ่ 1 (Adult Nursing 1) 6042106 การพยาบาลผูใ้ หญ่ 2 (Adult Nursing 2) 6042202 การพยาบาลผูส้ ูงอายุ (Gerontological Nursing) 6052103 นมแม่ โภชนาหารแห่งมวลมนษุ ย์ (Breastmilk Nutrients for the Mankind) 6052104 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1 (Maternal Newborn Nursing and Midwifery 1) 6052105 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ 2 (Maternal Newborn Nursing and Midwifery 2)
6063102 สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช 3(2-2-5) (Mental Health and Psychiatric Nursing) 2(1-2-3) 6073104 การพยาบาลในชุมชนบนฐานสุขภาวะของประชากร 2(1-2-3) (Nursing in Community Based on Population Health) 2(1-2-3) 6073202 การรักษาโรคเบื้องต้น (Primary Medical Care) 6024104 ภาวะผนู้ ำ�และการจดั การทางการพยาบาล (Leadership and Nursing Management) 2.2) ภาคปฏบิ ัต ิ 36 หนว่ ยกิต 6021504 ปฎบิ ตั ิการพยาบาลพนื้ ฐานเพ่อื ดูแลผปู้ ว่ ยเร้อื รงั ในภาวะพงึ่ พิง 2(0-6-2) (Practicum on Fundamental Nursing for Chronic Dependency) 3(0-9-3) 6022507 ปฏบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐานในระยะเฉียบพลนั และวิกฤต 3(0-9-3) (Practicum on Fundamental Nursing in Acute and Critical Care) 3(0-9-3) 6033202 ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 3(0-9-3) (Practicum on Child and Adolescent Nursing) 4(0-12-4) 6042301 ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 1 2(0-6-2) (Practicum on Adult and Gerontological Nursing 1) 3(0-9-3) 6043301 ปฏิบตั ิการพยาบาลผู้ใหญแ่ ละผูส้ ูงอายุ 2 3(0-9-3) (Practicum on Adult and Gerontological Nursing 2) 2(0-6-2) 6052201 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1 4(0-12-4) (Practicum on Maternal Newborn Nursing and Midwifery 1) 4(0-12-4) 6053201 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 2 (Practicum on Maternal Newborn Nursing and Midwifery 2) 6054201 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช Practicum on Mental Health and Psychiatric Nursing) 6053301 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลในชมุ ชนบนฐานสุขภาวะของประชากร (Practicum of Community Nursing based on Population Health) 6054401 ปฏิบตั กิ ารรักษาโรคเบอื้ งต้น (Practicum on Primary Medical Care) 6024105 ปฏิบตั กิ ารจัดการการพยาบาลในโรงพยาบาล (Practicum on Nursing Care Management in Hospital) 6074301 ปฏิบัตกิ ารจดั การการพยาบาลในชุมชน (Practicum on Nursing Care Management in Community) หมวดวิชาเลอื กเสรีไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าอนื่ ๆ ในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรขี องมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ หรอื รายวชิ าทเี่ ปดิ สอน โดยคณะพยาบาลศาสตร์ โดยไมซ่ �ำ้ กบั รายวชิ าที่เคยเรียนมาแล้ว 6023701 ปฏบิ ตั กิ ารสร้างสรรค์งานวจิ ยั และนวตั กรรมจากงานประจ�ำ 2(0-6-2) (Creating Research and Innovation from Routine work Practicum) 6023402 ปฏิบัติการประกอบธุรกจิ สุขภาพ 2(1-2-3) (Health Care Entrepreneurs in Action) 6013201 รกั แท้ในชว่ งหนึ่งของชวี ิต 2(1-2-3) (True Love in a Life Time) 30
คำ�อธิบายรายวชิ า หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต หมวดวิชาเฉพาะ 1) กลุ่มวิชาพนื้ ฐานวชิ าชีพ 6011105 ชวี เคม ี 2(1-2-3) (Biochemistry) เคมขี องสารชวี โมเลกลุ โครงสรา้ ง และคณุ สมบตั ขิ องชวี โมเลกลุ เอนไซมแ์ ละโคเอนไซม์ เมตาโบลซิ มึ ของสารอาหาร การสงั เคราะหโ์ ปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั ฮอรโ์ มน กรดนวิ คลอิ กิ ของเหลว ในรา่ งกาย การควบคมุ การเมตาโบลซิ มึ ในภาวะปกตแิ ละเจบ็ ปว่ ย กระบวนการสรา้ ง และการสลายของสารอาหาร การควบคมุ ปฏกิ ริ ยิ าตา่ ง ๆ ในเซลล์ การสงั เคราะหด์ ีเอน็ เอ และการแสดงออกของยีน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที างดา้ นพนั ธุ-วศิ วกรรม การประยกุ ตค์ วามรทู้ างชวี เคมใี หเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและการดาํ เนนิ ชวี ติ และปฏบิ ตั กิ ารชวี เคมี Chemistry of biomolecules; structure and properties of biomolecules; enzymes and coenzymes; metabolism of nutrients; synthesis of proteins, carbohydrates, fats, hormones, nucleic acids, body fluids; the control of metabolism in normal and morbidity; the process of anabolism and catabolism of nutrients; the control of reactions in cells, DNA synthesis and gene expression; the advances of genetic-engineering technology; application of biochemical knowledge to benefits of nursing practice, lifestyle and biochemistry 6011106 กายวภิ าคศาสตรแ์ ละสรรี วทิ ยา 4(3-2-7) (Anatomy and Physiology) โครงสร้าง หนา้ ท่ี และกลไกการท�ำ งานของเซลล์ เน้อื เยื่อ อวยั วะของระบบปกคลุมรา่ งกาย กระดกู และกลา้ มเนอื้ ระบบประสาทและการรบั รูช้ นดิ พิเศษของรา่ งกาย ระบบการไหลเวยี นเลอื ด และน้ำ�เหลือง ระบบ หายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ ระบบสบื พนั ธุ์ ระบบตอ่ มไรท้ อ่ ระบบควบคมุ อณุ หภมู ริ า่ งกาย ความสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยงระหวา่ งระบบตา่ งๆ การตอบสนองรวมของระบบ ตลอดจน การปรบั ตวั เพอ่ื รกั ษาดลุ ยภาพ ในหน้าทขี่ องอวยั วะต่างๆของร่างกาย Structure, function and mechanism of cells, tissues, organs of human body in integumentary system, musculoskeletal system, nervous system, special sensory functions, circulatory system, respiratory system, gastrointestinal system, urinary tract system, reproductive system, endocrine system, and regulation of body temperature system interrelationships among systems and systemic responses, dynamic functioning and adjustment to maintain stability of organ’s functions 6012609 พยาธวิ ทิ ยาทางการพยาบาล 2(2-0-4) (Nursing in Pathology) สาเหตุ กลไก และผลท่ีตามมาจากการเกิดพยาธิสภาพ อาการและอาการแสดงที่สะท้อนความผิด ปกติในรูปรา่ งและการทำ�งานของเซลล์ เน้ือเยื่อและอวัยวะในระบบประสาท ระบบกลา้ มเน้ือ ระบบหัวใจและการ ไหลเวยี นโลหติ ระบบหายใจ ระบบภูมคิ มุ้ กนั ระบบสมดลุ ของสารน้�ำ และอเิ ลก็ โทรไลต์ ระบบทางเดินอาหารและ การขับถา่ ย ระบบต่อมไรท้ ่อ และระบบสบื พันธุ์ Causes, mechanisms, and effects of pathologic conditions, signs and symptoms reflecting the abnormality of form and function of cells, tissues and organs in neurological, muscular, cardiovascular, respiratory, immunology, balance of fluid and electrolyte, digestive, endocrine, and reproductive systems 31
6011302 จลุ ชวี วิทยาและปรสติ วิทยา 2(1-2-3) (Microbiology and Parasitology) โครงสร้าง ลักษณะ การเจริญ การแพร่พันธุ์ของจุลินทรีย์และปรสิต ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ จุลินทรีย์ และปรสิต การเกิดโรคจากจุลินทรีย์และปรสิต การถ่ายทอดยีนดื้อยาในจุลินทรีย์ การทาํ ให้ปลอดเชื้อ จลุ นิ ทรีย์ และปรสติ Structures, characteristics, growth, and reproduction of microorganisms and parasites; relationship of humans, microorganisms and parasites; diseases caused by microorganisms and parasites; inheritance of drug-resistant genes in microorganisms; sterilization of microorganisms and parasites 6012710 หลักเภสัชวทิ ยากับการปฏิบัตกิ ารพยาบาล 3(2-2-5) (Pharmacological Principles in Nursing Practice) หลกั การพยาบาลในการบรหิ ารยา เภสชั จลนศาสตร์ และเภสชั พลศาสตร์ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กลไกการออก ฤทธ์ิ พษิ และผลข้างเคยี ง การสะสม และปฏิกิริยาระหว่างยาหรือสารอน่ื การบรหิ ารยาทม่ี ผี ลต่อระบบประสาท อัตโนมัติ ระบบประสาทส่วนกลาง ระบบหัวใจหลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบตอ่ ม ไรท้ อ่ และระบบสืบพนั ธ์ุ ยาแก้ปวด ลดไข้ ยาต้านมะเรง็ ยากดภูมคิ มุ้ กัน ยาต้านจลุ ชีพ ยาตา้ นเช้อื รา ยาตา้ นไวรัส วิตามนิ และเกลอื แร่ รวมทัง้ หลักการของการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ลและการนำ�ไปใช้ในปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล Nursing principles in drug administration, pharmacokinetics and pharmacodynamics related to mechanisms of action, toxic and side effects, accumulation, and drug interaction, drug administration affecting autonomic nervous system, central nervous system, cardiovascular system, respiratory system, gastrointestinal system, endocrine and reproductive system, analgesics, antipyretics, anti-cancer drugs, immune suppressant drugs, antimicrobial drugs, antifungal drugs, antiviral drugs, vitamins and minerals; concepts of rational uses of drug use and application to nursing care practices 6012901 วทิ ยาการระบาดสำ�หรับพยาบาล 2(1-2-3) (Epidemiology for Nursing) แนวคดิ และหลกั การทางวทิ ยาการระบาด ธรรมชาตกิ ารเกดิ โรค โรคอบุ ตั ใิ หม่ ปจั จยั ก�ำ หนดเชงิ สงั คม ท่สี ง่ ผลตอ่ สขุ ภาพและปัญหาสขุ ภาพ ดชั นสี ุขภาพ ความชกุ อุบัติการณ์ และวทิ ยาการระบาด เชงิ ภูมิสารสนเทศ วิทยาการระบาดในโรงพยาบาลและในชุมชน การสอบสวน การเฝ้าระวงั โรค การประยกุ ตใ์ ชว้ ิทยาการระบาดใน การควบคุมโรคและปญั หาสุขภาพระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ิยภมู แิ ละตติยภมู ิ ระบาดวทิ ยาพฒั นาการของโควิด-19 และ วคั ซนี โควดิ Concepts and principles of epidemiology, nature of disease, emerging infectious diseases, social determinants upon health and health problems, health indices, prevalence, incidence, spatial epidemiology, epidemiology in hospital setting and community, investigation and surveillance, application of epidemiology in prevention and control of diseases and health problems at primary, secondary and tertiary levels, developmental epidemiology of COVID-19 and COVID vaccine 6082102 กฎหมายและจริยศาสตรก์ ารพยาบาล 2(1-2-3) (Nursing Laws and Ethics) พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและหลักกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการพยาบาล สิทธิผู้ป่วย การพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาล แนวคิดและการตัดสินเชิงจริยธรรม บทบาทหน้าที่ของ องคก์ รวิชาชพี ประเดน็ ปญั หาทพี่ บบอ่ ยทางด้านกฎหมายและจริยธรรมทางการพยาบาล Professional nursing act and principal laws related to nursing, patient rights, protection of patient rights, professional ethics of nursing, concepts and ethical decisions, roles and functions of professional organization, common issues found in law and professional ethics of nursing 32
6012801 สารสนเทศการพยาบาล 2(1-2-3) (Nursing Informatics) พัฒนาการวิชาชีพสู่ยุคดิจิทัล สารสนเทศสุขภาพและสารสนเทศการพยาบาล แหล่งและข้อมูล สารสนเทศเพือ่ การค้นคว้า การเลอื กแหลง่ ข้อมลู การประเมนิ คุณภาพสารสนเทศ การประมวลและการวเิ คราะห์ สารสนเทศ การออกแบบและจัดทําฐานข้อมูลขนาดเล็กในการพยาบาล การให้บริการส่งเสริมสุขภาพทางไกล กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกบั ขอ้ มูลขา่ วสาร จรยิ ธรรมในการใช้และการเผยแพร่ สารสนเทศทางสุขภาพ Nursing professional development to the digital era, health and nursing informatics; sources and information for inquiry, selection of data sources, quality assessment of information, information processing and analysis, design and preparation of small database in nursing, provide telenursing; information laws, ethics of health information use and dissemination 6012507 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั วชิ าชีพพยาบาล 2(1-2-3) (English for Nursing Professional) การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการจัดท�ำ บนั ทกึ ทางการพยาบาลประเภทตา่ ง ๆ การใหข้ ้อมลู ขา่ วสารดา้ น สขุ ภาพ การวพิ ากษ์บทความวชิ าการและบทความวจิ ยั การเตรยี มเอกสารนำ�เสนอในท่ปี ระชุมวชิ าการ English uses for composing nurses’ notes and other nursing documents, giving health facts and information, criticizing academic and research articles, preparing paper to be presented at academic conference 2) กล่มุ วิชาชีพ 6021204 เหตุผลทางคลนิ ิก และหลักฐานเชิงประจกั ษ์ในการปฏิบตั ิการพยาบาล 3(1-4-4) (Clinical Reasoning and Empirical Evidence in Nursing Practice) แนวคิด หลักการและทฤษฎีทางการพยาบาล การใช้เหตุผลทางคลินิกและหลักฐาน เชิงประจักษ์ ประกอบการประเมินภาวะสุขภาพ การวิเคราะห์และวินิจฉัยปัญหาสุขภาพ การตัดสินใจทางคลินิก การกำ�หนด ผลลัพธ์ในการปฏิบัติพยาบาล การสร้างสรรค์และการออกแบบการปฏิบัติการพยาบาล การประมวลข้อมูล การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรจู้ ากการสงั เคราะหห์ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ รว่ มกบั กระบวนการพยาบาลเพอ่ื ออกแบบนวตั กรรม และผลติ ภณั ฑ์ในการดูแลผรู้ ับบรกิ าร Concepts, principles and theories of nursing, using clinical reasoning and empirical evidence for health assessment, analyzing and diagnosing health problems, clinical judgment, prescription of expected nursing outcomes, creating and designing nursing practices, data processing, applying knowledge derived from empirical evidence synthesis together with nursing process to develop nursing innovations and products for clients’ care 6023301 จากงานประจ�ำ สู่งานวจิ ัยและนวตั กรรม 2(1-2-3) (From Routine to Research and Innovation) แนวคิดและหลกั การเก่ียวกบั การวจิ ยั และนวัตกรรม ระเบียบวธิ วี จิ ยั เพ่อื พัฒนางานประจ�ำ และสรา้ ง งานนวตั กรรม การใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ การออกแบบการวจิ ยั การเลอื กตวั อยา่ ง การรวบรวมและวเิ คราะหข์ อ้ มลู การเลือกใช้สถิติ การเขยี นบทความวิจยั จรยิ ธรรมในการวิจัย และผลิตนวตั กรรม การพทิ กั ษส์ ิทธ์ิกลมุ่ ตวั อยา่ งที่ เปน็ มนษุ ย์ Concepts and principles of research and innovation, research methodology for routine work improvement and creating innovation, uses of empirical evidences, research designs, sampling techniques, collecting and analyzing data, choosing statistics, composing research report for publication, research ethics and rights protection of human subject 33
6021102 การพยาบาลพน้ื ฐาน 2(2-0-4) (Fundamentals of Nursing) การพยาบาลพื้นฐานเพ่ือการดูแลด้านกิจวัตรประจำ�วันในผู้ป่วยเฉียบพลัน และเรื้อรัง การส่งเสริม สุขภาพ การควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเบื้องต้น การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล และสิ่งแวดล้อม การประเมินสัญญาณชีพ การดูแลด้านอาหารและนำ้� การบริหารยา การขับถ่าย การจัดท่าการเคล่ือนไหว การเคลื่อนย้าย การออกกำ�ลังกาย การรับใหม่และจำ�หน่ายผู้ป่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วย สิทธิผู้ป่วย ความ หลากหลายทางวฒั นธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Fundamentals of Nursing for clients with acute and chronic condition, health promotion, basic of infection control, personal and environmental hygiene, vital signs, nutrition and fluid, drug administration, elimination, and urination, positionings, mobility, transfers, exercise, admission and discharge, patient safety, patient rights, cultural diversity, and professional ethics 6033102 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 3(2-2-5) (Child and Adolescent Nursing) นโยบายสุขภาพเด็ก สทิ ธเิ ด็ก สถานการณ์สุขภาพเด็กของประเทศ ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ การเจรญิ เตบิ โต พัฒนาการ โภชนาการ การป้องกันอุบตั เิ หตุตามวัย การพยาบาลเด็กและวัยร่นุ ทีม่ คี วามเจ็บปว่ ยเฉียบพลัน และเรือ้ รงั ด้วยโรคในระบบต่าง ๆ ทพี่ บบอ่ ย การจัดการกับความปวด การบริหารยา การดแู ลเด็กป่วยในภาวะ วกิ ฤต และระยะสดุ ท้าย ตามแนวคิดครอบครวั เปน็ ศนู ยก์ ลาง Child health policies, child rights, national child health situations, health assessment, growth and development, nutrition, accident prevention of all ages, child and adolescent nursing with common acute and chronic Illnesses in multiple systems, pain management, drug administration, critical care and end of life care following family centered care concept 6042105 การพยาบาลผู้ใหญ่ 1 3(2-2-5) (Adult Nursing 1) การพยาบาลบุคคลวัยผู้ใหญ่ ท่ีเจ็บป่วยทั้งในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรังด้วยโรคในระบบ ต่อมไร้ท่อ ระบบตา หู คอจมูก ระบบไหลเวียนโลหิตและนำ้�เหลือง การติดเช้ือ โรคเขตร้อน การเสียสมดุลนำ้� เกลอื แร่ ระบบยอ่ ย เผาผลาญ ตับ ถงุ น้�ำ ดี ตบั อ่อน และขบั ถ่าย ระบบกระดกู และกลา้ มเนอ้ื โรคมะเร็ง โรคใน ระบบนรีเวช การพยาบาลผ้ปู ่วยที่ไดร้ บั การผา่ ตดั ครอบคลมุ ผลกระทบของความเจบ็ ป่วยต่อคณุ ภาพชีวติ เพอ่ื การ วางแผนจ�ำ หนา่ ยรว่ มกบั ครอบครวั บนหลกั การพน้ื ฐานความปลอดภยั การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลสทิ ธผิ ปู้ ว่ ย จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และกฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง Nursing care of adults in acute, critical, and chronic stages with the problems of endocrine system, EENT system, blood and lymphatic system, infectious disease, tropical diseases, the stage of fluid and electrolytes imbalances and its complications, gastrointestinal system, musculo-skeletal system, cancer, gynecological system, nursing care of patients in OR, including the late effects upon patients’ quality of life in order to adjust appropriate discharge planning with family based on principles of patient safety, rational drug use, patient rights, professional ethics and related laws 34
6042106 การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 3(3-0-6) (Adult Nursing 2) การพยาบาลบุคคลวัยผู้ใหญ่ ท่ีเจ็บป่วยท้ังในระยะเฉียบพลัน วิกฤต และเรื้อรังด้วยโรคในระบบ ภมู คิ มุ้ กนั ระบบหายใจ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด การพยาบาลผปู้ ว่ ยชอ็ ค ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ ระบบประสาท การพยาบาลผู้ป่วยเจบ็ ป่วยในภาวะฉกุ เฉิน และบาดเจ็บ และการชว่ ยฟื้นคนื ชพี ระบบผิวหนงั และภาวะแผลไหม้ ครอบคลุมผลกระทบของความเจ็บป่วยต่อคุณภาพชีวิตเพื่อการวางแผนจำ�หน่ายร่วมกับครอบครัว บนหลักการ พนื้ ฐานความปลอดภยั การใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพและกฎท่เี กีย่ วขอ้ ง Nursing care of adults in acute, critical, and chronic stages with the problems of immune system, respiratory system, cardiovascular system, shock, urinary system, nervous system, emergency and trauma nursing and cardiopulmonary resuscitation, integumentary system and burns including the late effects upon patients’ quality of life in order to adjust appropriate discharge planning with family based on principles of patient safety, rational drug use, patient rights, professional ethics and related laws 6042202 การพยาบาลผูส้ ูงอายุ 3(2-2-5) (Gerontological Nursing) แนวคิด หลักการ ทฤษฎีสูงอายุ และนิยามของความสูงอายุ ภาวะพฤฒิพลัง นโยบายแผนและ ยทุ ธศาสตรเ์ กย่ี วกบั ผสู้ งู อายุ ปญั หาการถกู ทารณุ กรรมในผสู้ งู อายุ การพทิ กั ษส์ ทิ ธผ์ิ สู้ งู อายบุ นพนื้ ฐานของกฎหมาย และจรยิ ธรรม พระราชบัญญัตผิ ูส้ งู อายุ สวัสดิการ สทิ ธปิ ระโยชนแ์ ละแหล่งประโยชนส์ ำ�หรบั ผสู้ ูงอายุ การจดั การ ดูแลผู้สูงอายุตามระดับภาวะพ่ึงพิง การส่งเสริมความรอบรู้ด้วยการส่ือสารสุขภาพ การใช้ยา และผลิตภัณฑ์ทาง สขุ ภาพอยา่ งสมเหตผุ ลในผสู้ งู อายุ โรคเรอื้ รงั และกลมุ่ อาการทพ่ี บบอ่ ยในวยั สงู อายุ การพยาบาลผสู้ งู อายทุ ม่ี ปี ญั หา สขุ ภาพจติ เฉยี บพลนั และฉุกเฉนิ การสรา้ งเสริมสุขภาพ การชะลอความเสอ่ื มและการฟนื้ ฟูสขุ ภาพ Concepts, principles, theories of ageing, and definitions of ageing, active ageing, national policies, strategies and plans for older adults, abuses in older adults, right protection for older adults based on laws and ethics, act on the elderly, welfare, benefits and resources for older adults, care management for the dependency of older adults, health literacy enhancement for the elderly through health information communication, rational uses of drug and health products, common chronic diseases and health problems of older adults, nursing care for the older adults with mental health problems; health promotion; delay of deterioration of diseases and promotion of rehabilitation for the older adults 6052103 นมแม่ โภชนาหารแหง่ มวลมนุษย์ 1(1-0-2) (Breastmilk Nutrients for the Mankind) หลักการพื้นฐานของการเล้ียงลูกด้วยนมแม่และการส่ือสาร บทบาทพยาบาลในการปกป้องส่งเสริม และสนบั สนนุ การเลี้ยงลกู ดว้ ยนมแมใ่ นสตรีต้ังครรภ์ มารดา เด็ก และครอบครวั ในภาวะปกติ และท่ีมีปัญหาไม่ ซับซ้อน โดยใชก้ ระบวนการพยาบาลแบบองคร์ วมรว่ มกบั หลักฐานเชิงประจกั ษ์ Basic principles of breastfeeding and communication. roles of nurses in protection, pro- motion, and support of breastfeeding in pregnant women, mothers, children, and their families in normal and uncomplicated conditions by using evidence-based practice for holistic nursing care 35
6052104 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1 2(1-2-3) Maternal Newborn Nursing and Midwifery 1) แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ การปฏสิ นธิ การเปลย่ี นแปลง ทางกายวภิ าค สรรี วทิ ยาและจติ สงั คมของการเปน็ มารดา กลไกการคลอดและกระบวนการคลอด การพยาบาล และ การผดุงครรภม์ ารดา ทารก ทมี่ ีภาวะสขุ ภาพปกติ การส่งเสริมสขุ ภาพและการปอ้ งกนั ภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ โดยครอบครวั มสี ่วนร่วม บทบาทของพยาบาลและผดงุ ครรภ์ ภายใตข้ อบเขตของมาตรฐานการพยาบาล และการ ผดงุ ครรภ์ กฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชพี หลกั ความปลอดภัยและการใช้ยาส�ำ หรับมารดาอย่างสมเหตุผล Concepts, principles, theories of maternal newborn nursing and midwifery; fertilization; anatomy, physiology and psychosocial changes of being mother; mechanism of labor and process of delivery; nursing and midwifery care for mother and child in normal health conditions; health promotion and health deviation protection through family engagement; roles of nurses and midwives under the scope of nursing and midwifery standards, laws, professional ethics, safety rules and rational drug use for mother 6052105 การพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 2 3 (3-0-6) (Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 2) แนวคิด หลกั การ ทฤษฎีการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ ในภาวะทีม่ ารดามคี วามเสีย่ ง และภาวะแทรกซอ้ น บทบาทของพยาบาลและผดงุ ครรภใ์ นการใหก้ ารดแู ลภายใตข้ อบเขตของมาตรฐานการพยาบาล และการผดงุ ครรภ์ กฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ หลักความปลอดภัยและการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล ประเดน็ ปัญหาแนวโนม้ ด้านการพยาบาลมารดา ทารกและการผดงุ ครรภ์ Concepts, principles, theories of maternal newborn nursing and midwifery for mother with high- risks conditions and complications; roles of nurses and midwives in providing care under the scope of nursing and midwifery standards, laws and professional ethics, safety rules and rational drug use; issues and trends on mother and newborn nursing and midwifery 6063102 สขุ ภาพจติ และการพยาบาลจิตเวช 3(2-2-5) (Mental Health and Psychiatric Nursing) แนวคดิ หลกั การ และทฤษฎสี ขุ ภาพจติ และการพยาบาลจติ เวช การประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพจิตและป้องกันความเจ็บป่วยทางจิตแก่บุคคลทุกช่วงวัย ครอบครัวและชุมชน การใช้ยาอย่างสมเหตุผล การพยาบาลผู้ป่วยจิตเวชในระยะเฉียบพลันและเร้ือรัง รวมถึงการคงไว้และการพ้ืนฟูสภาวะทางจิต ประยุกต์ใช้ กระบวนการพยาบาลและหลักฐานเชิงประจักษ์ การเคารพความเป็นปัจเจกบุคคล ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความหลากหลายทางวฒั นธรรม กฎหมาย ประเด็นเชงิ จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Concepts, principles and theories of mental health and psychiatric nursing; application to promote mental health and prevent mental illnesses of all ages, family and community, rational drug use, nursing care of acute and chronic mental illness patients including maintenance and rehabilita- tion of mental health; applying nursing process and empirical evidences with respect of individuality, interpersonal differences, cultural diversity, related laws, ethical issues and nursing professional ethics 36
6073104 การพยาบาลในชุมชนบนฐานสุขภาวะของประชากร 2(1-2-3) (Nursing in Community based on Population Health) แนวคดิ และหลกั การของการพยาบาลครอบครวั และการพยาบาลโดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน การจดั การดแู ล ครบถ้วนทงั้ 4 มิติของการพยาบาลให้แก่บุคคลทุกช่วงวัย และครอบครวั การพยาบาลในศูนย์เด็กปฐมวยั โรงเรยี น การพยาบาลอาชวี อนามัยเบ้ืองต้น การเยีย่ มบ้านผู้หญิงตง้ั ครรภ์ มารดาหลังคลอด ทารกแรกเกิดและเดก็ ก่อนวัย เรยี น การพยาบาลครอบครัวส�ำ หรบั ผู้ป่วยระยะพกั ฟนื้ ผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รัง ผูป้ ่วยติดเตียง ผปู้ ว่ ยระยะสุดท้าย ผูป้ ่วย จิตเวชระยะพกั ฟ้ืนและผูป้ ่วยจติ เวชในชมุ ชน และการใช้ยาในชมุ ชน Concepts and principles of family nursing and community-based nursing, 4- dimension care management throughout the life span of individuals and family, nursing care for child day care center, school, basic occupational nursing, home visit for the pregnant, the postpartum mother, newborn and pre-school child family nursing care for the post-hospitalized patient, chronic illness person, bed-ridden person, end-of-life person, person in psychiatry recovery period and psychotic patients living in community, rational drug use in community 6073202 การรักษาโรคเบ้อื งต้น 2(1-2-3) (Primary Medical Care) การซกั ประวตั ิ ตรวจรา่ งกาย การตรวจและแปลผลทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร การวนิ จิ ฉยั แยกโรค การรกั ษา โรคเบอื้ งตน้ ตามขอบเขตทางกฎของพยาบาลวชิ าชพี การจดั การดแู ลรกั ษาเบอื้ งตน้ แกผ่ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ในโรงพยาบาล ชมุ ชน การใชย้ าอย่างสมเหตุผล การรักษาทางเลอื กในโรงพยาบาลชุมชน การจัดการเพ่ือการสง่ ต่อผปู้ ่วยฉกุ เฉนิ History taking, physical examination, laboratory examination and interpretation, differential diagnosis, providing treatment following nursing professional acts, management of primary care and treatment for persons with emergency conditions in community hospital, rational uses of drug, alternative treatment in community hospital, management of referring pathway and equipment for emergency-conditioned persons 6024104 ภาวะผูน้ ําและการจดั การทางการพยาบาล 2(1-2-3) (Leadership and Nursing Management) นโยบายสุขภาพ ภาวะผู้นําทางการพยาบาล การบริหารจัดการทางการพยาบาล ทีมการพยาบาล เครือข่าย ทรพั ยากรและแหลง่ ประโยชน์ การตดิ ตามและประเมนิ ผลลพั ธก์ ารจดั บรกิ ารสขุ ภาพ การจดั ระบบบรกิ ารพยาบาล ในระดบั ปฐมภมู ิ และในโรงพยาบาล Health policies, nursing leadership, nursing administration and management, nursing team, networking resources and benefits, monitoring and assessing the outcomes of health care management, nursing care delivery system in primary care setting and in hospital 6021504 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลพน้ื ฐานเพ่อื ดแู ลผูป้ ่วยเรอื้ รังในภาวะพง่ึ พิง 2(0-6-2) (Practicum on Fundamental Nursing for Chronic Dependency) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐานเพ่ือการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังท่ีมีภาวะพึ่งพิง การส่งเสริมสุขภาพ ความ ปลอดภัย สิทธิผ้ปู ว่ ย ความหลากหลายทางวฒั นธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ การสอื่ สารเพื่อการดูแลสขุ ภาพ การควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเช้ือเบ้ืองต้น การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม การประเมิน สัญญาณชีพ การดูแลด้านอาหารและน้ำ� การบริหารยา การดูแลแผลเบ้ืองต้น การป้องกัน การพลัดตกหกล้ม การขับถา่ ย การจัดท่า การเคลื่อนไหว การเคลอ่ื นย้าย และการออกกําลงั กาย การนอนหลับ และการพกั ผ่อน Practicum on fundamental nursing care for chronic patient with dependency, health promotion, patient safety, patient rights, cultural diversity and professional ethics; communication for health care, infection control and prevention of primary transmission, personal hygiene and environmental care, vital signs assessment, fluid and nutrition care, drug administration, basic wound care, fall prevention, excretion, position, movement, transporting and exercise, sleeping and rest 37
6022507 ปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐานในระยะเฉียบพลันและวกิ ฤต 3(0-9-3) (Practicum on Fundamental Nursing in Acute and Critical Care) ฝึกปฏิบัติให้การพยาบาลพื้นฐานเพื่อการดูแลผู้ป่วยเฉียบพลันและวิกฤต การสื่อสารแลกเปล่ียน ข้อมูลทางภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยท่ีมีปัญหาระบบทางเดินหายใจ ระบบหัวใจหลอดเลือด และการไหลเวียนเลือด การติดเช้อื ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปสั สาวะ การบริหารยา การรับใหมแ่ ละ การจำ�หน่าย การวางแผน จาํ หนา่ ยทค่ี รอบครวั มสี ว่ นรว่ ม โดยประยกุ ตใ์ ชค้ วามรทู้ เ่ี กยี่ วขอ้ ง สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย และความปลอดภยั ความหลากหลาย ทางวฒั นธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี Practicum on fundamental nursing care for acute and critical patients, intercommunication for health information of patients with problems of respiratory system, cardiovascular and circulation system, infection, gastrointestinal system, urinary system, drug administration, admission and discharge, discharge planning based on family engagement, by applying relevant knowledge, patient rights, patient safety, cultural diversity and professional ethics 6033202 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ 3(0-9-3) (Practicum on Child and Adolescent Nursing) ฝึกปฏิบัติให้การพยาบาลแก่เด็กและวัยรุ่นที่เจ็บป่วยด้วยโรคท่ีพบบ่อยและการเจ็บป่วยเฉียบพลัน ในระบบทางเดนิ หายใจ ระบบสมดลุ สารน้�ำ และเกลอื แร่ ระบบภูมติ า้ นทานและการติดเชื้อ ระบบประสาท ระบบ โลหติ สง่ เสรมิ สขุ ภาพเดก็ สขุ ภาพดแี ละกลมุ่ เสยี่ ง การบรหิ ารยา ดแู ลตอ่ เนอื่ งตามแนวคดิ ครอบครวั เปน็ ศนู ยก์ ลาง บรู ณาการศาสตร์ และทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง หลกั สิทธเิ ด็ก และจรรยาบรรณวิชาชพี Practicum on providing nursing care for child and adolescent with illnesses from common diseases and acute illnesses from respiratory system, fluid and electrolyte balance, immune system and infection, nervous system, blood systems, child health promotion, well-being and risks group, drug administration, continuing care following family-centered concept, integration of science and theories, child rights and professional ethics 6042301 ปฏิบัติการพยาบาลผใู้ หญ่และผ้สู งู อายุ 1 3(0-9-3) (Practicum on Adult and Gerontological Nursing 1) ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ หก้ ารพยาบาลแกบ่ คุ คลวยั ผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายทุ เี่ จบ็ ปว่ ยในระยะเฉยี บพลนั วกิ ฤตและเรอื้ รงั ครอบคลมุ ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ระบบเลือดและนำ�้ เหลอื ง การติดเชื้อ โรคเขตร้อน ระบบทางเดินอาหาร ไมส่ มดลุ ของ สารนำ้� เกลอื แรแ่ ละภาวะกรดดา่ ง ระบบกระดกู และกลา้ มเน้อื ระบบหู คอ จมูกและตา นรเี วชศาสตร์ และมะเรง็ บนพื้นฐานความปลอดภัย การใช้ยาอย่างสมเหตุผล สิทธิผู้ป่วย จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง Practicum on providing nursing care for adults and older adults with acute, critical and chronic illnesses including endocrine system, circulation and lymphatic system, tropical disease infec- tion, gastrointestinal system, fluid and electrolyte imbalance, musculoskeletal system, ear nose throat and eyes, gynecological conditions and cancer based on patient safety, rational drug use, patient rights, professional ethics and related laws 38
6043301 ปฏิบัตกิ ารพยาบาลผ้ใู หญ่และผู้สงู อายุ 2 3(0-9-3) (Practicum on Adult and Gerontological Nursing 2) ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ หก้ ารพยาบาลบคุ คลวยั ผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายทุ เ่ี จบ็ ปว่ ยในระยะเฉยี บพลนั วกิ ฤต และเรอ้ื รงั ใน แผนกฉกุ เฉนิ และหอผปู้ ว่ ยวกิ ฤต ครอบคลมุ ระบบผวิ หนงั ระบบทางเดนิ หายใจ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ระบบ ประสาท ระบบทางเดนิ ปสั สาวะ การพยาบาลฉุกเฉนิ และบาดเจ็บ บนพ้นื ฐานความปลอดภัย การใช้ยาอย่างสม เหตผุ ล สทิ ธผิ ปู้ ่วย จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี และกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง Practicum on providing nursing care for adults and older adults with acute, critical and chronic illnesses in emergency and critical unit including integumentary system, respiratory system, cardiovascular system, nervous system, urinary system and emergency and trauma nursing using nursing process, based on patient safety, rational drug use, patient rights, professional ethics and related laws 6052201 ปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 1 4(0-12-4) (Practicum on Maternal Newborn Nursing and Midwifery 1) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ในภาวะท่ีมารดามีภาวะสุขภาพปกติ การ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกโดยครอบครัวมีส่วนร่วม การวางแผน ครอบครวั และเทคโนโลยกี ารคมุ ก�ำ เนดิ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภภ์ ายใตข้ อบเขตของหลกั ความปลอดภยั การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ภายใต้ขอบเขตของมาตรฐานการผดุงครรภ์ กฎหมาย และจรรยาบรรณวิชาชพี Practicum on maternal newborn nursing and midwifery care for mother in normal health condition; breastfeeding; promoting the relationship between mothers and child through family engagement; family planning and contraceptive technology; practicing nursing and midwifery care with safety rules, rational drug use, cultural diversity under the scope of nursing and midwifery standards, laws and professional ethics 6053201 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ 2 2(0-6-2) (Practicum on Maternal Newborn Nursing and Midwifery 2) ฝึกปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ ในภาวะท่ีมารดามีความเสี่ยงและภาวะ แทรกซ้อน การประเมินและคัดกรองภาวะเส่ียง การส่งต่อ การเตรียมการและให้การช่วยเหลือในการตรวจด้วย เครอื่ งมอื พเิ ศษ และการทาํ สูตศิ าสตร์หตั ถการ การชว่ ยเหลือภาวะฉุกเฉนิ ทางสตู ิศาสตร์ การเล้ยี งลกู ดว้ ยนมแม่ ปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ด้วยหลักความปลอดภัย การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ขอบเขตของมาตรฐานการพยาบาล และการผดุงครรภ์ กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ Practicum on maternal newborn nursing and midwifery care for mother with high-risks and complications; assessing and screening of risks; referring; preparing and assisting in special instrument examination and obstetrical procedures; assisting in obstetrics emergency; breastfeeding; practicing nursing and midwifery care with safety rules, rational drug use, cultural diversity, scope of nursing and midwifery standards, laws and professional ethics 39
6054201 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสุขภาพจติ และจติ เวช 3(0-9-3) (Practicum on Mental Health and Psychiatric Nursing) ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ักษะการให้การพยาบาลเพ่อื สร้างเสรมิ สุขภาพจติ และปอ้ งกนั ความเจ็บป่วย ทางจติ แก่ บุคคลทุกชว่ งวัย ครอบครัวและชมุ ชน การพยาบาลผูป้ ่วยจติ เวชในระยะเฉียบพลันและเรื้อรงั รวมถึงการคงไว้และ การพนื้ ฟสู ภาวะทางจติ การบรหิ ารยา ประยกุ ตใ์ ชก้ ระบวนการพยาบาลและหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษโ์ ดยเคารพความ เปน็ ปจั เจกบคุ คล ความหลากหลายทางวฒั นธรรม กฎหมาย ประเด็นเชงิ จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ Practicum on providing nursing care for mental health promotion and mental illness prevention to individuals across the lifespan, family and community, nursing care for acute and chronic mental illness patients including maintenance and rehabilitation of mental health, drug administration, applying nursing process and empirical evidences with respect of individuality, interpersonal differences, cultural diversity, laws, ethical issues and nursing professional ethics 6053301 ปฏิบัติการพยาบาลในชุมชนบนฐานสขุ ภาวะของประชากร 3(0-9-3) (Practicum of Community Nursing based on Population Health) ฝกึ ปฏบิ ตั ใิ หก้ ารพยาบาลแกบ่ คุ คลและครอบครวั โดยใชช้ มุ ชนเปน็ ฐาน การจดั การดแู ลครบถว้ นทง้ั 4 มติ ขิ องการพยาบาลใหแ้ กบ่ คุ คลทกุ ชว่ งวยั และครอบครวั การพยาบาลในศนู ยเ์ ดก็ ปฐมวยั และโรงเรยี น การพยาบาล อาชีวอนามัยเบ้ืองต้น การเย่ียมบ้านผู้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ทารกแรกเกิด และเด็กก่อนวัยเรียน การพยาบาลครอบครัวส�ำ หรบั ผู้ปว่ ยระยะพกั ฟ้ืน ผ้ปู ่วยโรคเรือ้ รงั ผปู้ ว่ ยติดเตียง ผ้ปู ่วยระยะสดุ ทา้ ย ผู้ป่วยจิตเวช ระยะพกั ฟื้น และผู้ปว่ ยจติ เวชในชมุ ชน และการใช้ยาอย่างสมเหตุผล Practicum on providing nursing care for individual and family using community-based approach, 4-dimension care management throughout the life span of individuals and family, nursing care for child daycare center and school, basic occupational nursing, home visit for the pregnant, the postpartum mother, family nursing care for post-hospitalized patient, the chronic illness person, the bed-ridden person, the end-of-life person, the person in psychiatry recovery period and psychotic patients living in community, rational drug use 6054401 ปฏิบัติการรักษาโรคเบือ้ งตน้ 2(0-6-2) (Practicum on Primary Medical Care) ฝึกปฏิบตั ิการรักษาโรคเบื้องต้น ซักประวัติ ตรวจรา่ งกาย การตรวจและแปลผลทางหอ้ ง ปฏบิ ัตกิ าร การวนิ ิจฉยั แยกโรค การรักษาโรคเบื้องตน้ ตามขอบเขตทางกฎของพยาบาลวชิ าชีพ การจัดการดูแลรักษาเบ้อื งตน้ แกผ่ ปู้ ว่ ยฉกุ เฉนิ ในโรงพยาบาลชมุ ชน การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล การรกั ษาทางเลอื กในโรงพยาบาลชมุ ชน การจดั การ เพื่อการส่งต่อผูป้ ่วยฉุกเฉิน Practicum on primary medical care, history taking, physical examination, laboratory examination and interpretation, differential diagnosis, providing treatment following nursing professional acts, management of primary care and treatment for persons with emergency conditions in community hospital, rational drug use and alternative treatment in hospital, management of referring pathway and equipment for the emergency-conditioned persons 40
6024105 ปฏบิ ัตกิ ารการจัดการพยาบาลในโรงพยาบาล 4(0-12-4) (Practicum on Nursing Care Management in Hospital) ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ กั ษะในรปู แบบของพยาบาลวชิ าชพี และรว่ มกบั ทมี สหสาขาวชิ าชพี โดยการประยกุ ตใ์ ชค้ วาม รใู้ นศาสตรก์ ารพยาบาลและศาสตรส์ าขาอน่ื เพอ่ื การจดั การดแู ลในหอผปู้ ว่ ยภายใต้ การออกแบบความคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ น�ำ เสนอกระบวนการจดั การดแู ลทอ่ี อกแบบขน้ึ ตามบรบิ ทของหอผปู้ ว่ ย สะทอ้ นการใชห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ และการพิจารณาอยา่ งถว้ นถ่ถี ึงขอบเขตวิชาชพี คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Practicum on the skills of professional nurse working with a multi-disciplinary team by applying nursing science with other disciplines to nursing care management in hospital setting re- garding design thinking process; presentation of well-designed care management process suitable for caring unit context and reflection of empirical evidence with careful consideration under scope of professionalism, morality, ethics and professional ethics 6074301 ปฏบิ ตั ิการการจัดการการพยาบาลในชมุ ชน 4(0-12-4) (Practicum on Nursing Care Management in Community) ฝึกปฏิบัติทักษะในรูปแบบของพยาบาลวิชาชีพและร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพโดยการประยุกต์ใช้ ความรู้ในศาสตร์การพยาบาลและศาสตร์สาขาอ่ืนเพื่อการจัดการดูแลในชุมชนภายใต้การออกแบบความคิดอย่าง เปน็ ระบบและการมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง น�ำ เสนอกระบวนการจดั การดแู ลทอ่ี อกแบบขน้ึ ตามบรบิ ทของ ชุมชนและสถานการณ์สุขภาพสะท้อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์และการพิจารณาอย่างถ้วนถี่ถึงขอบเขตวิชาชีพ คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ การใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล Practicum on the skills of professional nurse working with a multi-disciplinary team by applying nursing science with other disciplines to nursing care management in community regarding design thinking process and stakeholder engagement, presentation of well-designed care management process suitable for community contexts and reflection of empirical evidence with careful consideration under scope of professionalism, morality, ethics and professional ethics, rational drug use 3.1.5.3) หมวดวิชาเลอื กเสรี 2(0-6-2) 6023701 ปฏิบัติการสรา้ งสรรค์งานวจิ ยั และนวตั กรรมจากงานประจ�ำ (Creating Research and Innovation from Routine work Practicum) สร้างงานวิจัยและนวัตกรรมโดยใช้ข้อมูลจากงานประจำ�เป็นฐาน สำ�รวจสถานการณ์ด้านการ พยาบาลทง้ั ในโรงพยาบาลและในชมุ ชน อา้ งองิ หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษแ์ ละงานวจิ ยั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง ด�ำ เนนิ การตามระเบยี บ วธิ ีการวิจัยและจัดทำ�รายงานวจิ ัยเพอื่ การน�ำ เสนอและเผยแพร่ Creating Research and Innovation using data from routine work, exploring nursing situations in hospital and community, referencing evidences and reviewed literature, following all steps of research methodology, and composing research paper for presentation and publication 6023402 ปฏิบตั กิ ารประกอบธรุ กจิ สขุ ภาพ 2(1-2-3) (Health Care Entrepreneurs in Action) หลักการดำ�เนินธุรกิจและการเป็นผู้ประกอบการ การตลาด การบริหารการเงินและการบัญชี การวางแผนและออกแบบธุรกิจสุขภาพอย่างเป็นระบบ กฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการประกอบธุรกิจสุขภาพ และ โอกาสทางธุรกิจสขุ ภาพส�ำ หรับพยาบาลวิชาชีพ The principles of business and entrepreneurs, marketing, financial management and accounting, plan and design business plan for health service, health care law related to health enterprise, and opportunities of a health business for nurse 41
6013201 รกั แทใ้ นช่วงหนึง่ ของชีวติ 2(1-2-3) (True Love in a Life Time) ขน้ั ตอนของความรกั และหลกั การของรกั แท้ มมุ มองความรกั ความผกู พนั และรกั แทใ้ นชว่ งชวี ติ ทกุ ชว่ ง วัยระหว่างคูร่ ัก คูช่ วี ติ บุตรธดิ า และ สมาชิกครอบครวั การใช้หลักการของรกั แท้เพ่ือการดแู ลแบบประคับประคอง และการดูแลระยะท้ายและการสื่อสารกับบุคคล ครอบครัว และผู้ดูแลหลักเก่ียวกับแผนการดูแลโดยคำ�นึงถึง ความเชอ่ื ศาสนา สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย การแสดงความตอ้ งการครง้ั สดุ ทา้ ยของชวี ติ และกฎหมายอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง วเิ คราะห์ เปรียบเทยี บกรณศี ึกษาเพือ่ การอยูแ่ ละตายดีดว้ ยชุมชนกรณุ า Steps of love and principles of true love, aspects of love, attachment and true love in life throughout the life span between lovers, spouses, kids and family members, applying principles of true love on palliative care and end-of-life care including communication with individual, family and caregivers on advance care plan regarding beliefs, religious factors, patient’s right, peaceful death, living will and related laws, comparative analyzing on case study of peaceful death embraced by community engagement 42
แหลง่ ฝกึ ปฏิบัตงิ านทง้ั ในโรงพยาบาลและชุมชน คณะแพทยศาสตร์ วชริ พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมนิ ทราธริ าช โรงพยาบาลตากสนิ โรงพยาบาลเจรญิ กรงุ ประชารักษ์ โรงพยาบาลสริ นิ ธร โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลศรีธญั ญา สถาบนั สขุ ภาพเด็กแห่งชาตมิ หาราชินี ศูนยพ์ ัฒนาสวัสดิการสงั คมผสู้ ูงอายบุ า้ นบางแค โรงพยาบาลบางใหญ่ โรงพยาบาลบางบัวทอง โรงพยาบาลไทรนอ้ ย โรงพยาบาลบางกรวย โรงพยาบาลสามพราน โรงพยาบาลพทุ ธมณฑล ศูนย์บรกิ ารสาธารณสขุ สำ�นกั อนามยั สังกัดกรุงเทพมหานคร 43
สมรรถนะที่คาดหวงั (Expected Competencies) 1. สมรรถนะหลกั (Core Competency) ของหลกั สตู รมหาวิทยาลัยสวนดุสิต 1.1 สมรรถนะเชงิ วชิ าการพยาบาล 1.1.1 ใหก้ ารพยาบาลบุคคลทุกช่วงอายุ ท้งั ในระดบั บุคคล ครอบครวั กลมุ่ คนและชุมชน ครอบคลมุ ภาวะสขุ ภาพดี ภาวะสขุ ภาพเสย่ี งและภาวะเบย่ี งเบนทางสขุ ภาพในระยะเฉยี บพลนั เรอ้ื รงั ตลอดจนระยะสดุ ทา้ ยของชวี ติ 1.1.2 ปฏิบัติการพยาบาลตามขอบเขตวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ครอบคลุมการสร้าง เสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั โรคและการบาดเจบ็ การรกั ษาโรคเบ้อื งต้น การใหก้ ารบำ�บดั ทางการพยาบาล และ การฟืน้ ฟสู ภาพ 1.1.3 บูรณาการความรู้จากศาสตร์เชิงประจักษ์ความรู้เชิงสุนทรียศาสตร์ในการพยาบาลหรือศิลปะ ทางการพยาบาล ความรู้ทเ่ี กดิ จากประสบการณ์เฉพาะตวั และความรเู้ ชิงจริยศาสตร์ เพื่อให้บริการพยาบาล แบบองคร์ วมอย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.2 คุณลกั ษณะที่ดีงามในตวั บุคคล 1.2.1 มศี กั ยภาพการนำ� คดิ วเิ คราะหแ์ ละกล้าตดั สินใจอยา่ งมเี หตุผท�ำ งานร่วมกบั บคุ ลากรในทมี สขุ ภาพ และผเู้ กยี่ วขอ้ งไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 1.2.2 มีทักษะการสื่อสารและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งข้อมูลอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 1.2.3 สนใจ ใฝร่ แู้ ละพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ 1.3 ความสามารถในการดำ�รงตนในสงั คมอย่างมีคณุ ค่า ยึดมั่นในคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์เป็นสมาชิกท่ีดี ขององคก์ รวิชาชีพ เปน็ พลเมืองดีของสังคม และสามารถด�ำ รงตนในสงั คมไดอ้ ย่างมคี ณุ ค่า 2. สมรรถนะ (Competency) ของบณั ฑิตตามมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั ปรญิ ญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2560 2.1 คณุ ธรรม จริยธรรม 2.1.1 มีความซื่อสัตย์ มวี ินัยตรงต่อเวลา 2.1.2 มีความรบั ผดิ ชอบตอ่ ตนเอง และสงั คม 2.1.3 สามารถใชด้ ลุ ยพนิ ิจในการจัดการประเด็นหรือปัญหาทางจรยิ ธรรม 2.1.4 แสดงออกถึงการเคารพสิทธิ คุณคา่ ความแตกตา่ ง และศักดิศ์ รขี องความเปน็ มนษุ ยข์ อง ผอู้ ่นื และตนเอง 2.1.5 แสดงออกถึงการมจี ติ สาธารณะ คำ�นงึ ถงึ ส่วนรวม และสังคม 2.1.6 แสดงออกถึึงการมีีทััศนคติิที่่�ดีีต่่อวิิชาชีีพการพยาบาล ตระหนัักในคุุณค่่าวิิชาชีีพ และสิิทธิิของ พยาบาล 2.2 ความรู้ 2.2.1 มีความรอบรู้และความเข้าใจในสาระสําคัญของศาสตร์ท่ีเป็นพื้นฐานชีวิตทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมถึงศาสตร์อน่ื ที่สง่ เสริมทกั ษะศตวรรษ 21 ตลอดถึงความเปน็ มนษุ ย์ทส่ี มบรู ณ์ 2.2.2 มีความรู้ และความเข้าใจในสาระสําคัญของศาสตร์ทางวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ อย่างกว้างขวางและเป็นระบบ 2.2.3 มคี วามรู้ และความเข้าใจในระบบสุขภาพของประเทศ และปัจจยั ที่มีผลต่อระบบสุขภาพ 2.2.4 มีความรู้ และตระหนกั ในงานวิจัยทางการพยาบาลที่เป็นปัจจุบนั และสามารถนําผล การวิจัยมา ใช้ในการปฏิบตั ทิ างการพยาบาล 44
2.2.5 มคี วามรู้ และความเข้าใจในการบรหิ าร และการจัดการทางการพยาบาล 2.2.6 มีความรู้ และความเขา้ ใจกฎหมายวชิ าชีพ และกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ ง หลกั จรยิ ธรรมจรรยาบรรณ วิชาชีพ และสิทธผิ ู้ปว่ ย 2.2.7 มคี วามรู้ ความเข้าใจ และเลือกใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลไดเ้ หมาะสมกับประเภทการใช้งาน การสือ่ สาร และผ้รู ับสาร 2.3 ทกั ษะทางปญั ญา 2.3.1 สามารถสืบคน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ทห่ี ลากหลาย วเิ คราะห์ และเลือกใช้ขอ้ มูลในการอา้ งอิงเพ่อื พัฒนาความรู้ และแก้ไขปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2.3.2 สามารถคดิ อยา่ งเปน็ ระบบ คดิ สร้างสรรค์คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ เพือ่ หาแนวทางใหม่ ในการแกไ้ ข ปัญหาการปฏิบตั ิงาน และบอกถึงผลกระทบจากการแก้ไขปัญหาได้ 2.3.3 สามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทางการวิจัย และนวัตกรรมในการแกไ้ ขปญั หา และการ ศึกษาปัญหาทางสุขภาพ 2.4 ความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ 2.4.1 มปี ฏิสมั พนั ธอ์ ยา่ งสรา้ งสรรคก์ ับผูร้ บั บรกิ าร ผรู้ ่วมงาน และผทู้ เี่ ก่ียวข้อง 2.4.2 สามารถทํางานเป็นทมี ในบทบาทผูน้ ํา และสมาชิกทีม ในบริบทหรอื สถานการณ์ที่หลากหลาย 2.4.3 สามารถแสดงความคดิ เหน็ ของตนเองอยา่ งเป็นเหตุเป็นผล และเคารพในความคดิ เหน็ ของผ้อู น่ื 2.4.4 แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในการพฒั นาวิชาชีพ และสังคมอย่างตอ่ เน่ือง 2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 2.5.1 สามารถประยกุ ต์ใช้หลักทางคณติ ศาสตร์ และสถิติในการปฏิบัตงิ าน 2.5.2 สามารถสอ่ื สารดว้ ยภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.5.3 สามารถใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ และมีจรยิ ธรรม 2.5.4 สามารถสอ่ื สารเพือ่ ให้ผู้รบั บริการได้รบั บรกิ ารสุขภาพอย่างปลอดภยั 2.6 ทักษะการปฏิบตั ิทางวชิ าชีพ 2.6.1 สามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล และการผดงุ ครรภอ์ ยา่ งเปน็ องคร์ วมเพอ่ื ความปลอดภยั ของผรู้ บั บรกิ าร ภายใตห้ ลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ กฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชพี 2.6.2 สามารถใชก้ ระบวนการพยาบาล ในการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลและการผดงุ ครรภ์ 2.6.3 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล และการผดงุ ครรภด์ ว้ ยความเมตตา กรณุ า และเออ้ื อาทร โดยคาํ นงึ ถงึ สทิ ธผิ ปู้ ว่ ย และความหลากหลายทางวฒั นธรรม 2.6.4 สามารถปฏบิ ตั ทิ กั ษะการพยาบาลไดท้ ง้ั ในสถานการณจ์ าํ ลอง และในสถานการณจ์ รงิ 45
3. ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ทีค่ าดหวงั ตามชน้ั ปีทศี่ กึ ษา (Year-Level Learning Outcomes: YLOs) ปกี ารศึกษา ความคาดหวงั ของผลลพั ธ์การเรยี นรเู้ มอ่ื ส้ินปกี ารศกึ ษา ปกี ารศกึ ษาท่ี 1 มีความรู้ ความเข้าใจสาระส�ำ คญั ของพ้นื ฐานในวิชาทัว่ ไป วิชาทางดา้ นวิทยาศาสตร์ การพยาบาลพ้ืนฐาน ประเมินภาวะสุขภาพ ตรวจร่างกาย ให้การดูแลด้านกิจวัตร ประจำ�วันแก่ผู้รับบริการได้ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทยซ่ึง แสดงออกถงึ บคุ ลกิ ภาพของความเปน็ สวนดสุ ติ มรี ะเบยี บวนิ ยั และสอ่ื สารภาษาไทย และภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้ ปกี ารศึกษาที่ 2 มีความรู้ ความเข้าใจสาระสำ�คัญของพยาธิวิทยา วิทยาการระบาด การใช้ยาสม เหตุผลในการดูแลผู้ป่วย การพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ การเล้ียงลูกด้วยนม แม่ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสืบค้นและการวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุขภาพและ การพยาบาล แสดงออกถึงการปกป้องสิทธิและความเป็นธรรมตามกฎหมาย และ มาตรฐานจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ มีจิตบริการ สามารถส่ือสารภาษาอังกฤษ เชงิ วชิ าชพี พยาบาล และปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลดว้ ยสถานการณจ์ �ำ ลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พยาบาลเสมอื นจรงิ และสามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สงู อายใุ นโรงพยาบาลได้ ปกี ารศึกษาท่ี 3 มีความรู้ ความเข้าใจสาระสำ�คัญของการพยาบาลในชุมชนบนฐานสุขภาวะของ ปกี ารศกึ ษาท่ี 4 ประชากร การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น การพยาบาลจิตเวช การรักษาโรคเบื้องต้น สามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลดว้ ยสถานการณจ์ �ำ ลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเสมอื น จรงิ และปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลมารดา ทารก และการผดงุ ครรภ์ทม่ี ภี าวะเสี่ยง ภาวะ แทรกซ้อน ปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัย รนุ่ ในโรงพยาบาลได้ สามารถประยกุ ตง์ านวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม สามารถพฒั นา นวัตกรรมมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลในชุมชนบนฐานสุขภาวะของประชากรใน ชมุ ชนได้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจสาระส�ำ คญั ของการมภี าวะผนู้ �ำ และการจดั การทางการพยาบาล สามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลดว้ ยสถานการณจ์ �ำ ลองในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเสมอื น จริง และปฏิบัติการพยาบาลรักษาโรคเบื้องต้น ปฏิบัติการพยาบาลสุขภาพจิตและ จติ เวช สามารถเป็นผู้นำ�และจัดการทางการพยาบาลได้ในการปฏิบัติการการจัดการ พยาบาลในโรงพยาบาล และปฏบิ ัติการการจดั การพยาบาลในชุมชนได้ 46
การประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษาซ่ึงเกี่ยวข้องกับนักศึกษาโดยตรง ทั้ง ระดับหลักสูตรและระดับคณะ มีดงั ต่อไปน้ี ความจ�ำเป็นและวตั ถุประสงคข์ องการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ระดับอุดมศึกษา ภารกจิ หลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คอื การผลิตบณั ฑิต การวิจัยการให้บริการ ทางวชิ าการแก่สังคม และการท�ำนบุ �ำรุงศลิ ปะและวฒั นธรรม การด�ำเนินการตามภารกจิ ทง้ั 4 ประการดงั กล่าว มีความส�ำคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะสั้นและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัยภายในและภายนอกหลาย ประการท่ีท�ำให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งจ�ำเป็นท่ีจะต้องเร่งด�ำเนินการ ปัจจยั ดังกลา่ วคือ 1) คณุ ภาพของสถาบนั อดุ มศกึ ษาและบณั ฑติ ภายในประเทศ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะมคี วามแตกตา่ งกนั มากขน้ึ ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี แกส่ งั คมโดยรวมของประเทศในระยะยาว 2) ความทา้ ทายของโลกาภวิ ฒั นต์ อ่ การอดุ มศกึ ษาทง้ั ในประเดน็ การบรกิ ารการศกึ ษาขา้ มพรมแดน และ การเคลื่อนย้ายนักศึกษาและบัณฑิตอันเป็นผลจากการรวมตัวของประเทศในภูมิภาคอาเซียนซ่ึงท้ังสองประเด็น ตอ้ งการการรบั ประกนั ของคุณภาพการศึกษา 3) สถาบนั อดุ มศกึ ษามคี วามจ�ำเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งสรา้ งความมนั่ ใจแกส่ งั คมวา่ สามารถพฒั นาองคค์ วามรแู้ ละ ผลิตบัณฑิตตอบสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้มากขึ้นไม่ว่าจะเป็นการสร้างขีดความสามารถ ในการแขง่ ขันระดบั สากล การพัฒนาภาคการผลิตจรงิ ท้ังอุตสาหกรรมและบริการ การพัฒนาอาชพี คุณภาพชวี ิต ความเปน็ อยูร่ ะดบั ทอ้ งถ่ินและชมุ ชน 4) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะ (public information) ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ สว่ นเสีย ทงั้ นักศึกษา ผูจ้ า้ งงาน ผปู้ กครอง รฐั บาล และประชาชนทวั่ ไป 5) สังคมตอ้ งการระบบอดุ มศึกษาทเ่ี ปิดโอกาสใหผ้ ู้มสี ่วนได้สว่ นเสียมีสว่ นร่วม (participation)มีความ โปรง่ ใส (transparency) และมีความรับผิดชอบซ่งึ ตรวจสอบได้ (accountability) 6) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 ก�ำหนดให้ สถานศึกษาทุกแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในรวมถึงให้มีส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษาท�ำหนา้ ทีป่ ระเมินคณุ ภาพภายนอก โดยการประเมินผลการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา 7) คณะกรรมการการอุดมศึกษาไดป้ ระกาศใชม้ าตรฐานการอุดมศกึ ษา เมอ่ื วันท่ี 7 สิงหาคม 2549 เพื่อเป็นกลไกก�ำกับมาตรฐานระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษา และระดับหน่วยงาน โดยทุก หน่วยงานระดับอดุ มศึกษาจะได้ใชเ้ ป็นกรอบการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา 8) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ีประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื งมาตรฐานสถาบันอดุ มศึกษา เม่อื วนั ที่ 12 พฤศจิกายน 2551 เพ่ือเป็นกลไกส่งเสริมและก�ำกับให้สถาบันอุดมศึกษาจัดการศึกษาให้มีมาตรฐานตาม ประเภทหรอื กลุ่มสถาบนั อุดมศึกษา 4 กลุ่ม 9) กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดม้ ปี ระกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษา แหง่ ชาติ เมอื่ วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2552 และคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาไดป้ ระกาศแนวทางการปฏบิ ตั ติ ามกรอบ มาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 16 กรกฎาคม 2552 เพอ่ื ใหก้ ารจดั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เป็นไปตามมาตรฐานการอุดมศึกษาและเพ่ือการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแต่ละระดับคุณวุฒิและสาขาวิชา ด้วยความจ�ำเป็นดังกล่าวสถาบันอุดมศึกษาร่วมกับต้นสังกัดจึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาระบบและกลไก การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา โดยมวี ัตถปุ ระสงคด์ งั น้ี 1) เพอ่ื ตรวจสอบและประเมนิ การด�ำเนนิ งานของภาควชิ าคณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อุดมศึกษาในภาพรวมตามระบบคุณภาพและกลไกที่สถาบันน้ันๆก�ำหนดขึ้นโดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผล การด�ำเนนิ งานตามตวั บง่ ชใ้ี นทกุ องคป์ ระกอบคณุ ภาพวา่ เปน็ ไปตามเกณฑแ์ ละไดม้ าตรฐาน 2) เพอื่ ใหภ้ าควชิ า คณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทราบสถานภาพของตนเอง อนั จะน�ำไปส่กู ารก�ำหนดแนวทางในการพัฒนาคณุ ภาพไปสเู่ ปา้ หมาย (targets) และเป้าประสงค์ (goals) ทต่ี ้ังไว้ ตามจดุ เน้นของตนเองและเป็นสากล 47
3) เพอ่ื ใหภ้ าควชิ าคณะวชิ าหรอื หนว่ ยงานเทยี บเทา่ และสถาบนั อดุ มศกึ ษาทราบจดุ แขง็ จดุ ทคี่ วรปรบั ปรงุ ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการด�ำเนินงานเพื่อเสริมจุดแข็งและพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุงของสถาบัน อย่างตอ่ เนอ่ื ง 4) เพอื่ ใหข้ อ้ มลู สาธารณะทเี่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ท�ำใหม้ น่ั ใจวา่ สถาบนั อดุ มศกึ ษาสามารถ สรา้ งผลผลติ ทางการศกึ ษาท่ีมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามท่ีก�ำหนด 5) เพื่อให้หน่วยงานต้นสังกัดของสถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีข้อมูลพ้ืนฐานที่จ�ำเป็น ส�ำหรับการส่งเสรมิ สนบั สนุนการจัดการอดุ มศึกษาในแนวทางท่ีเหมาะสม การประกันคณุ ภาพกบั มาตรฐานการศึกษา เพ่ือให้การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามที่ก�ำหนดทั้งมาตรฐาน การศึกษาระดับชาติ มาตรฐานการอุดมศึกษา มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และสัมพันธ์กับมาตรฐานและ หลกั เกณฑท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาอนื่ ๆ รวมถงึ กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ จงึ จ�ำเปน็ ตอ้ งมรี ะบบประกนั คณุ ภาพทพ่ี ฒั นาขนึ้ ตามทก่ี �ำหนดไวใ้ นกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 ทั้งนี้ ความเช่ือมโยงระหว่างมาตรฐานการศึกษา หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง และ การประกันคุณภาพการศกึ ษา สามารถแสดงในแผนภาพท ่ี 1.1 มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 2 มาตรฐานที่ 3 คุณลักษณะของคนไทย แนวทางการจัดการศึกษา แนวการสรา้ งสังคมแห่ง การเรียนรู้/สังคมแห่ง ที่พงึ ประสงคท์ ง้ั ในฐานะ ความรู้ พลเมอื งและพลเมืองโลก มาตรฐานดา้ นการ สร้างและพัฒนาสังคม มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐานดา้ นการ ฐานความรแู้ ละสังคม การอุดมศกึ ษา ดา้ นคณุ ภาพบัณฑติ บริหารจัดการ การอุดมศกึ ษา แห่งการเรียนรู้ หลกั เกณฑ์ก�ำ กบั การประกนั คณุ ภาพภายใน ภายใต้ตัวบ่งช้ตี ามองค์ประกอบคุณภาพ 9 ดา้ น มาตรฐาน รวมถึง ผลผลิตทางการศกึ ษาทไี่ ด้คณุ ภาพ มาตรฐานสถาบันอดุ ม ศึกษาและกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษา แห่งชาติ แผนภาพที่ 1.1 ความเช่อื มโยงระหว่างมาตรฐานการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพ 48
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ในระดับหลักสูตร ทเี่ ก่ยี วข้องกับนกั ศึกษาและบทบาทของนักศกึ ษา การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร มีทั้งหมด 6 องค์ประกอบได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การกำ� กบั มาตรฐาน องคป์ ระกอบท่ี 2 บณั ฑติ องคป์ ระกอบท่ี 3 นกั ศกึ ษา องคป์ ระกอบท่ี 4 อาจารย์ องคป์ ระกอบ ท่ี 5 หลักสูตรการเรียนการสอนการประเมนิ ผ้เู รียน และองคป์ ระกอบที่ 6 สงิ่ สนบั สนนุ การเรนี ร้ ู ในท่ีน้ี จะกลา่ ว ถงึ องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑติ และ องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา ดังนี้ องค์ประกอบที่ 2 บัณฑติ พันธกิจทีส่ �ำคัญทส่ี ุดของสถาบนั อุดมศึกษา คือ การผลติ บณั ฑิต หรือการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ใหผ้ ู้เรยี นมีความรู้ในวิชาการและวิชาชพี มีคณุ ลกั ษณะตามหลักสตู รท่กี �ำหนด บัณฑติ ระดบั อดุ มศึกษาจะตอ้ งเปน็ ผมู้ คี วามรู้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม มคี วามสามารถในการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเอง สามารถประยกุ ตใ์ ชค้ วามรเู้ พอ่ื การ ด�ำรงชวี ติ ในสังคมได้อย่างมคี วามสขุ ท้งั ร่างกายและจติ ใจ มคี วามส�ำนึกและความรับผดิ ชอบในฐานะพลเมอื งและ พลโลก มคี ุณลกั ษณะตามอตั ลกั ษณข์ องสถาบันอุดมศกึ ษา ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาในฐานะทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานในการก�ำกบั และสง่ เสรมิ การด�ำเนนิ งาน ของสถาบันอุดมศึกษา ได้จัดท�ำมาตรฐานต่างๆ ท่ีเกียวข้องกับการผลิตบัณฑิต เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาตเิ พอ่ื มงุ่ เนน้ เปา้ หมายการจดั การศกึ ษาทผ่ี ลการเรยี นรขู้ องนกั ศกึ ษา ซงึ่ เปน็ การประกนั คณุ ภาพบณั ฑติ ทไี่ ดร้ บั คณุ วฒุ แิ ตล่ ะคณุ วฒุ แิ ละสอื่ สารใหส้ งั คม ชมุ ชน รวมทง้ั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตา่ งๆ ไดเ้ ชอ่ื มนั่ ถงึ คณุ ภาพของบณั ฑติ ทผี่ ลติ ออกมาเปน็ ไปตามทกี่ �ำหนดไวใ้ นผลลพั ธก์ ารเรยี นรใู้ นแตล่ ะหลกั สตู ร คุณภาพบัณฑิตในแต่ละหลักสูตรจะสะท้อนไปที่คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ อุดมศึกษาแหง่ ชาติ โดยพจิ ารณาจากผลลพั ธ์การเรยี นรู้ การมีงานท�ำ และคณุ ภาพผลงานวจิ ัยของนกั ศึกษาและ ผ้สู �ำเรจ็ การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษาในปกี ารศกึ ษาน้ัน คณุ ภาพบัณฑติ จะพิจารณาไดจ้ ากตวั บ่งช้ดี งั ตอ่ ไปน้ี ตัวบ่งช้ีท่ี 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ตัวบ่งชที้ ี่ 2.2 การไดง้ านท�ำหรอื ผลงานวจิ ัยของผู้ส�ำเรจ็ การศกึ ษา - รอ้ ยละของบัณฑิตปรญิ ญาตรีที่ไดง้ านท�ำหรือประกอบอาชพี อิสระภายใน 1 ปี - ผลงานของนกั ศกึ ษาและผสู้ �ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโททีไ่ ด้รบั การตพี ิมพห์ รอื เผยแพร่ - ผลงานของนักศึกษาและผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาเอกทไ่ี ด้รับการตีพมิ พห์ รือเผยแพร่ ตวั บ่งช้ีท่ี 2.1 คณุ ภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ ชนิดของตวั บง่ ช้ี ผลลัพธ์ คำ� อธิบายตวั บ่งช ี้ กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ (Thai Qualifications Framework for Higher Education : TQF) ไดม้ กี ารก�ำหนดคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ทพ่ี งึ ประสงคต์ ามทหี่ ลกั สตู ร ก�ำหนดไวใ้ น มคอ.2 ซ่ึงครอบคลุมผลการเรียนรอู้ ยา่ งนอ้ ย 5 ด้าน คอื 1) ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2) ด้านความรู้ 3) ดา้ นทักษะทางปญั ญา 4) ดา้ นทกั ษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบและ 5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวบ่งชี้นี้จะเป็นการประเมินคุณภาพบัณฑิตในมุมมองของ ผ้ใู ช้บณั ฑิต เกณฑ์การประเมนิ ใชค้ ่าเฉลยี่ ของคะแนนประเมินบณั ฑิต (คะแนนเต็ม 5) สูตรการค�ำนวณ ผลรวมของคา่ คะแนนทีไ่ ดร้ บั จากการประเมินบณั ฑติ คะแนนที่ได้ = จ�ำนวนบณั ฑติ ท่ตี อบแบบส�ำรวจท้ังหมด 49
Search