Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.คณะครุศาสตร์2564

1.คณะครุศาสตร์2564

Published by Regis, 2021-08-24 11:06:06

Description: 1.คณะครุศาสตร์2564

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ สิ ต น ดุ สิ ต ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ประวัติความเป็นมาของคณะครุศาสตร์ 12 รายนามผู้บรหิ ารและอาจารย์ หลกั สตู รของคณะครศุ าสตร์ หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ 16 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั (4 ปี) ระดับปริญญาตรี 18 โครงสรา้ งหลักสูตร สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 21 ค�ำ อธบิ ายรายวชิ า สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 35 สาขาวิชาการประถมศกึ ษา (4 ปี) ระดับปริญญาตรี 36 โครงสรา้ งหลกั สตู ร สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา 41 ค�ำ อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าการประถมศึกษา 68 พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 91 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 97 พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 101 บทบาทนักศกึ ษากับการประกนั คุณภาพของคณะครศุ าสตร์ 107 เทคนคิ 15 ขอ้ ของครทู ปี่ ระสบความส�ำ เรจ็ ภาคผนวก 112 หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป 3

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ คณะครศุ าสตร์ Suan Dusit

ประวตั ิความเปน็ มาคณะครศุ าสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ก่อตั้งข้ึนมาเป็นเวลายาวนานกว่า 70 ปี ควบคู่มากับมหาวิทยาลัย ซึ่งเดิมเป็นโรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย “โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดดำ�เนินกิจการ เมื่อ 17 พฤษภาคม 2477 ที่วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ิ โดยใช้หลกั สูตรวสิ ามญั การเรือน รบั นกั เรียนที่จบ ม.4 เข้าเรียนต่อ 4 ปี จะไดร้ บั ประกาศนียบัตรประโยคมธั ยมศกึ ษา (ม.8) วสิ ามญั การเรอื น แผนกการเรอื น หลกั สตู รนผ้ี ลติ นกั เรยี นออกมาเพยี ง 3 รนุ่ คอื รนุ่ ท่ี 1 ปี พ.ศ. 2477 จ�ำ นวน 18 คน รนุ่ ที่ 2 ปี พ.ศ. 2478 มีนักเรียน 45 คน และร่นุ ท่ี 3 ปี พ.ศ. 2479 มนี ักเรียน 15 คน จำ�นวนนักเรยี นท้ังหมด 78 คน แต่จบการศึกษาจรงิ 50 คน ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษาของชาติ หลักสูตรวิสามัญการเรือน เปล่ียนไปรับนักเรียนท่ีจบ ม.3 เข้าเรียนต่ออีก 3 ปี จะได้รับประกาศนียบัตรอาชีวศึกษาชั้นกลางแผนกการเรือน หลักสูตรท่ีสองของโรงเรียน การเรือนจงึ เปน็ หลกั สตู ร 3 ปี เรยี ก “หลกั สตู รมธั ยมการเรือน” หรือ “การเรอื นตอนตน้ ” นกั เรยี นทจี่ บหลักสตู รหนง่ึ และสอง หากต้องการรับราชการ เป็นครูจะต้องเข้ารบั การอบรมอกี 1 ปี เพอื่ รับใบส�ำ คญั การอบรมวิชาชพี เรียกว่า “หลกั สตู รอบรมการเรอื น” เรมิ่ ตน้ เปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื ปี พ.ศ. 2481 จงึ ถอื วา่ เปน็ ปแี รกทโ่ี รงเรยี นการเรอื นผลติ ครู อนั จะน�ำ ไปส่กู ารเปล่ยี นแปลงท่สี �ำ คัญในสมยั ต่อมา พ.ศ. 2480 ได้ย้ายมาอยู่ท่ีวังจันทรเกษม (กระทรวงศึกษาธิการปัจจุบัน) โดยเปลี่ยนช่ือมาเป็น “โรงเรียน การเรอื นวงั จนั ทรเกษม” สงั กดั กองอาชวี ศกึ ษากรมวชิ าการ ในชว่ งนไี้ ดม้ กี ารใชห้ ลกั สตู รการเรอื น ชนั้ สงู เรยี กวา่ “หลกั สตู รการเรอื นตอนปลาย”หลกั สตู รนเี้ รยี น3ปีรบั นกั เรยี นทจี่ บม.6สอบเขา้ เรยี น เม่ือสำ�เร็จจะได้ประกาศนียบัตรอาชีวศึกษาช้ันสูง พ.ศ. 2481 โรงเรียนการเรือนพระนคร สอนหลักสตู รอบรมครูการเรือน พ.ศ. 2483 ยา้ ยจากวงั จนั ทรเกษมมาตง้ั อยบู่ รเิ วณวงั สนุ นั ทา และเปลยี่ นชอ่ื เปน็ “โรงเรยี นการเรอื นพระนคร” ย้ายไปสังกัดกองฝึกหัดครู กรมสามัญศึกษา ในปีน้ีได้ก่อตั้งโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ซึ่งเป็นโรงเรียนแห่งแรกของกระทรวงศึกษาธิการ ในบริเวณโรงเรียนการเรือนพระนคร มผี ู้สนใจนำ�บุตรหลานเข้าเรียนเป็นจ�ำ นวนมาก เปน็ เหตใุ หก้ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบายเปิด โรงเรียนอนบุ าลขน้ึ ในจงั หวดั ต่างๆ เปน็ จำ�นวนมาก พ.ศ. 2486 เปดิ แผนกอบรมครอู นบุ าลข้นึ อกี แขนงหนง่ึ มีความมุ่งหมาย เพ่อื การเตรยี มครสู อนในระดับชน้ั อนุบาลซง่ึ ยงั ขาดแคลนอยู่ พ.ศ. 2493 เริ่มใช้หลักสูตรประโยคการเรือน โดยรับนักเรียนจบชั้นม.6 เข้าเรียน 2 ปี เมื่อสำ�เร็จแล้วได้ ประกาศนียบตั รประโยคการเรือน ผู้ทีจ่ บหลกั สูตรหากมีความประสงค์จะเป็นครู ก็เรียนเพ่มิ เติมอกี 1 ปี โดยแยกสาขาเฉพาะออกเป็นหลักสูตรประโยคครอู นบุ าลและประโยคครกู ารเรือน พ.ศ. 2497 เริ่มใช้หลักสูตรประโยคครูมัธยมการเรือน ซึ่งเป็นหลักสูตรเรียน 2 ปี (หลักสูตรน้ีใช้มาจนถึง พ.ศ. 2506 จึงได้ยกเลกิ ไป เมื่อเปน็ หลักสูตรการฝึกหดั ครู) พ.ศ. 2498 ย้ายสงั กดั จากกองฝกึ หดั ครู กรมสามญั ศกึ ษามาสังกัดกองโรงเรยี นฝึกหัดครกู รมการฝกึ หดั ครู พ.ศ. 2499 มกี ารเปดิ สอนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษา (ป.กศ.) สาขาคหกรรมศาสตรเ์ ปน็ ครงั้ แรก และเป็นแหง่ แรกในประเทศไทย พ.ศ. 2501 ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.คหกรรมศาสตร์) และเปิดหลักสูตร ประกาศนียบัตรวชิ าการศึกษาชนั้ สงู (ป.กศ.สงู ) สาขาคหกรรมศาสตรแ์ ละ ป.กศ.ชั้นสงู สาขา การอนุบาลศกึ ษา พ.ศ. 2504 กรมการฝกึ หดั ครู ประกาศยกฐานะโรงเรยี นการเรอื นพระนคร เปน็ วทิ ยาลยั ครู ชอื่ วา่ “วทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ ” และมกี ารต้ังหมวดวชิ าการศกึ ษาข้ึน พ.ศ. 2517 เปิดสอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) สาขาประถมศึกษา วิชาเอกสงั คมศึกษาเป็นครัง้ แรก พ.ศ. 2518 เปิดหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขามัธยมศึกษาศาสตร์เป็นครั้งแรก และเปล่ียนจากหมวด วิชาการศึกษาเป็นคณะวิชาครศุ าสตร์ 5

พ.ศ. 2519 พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครมู ผี ลบงั คบั ใช้ เปดิ หลกั สตู ร ป.กศ. (ทวภิ าค) และหลกั สตู รปรญิ ญาของ สภาการฝกึ หดั ครู โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศกึ ษา มกี ารเปลยี่ นแปลงจากต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการ เปน็ อธิการวทิ ยาลยั ส่วนราชการอืน่ ๆ เปลีย่ นจากหมวดวชิ าเป็นคณะวิชา คณะวชิ าครศุ าสตร์ ประกอบดว้ ยภาค วชิ าตา่ งๆ รวม 7 ภาควชิ า ไดแ้ ก่ ภาควชิ าพนื้ ฐานการศกึ ษา ภาควชิ าจติ วทิ ยา และการแนะแนว ภาควชิ าทดสอบและวจิ ัยการศกึ ษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน ภาควิชา เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม ทางการศกึ ษา ภาควชิ าการอนบุ าลศกึ ษา และภาควชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศไปเป็น “โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ” และเปิด หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอกการอนบุ าลศึกษาเป็นครัง้ แรก พ.ศ. 2521 เปดิ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ วชิ าเอกวทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป และเปดิ โครงการอบรมครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาประจ�ำ การ (อคป.) ตามโปรแกรมพฒั นาสมรรถภาพครรู วม 7 โปรแกรม คอื ภาษาไทย สังคมศึกษาศิลปศึกษา วิทยาศาสตร์ท่ัวไป คหกรรมศาสตร์ การอนุบาลศึกษา และการศกึ ษาพิเศษเป็นรุ่นแรกและเปิดสอนเพม่ิ ในปีการศึกษาต่อไป พ.ศ. 2522 ยกเลิกหลักสูตร ป.กศ. (ทวิภาค) เปิดสอนหลักสูตร ป.กศ. ชั้นสูง เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งวิชาเอก อุตสาหกรรมศิลปเ์ ปดิ สอนหลักสูตรปริญญา ครศุ าสตร์ 2 ปี หลังเพ่ิมอีก 5 วชิ าเอก รวมเปน็ 9 วชิ าเอก คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ศลิ ปศกึ ษา วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป สงั คมศกึ ษา การประถมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา และการศกึ ษาพเิ ศษ เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 2 รวม 9 โปรแกรม คือ ภาษาอังกฤษและคณติ ศาสตร์ พ.ศ. 2523 เปดิ สอนหลกั สตู รปรญิ ญาครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) 4 ปี รวม 9 วชิ าเอก คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การประถมศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว พ.ศ. 2524 เปดิ สอน อคป. รนุ่ ท่ี 4 รวม 10 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ คณติ ศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การประถมศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว พ.ศ. 2525 เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 5 รวม 10 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ คณติ ศาสตร์ การอนุบาลศกึ ษา การประถมศกึ ษา การบรหิ ารการศึกษา และการแนะแนว พ.ศ. 2526 เปิดสอน ป.กศ. ซึ่งสำ�นกั งานการประถมศกึ ษาแห่งชาติ (สปช) สง่ มาเรียนเปิดสอนระดับ ป.กศ. ชน้ั สงู เทคนคิ อาชพี (ภาคสมทบ) รวม 3 วชิ าเอก คอื วารสารและการประชาสมั พนั ธ ์ การอาหาร และ ศลิ ปะประดษิ ฐ์ เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 6 รวม 9 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา การประถมศกึ ษา ศลิ ปศึกษา การบรหิ ารการศึกษา และ การแนะแนว พ.ศ. 2527 เปดิ สอนอคป.รนุ่ ท่ี7ระดบั ปรญิ ญาตร ี ครศุ าสตร ์ รวม7โปรแกรมคอื คหกรรมศาสตร ์ สงั คมศกึ ษา การอนบุ าลศกึ ษา การประถมศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว ระดบั ป.กศ. ชนั้ สงู รวม 5 โปรแกรม คอื ภาษาองั กฤษ สขุ ศกึ ษา สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ และการอนบุ าล ศึกษา พ.ศ. 2528 หลังจากที่ได้แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูวิทยาลัยจึงเร่ิม เปิดสอนสาขาวิชา อนื่ เปน็ ครงั้ แรก และเปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาชายเปน็ สหศกึ ษาเปน็ ครง้ั แรกดว้ ย เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 8 เปน็ รนุ่ สดุ ทา้ ยระดบั ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตร์ รวม 5 โปรแกรม คอื สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษาและการแนะแนวระดบั ป.กศ.ชน้ั สงู รวม5โปรแกรมคอื สงั คม ศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา และนาฏศิลป์ พ.ศ. 2529 ส�ำ หรับสาขาวิชาการศกึ ษา คงเปดิ สอนตามปกติ เปดิ สอน กศ.บป. (การศึกษาสำ�หรบั บคุ ลากร ประจ�ำ การ) รนุ่ แรกโดยเปดิ สอนทงั้ สายวชิ าชพี ครแู ละสายวชิ าอน่ื ระดบั อนปุ รญิ ญาศลิ ปศาสตร์ 2 วิชาเอก คอื วารสารและการประชาสัมพนั ธ์และการจัดการท่วั ไประดบั ป.กศ. ชัน้ สูง 5 วชิ า เอก คอื สงั คมศกึ ษาคหกรรมศาสตร ก์ ารอนบุ าลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา ระดบั ค.บ. 2 ปี หลงั 9 วิชาเอกคอื สังคมศกึ ษา ศิลปศกึ ษา เกษตรศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การแนะแนว พลศึกษาการประถมศกึ ษา และการบรหิ ารการศกึ ษา พ.ศ. 2531 ส�ำ หรบั สายวชิ าชพี ครคู งสอนตามปกตเิ ปดิ สอน กศ.บป. รนุ่ ท่ี 3 ระดบั ค.บ. 2 ปหี ลงั มี 7 วชิ าเอก คอื การศึกษาปฐมวัย การประถมศึกษา ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์ สุขศึกษา และพลศกึ ษาระดบั ค.บ. 2 ป ี ห ลงั มี7วชิ าเอกคอื การศกึ ษาปฐมวยั ก ารบรหิ ารการศกึ ษาสงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ จติ วิทยาและการแนะแนวสุขศกึ ษา และพลศกึ ษา 6

พ.ศ. 2533 รบั นักศึกษาโครงการครุ ุทายาท ระดับ ค.บ. 4 ปี วิชาเอกการศึกษาปฐมวยั เป็นรุน่ แรก พ.ศ. 2538 คณะวชิ าครศุ าสตรเ์ ปลย่ี นชอื่ เปน็ คณะครศุ าสตร์ ตามพระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 และ เปดิ สอนหลักสูตรปริญญา ครุศาสตรบณั ฑิต (ค.บ.) 4 ปี โปรแกรมวชิ าคอมพิวเตอร์ศึกษา เป็นปแี รก พ.ศ. 2539 รบั นกั ศกึ ษาโครงการคุรุทายาทเปน็ รุน่ สดุ ทา้ ย พ.ศ. 2540 เรมิ่ ทดลองการบริหารโดยเปล่ยี นจากภาควิชาต่าง ๆ เป็นโปรแกรมวิชา พ.ศ. 2542 เปดิ สอนหลกั สูตรวชิ าชพี ครู (24 หน่วยกิต) พ.ศ. 2543 เปิดสอนหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ครู (27 หนว่ ยกติ ) พ.ศ. 2544 เปิดสอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) 4 โปรแกรมวชิ า ไดแ้ ก่ 1. โปรแกรมวชิ าการศึกษาพิเศษ 2. โปรแกรมวิชาการศกึ ษาปฐมวัย 3. โปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตร์ทว่ั ไป 4. โปรแกรมวชิ าคณิตศาสตร์ ตามนโยบายของสถาบนั ฯ พ.ศ. 2545 เปดิ สอนหลักสูตรครศุ าสตรบัณฑิต 2 โปรแกรมวชิ า ไดแ้ ก ่ 1. โปรแกรมวิชาการศกึ ษาพเิ ศษ 2. โปรแกรมวชิ าการศึกษาปฐมวยั ตามนโยบายของสถาบนั ฯ พ.ศ. 2546 รว่ มกบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ การบรหิ ารการศกึ ษาและปรญิ ญาโท สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา พ.ศ. 2547 เปลย่ี นสถานะภาพจากสถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต เป็นมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสวนดุสิต (ตาม พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547) รว่ มมอื กบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ และปรญิ ญาโท สาขาการศกึ ษาพเิ ศษ และคณะครศุ าสตร ์ ยงั คงเปดิ สอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ 2 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ และวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั การผลติ บณั ฑติ ในสว่ นทคี่ ณะมคี วามพรอ้ มมากทส่ี ดุ ใน 2 หลกั สตู รดงั กลา่ ว เพราะมโี รงเรยี นสาธติ อนุบาลละอออุทิศเป็นห้องปฏิบัติการให้กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและศูนย์การศึกษา พเิ ศษเปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหก้ บั หลกั สตู รการศกึ ษาพเิ ศษ หลกั สตู รการจดั การศกึ ษาไดเ้ ปลยี่ นแปลง จากเดมิ โดยบณั ฑติ ในสาขาการศกึ ษาจะใชร้ ะยะเวลาศกึ ษาตลอดหลกั สตู ร เปน็ เวลา 5 ปี จงึ นบั เป็นการเปล่ยี นแปลงคร้งั สำ�คญั ในดา้ นหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพ่อื ให ้ สอดคล้องรบั กบั บริบทของสังคม พ.ศ. 2548 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) 2 โปรแกรมวิชา ได้แก่ โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั และโปรแกรมวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ท่ีมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตในส่วนท่ีคณะมีความพร้อมมากท่ีสุด เพราะมีโรงเรียนสาธิตอนุบาล ละอออุทิศเปน็ หอ้ งปฏบิ ตั ิการให้กับโปรแกรมวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย และมีศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหก้ บั โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ และเปดิ ใหบ้ รกิ ารวชิ าการโครงการพฒั นา ครปู ระจ�ำ การใหไ้ ดร้ บั วฒุ ปิ รญิ ญาตรที างการศกึ ษา และรว่ มมอื กบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั ด�ำ เนนิ โครงการ พัฒนาผบู้ รหิ ารประจ�ำ การใหไ้ ดร้ บั วฒุ ปิ ระกาศนยี บตั รบัณฑิตบรหิ ารการศกึ ษา พ.ศ. 2549 คณะครุศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมวัฒนธรรมไทย และจรรยาบรรณวิชาชีพสำ�หรับ ครูชาวต่างประเทศเปน็ หลกั สตู ร การฝกึ อบรมระยะสนั้ จำ�นวน 20 ชว่ั โมง การพัฒนาหลกั สูตร ดังกล่าวเป็นผลการจากบังคับใชพ้ ระราชบัญญัติสภาครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ซึ่งกำ�หนดให้วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพควบคุม ข้อกำ�หนดดังกล่าวครอบคลุมถึงกลุ่มครู ชาวต่างประเทศ ที่ทำ�หน้าท่ีเป็นผู้สอนอยู่ในสถานศึกษาในประเทศไทย ในระดับท่ีต่ำ�กว่า ระดับอุดมศึกษา ครูชาวต่างประเทศท่ีทำ�การสอนในประเทศไทยจำ�เป็นต้องได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูจึงจะทำ�หน้าที่เป็นผู้สอนได้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ไดพ้ ฒั นาหลกั สตู รการฝกึ อบรมวฒั นธรรมไทยและจรรยาบรรณวชิ าชพี ส�ำ หรบั ครชู าวตา่ งประเทศ พ.ศ. 2550 วนั ท่ี 16 มนี าคม พ.ศ. 2550 ครุ สุ ภาอนมุ ตั หิ ลกั สตู รการฝกึ อบรมวฒั นธรรมไทยและจรรยาบรรณ วิชาชีพสำ�หรับครูชาวต่างประเทศ และคณะครุศาสตร์ได้ดำ�เนินการโครงการอบรมหลักสูตร วัฒนธรรมไทยและจรรยาบรรณวชิ าชพี ส�ำ หรับครชู าวตา่ งประเทศ (20 ชว่ั โมง) 7

พ.ศ. 2551 เปดิ สอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ การศกึ ษาปฐมวยั (หลกั สตู ร5ป)ี ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ฯ พฒั นาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครใู หส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรฯู้ และพฒั นา หลกั สตู รโครงการพฒั นาครปู ระจ�ำ การใหไ้ ดร้ บั วฒุ ปิ รญิ ญาตรที างการศกึ ษาเปน็ หลกั สตู รการศกึ ษา ปฐมวัย 5 ปี ตามอตั ลักษณข์ องมหาวิทยาลัยราชภฏั สวนดสุ ติ พ.ศ. 2552 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู รโครงการ พัฒนาครูประจำ�การให้ได้รับวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา (การศึกษาปฐมวัย) หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู และหลักสูตรโครงการพัฒนาผู้บริหารประจำ�การให้ได้รับวุฒิ ประกาศนียบัตรบณั ฑิต (สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา) พ.ศ. 2553 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ การศกึ ษาปฐมวยั และหลกั สตู รตา่ งๆ เชน่ เดยี วกับปกี ารศกึ ษา 2552 พ.ศ. 2554 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (หลกั สตู ร 5 ป)ี และหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั (หลักสตู ร 5 ปี) หลักสตู รปรบั ปรุ ง พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต การศกึ ษาปฐมวยั การประถมศกึ ษาและ หลกั สตู รต่างๆ ในระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปลี่ยนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ตามพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ.2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันท่ี 17 กรกฎาคม 2558 มีผลบังคับใชต้ งั แต่วนั ที่ 18 กรกฎาคม 2558 จึง โดยใชช้ ่อื วา่ “มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ิต” พ.ศ. 2560 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (หลกั สตู รหา้ ป)ี และสาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั (หลักสูตรหา้ ปี) หลักสูตรปรับปรงุ พุทธศกั ราช 2560 พ.ศ. 2562 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา (หลักสตู ร 4 ปี) และสาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย (หลักสตู ร 4 ปี) หลักสูตรปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2562 8

โรงเรยี นสาธติ อนบุ าลละอออทุ ิศ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ประวตั ิของโรงเรยี น โรงเรยี นสาธติ อนบุ าลละอออทุ ศิ เดมิ ชอื่ โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ โรงเรยี นอนบุ าลของรฐั แหง่ แรก สร้างขึน้ ด้วย เงินบรจิ าคของ น.ส. ละออ หลิมเซ่งไถ่ ไดเ้ ปดิ ทำ�การ เม่อื วันท่ี 2 กนั ยายน พ.ศ. 2483 แรกเริ่มท�ำ การรับ นกั เรียนอายุ 4 - 5 ปี จ�ำ นวน 30 คน เพ่อื ทำ�การทดลองสอน ภายหลังปรากฏว่า ได้มีผู้สนใจนำ�บุตรหลานมาศึกษาในระดับอนุบาลเป็นจำ�นวนมาก โรงเรียนสาธิตอนุบาล ละอออทุ ศิ จงึ ไดข้ ยายชน้ั เรยี นและอาคารเรยี นเพม่ิ เตมิ ขนึ้ จากอาคารเรยี นชนั้ เดยี ว “ละอออทุ ศิ ” เปน็ ตกึ “วจิ ติ รอาคาร” “อนบุ าลวทิ ยา” และ “ศาลาดรณุ ” เมอ่ื มกี ารเปลยี่ นแปลงการบรหิ ารงานของวทิ ยาลยั ครตู ามระบบของสภาการฝกึ หดั ครู โรงเรียนอนบุ าลละอออุทศิ จงึ ได้ช่ือวา่ “โรงเรยี นสาธติ อนบุ าลละอออุทิศ” เมอ่ื จ�ำ นวนนกั เรยี นเพมิ่ มากขน้ึ อาคารเรยี นจงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ ใหมโ่ ดยอาคารไมข้ อง “อนบุ าลวทิ ยา” และ “ศาลาดรณุ ” ใหเ้ ปน็ ตกึ ใหม่ โดยตกึ อนบุ าลวทิ ยา สรา้ งเปน็ ตกึ 3 ชน้ั ชนั้ ลา่ งเปน็ หอ้ งเรยี นนกั เรยี นอนบุ าล ชนั้ บนใชเ้ ปน็ สถานทเ่ี รยี น ของนกั เรยี นฝกึ หดั ครแู ละปี พ.ศ. 2528 ไดร้ อ้ื “ศาลาดรณุ ” ซงึ่ เปน็ อาคารไมช้ นั้ เดยี วออกและแทนทดี่ ว้ ย “อาคาร 50 ปี ละอออทุ ศิ ” สรา้ งในแนวเดยี วกบั อนบุ าลวทิ ยา โดยใชง้ บประมาณแผน่ ดนิ สว่ นหนง่ึ อกี สว่ นหนง่ึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก ผูป้ กครอง อาคารนแ้ี ลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2533 ในปี พ.ศ. 2530 ไดส้ รา้ งอาคารเรยี นลกั ษณะเปน็ บา้ น จ�ำ นวน 2 หลงั บรเิ วณมมุ สนามหญา้ ของโรงเรยี นดา้ นตดิ สระน�ำ้ วทิ ยาลัย เพอื่ ทำ�การทดลอง และวจิ ยั เก่ียวกับการจดั สภาพแวดลอ้ มท่กี ระตุ้นการเรียนรู้ให้กับเด็กอายุ 2 - 3 ปี ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ พฒั นาการของเดก็ และเพอื่ การทดลองหารปู แบบการจดั บา้ นสาธติ ในเชงิ ธรุ กจิ ซงึ่ นอกจากผลการวจิ ยั จะ ช่วยสนับสนุนใหเ้ ปน็ รูปแบบทางการศึกษาปฐมวยั โดยตรงแล้ว ในทางอ้อมยงั เปน็ การใหก้ ารศกึ ษาแกเ่ ด็กอายุ 2 - 3 ปี และเปน็ ทสี่ าธติ การจดั การศกึ ษาใหแ้ กเ่ ดก็ วยั ดงั กลา่ วใหแ้ กผ่ ทู้ สี่ นใจไดม้ าศกึ ษาวธิ กี ารจดั ด�ำ เนนิ งานและฝกึ งานอกี ดว้ ย และในปี พ.ศ. 2540 ไดเ้ รม่ิ โครงการบา้ นหนนู อ้ ยขนึ้ โดยรบั เดก็ ตงั้ แตอ่ ายุ 1.6 - 1.11 ปี เพอื่ หารปู แบบการจดั สง่ิ แวดลอ้ ม ท่สี ่งเสริมพัฒนาการทางภาษาแกเ่ ด็ก ในปี พ.ศ. 2540 โรงเรยี นไดท้ �ำ การสรา้ งอาคาร 4 ชนั้ เพม่ิ ขน้ึ อกี 1 หลงั คอื “อาคารอเนกประสงค”์ เพอื่ ใชส้ �ำ หรบั เปน็ หอ้ งอาหาร และห้องกจิ กรรมตา่ งๆ ของนกั เรียน ในปี พ.ศ. 2545 โรงเรยี นไดท้ �ำ การรอ้ื อาคาร “ละอออทุ ศิ ” จากอาคารเรยี นชนั้ เดยี วสรา้ งเปน็ อาคารเรยี น 4 ชน้ั มี ช้ันใต้ดินสำ�หรับจอดรถ อาคาร “ละอออุทิศ” ดำ�เนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2547 อาคารดังกล่าวใช้สำ�หรับเป็น หอ้ งเรยี น ของนักเรยี นระดับอนบุ าล ประถมศกึ ษาและสำ�นกั งานธุรการ ลกั ษณะการด�ำ เนนิ การด้านปฐมวยั 1) เปน็ สถาบันใหก้ ารศึกษาอบรมแก่เด็กปฐมวัย อายุระหวา่ ง 1.6 - 5 ปี โดยแบ่งเป็นระดับขั้นตา่ งๆ ดงั นี้ - โครงการบา้ นหนนู ้อย รบั เด็กอายุ 1.6 - 1.11 ปี - โครงการบา้ นสาธิต รบั เดก็ อายุ 2 - 2.11 ปี - ระดับอนุบาลรับเด็กอายุ 3 - 5.11 ปี โรงเรยี นไดย้ ดึ แนวปรชั ญาวถิ ดี �ำ เนนิ การเรยี นการสอน ตามวถิ ที างแหง่ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทสี่ บื เนอื่ งมาตงั้ แต่ เร่ิมก่อต้ังโรงเรียน โดยมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมการพัฒนาการเด็ก “หลักสูตรของโรงเรียนมีลักษณะ ยืดหยุ่นได้” โดยคำ�นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นสอดคล้องกับชีวิตประจำ�วัน และสิ่งแวดล้อมรอบตัวเดก็ 2) เปน็ แบบอยา่ งของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั แกโ่ รงเรยี นและสถาบนั พฒั นาเดก็ ในทอ้ งถนิ่ ซง่ึ ตง้ั แตแ่ รกเรมิ่ กอ่ ตงั้ “โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ ” เปน็ สถานศกึ ษาระดบั อนบุ าลทเี่ ปน็ แบบอยา่ งใหม้ กี ารเปดิ โรงเรยี นในจงั หวดั ตา่ งๆ และจาก นน้ั มาถงึ ปจั จบุ นั โรงเรยี นยงั คงท�ำ หนา้ ทดี่ งั กลา่ วมาโดยตลอด ซง่ึ ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษาจะมผี มู้ าขอเยยี่ มชม ศกึ ษาดงู าน ฝกึ งานและนำ�แนวทางการจัดประสบการณ์ แมก้ ระทงั่ นวัตกรรมตา่ งๆ ของโรงเรยี นไปทดลองใช้ 9

โรงเรยี นสาธิตละอออทุ ิศ (ฝ่ายประถมศกึ ษา) โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยประถมศกึ ษา) เปน็ โรงเรยี นสาธติ ในสงั กดั คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ไดเ้ รม่ิ ด�ำ เนนิ การตงั้ แตเ่ ดอื นเมษายน พ.ศ. 2545 โดยเปดิ ตอ่ เนอื่ งจากโรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยอนบุ าล) ทง้ั นเี้ ปน็ ทางเลอื กส�ำ หรบั ผปู้ กครองทปี่ รารถนาจะเหน็ บตุ รหลานไดเ้ รยี นรใู้ นระบบโรงเรยี นทเี่ ออื้ ตอ่ การพฒั นาขดี ความสามารถ ของผเู้ รยี น อย่างเต็มศักยภาพ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดการเรียนการสอน ดังน้ี 1. เพื่อใหห้ ลักสตู รการเรียนการสอนในระดับช้ันอนุบาลและชน้ั ประถมศกึ ษามีความเชอ่ื มโยงและต่อเนอื่ งกัน 2. เพ่อื พัฒนาความรแู้ ละทกั ษะทงั้ 4 ด้านของเดก็ อนั ไดแ้ ก่ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสติปัญญา พร้อม ทง้ั สง่ เสริมให้เด็กเรียนรถู้ งึ วิธีการศึกษาหาความรดู้ ว้ ยตัวเองอันจะเปน็ รากฐานสำ�คญั ส�ำ หรบั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 3. เพื่อส่งเสริมความเช่ือมั่นในตนเองของเด็ก พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการแก้ปัญหา รวมถึงทัศนคติ ในทางบวกตอ่ การเรยี น 4. เพอื่ ตอบสนองความสามารถและความสนใจท่ีแตกตา่ งกันของเด็ก โดยเดก็ จะได้รบั การส่งเสริมให้เรยี นรู้ใน อัตราการเรยี นรู้ของตนเองในทักษะด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน การเขียน การสะกด คณติ ศาสตร์ ภาษาองั กฤษ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศลิ ปะ และดนตรี เป็นต้น 5. เพอื่ เปน็ แหลง่ ทดลอง คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นาความรทู้ างดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั และประถมศกึ ษา รวมตลอดถงึ เปดิ โอกาสใหค้ ณาจารยใ์ นสถาบนั ไดม้ าทดลองวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาความรู้ และเปน็ แหลง่ ใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนนุ การวจิ ยั เพือ่ พัฒนาความรู้ และเป็นแหล่งใหค้ วามร่วมมือ สนบั สนุนการวจิ ัยของหน่วยงานอน่ื ที่เกีย่ วข้อง ในปีพ.ศ. 2550 โรงเรยี นสาธิตอนุบาลละอออทุ ิศ และโรงเรียนประถมสาธิตละอออทุ ศิ ได้รวมกนั โดยใชช้ อ่ื วา่ โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยอนบุ าล) และ (ฝา่ ยประถม) โดยมผี บู้ รหิ ารคนเดยี วกนั เปน็ ต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการและมฐี านะ เทยี บเทา่ คณะ 10

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผบู้ ริหารและอาจารย์ Suan Dusit

Faculty of Education ครายณนามะผคูบ้ รริหศุ ารแาลสะอตาจารรย์ ์ ผูบ้ ริหารคณะ อคศคศศษ..ามด..จบ..ม((า..กกร((าาภปยรราฐศ์ศษมดึกกึ าวรษษอยั .าาังจศปนกึกฬุ ฐฤอษนิมษกาวรฑธ)ัยะุริพบ)กบจิา)โรนงพเรคยี นณุ ) อาจารย์ ดร.เอือ้ อารี จนั ทร คคผศศศษณ.ศม..บ.บด.ด(..ดเร(ท(คี สก.คณวอ่ืาโีณรสะนบคาโฐัรรลรหิมศุยสาวาีทกรลสากชตุลงานกรหร์า)ศอรึกศมษึกาษพาเิ)ศษ) กคา.ดร.ศ(ึกเทษคาโ)นโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร อาจารยอ์ ัษฎา พลอยโสภณ คบ.ธบ.ม. (.ค(กอามรพตวิ ลเาตดอ)ร์ศกึ ษาและมัธยมวิทย์) คศรอศ.บง.ม.ค(.ณด(จนบติตดวรฝี ทิีศ่ายึกยาษบการาิห)ราศรึกษาและการแนะแนว) ผศ.นิศารตั น์ อิสระมโนรส ผคครอ..ศมบง...คน((ณกกิศาาบารรดศศรฝี ึกกึัตา่ ษษนยาาว์ ปปชิอฐฐาิสกมมราววะรยััยม)) โนรส คค..บม.. ((กกาารรศศึกกึ ษษาาปปฐฐมมววยััย)) ศตคอษศ่าาง..จดมปา..ร(ร(ะกกยเาทา์รรศดศส)รกึอ.ษนปาภุณปาฐษยมาววอีรัยัง์)กฤจษิโรในภฐาาสนวะรภพาษงศา ์ ศปสษารขะ.บาธว.าชิ(นภาหากลษากัราสศอตูกึงั กษรศฤาึกษปษ)ฐมาศวาัยสตรบัณฑิต อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร ผกคศ.ศม.ด..ด(.กร(หา.กรลศลัักกึ สยษตู าารนแชอลนกะะรกะภาบรยั สบอ)น) คปสา.รบขะ.าธ(วาปชินราหะกถลามกัรสปศตูึกระษรถศามกึ) ษศกึาศษาาสตรบัณฑิต ผกศศ.ด.ด. ร(ก.สารุทบธรพิหิ ารรรกณารศธกึ ีรษพาง) ศ์ คคปอ..ราบมะจ..ธ(า(ากครนาอยกรม์อบลพรมุ่ลวิกิ วงเาตชิกราอกรชราณพีศ์ รคกึศ์ ษรเกึ กู าษดิ)าเ)นตร กคศ.บ.ม. (.ก(การาอรศนึกบุ ษาลาปศึกฐมษวายั) ) คคหกผจ.ัว.ศมบ.หด...ดน.((ก้า(รกกาศ.าเราูนกรศรยศจกึยก์กึดัษูรากษาราวพาศรงพเิกึ กศศษิเาษศก์รา)ษศพอ้ กึ)ิเมศษษา) ผศ.ดร.กมลา ลำ�พนู ปกกคศา.รบร..ดม.จ.(.ดั ก((กวกาิทารารอยรเปนารกียฐุบามนารลศรท)ู้ศกึ (ากึกษงาษากร)าาศ)รึกศษกึ าษปาฐแมลวะัย) อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร อMค.าบ.Eจ.dา(.กร(าGยรi์ศfดtกึeรษd.านSปงtฐuคมdรวieายั sญ)) สุขเวชชวรกิจ ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ อศคษ.าบ.จ.มา(.คร(อปยมฐ์นพมงววิ เัยเยตศอาึกวรษ์)์ าน)ุชนารถ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย ผกกกศศศศ...บมด.ด... ร(((กเภ.ทนาาครษิฤศโานมึกไโทษลลยายสป)กี ฐุวามรรศวรัยึกณ)ษศา)รี ผศ.พรใจ สารยศ ศคอตศษษศา่าง...จดมบปา...ร(ร((ะกกภยเาทาา์รรษศดศส)ารกึออ.ษนปังากภณุ ปฤาฐษษยมา)ววอรียั ัง์)กฤจษิโรในภฐาาสนวะรภพาษงศา ์ คกศ.บ.ม. (.ก(การาศรศกึ กึษษาปาปฐมฐมวยัว)ยั ) อาจารย์ ดร.พรชุลี ลังกา ผศ.พรรกั อินทามระ คP.hม.D. (.ก(าEรaศrlึกyษCาhปilฐdมhวoยั o)d Education) กคศ.บ.ม. (.ก(การาศรศึกกึษษาพาปิเศฐษม)วยั ) ค.บ. (การศกึ ษาปฐมวัย) ผศ.ศศพิ ันธุ์ เปย๊ี นเปี่ยมสิน ค.บ. (การอนบุ าลศกึ ษา) อคค..ามบจ.. (า(กกราายรร์มศศกึกึ ุทษษิตาาาปปฐฐทมมาววคัยยั ))�ำ แสน 12

อาจารย์สุภาพร มูฮ�ำ หมัด อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตร อปการาร.จดจ.าัด(รกวยิทาร์ยดเารรกีย.านเรอรทู้ มแาขงมนกกิ างารวศชิ วาึกชษกริาาแะรลวศะึกนิ ษทา์ และ กคศ.บ.ม. (.ก(การาศรศกึ ึกษษาปาปฐมฐมวยัว)ยั ) ศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต กกศศาศร..มบจ..ดั ((กเนทาเิ รคทเโศรนยีศโนาลสรยเู้ตีกพราอื่์)รกศาึกรษพาัฒ) นา) อาจารย์พรทพิ ย์ พลู ป้ัน สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั คศศ.บ.ม. (.ก(ปารฐศมกึ วษยั าศปกึ ฐษมาว)ยั ) วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตร อาจารยว์ ิมลรตั น์ ศาสตร์สุภาพ ศกึ ษาศาสตรบัณฑิต กคศ.ม.บ. (.ก(าดรรุ ศิยกึางษคาส์ปาฐกมลว)ัย) กอศา.จดา. (รกยา์รดศรึก.ษสาุธปาฐกมรวยั ว) สโุ ภคิน สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย อาจารย์วนั เพ็ญ บุตรพรม คกกศศ.บ..บม. (..ก((กสาราังศครศึกมกึษศษาึกพาษพิเาศิเ)ศษษ) ) ศนู ยก์ ารศึกษานอกท่ตี ้งั นครนายก บศศช..บม.. ((บปญัฐมชวี)ยั ศกึ ษา) ศศอษษา..จมบา.. ร((ปปยฐฐเ์ มมกววษยััยรศศกึกึ ขษษวาาัญ)) มา อาจารย์ ดร.สิรธัมม์ อุดมธรรมานภุ าพ คคอ..าบมจ.. (า(กกราายรร์ชศศึกกึนษษมาา์ธปปดิฐฐมมาววยัยยั ))าแก้ว อMค.าบ.Eจ.dา(.กร(าEยรa์รศrวึกlyษี ศCาิรปhiิปฐldมรhวิชoัยoย)dา)กร คMP.hบ.A.D. . (.(กE(าEaรarอlrylนyCุบChาhลilidlศdhกึ hoษoooาd)dSEtudduiceast)ion) ศศปผษษรศ...ดมบ.ด... (ร((หหส.อลังลกัคากั สมรสตูยีศูตรึก์รแเษแรลลาือะะ)กงกภาารรทั สสรออนนน)น) ต์ อศศปษษราะ..จบมเาม.. รนิ((ปเยผทฐจ์ลคมกริโวนาายั โรภศลศรกึยกึ ณีสษษาาา์ร))ยสกนอเทนิ ศทแลระ์ การ คคอ..าบมจ.. (า(กกราายรร์กศศึกึกรษษณาาศิปปฐฐทมมววอยััยง))สอาด อาจารย์อัญชษิ ฐา ปยิ ะจิตติ อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสตู ร ศกศษ..บม.. ((ดปุรฐิยมาวงัยคศศกึ าษสาต)รไ์ ทย) ศึกษาศาสตรบัณฑิต อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร อาจารยฉ์ ัตรทราวดี บญุ ถนอม สาขาวิชาการประถมศกึ ษา ศึกษาศาสตรบณั ฑติ ศคษ.บ..ม(.ก(าปรฐศมึกวษยั าศปกึ ฐษมาว)ัย) สาขาวิชาการประถมศกึ ษา ว่าท่รี อ้ ยตรีหญิง อาจารย์ ดร.ขวญั ใจ จริยาทศั น์กร ผกคคศ..ศบม.ด...ด((.กปร(หาร.กระลศถัลกั ึกมสยษศูตาากึรนแษชอลานกะ)ะรกะภาบรัยสบอ)น) วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี ปศศร..ดม.. ((วริจัฐัยศวาัดสผตลร)์และสถติ ทิ างการศกึ ษา) รศ.วชิ ยั พาณิชยส์ วย ศศ.บ. (รัฐศาสตร)์ คค..มบ.. ((ปปรระะถถมมศศกึกึ ษษาา)) ผศ.ดร.สนุ ทร เทียนงาม อาจารย์ ดร.สุมน ไวยบญุ ญา คค..มด.. ((กวจิารัยวกดั าแรลศะึกปษราะ)เมนิ ผลทางการศกึ ษา) อาจารย์ประจ�ำ หลกั สูตร ปกคศ.รบ..ดม. .(.ก((หการลาปรักปรสะรตู ถะรถมแมศลศึกะึกษกษาาร)าส)อน) ค.บ. (การประถมศึกษา) อปรา.จด.า(รหยล์ กั ดสรูต.พรแัชลระพการรสศอภุ นก) จิ คผ.ศม..ร(กถั ายราศึกเษชาื้อปกฐลมาวงยั ) ผศ.วา่ ท่ีร้อยตรี ดร.มงคลชยั บุญแก้ว Mกศ.A.บ.A. .(ก(AารrtปsรAะถdมmศinกึ iษstาra)tion) กศ.บ. (การประถมศกึ ษา) ปศกาศรร..ดมก..ฬี ((วากิท)ายรจาัดศากสารตทรก์างากรอารอกกีฬกาำ�)ลังกายและ อาจารย์ ดร. สนิ ชยั จันทรเ์ สม คผ.ศม..ฌ(กลาราศพกึ ิชษญาป์ บฐมุญวัยจ)ติ สทิ ธศ์ิ ักดิ์ วท.บ. (วทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี า) กกกศศศ...บมด... (((คควิทณณยติติ าศศศาาาสสสตตตรรร์))์ -์ คณิตศาสตร)์ ศศ.บ. (การโรงแรมและการทอ่ งเท่ียว) ศอษา.จมา. ร(กยาช์ รบชั รริหี สารนุ กทารรศากึ ภษยั า) ศอษา.จมา. ร(ปยฐก์ มัญวยั ญศึการษัตา)น์ ชูเกล้ยี ง คบ.ธบ.ม. (.ก(การาศรจึกัดษกาาปรฐทมั่ววไัยป)) อาจารย์ประจำ�หลกั สตู ร ศษ.บ. (ประวตั ศิ าสตร์) อาจารยก์ ุลธิดา มีสมบูรณ์ อกศา.จมา. ร(เยท์พคโรนพโลิมยลีกานรศากึ มษวาง)ศ์ พศษย..มบ.. ((ปพฐยมาบวยัาศลกึศษาสาต) รบณั ฑติ ) รศ.ดร.จรี ะพนั ธ์ุ พลู พัฒน์ ศศ.บ. (บริหารธรุ กจิ ) คคP..hมบ.D.. ((.บป(Eรรหิะleถาmรมกeศาnึกรtษaศrาึกy)ษEาd)ucation) อาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลักสูตร คปผ.รศม.ด..ด.(ว(รกิจ.จัยารกริ วาาิจรพัยศรแึกลษระาอพ)ดัฒพน่วาหงลักสตู ร) อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสูตร ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ ค.บ. (วทิ ยาศาสตร์-คอมพิวเตอร์) สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย ศผศศ.ม.ร.ตั (จนติ าวพิทยราหกาลรวศงึกแษกา)ว้ อาจารย์ทรรศนัย โกวทิ ยากร ศูนย์การศกึ ษานอกทตี่ ัง้ ล�ำ ปาง ศศ.บ. (นเิ ทศศาสตร)์ กคศ.บ.ม. (.ก(การาศรศกึ กึษษาพาพิเศเิ ศษษ) ) คอ.ามจ. (ากรายร์กปรสุ ะุมถามศคกึ �ำ ษผาา) ง อาจารย์ธนพรรณ เพชรเศษ คคอ..าบมจ.. (า(หกราลยรกั ์ปศสึกิยตู ษนราแยัปลนฐะมก์ ภวาัยรู่เสจ) อรนญิ ) ค.บ. (การประถมศึกษา) ศศศษ..บม.. ((ภปาฐษมาวไยั ทศยึกเษพาือ่ )การสือ่ สาร) ปอการาร.จดจ.าัด(รกวยทิาร์ยดเารรกยี .านศรรทศู้ แาธิ ขงรนกางรรวณศชิ ากึ ะกษบาารุตแศลรกึ ะษาปฐมวัย) กผศศ.ด.ด. ร(ค.อณรติ รศถาศสตารส์ศนกึ ์ษาน)มิ ิตพันธ์ อาจารย์ ดร.อัญชลุ ี สุวฑั ฒน กคศ.บ.ม. (.ก(การาศรศกึ ึกษษาปาปฐมฐมวัยว)ยั ) คค..มบ.. ((กคาณริตศศกึ าษสาตครณ์) ิตศาสตร)์ ปคบ.ธรม..ดบ. .(.ค((หอคลมอักมพสพวิ ุตเวิ ตรเตอแลรอแ์ะรล์ธกะรุากเรทสิจค)อโนน)โลยีสารสนเทศ) อาจารยเ์ อมอร ปันทะสืบ ผศ.ดร.ธนพรรษ พฤกษะวนั ผกคศ.ศม.ด..ด(.โร(สเ.ทตฉคทัตโศั นรนโชศลยั กึยแีษบลาษุะ) สบอื่ งสคาร์ การศึกษา) คค..บม.. ((กกาารรศศกึกึ ษษาานปอฐมกวระยั บ) บ) ปววททร...ดมบ... (((คคคณณณติิตติ ศศศาาาสสสตตตรรรป์)์์) ระยุกต)์ กศ.บ. (เทคโนโลยกี ารศึกษา) อาจารยส์ ดุ ารัตน์ พงษพ์ ันธ์ คกศ.บ.ม. (.ก(การาศรศึกกึษษาปาปฐมฐมวัยว)ัย) อาจารยช์ นสิ รา ใจชยั ภูมิ กคศ.บ.ม. (.ก(ปารฐศมึกวษัยาศปึกฐษมาว)ัย) 13

อาจารยผ์ ้รู ับผิดชอบหลักสูตร ผวกทศศ..บม.ท.. พิ((วเทสทิ คุดยโาานกโาคลรยิดคกี อเาลมริศพศึกวิ ษเตาอ)ร)์ อกศา.จดา. (รหยล์ ักดสรูต.ดรแนลยะกาาอรสินอจน�ำ )ปา ศึกษาศาสตรบัณฑิต พกคผศ.ธศบ..ม.ด.ด(..กร((จาพ.ภรติ ุทศวรธกึิทมิ จษยติาาาวพกวิทาเินิยศราศษิธ)กึ)าษสาถ)ติ ยก์ ุล คค..บม.. ((กกาารรศศึกึกษษาาพพเิิเศศษษ)) สาขาวิชาการประถมศึกษา คกปอศ.ารบ.จ.ดม.า.(.รค((กยกอา์ามดรรพศอริวึก.ดุ ปเษมตราศอะนกึรภอศ์ษากึกาวรษ)ระารบ)ณบเสพมื่อทุพรฒั เนผา่าสจังนิ คดมา) ผศ.กมลวรรณ อินอรา่ ม ศูนยก์ ารศึกษานอกท่ตี ้ัง ล�ำ ปาง อาจารย์ ดร.พันพชั ร ปิน่ จนิ ดา คM.บ.E.d(.ก(าSรpศeึกcษiaาlพEเิ dศuษc)ation) คกจ.ม.ด. .(เ(ทกคาโรนจโัดลกยาที รากงากราศรึกศษกึ าษ)า) อาจารย์สิรลิ ักษณ์ มณรี ตั น์ ศอษา.จมา. ร(ปยรด์ ะวถมงเศดกึ อืษนา) วรรณกูล ศคษ.บ..บ(.ว(ิทเทยคาศโนาโสลตยรแี ์-เลทะคสโอื่นสโลารยกีกาารรศศึกกึ ษษาา)) คศษ.บ..ม(.ก(าจรติ ศวกึ ิทษยาาพคเิรศูกษาร)ศกึ ษาพิเศษ) ค.บ. (การศึกษาปฐมวยั ) ผศ.ดร.พรเทพ ลี่ทองอนิ อาจารยค์ รรชิต สมจิตต์ ศผศศ.ม.ร.ัต(จนิตาวพิทยราหกาลรวศงกึ แษกา)ว้ กกปศศร...ดบม... (((วพพิทลลยศศากึกึ ศษษาาาส))ตรก์ ารกีฬา) ศMศ.E.บd.. ((ปSฐpมeวcยัia)l Education) ศศ.บ. (นิเทศศาสตร)์ คคอ..ามดจ.. ((าววริธจิ ยวีัยิท์กดยารราศก.ภกึาิรรษวดาิจ)ี ยัวกัชารรสศกึินษธา์ุ ) คอ.ามจ. (ากรายร์กปรุสะมุ ถามศคึก�ำ ษผาา) ง ค.บ. (วิทยาศาสตร-์ คอมพวิ เตอร)์ สำ�นักงานคณะครุศาสตร์ ค.บ. (การประถมศึกษา) ปอรา.จด.า(รกยา์รดวัดรแ.ทละพิ เยทค์ ขโนำ�โอลยยทีู่ างวทิ ยาการ คอ.ามจ. (าวริธยีวพ์ทิ ยวางกผากรวาจิ ยัปกวาีณรศบึกำ�ษเาพ) ็ญ ศกปศศญั ..มบญ..า(()เภทาคษโานอโลงั กยฤที ษาง)การศกึ ษา) นหวั าหงนจา้ันสท�ำ นรักางาสนาคดณะะระ ค.บ. (การสอนวทิ ยาศาสตร์) คกรศจ.ม.ด..ด.(โร(สก.เตาบทรญจศั ดั นจกศวากึ รรษกราาณ)รศกึกษีส่ าุข)พนั ธ์ น.ส.จติ ตต์ รี จ�ำ ปที อง ศอษา.จมา. ร(กยาว์ รไิศลึกวษรา)รณ หมายดี ค.บ. (สังคมศึกษา) น.ส.นฤมล แสงวันทอง ศกกาศศร..มบจ..ัด((กวปาิทรระยเวรายีัตกนิศารราทู้)สาตงรก)์ ารศึกษาและ ปผรศ.ด.ด. (รว.จิชัยัยยวัดศผลชาแวลระะสนถิตอิกงารศึกษา) นางปานใจ คงสทิ ธ์ิ กกศศ..มบ.. ((หพลสิ กักิ สสตู์) รและการสอน) น.ส.วภิ าวี จงภู่ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร ผศ.ดร.จริ ะ จติ สุภา นายชยั สิทธ์ิ เกษตรตระการ ปวคท.รอ..ดม.บ...(((เเทคทรคคศุ โโนานสโโลลตยยรีเสีเ์ ททาคครนสโนคินโศเลทึกยศษ)ี )า) นายณัฐพงษ์ แซต่ ั้ง ควอท.าบ.จม. า(.พ(รวลยิทศ์ปยกึ ารษศะาาว)สชิ ตญร์กาารแกขฬี ่งาข)นั อศศกศษษา...จบดมา... ร(((วกวยทิจิา์ รยัยดจแารดัศล.กาะสสาปมรตรกยะรา-์เศคมรณศินเกึ ผติผษลศือากาด)สาจรตศันรกึ์)ทษึกา) น.ส.อำ�ภาพร นามเสนา ศศอษษา..จบมา.. ร((หกยาลน์ รกั ศติ สกึ ยูตษราาแปลเทฐะมกพวานัยรส)าอมนว)งค์ ผEกกศศdศ...Dมบ.ด... ร((Lเศ.eทอิลaคาปrโnนศนinึกโภุ ลgษา,ยาพีทL)eาถaงกdูปาeารrอsศhึกา่ ipษงาa)nd Policy น.ส.รตั ณาพร พรหมทอง คกอศ.าบ.จม. า(.เร(ทเยทคป์คโนโยิ นโลภโลยทั ีแยรลีก์ะาจรนริศวปึกัตษกุณารญร)มโกชาตรศิ กึ ษา) อาจารย์ ดร.ชนนิ ทร์ ฐติ ิเพชรกุล น.ส.ระววี รรณ สบุ รรณรัตน์ โศวอภทษาช..จมบนา..า(รก(โคยภาหร์สช)กนุรรศียรามพ์ สศรตารสธ์ศตัญึกรษศ์ญาึก)ะษกาิจ-อาหารและ ปกศร..ดม.. ((เเททคคโโนนโโลลยยีแีกลาะรศสึกือ่ ษสาาร)การศกึ ษา) อาจารย์อนิ สอน จนั ตะ๊ บธ.บ. (การโฆษณา) ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ บศศธ..บม.. ((กบารรหิ ศาึกรธษรุากนจิ อ)กระบบ) อค.ามจ. (ากรายร์ศบรักหิ ดา์ชิรกัยารไศชกึ ยษรากั ) ษ์ ฝา่ ยบริการสนับสนนุ ค.บ. (คอมพิวเตอร์ศกึ ษา) นักศึกษาพกิ ารเรยี นร่วม อาจารยป์ ระจำ�คณะครศุ าสตร์ อMา.Aจ.า(รEยdu์ศcศaนtioันnท&นG์ บloญุbaยlizะaวtiนonชิ ) Mศศ.A.บ. .((Eภnาgษlisาhอ-งั Tกhฤaษi T) ranslation) น.ส.กรวิภา อินทรประเสรฐิ กอจา.จด.า(รกยา์รดจัดรก.สาวรกงาคร์ ศบึกญุ ษาป)ลูก ผศ.ดร.กรรวิภาร์ หงษ์งาม น.ส.กาญจนา ผวิ งาม กกศศ..บม.. ((กคาณริตวศัดาผสลตกรา)์รศึกษา) ศชสมุสษช..มดน..)((งกาานรฟบร้ืนหิ ฟาูสรมกรารรถศภึกาษพาพคนเิ ศพษิก)ารโดย นายฉลองรตั น์ บญุ วงศ์ รศ.ดร.ชนะศกึ นิชานนท์ ศศ.บ. (การศกึ ษาปฐมวัย) น.ส.ชนนิ นั ท์ แย้มขวัญยนื คคค...บมด... (((กววจิิทารัยยวกาัดาศแราลศสะึกตปษรร-์าเะค)เมม)ีินผลการศกึ ษา) นายปรเมศวร์ ถนอมศกั ด์ิ อศคษ.าบ.จ.มา(.กร(าวยรจิ ์อปัยรัคแะลรถะวมปัฒศรึกะนษเม์ าวนิ )งผศล์ฐกติารคิ ศณุกึ ษา) น.ส.พอรยิ า โหสกลุ ศษ.บ. (คณิตศาสตร)์ น.ส.มณีบรู ณ์ นิลเขตร์ ผค.ศอ..ดด.ร(ว.จจิ รยั ญูและเฉพลัฒิมนาทหอลงกั สตู ร) น.ส.สุภัค เนตรบษุ ราคัม สกศค..บม.. ((วคิจณยั ิตปศราะสชตากร์)รและสงั คม) นายโสฬส ฤกษม์ ี ผศ.ดร.จติ ต์วมิ ล คล้ายสุบรรณ ศศศษกษึ ษ..มดา..)((กกาารรววจิจิ ยััยแแลละะปปรระะเเมมนิินทผาลงทกาางรกศาึกรษา) ศษ.บ. (การสอนคณิตศาสตร์) 14

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั (4 ป)ี Suan Dusit

หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย (4 ปี) ระดบั ปริญญาตรี 1. ชือ่ หลักสูตร ภาษาไทย หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4 ป)ี ภาษาองั กฤษ Bachelor of Education Program in Early Childhood Education 2. ช่อื ปรญิ ญา ภาษาไทย ชอ่ื เตม็ : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (การศึกษาปฐมวัย) ศษ.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั ) ภาษาองั กฤษ ชือ่ ยอ่ : Bachelor of Education (Early Childhood Education) B.Ed. (Early Childhood Education) 3. วตั ถุประสงค์ของหลักสูตร 1) มคี า่ นยิ มรว่ ม โดยมีความตระหนักและยึดผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลางของการทำ�งานครู การพฒั นาความรสู้ กึ ถึง ตวั ตนความเปน็ ครู และมเี จตคติตอ่ วชิ าชพี ครทู ี่เขม้ แข็ง มีจิตสาธารณะ มจี ิตบรกิ ารตอ่ วชิ าชพี ครแู ละชุมชน 2) เปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ยดึ มนั่ ในวชิ าชพี ครู มจี ติ วญิ ญาณครู มจี รรยาบรรณวชิ าชพี ครเู ปน็ หลกั ในการ ปฏบิ ตั ติ น มคี วามเอาใจใส่ มคี วามพอเพยี ง มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ วชิ าการและวชิ าชพี และประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี 3) เปน็ ผ้ใู ฝ่รู้ มปี ญั ญา มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ และการคิดข้นั สูง มีความรอบรูด้ ้านการเงิน และ มคี วามรอบรเู้ ข้าใจในพฒั นาการของเด็กปฐมวัย เช่ียวชาญในการจดั การเรยี นร้ดู า้ นการศึกษาปฐมวยั 4) สามารถประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ทฤษฎีที่มีกับการปฏบิ ตั ิงานจริงในสถานศกึ ษาและชมุ ชนเพือ่ พัฒนาเด็กปฐมวยั และสามารถนำ�ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาผู้เรยี นและสงั คม 5) มที กั ษะในศตวรรษที่ 21 รเู้ ทา่ ทนั สอื่ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ พฒั นางานวจิ ยั และสรา้ งสรรคส์ อ่ื นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 6) มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง รเู้ ท่าทนั การเปลี่ยนแปลงของสงั คมและของโลก และ การใช้เทคโนโลยี ตดิ ตามแนวโน้มและความเคล่ือนไหวทางการศึกษา เพ่อื ใหเ้ กิดการเรยี นรอู้ ยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ 7) มบี คุ ลกิ ภาพและสมรรถนะทเี่ หมาะสมกบั ครปู ฐมวยั เปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แขง็ โดยใสใ่ จสงั คม รกั ชาติ รกั ทอ้ งถน่ิ มจี ติ ส�ำ นกึ ไทยและจติ ส�ำ นกึ สากล และด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย เคารพสทิ ธิ เสรภี าพ มจี ติ ส�ำ นกึ เปน็ พลเมอื งไทย พลเมอื งโลก 8) มีความเป็นผู้นำ�ทางวิชาการด้านการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรม ผลิตส่ือ จัดหาแหล่งเรียนรู้ และ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เพ่อื พัฒนาตนเองและผู้เรียนให้เตม็ ตามศกั ยภาพตามความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 9) มีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้ ภาษาอังกฤษให้กับเดก็ ปฐมวัยได ้ 4. คุณสมบตั ิของผู้เข้าศึกษา 1) สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ รบั รองวทิ ยฐานะ 2) ผา่ นการคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษาระบบกลาง (Admissions) หรอื ผา่ นการคดั เลอื กตาม เกณฑ์ของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 3) มีความสามารถทางภาษาองั กฤษผ่านเกณฑ์ทก่ี ำ�หนด 4) ในกรณที ่ีเป็นนักศกึ ษาตา่ งประเทศจะตอ้ งสามารถพูด ฟัง อ่าน เขยี น และเขา้ ใจภาษาไทยเปน็ อยา่ งดี และ จะตอ้ งมคี ุณสมบัตติ ามขอ้ 1) ถงึ 3) 16

5. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลงั ส�ำ เร็จการศกึ ษา 1) ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาปฐมวยั ในสถานศกึ ษาทง้ั ของภาครฐั และเอกชน หรอื สถานศกึ ษาทม่ี กี ารจดั การ เรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ 2) นกั วชิ าการทางการศกึ ษา 3) ผู้ประกอบอาชพี อสิ ระทเี่ กี่ยวขอ้ งกับการศกึ ษาปฐมวัย 17

โครงสร้างหลกั สตู ร สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั จ�ำ นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ 147 หนว่ ยกิต มีสดั ส่วนจำ�นวนหน่วยกติ แยกตามหมวดวชิ า และกลมุ่ วิชา ดังนี้ 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 33 หนว่ ยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะดา้ น 108 หน่วยกิต 2.1 กลมุ่ วชิ าชพี ครู 35 หน่วยกติ 2.1.1 กลมุ่ วิชาการศึกษา 23 หนว่ ยกิต 2.1.2 กลุม่ วชิ าการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี 12 หนว่ ยกติ 2.2 กลุ่มวชิ าเอก 43 หนว่ ยกิต 2.3 กล่มุ วชิ าโท 30 หนว่ ยกติ 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต การจัดการเรียนการสอน 33 หน่วยกติ หมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไป 3(2-2-5) 1500202 ความเป็นสวนดุสิต 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 3(2-2-5) 1500122 ทกั ษะการส่อื สารภาษาไทย 3(2-2-5) Thai Language Communication Skills 3(3-0-6) 1500123 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับวิถชี ีวิตสมยั ใหม่ 3(2-2-5) English for Modern Lifestyle 3(3-0-6) 1500124 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารสากล 3(2-2-5) English for International Communication 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกนิ 3(2-2-5) Food for Life 3(2-2-5) 2500119 วิถีชวี ติ ตามแนวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวียน Lifestyle for Circular Economy 2500120 คุณค่าของความสขุ Values of Happiness 2500121 พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก Thai and Global Citizens 4000114 จดุ ประกายความคิดเชิงธรุ กจิ Business Thinking Inspiration 4000115 การใช้ชวี ิตในยุคดจิ ิทลั Living in the Digital Era 4000113 ความเขา้ ใจและการใชด้ จิ ทิ ัล Digital Literacy หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ใหเ้ รียนไม่น้อยกวา่ 108 หน่วยกิต กลุ่มวิชาชีพคร ู 35 หนว่ ยกิต กลุ่มวชิ าการศึกษา 23 หนว่ ยกิต 1011112 ความเปน็ ครูวชิ าชีพ Teaching Profession 2(2-0-4) 1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยสำ�หรับครู 3(3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers 3(3-0-6) 1051204 จิตวิทยาเพอื่ พฒั นาผ้เู รยี น Psychology for Learner’s Development 18

1042108 การวดั และประเมินผลการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment 3(3-0-6) 1032103 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอ่ื การเรยี นรู้อย่างสรา้ งสรรค ์ 3(3-0-6) Innovation and Digital Technology for Creative Learning 3(3-0-6) 1022305 หลักสตู รและวิทยาการการจดั การเรียนรู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management Science 1043411 การวิจัยและการพฒั นานวัตกรรมเพอ่ื พัฒนาผ้เู รยี น 12 หนว่ ยกติ Research and Innovation Development to Enhance Learners 6(270) 1063106 การบรหิ ารการศึกษาและภาวะผูน้ �ำ ของครวู ชิ าชีพ 6(270) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers กล่มุ วิชาการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ 43 หนว่ ยกิต 1013803 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 3(3-0-6) School Internship 1 3(3-0-6) 1014805 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 3(3-0-6) School Internship 2 3(2-2-5) กลมุ่ วิชาเอก 3(3-0-6) 1071109 มาตุเวทวิทยา 3(2-2-5) Maternity Science 2(2-0-4) 1071110 การศกึ ษาปฐมวยั 2(2-0-4) Early Childhood Education 2(1-2-3) 1083407 การศึกษาพเิ ศษ 2(2-0-4) Special Education 3(3-0-6) 1071307 ศิลปะ ดนตรี และลลี าสำ�หรับเดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) Art, Music and Movement for Young Children 3(2-2-5) 1072603 การประเมนิ พัฒนาการและการเรียนรูข้ องเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Developmental and Learning Assessment for Young Children 1073318 การจดั การเรียนรู้ส�ำ หรับเดก็ ปฐมวัย Learning Management for Young Children 1072314 โภชนาการและความปลอดภัยสำ�หรับเดก็ ปฐมวัย Nutrition and Safety for Young Children 1072315 คหกรรมศาสตร์ส�ำ หรบั ครปู ฐมวัย Home Economics for Preschool Teacher 1072316 วา่ ยน้�ำ และการปฐมพยาบาล Swimming and First Aid 1072317 ดนตรีสำ�หรับครูปฐมวัย Music for Preschool Teacher 1071406 สือ่ ของเลน่ และการดูแลเด็กในยุคดิจทิ ลั Instructional Medias, Toys and Caring Young Children in the Digital Age 1071308 ภาษาพาเพลิน Language for Play and Learn 1073406 การสอนแบบมอนเตสซอรี่ Montessori Education 1073319 ฉลาดร้คู ณิต-วิทย ์ Mathematics-Science Intelligence 19

1073704 การเปน็ ผ้ปู ระกอบการด้านการศกึ ษาปฐมวยั 3(3-0-6) Entrepreneur in Early Childhood Education 2(0-6-0) 1074908 นวนิพนธ์ Individual Innovation 30 หนว่ ยกติ 3(3-0-6) กลมุ่ วชิ าโท 3(3-0-6) 1071309 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับครูปฐมวัย 3(3-0-6) English for Preschool Teacher 3(3-0-6) 1551151 ทกั ษะการเรียนภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Study Skills 3(3-0-6) 1071310 ภาษาองั กฤษเพือ่ พัฒนาวิชาชพี 3(3-0-6) English for Professional Development 3(3-0-6) 1072318 นทิ านและวรรณกรรมภาษาอังกฤษส�ำ หรบั เด็ก 3(2-2-5) English Tales and Literature for Children 3(3-0-6) 1072319 ภาษาอังกฤษเพ่ือความสนกุ สนาน English for Fun 1073211 หลักสูตรภาษาองั กฤษระยะสั้นส�ำ หรบั เดก็ English Short Course for Young Children 1072320 การสอนภาษาองั กฤษสำ�หรับเดก็ ปฐมวัย Teaching English for Young Children 1553408 การพูดภาษาอังกฤษในยุคแหง่ ความหลากหลาย English Speaking in the Age of Diversity 1073320 ภาษาองั กฤษในชัน้ เรยี นปฐมวยั English in Early Childhood Class 1073321 ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับวิชาชีพ English for Professional Enhancement หมวดวิชาเลือกเสรีไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยไม่ซ้ำ�กับรายวิชาท่ี เคยเรียนมาแล้ว และจะตอ้ งไม่เป็นรายวิชาที่กำ�หนดใหเ้ รียนโดยไม่นบั หนว่ ยกิตรวมในเกณฑ์การส�ำ เรจ็ การศึกษาของ หลกั สูตร โดยสามารถเลอื กได้จากรายวชิ าอ่นื ๆ จากหลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรมี หาวิทยาลัยสวนดุสติ หรอื รายวิชา เลอื กเสรขี องสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั ดงั นี้ รายวิชาเลอื กเสรขี องสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั 3(3-0-6) 1073502 การเกดิ อย่างมีคณุ ภาพ 3(3-0-6) The Quality Birth 3(3-0-6) 1073503 การเช่ือมสัมพนั ธร์ ะหว่างคนต่างร่นุ 3(3-0-6) Intergenerational Interaction 3(3-0-6) 1073504 สภาวการณ์พอ่ -แมเ่ ลยี้ งเด่ยี ว Circumstances of Single Parents 1074909 แนวโน้มและความเคลื่อนไหวทางการศกึ ษาปฐมวยั Trend and Movement of Early Childhood Education 1074316 ศาสตร์ของพระราชากับการศึกษาปฐมวัย The King’s Philosophy with Early Childhood Education 20

คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวยั 1011112 ความเปน็ ครูวชิ าชีพ 2 (2-0-4) Teaching Profession แนวคิดและปรัชญาการศึกษา วิวัฒนาการการศึกษากับการเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและสังคม แนวคิด กลวิธีการจดั การศึกษาและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ัง่ ยนื อดุ มการณแ์ ละจิตวิญญาณความเปน็ ครู คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพครู และจติ อาสา การพัฒนาความเป็นครวู ชิ าชีพให้มคี วามรอบรู้ ทนั สมยั และทันตอ่ การเปลยี่ นแปลง Educational concepts and philosophies, educational evolution, transformation in global and social contexts, concepts and strategies in educational management including sufficient economy philosophy for sustainable development, ideology and spirituality of teaching profession, morality, ethics, code of conduct of teaching profession and public mind, development of teaching professionalism to contain mastery, modernity, and keeping up with changes 1051204 จติ วทิ ยาเพอ่ื พฒั นาผูเ้ รียน 3 (3-0-6) Psychology for Learner’s Development แนวคิด ทฤษฎี และหลักการของจิตวิทยา การพัฒนาของสมองกับการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลท้ังผู้เรียนปกติและผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ การใช้เครื่องมือทาง จติ วทิ ยาทเ่ี หมาะสมในการสง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ และการรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น อย่างเปน็ ระบบ Concepts, theories, and principles of psychology, human brain and learning development, analysis of learners’ differences both normal learners and learners with special needs, use of proper psychological tools to promote and develop learners to reach their highest potential, and systematic report on quality development of learners 1022305 หลกั สตู รและวิทยาการการจดั การเรียนรู้ 3 (3-0-6) Curriculum and Learning Management Science หลักการ ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร ตามแนวคิดปรัชญาท่ีตอบสนองเป้าหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี คณุ ภาพ การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะ การออกแบบเนอ้ื หาสาระโดยบรู ณาการกบั สภาพบรบิ ทท่แี ตก ตา่ งกันของผเู้ รียนและทอ้ งถนิ่ หลกั สตู รสองภาษา วทิ ยาการการจดั การเรียนรู้ ศาสตรก์ ารสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำ�คญั การวางแผนและการออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การชน้ั เรยี นแบบ เผชญิ หน้าและแบบเสมอื นจริงในห้องเรียนปกติและห้องเรยี นอัจฉรยิ ะ Principles theories of curriculum development established on philosophical concepts responding to goals of learners’ quality development, competency-based school curriculum development, content design integrated with diverse contexts of learners and their local areas, bilingual curriculum, learning management science, learner-centered approaches, planning and design of participated learning management, practicum of face-to-face and virtual practices on learning and classroom management in the normal and smart classrooms 21

1032103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการเรยี นร้อู ย่างสร้างสรรค ์ 3 (3-0-6) Innovation and Digital Technology for Creative Learning หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎนี วตั กรรม และกระบวนการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอ่ื สารการศกึ ษาสมยั ใหม่ การเปลยี่ นแปลงรปู แบบแนวคดิ ทางการศกึ ษาและกรอบการพฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษที่ 21 ฝกึ ปฏบิ ตั ผิ ลติ ประยกุ ตใ์ ชส้ อื่ และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น การคน้ ควา้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมโดยบรู ณาการขา้ มศาสตรเ์ พอ่ื การเรยี นรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ Innovative principles, concepts, theories, and educational innovation development process, modern information technology educational communication, education transformation and learning framework in the 21st century, production and implementation of media and digital technology for benefiting learners, research and development of learning resources and network, development and creation of multidisciplinary-integrated innovation for creative learning 1042108 การวัดและประเมินการศึกษาและการเรียนรู้ 3 (3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment แนวคิด หลกั การ เป้าหมาย แนวทางการวดั และประเมินทางการศึกษาและการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 การออกแบบ สร้าง และเลอื กใชว้ ธิ กี ารวัดและเทคโนโลยีการประเมินเพ่อื แก้ปญั หาและพฒั นาผู้เรยี นอย่างเหมาะสม การฝกึ ปฏิบัตกิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมนิ พฒั นาการ และการให้ผลปอ้ นกลับแกผ่ ู้เรียนให้เหมาะสม ตามชว่ งวยั แนวคดิ หลกั การ จดุ มงุ่ หมายและกระบวนการของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการ ศกึ ษาให้ได้มาตรฐานสากล Concepts, principles, goals, and direction of educational and learning measurement and assessment in the 21st century, design, creation, and selection of measurement methods and technology to suitably solve problems and develop learners, practices on measurement and assessment relevant to learning, assessment of learner’s progress, provision of feedbacks to the learners according to their age ranges properly, Concepts, principles, goals, and process of educational assurance to enhance educational quality according to international standards 1043411 การวจิ ยั และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อพฒั นาผู้เรียน 3 (3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners แนวคิด หลักการเบ้ืองต้นเก่ียวกับวิธีวิทยาการวิจัย การคิดเชิงนวัตกรรม รูปแบบการวิจัยเพื่อพัฒนา นวัตกรรม การออกแบบการวจิ ัยเพ่ือแก้ปัญหาและพฒั นาผู้เรยี น ฝึกทกั ษะศึกษา คน้ ควา้ วิจยั และพัฒนานวตั กรรม การบรู ณาการความรู้ในศาสตรก์ ารสอนกับการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนผ่านกระบวนการวิจยั สมรรถนะทางการวิจยั ใน บรบิ ทการศกึ ษาสมยั ใหม่ การน�ำ เสนอผลการวิจยั และนวัตกรรมอยา่ งมจี รรยาบรรณ Concepts, basic principles related to research methodology, innovative thinking, research model for innovation development, research design for problem solving and development of learners, skill practices on study, search, research, and innovative development, integration of knowledge relevant to learning science and development of learner’s qualities though research process, research competencies in the modern educational contexts, presentation of research and innovation ethically 22

1021301 สมรรถณะทางภาษาไทยสำ�หรับครู 3 (3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers หลกั และลกั ษณะสำ�คญั ของภาษาไทยเพือ่ การสอี่ สารส�ำ หรบั ครูในรูปแบบต่าง ๆ ชนดิ ของคำ� การใชค้ ำ� วลี ประโยค หลกั การอา่ นรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง หลกั การและเทคนคิ การเขยี นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ การฟงั และ การดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ การฝกึ พูดต่อหน้าท่ีประชมุ ชน และการใช้ภาษาเพ่ือการเป็นครูมืออาชพี Principles and main characteristics of Thai language for a teachers’ variety of communication; type of words, usages of words, phrases, and sentences; principles of reading prose and poetry; principles and techniques of formal and informal writing; critical listening and observing; practice speaking publicly, including using language as a professional teacher 1063106 การบริหารการศกึ ษาและภาวะผ้นู �ำ ของครวู ชิ าชพี 3 (3-0-6) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers แนวคิด หลกั การ และทฤษฎีเกีย่ วกับการบริหารการศกึ ษา กฎหมายการศึกษา และแนวโน้มการศกึ ษาใน อนาคต การศกึ ษาบรบิ ทของชมุ ชน การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครองและชมุ ชนบนพน้ื ฐานความแตกตา่ งทาง วฒั นธรรมเพอ่ื ส่งเสริมการเรยี นรทู้ ี่มคี ณุ ภาพ การจัดท�ำ โครงการทางการศึกษาเพือ่ พัฒนาผเู้ รยี น แนวคดิ ทฤษฎภี าวะ ผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทของครวู ชิ าชพี การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และบคุ ลกิ ภาพเพอ่ื เปน็ ตน้ แบบและด�ำ รงเกยี รตขิ อง ครวู ชิ าชีพ Concepts, principles, and theories related to educational administration, educational laws, study of community contexts, building collaborative networks with parents and communities on multicultural basis to enhance learning quality of learners, operation of educational projects for learner’s development, concepts, theories of transformative leaders in teaching profession context, development of leadership and personality to be master teachers and maintain honor of professional teachers 1013803 การปฏิบัติการสอนในสถานศกึ ษา 1 6(270) School Internship 1 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบ่ี รู ณาการความรแู้ ละศาสตรก์ ารสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรูใ้ หผ้ ้เู รียนมคี วามสุขในการเรียนโดยตระหนักถงึ สุขภาวะของผู้เรียนรวมถงึ การดแู ล ชว่ ยเหลอื และพัฒนาผู้ เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ และปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับ มอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions, integration of knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing including caring, supporting, and developing learners individually according to their potential, systematic report on learners’ development outcomes, and fulfilling other tasks as assigned 23

1014805 การปฏิบตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 2 6(270) School Internship 2 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบี่ รู ณาการความรแู้ ละศาสตรก์ ารสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อการเรียนรขู้ องผู้เรยี น และปฏิบตั งิ านอ่ืนทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions which integrates knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing, research, creating technology, and applying digital technology to be beneficial for their learning outcomes and fulfilling other tasks as assigned 1071109 มาตเุ วทวิทยา 3(3-0-6) Maternity Science จิตวิทยาพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ความรักความผูกพันระหว่างแม่กับ เด็กแรกเกิด การเล้ียงดูเด็กทารก การอุ้มเด็ก การอาบนำ้� และการป้อนอาหาร และการฝึกปฏิบัติการดูแลเด็กเล็ก ความรเู้ กยี่ วกบั สมองและพฒั นาการทางสมองของเดก็ ปฐมวยั การพฒั นาทกั ษะทางสมองเพอื่ บรหิ ารจดั การชวี ติ (EF) ทกั ษะชีวติ ส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย พหุปญั ญา การบรู ณาการองค์ความรู้ที่สร้างสรรค์ทน่ี �ำ ไปสู่การจัดการส่งิ แวดลอ้ มที่เอ้ือ ต่อพฒั นาการเด็ก Developmental psychology, growth, and learning of young children, bonding and attachment between a mother with newborn, raising baby, carrying, bathing and feeding for baby, practice in caring for young children, knowledge of brain and brain development of young children, executive functions (EF) of the brain, life skills for young children, multiple intelligence, movement and new knowledge derived from the researches related to the nature of young children, integration of creative knowledge leading to environmental management supporting child development 1071110 การศกึ ษาปฐมวัย 3(3-0-6) Early Childhood Education ความหมาย ความสำ�คัญของการศึกษาปฐมวัยจากบริบทต่างประเทศสู่บริบทไทย ความเป็นมาของการ จดั การศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู ร และรปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและเออ้ื ตอ่ การ เรยี นรสู้ �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั แตล่ ะชว่ งวยั แนวโนม้ การศกึ ษาปฐมวยั นวตั กรรมการศกึ ษาปฐมวยั บทบาทของครู ผปู้ กครอง และชมุ ชนในการพฒั นาเดก็ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธแ์ ละการสอื่ สารเชงิ บวกระหวา่ งครแู ละผปู้ กครอง การสงั เกตการจดั การ ศึกษาปฐมวยั ในสถานศกึ ษาปฐมวยั Definition, importance of early childhood education adapted from foreign to Thai contexts, background of early childhood educational provision, curriculum and management models of early childhood education, proper environment facilitating the learning of young children in each age range, trend of early childhood education, innovation of early childhood education, roles of teachers, parents, and communities in developing young children, creating interaction and positive communication between teachers and parents, observation on early childhood education provided in early childhood institutions 24

1083407 การศึกษาพิเศษ 3(3-0-6) Special Education ความหมาย ความส�ำ คญั และความเปน็ มาของการศึกษาพเิ ศษ กฎหมายและพระราชบัญญัติท่เี ก่ยี วขอ้ ง ประเภทเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ การพเิ ศษ การคดั กรอง การบรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรม่ิ การศกึ ษาแบบเรยี นรวม เทคโนโลยี สอ่ื สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกส�ำ หรบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล เทคนคิ การสอนเดก็ ทม่ี ีความต้องการพเิ ศษ Definition, importance and history of special education, related laws and statute, types of children with special needs, screening, early intervention service, inclusive education, technology, media and facilities for children with special needs, individualized education program, techniques for teaching children with special needs 1071307 ศิลปะ ดนตรี และลีลาส�ำ หรบั เด็กปฐมวยั 3(2-2-5) Art, Music and Movement for Young Children การบูรณาการองค์ความรู้ทางสุนทรียะในการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับธรรมชาติและพัฒนาการของ เด็กปฐมวยั ผ่านศลิ ปะ เพลง ดนตรี การเคลอื่ นไหวรา่ งกาย และการแสดงละครส�ำ หรับเดก็ ปฐมวยั การวาดภาพลาย เสน้ การออกแบบและสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมทห่ี ลากหลายทางวฒั นธรรม การใชส้ นุ ทรยี ะในการด�ำ เนนิ ชวี ติ ของเดก็ ปฐมวยั การบรู ณาการเทคโนโลยเี พอ่ื สบื คน้ ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครใู นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางศลิ ปะ ดนตรี และการแสดงละครในสถานศึกษาปฐมวยั การจดั กิจกรรมศลิ ปะ ดนตรี การแสดงละคร และการเคลื่อนไหวให้กับเดก็ ปฐมวัย การรว่ มมอื กบั ผปู้ กครองและชุมชนเพือ่ พัฒนาสนุ ทรยี ะของเด็กปฐมวยั Integration of artistic knowledge in learning management responding to the nature and child development through arts, songs, music, physical movement, and role play for young children, delineation, designing and creation of culturally diverse activities, using aesthetics in the life of young children, technologies integrated for Thai and English information retrieval for teachers in creating aesthetic piece of work in early childhood institutions, organizing of artistic, musical, role play, and movement activities for young children, collaboration with parents and community to develop aesthetic of young children 1072603 การประเมนิ พฒั นาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวยั 3(3-0-6) Developmental and Learning Assessment for Young Children ความหมาย ความส�ำ คญั และจดุ มงุ่ หมายการประเมนิ พฒั นาการ พฒั นาการของเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั การประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจรงิ เทคนิควธิ ีการประเมินพัฒนาการแนวใหม่ การจดั สารนทิ ศั น์ การใชเ้ ครอ่ื งมือและเกณฑ์ ในการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ในประเทศไทยและตา่ งประเทศทเ่ี ปน็ มาตรฐานสากล การสรา้ งเครอ่ื งมอื ในการประเมนิ พัฒนาการทุกด้านในชั้นเรียนท้ังรูปแบบของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการประเมิน พฒั นาการเดก็ การเขยี นรายงานและนำ�เสนอผลการประเมนิ พฒั นาการใหก้ ับผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ ง การนำ�ผลการประเมนิ ไป ใช้ในการพฒั นาเด็ก การฝึกประเมินพฒั นาการเด็กในสถานศกึ ษาปฐมวยั Definition, importance, and purposes of developmental assessment, the development of the child in each period, authentic developmental assessment of young children, new concept for developmental assessment technique, arrangement of documentation, using assessment tools and criteria for developmental assessment in Thai and other countries, creation of developmental assessment tools in all aspects for using in classroom both in Thai and English form, participation of parents in assessing the development of young children, reporting and presenting of assessment’s findings to stakeholders, the implementation of assessment result to young children development, practice on developmental assessment focusing on young children in the early childhood institution 25

1073318 การจัดการเรยี นรสู้ ำ�หรับเดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) Learning Management for Young Children รปู แบบการจัดการเรยี นร้ทู างการศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั กระบวนการพัฒนาหลกั สตู ร สถานศึกษา การออกแบบและการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การน�ำ หลักสูตรไปใช้ในชน้ั เรยี น การประเมนิ หลกั สูตร สถานศกึ ษา การจดั การชน้ั เรยี น การจดั การศกึ ษาปฐมวยั แบบคละอายุ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั การจดั กจิ กรรมประจ�ำ วนั เชงิ รกุ การจดั กจิ กรรมประจ�ำ วนั ของโรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ การสงั เกตการจดั กจิ กรรม ประจำ�วันของสถานศึกษา การบูรณาการการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรม การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การทดลองสอนในช้ันเรยี น Models of learning management of early childhood education, early childhood education curriculum, school curriculum development process, design and development of school curriculum in early childhood education, applying courses in classroom, school curriculum evaluation, classroom management, instructional organizing for mixed-age preschoolers, activities to develop thinking skills for young children, proactive daily activities, La-or Utis demonstration school daily activities, observation of daily activities of teachers in early childhood institution, writing learning experience plan, implementing learning experience plan to the classroom 1072314 โภชนาการและความปลอดภัยส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย 2(2-0-4) Nutrition and Safety for Young Children แนวคดิ หลักการจดั โภชนาการและอาหารส�ำ หรับเด็กปฐมวยั เทคนคิ การเตรยี มและการประกอบอาหาร การจดั กจิ กรรมประกอบอาหารส�ำ หรบั เดก็ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ประกอบอาหาร การดแู ลสขุ ภาพ อนามยั ของเดก็ ปฐมวยั วคั ซนี ส�ำ หรบั เดก็ โรคทพ่ี บบอ่ ยในเดก็ ปฐมวยั การปอ้ งกนั และการดแู ลรกั ษาโรคของเดก็ ปฐมวยั โรคภมู แิ พใ้ นเด็ก Concepts and principles related to nutrition and food for young children, preparation and cooking techniques, organizing cooking activities for young children, technology for information retrieval about cooking, health care for young children, vaccine for children, common diseases, prevention and care of young children diseases, allergies in children 1072315 คหกรรมศาสตร์ส�ำ หรับครปู ฐมวยั 2(2-0-4) Home Economics for Preschool Teacher งานบา้ น งานเรอื น งานประดษิ ฐ์ การจดั ตกแตง่ อาหารส�ำ หรบั เดก็ การประดษิ ฐส์ อื่ อปุ กรณจ์ ากกระดาษ ผา้ หรอื วสั ดอุ น่ื ๆ เพอ่ื การตกแตง่ และสรา้ งบรรยากาศในชนั้ เรยี น การจดั สภาพแวดลอ้ มใน ชนั้ เรยี นและนอกชน้ั เรยี น เทคนคิ การตัดเย็บเส้ือผ้าเบ้ืองต้น การดูแลและซ่อมแซมเส้ือผ้า การดูแลรักษาและซ่อมแซมส่ิงของเคร่ืองใช้ภายในบ้านและ ในชั้นเรยี น Housework, chore, crafts, food decoration for children, inventing media or equipment from paper, cloth or other materials for decoration and creating atmosphere in the classroom, creating good environment in inside and outside classroom, basic sewing techniques, caring and repairing clothes, caring and repairing classroom equipment and household utensils 26

1072316 ว่ายน�้ำ และการปฐมพยาบาล 2(1-2-3) Swimming and First Aid ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การวา่ ยน�้ำ อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อ�ำ นวยสะดวกส�ำ หรบั การวา่ ยน�้ำ การวา่ ยน�้ำ รปู แบบตา่ ง ๆ การออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ ส�ำ หรบั เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ การเขยี นโปรแกรม การออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ การเตรยี มความ พรอ้ มของรา่ งกาย การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวา่ ยน�ำ้ การฝกึ เปน็ ผดู้ แู ล ความเรยี บรอ้ ยในการจดั กจิ กรรมวา่ ยน�ำ้ ของเดก็ อบุ ตั เิ หตุ และการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ การชว่ ยเหลอื ตนเองและผอู้ นื่ ในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณภยั การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ จากการเจ็บป่วยและจากการเกดิ อุบัติเหตุ Introduction to swimming, swimming equipment and facilities, various swimming styles, water exercises for children with special needs, body preparation before swimming, training as a moderator in organizing children’s swimming activities, accidents and prevention in young children, self-help in daily life and in emergency situations and disasters, first aid for young children from illness and accident 1072317 ดนตรีส�ำ หรับครปู ฐมวยั 2(2-0-4) Music for Preschool Teacher ทฤษฏดี นตรเี บอ้ื งตน้ การอา่ นโนต้ ดนตรี คอรด์ การแตง่ เพลงส�ำ หรบั เดก็ การผลติ เครอื่ งดนตรี การฝกึ ปฏบิ ตั ิ การขบั รอ้ ง และการเลน่ เครอ่ื งดนตรีไทยและสากล การจดั กจิ กรรมดนตรสี ำ�หรับเด็กปฐมวัย Introduction to music theory, reading music notes, chords, composing a song for children, production of musical instruments, practicing chorus and playing Thai and international musical instruments, organizing music activities for young children 1071406 สือ่ ของเลน่ และการดูแลเด็กในยุคดิจทิ ลั 3(3-0-6) Instructional Medias, Toys and Raisings Young Children in the Digital Age การวเิ คราะห์ เลอื ก ประยกุ ต์ ออกแบบและผลติ สอ่ื ของเลน่ และทรพั ยากรการเรยี นรู้ ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ การบรู ณาการสอื่ ของเลน่ กบั กจิ กรรมประจ�ำ วนั โดยใชแ้ นวคดิ ของเลน่ ทฤษฎสี อ่ื และนวตั กรรมทางการศกึ ษาปฐมวยั การ ทดลองใช้และประเมนิ คุณภาพของส่อื และของเลน่ การใช้สอ่ื พนื้ ฐานและส่อื ยคุ ดจิ ิทลั การรู้เท่าทนั ส่อื และความฉลาด ทางดิจิทัล การสร้างวินัยเชิงบวกให้เด็ก การสร้างความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็ก กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความ สัมพันธใ์ นครอบครัว Analysing, selection, application, design and production of instructional medias, toys and learning resources to promote child development, the integration of instructional medias and toys with daily activities by using the concept of toys, theory of media and innovation in early childhood education, assessment and trial of media and toy, using the traditional media and the digital media, digital literacy and digital intelligence, positive discipline in young children, strengthening the emotional quotient for young children, activities to strengthen the relationship in the family 27

1071308 ภาษาพาเพลิน 3(3-0-6) Language for Play and Learn การพฒั นาทกั ษะทางภาษาฟงั พดู อา่ นเขยี นภาษาไทยผา่ นนทิ านวรรณกรรมเพลงค�ำ คลอ้ งจองและค�ำ กลอน ทเี่ หมาะสมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั การเลอื ก สรา้ ง ผลติ และการใชน้ วตั กรรม ทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพอ่ื พฒั นาภาษาส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั เทคนิคการเล่านิทาน การใช้นิทานและวรรณกรรมในการปรับพฤติกรรมทางภาษา การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการ จดั กจิ กรรมทางภาษา การประเมินพัฒนาการทางภาษา การมีสว่ นร่วมของผปู้ กครอง และชมุ ชนในการพัฒนาภาษา ส�ำ หรบั เด็ก การจัดโครงการพัฒนาภาษาดว้ ยนทิ านและวรรณกรรม To develop language skills in listening, speaking, reading, and writing through tales, literature, songs, rhyme and verse appropriate for young children, selection, creation, production, and use of the related innovations to promote language development for young children, techniques of telling tales and use of tales and literature for behavioural adjustment, use of instructional materials and technologies to arrange activities and assess the language development, participation of parents and communities in language development for young children through tales and literature,organizing language development project on the basis of tales and literature 1073406 การสอนแบบมอนเตสซอร่ี 3(2-2-5) Montessori Education ความเปน็ มาของการสอนแบบมอนเตสซอรี่ แนวคดิ และหลกั การทางการสอนแบบมอนเตสซอรี่ ความหมาย ของค�ำ ศพั ทท์ สี่ �ำ คญั เกย่ี วกบั การศกึ ษาแบบมอนเตสซอร่ี หลกั สตู รและการสอนแบบมอนเตสซอรี่ การจดั การชน้ั เรยี น การ จดั การเรยี นการสอน การสงั เกตและบนั ทกึ การท�ำ งานของเดก็ การประเมนิ ผลตามกลมุ่ วชิ าการทไี่ ดก้ �ำ หนดในหลกั สตู ร ขน้ั ตอนการท�ำ งานกบั อปุ กรณม์ อสเตสซอรี่ บทบาทของครู เดก็ และผปู้ กครองในสภาพแวดลอ้ มของมอนเตสซอร่ี ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ในการน�ำ เสนอข้นั ตอนการทำ�งานกบั เด็ก The history of Montessori education, concept and principles of Montessori, definition of technical terms in Montessori education, curriculum and teaching of Montessori, classroom management, teaching and learning management, observation and recording children’s work, assessment in area of curriculum, process to work with Montessori’s materials, teacher, children and parents’ role in Montessori environment, practicing Montessori materials presentation 1073319 ฉลาดร้คู ณิต-วทิ ย ์ 3(3-0-6) Mathematics-Science Intelligence แนวคดิ หลกั การ เกยี่ วกบั การจดั กจิ กรรมคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยสี �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั ทกั ษะ พนื้ ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวยั การออกแบบกจิ กรรมบรู ณาการ ทส่ี ง่ เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตรใ์ หก้ ับเดก็ ปฐมวยั สะเต็มศกึ ษาสำ�หรับเดก็ ปฐมวยั การจัดกิจกรรมการคณติ ศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ โดยบรู ณาการกับเทคโนโลยใี หก้ บั เดก็ ปฐมวัย และการใช้เทคโนโลยใี นการสืบค้นขอ้ มลู Concepts and principles related to arranging mathematical, scientific, and technological activities for young children, basic mathematical and scientific skills for young children, design of learning- integrated activities promoting mathematical and scientific skills to young children, STEM Education for young children, arranging mathematical and scientific activities with technology integrated for young children, using technologies in information retrieval 28

1073704 การเป็นผ้ปู ระกอบการด้านการศึกษาปฐมวยั 3(3-0-6) Entrepreneurship in Early Childhood Education แนวคิด หลักการ การวางแผน การจัดทำ�แผนธุรกิจอย่างง่าย หลักการบริหารงานคุณภาพ การเป็น ผู้ประกอบการ การลงทุน การวางแผนและการจัดการทางการเงินโดยใช้เทคโนโลยีทางการเงิน รูปแบบการบริหาร จัดการสถานศึกษาปฐมวัยทั้งภาครัฐและเอกชนทั้งในและต่างประเทศ เจตคติท่ีดีต่อการเป็นผู้ประกอบการ การ วางแผนและพฒั นาก�ำ ลงั คน การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทเี่ หมาะสมกบั สภาพเศรษฐกจิ และสงั คม การค�ำ นวณหาอตั ราผล ตอบแทนของการศกึ ษา ผลตอบแทนในทางสงั คม การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ทฤษฎที างเศรษฐศาสตรใ์ นการจดั ท�ำ โครงการ ด้านการศึกษาปฐมวัย Concepts, principles, planning, simple business plan planning, quality management principles, entrepreneurship, investment, planning and financial management using financial technology, model of early childhood educational institutions management in both public and private sectors both in Thailand and abroad, good attitude towards entrepreneurship, manpower planning and development, early childhood education management suitable for economic and social conditions, calculating the rate of return of education, social return, application of concepts and economic theories in organizing project in early childhood education 1074908 นวนิพนธ์ 2(0-6-0) Individual Innovation แนวคดิ ทฤษฎที างการศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษางานวจิ ยั ในประเดน็ ทสี่ นใจ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ เรยี นรู้ ท่ีหลากหลาย การสร้างนวตั กรรมทางการศกึ ษาปฐมวยั บนฐานของความสนใจ ข้อค้นพบท่ีได้จากการปฏิบตั กิ ารสอน ในสถานศกึ ษาและกระบวนการทางการวจิ ยั การนำ�เสนองานนวตั กรรมทางการศกึ ษาปฐมวัยที่ตนเองผลิตข้นึ Concepts and theories of early childhood education, study the related research articles, information retrieval from various resources, the creation of early childhood education innovation based on interest or issue finding from school internship and research process, presenting individual innovation in early childhood education 1071309 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับครปู ฐมวยั 3(3-0-6) English for Preschool Teacher การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น ภาษาองั กฤษ การสนทนาในหวั ขอ้ เกยี่ วกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั ทคี่ นุ้ เคย การอ่านเพ่ือความเข้าใจข้อความหรือบทความสั้น ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวัย เรียนรู้คำ�ศัพท์เฉพาะทางด้าน การศกึ ษาปฐมวยั การออกเสยี งภาษาองั กฤษทถ่ี กู ตอ้ งในระดบั ค�ำ วลี และประโยค การลงเสยี งเนน้ หนกั ในค�ำ การออกเสยี ง สงู ต�ำ่ ในประโยค การเขยี นประโยคภาษาองั กฤษรปู แบบตา่ ง ๆ ทถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั โครงสรา้ งไวยากรณ์ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ ข้อมูลทห่ี ลากหลาย การใช้ส่ือเทคโนโลยีเป็นเครือ่ งมอื ในการฝึกทักษะการฟงั พูด อา่ น เขยี นภาษาอังกฤษ To develop listening, speaking, reading and writing skills in English, conversation about various situation in daily life, reading for comprehension in passage or short article related to early childhood education, vocabularies and technical terms in early childhood education, correct English pronunciation of words, phrases and sentences, stress and intonation in English, writing many forms of English sentences in correct grammatical structures, information retrieval from various resources, using technology media as a tool for practicing listening speaking reading and writing skills in English 1551151 ทกั ษะการเรยี นภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Study Skills ทกั ษะการเรยี นภาษาองั กฤษ ทกั ษะการคน้ ควา้ ขอ้ มลู การบนั ทกึ การเรยี นรู้ การอา่ นเชงิ วชิ าการ การสรปุ ข้อมลู ทกั ษะการเขียนถอดความ การเขยี นรายงานและการเขียนอา้ งอิง English study skills, information retrieving skills, note-taking, academic reading, summarizing, paraphrasing, writing a report and reference skills 29

1071310 ภาษาอังกฤษเพอื่ พฒั นาวิชาชพี 3(3-0-6) English for Professional Development การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น ภาษาองั กฤษ การสนทนาในสถานการณต์ า่ ง ๆ เกย่ี วกบั ความสนใจ งานอดเิ รก ประสบการณส์ ว่ นตวั การใชส้ �ำ นวนภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณแ์ ละถกู กาลเทศะ การอา่ นเพื่อจับใจความสำ�คญั เร่อื งเกย่ี วกบั การศึกษาปฐมวัย การเลือกใช้ค�ำ ศัพท์เฉพาะทางการศึกษาปฐมวัย คำ�ท่ีมี ความหมายเหมอื นหรอื ตรงกนั ขา้ มกนั การเขยี นจดหมายอเิ ลคทรอนคิ หรอื ขอ้ ความโตต้ อบกบั เพอื่ นเพอ่ื ขอและใหข้ อ้ มลู อย่างง่าย ๆ การสืบค้นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพจากแหล่งข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือและหลากหลาย การพูดนำ�เสนองาน การใชส้ ื่อเทคโนโลยเี ปน็ เคร่อื งมอื ในการฝึกทักษะการฟัง พดู อา่ น เขียนภาษาอังกฤษ To develop English skills in listening, speaking, reading and writing, English conversation in various situations about the interests, hobbies, personal experiences, the proper use of English idioms in daily life, reading comprehension about early childhood education, using the terminology of early childhood education, synonyms and antonyms, writing an e-mail or message interact with friends to ask for and give simple information, the information retrieval related to the profession from a reliable and various sources, oral presentations, using media technology as a tool to practice listening, speaking, reading, writing in English 1072318 นทิ านและวรรณกรรมภาษาอังกฤษส�ำ หรบั เด็กปฐมวยั 3(3-0-6) English Tales and Literature for Young Children นทิ านและวรรณกรรมภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั แตล่ ะชว่ งวยั คตสิ อนใจ และการสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ การเขยี นและน�ำ เสนอนทิ านและวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การจดั กจิ กรรมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั โดยใชว้ รรณกรรม เป็นฐาน English tales and literature that are suitable for young children in each age range, moral and imagination, writing and presenting tales and literature for young children, organizing activities for young children by using literature based 1072319 ภาษาอังกฤษเพ่อื ความสนกุ สนาน 3(3-0-6) English for Fun เทคนคิ การสอนและการจดั กจิ กรรมโดยใช้ เพลง เกม นทิ าน ค�ำ คลอ้ งจองและสอ่ื การสอนอนื่ ๆ เพอื่ พฒั นา ภาษาองั กฤษ การเลอื กและการผลติ สอื่ ของเลน่ และเกมเพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษ ทเี่ หมาะสมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั ในแตล่ ะ ชว่ งวยั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งสรรคส์ อ่ื การสอนเพอื่ พฒั นาภาษาองั กฤษส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั เทคนคิ การจดั กจิ กรรม เพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษทส่ี อดคลอ้ งกบั พฒั นาการของเดก็ การบรู ณาการภาษาองั กฤษกบั กจิ กรรมประจ�ำ วนั ส�ำ หรบั เดก็ และการประเมนิ ความสามารถทางภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ตามชว่ งวยั การจดั โครงการเพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษ ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย Teaching techniques and organizing activity by using songs, games, tales, rhyme and other instructional material for developing English, selection and of instructional material, toys and games to improve English suitable for young children in each age range, using technology to create instructional material to improve English for young children, techniques for organizing activities to develop English responding to child development, integration of English language with daily activities for young children, assessing English language proficiency with age appropriate for young children, organizing project to promote English language development for young children 30

1073211 หลกั สตู รภาษาองั กฤษระยะสัน้ สำ�หรับเดก็ ปฐมวยั 3(3-0-6) English Short Course for Young Children ลกั ษณะของหลักสตู รระยะสน้ั ทีส่ ง่ เสริมการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ การออกแบบและ การพัฒนาหลกั สูตร ระยะสน้ั เพอ่ื การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษของเดก็ ปฐมวยั การน�ำ หลกั สตู รระยะสน้ั ทพ่ี ฒั นาขน้ึ ไปทดลองใชจ้ รงิ กบั เดก็ ปฐมวยั การประเมินหลักสูตรระยะสั้นท้ังก่อนและหลังการใช้หลักสูตร การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการสืบค้นข้อมูลและจัดทำ� หลักสูตรระยะสั้น Characteristics of short courses that promote English learning, design and development of short courses for young children English learning, adopting a short course developed to be a real trial with young children, assessment of short courses before and after using the curriculum, using technology for information retrieval and create short courses 1072320 การสอนภาษาอังกฤษส�ำ หรับเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Teaching English for Young Children แนวคดิ หลกั การ ความร้เู บ้ืองตน้ เกย่ี วกับการสอนภาษาอังกฤษสำ�หรับเด็กปฐมวัย ธรรมชาติการเรียนรู้ และล�ำ ดบั ขน้ั การเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ กลวิธี แนวการสอน และวิธีการสอนภาษาอังกฤษรูปแบบ ตา่ ง ๆ ทเี่ หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั การศกึ ษางานวจิ ยั เพอื่ วเิ คราะห์ และอภปิ รายขอ้ ดแี ละขอ้ จ�ำ กดั ของวธิ กี ารสอนภาษา อังกฤษแบบตา่ ง ๆ การประเมินผลการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษทเี่ หมาะสมกบั เด็กปฐมวัย Concepts, principles, basic knowledge of English language teaching for young children, learning nature and the stages of acquisition English as a foreign language, strategies, approach and method of teaching English suitable for young children, research studies to analyze and discuss the advantages and limitations of various English language teaching methods, assessment of English language learning suitable for young children 1553408 การพูดภาษาอังกฤษในยุคแหง่ ความหลากหลาย 3(3-0-6) English Speaking in the Age of Diversity หลกั การและวธิ กี ารพดู ในทช่ี มุ ชน การวางแผนและการจดั ระเบยี บวาระการพดู การพดู แบบไมไ่ ดเ้ ตรยี มการ มากอ่ น การพดู เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู การพดู เพอื่ โนม้ นา้ วใจ ฝกึ โตว้ าทแี ละอภปิ รายในประเดน็ โตแ้ ยง้ ทหี่ ลากหลาย และการพดู ในโอกาสพเิ ศษหรือโอกาสเฉพาะ ดว้ ยการคัดสรรค�ำ สำ�นวน และประโยคท่เี ก่ียวเนือ่ งกับหัวข้อทจ่ี ะน�ำ เสนอ Principles and methods of public speaking, planning and making speeches: impromptu speeches, informative speeches, persuasive speeches, concepts, analytical skills, rhetorical strategies, debate and discussion practice on various argumentative issues and speeches for special occasions: by selecting words, expressions and sentences relating to the topics 1073320 ภาษาอังกฤษในชั้นเรียนปฐมวยั 3(2-2-5) English in Early Childhood Class การออกแบบกิจกรรม การเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ การพฒั นาส่อื การสอน การจดั สภาพแวดลอ้ ม และการสร้างบรรยากาศ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำ�หรับเด็กปฐมวัย การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมตาม แผนการจัดประสบการณ์ การประเมินการจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยหลังการจัด ประสบการณก์ ารเรียนรู้ การใชภ้ าษาอังกฤษในชัน้ เรยี น คำ�ศพั ท์และประโยคท่ีใชใ้ นชน้ั เรยี นปฐมวยั Activity design, Writing lesson plans, development of teaching materials, setting up the environment and creating an atmosphere to promote learning English for young children, practice in organizing activities according to lesson plans, evaluation of activities and learning evaluation of young children after organizing learning experiences, classroom language, vocabularies and sentences used in English class of young children 31

1073321 ภาษาองั กฤษเพอื่ ยกระดบั วชิ าชพี 3(3-0-6) English for Professional Enhancement การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ นเขยี นภาษาองั กฤษการอา่ นบทความวชิ าการและบทความวจิ ยั ภาษาองั กฤษ เกยี่ วกบั การศึกษาปฐมวยั การแสดงความคิดเห็นเก่ยี วกบั ประเดน็ ปัญหาทางการศกึ ษาปฐมวัยท่ตี นเองสนใจ การนำ� เสนอขอ้ มลู ในสถานการณท์ เ่ี ปน็ ทางการ การเขยี นจดหมายอเิ ลคทรอนคิ และการเขยี นจดหมายแบบเปน็ ทางการอน่ื ๆ ตามรูปแบบมาตรฐาน การเขียนอา้ งอิงตามหลกั สากล การจดั โครงการเพื่อพฒั นาภาษาอังกฤษ To develop listening, speaking, reading and writing skills in English, reading academic articles and research articles in English about early childhood education, giving personal opinion about early childhood educational issues, presentation of the information in formal situation, writing e-mail and other formal correspondences in standard format, writing references based on standard format, organizing the project to improve skills in English language รายวชิ าเลอื กเสรีของสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 1073502 การเกดิ อย่างมคี ณุ ภาพ 3(3-0-6) The Quality Birth การใหค้ วามรกู้ บั พอ่ แม่ ผปู้ กครองเกยี่ วกบั การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการตงั้ ครรภ์ การดแู ลสขุ ภาพของหญงิ ตั้งครรภ์ การประเมินความเส่ียงของหญิงต้ังครรภ์ สารอาหารที่จำ�เป็นสำ�หรับหญิงตั้งครรภ์แต่ละไตรมาส การออก ก�ำ ลังกายทีเ่ หมาะสมสำ�หรับหญิงต้ังครรภ์ การเตรยี มตวั ก่อนคลอด กิจกรรมเพ่อื พัฒนาทารกในครรภ์ การดแู ลตวั เอง ของคณุ แมห่ ลงั คลอดและการดแู ลเดก็ แรกเกดิ การเลย้ี งลกู ดว้ ยนมแม่ บทบาทของพอ่ และครอบครวั ในการดแู ลคณุ แม่ กอ่ นและหลังคลอด การให้คำ�แนะน�ำ แก่ครอบครัวเม่ือ มลี กู คนตอ่ ไป Educating parents about pre-pregnancy preparation, health care of pregnant women, risk assessment of pregnant women, essential nutrients for each pregnancy trimesters, appropriate exercises for pregnant women, prenatal preparation, the activities for developing the fetus, postpartum self-care of mother and newborn, breastfeeding, the role of father and family in caring for mothers before and after birth, providing family guidance on how to behave when having a new baby 1073503 การเช่ือมสมั พันธร์ ะหว่างคนตา่ งร่นุ 3(3-0-6) Intergenerational Interaction ความส�ำ คญั และแนวคดิ ของการอยรู่ ว่ มกนั ของคนตา่ งรนุ่ การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนตา่ งรนุ่ ขอ้ ดแี ละ ขอ้ จ�ำ กดั ของการอยรู่ ว่ มกนั ของคนตา่ งรนุ่ การจดั สภาพแวดลอ้ มและระบบนเิ วศทเี่ ออ้ื ตอ่ การอยรู่ ว่ มกนั การจดั กจิ กรรม เพือ่ สานสัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้สูงอายุและเด็กปฐมวยั โดยใช้สอ่ื และเทคโนโลยใี นการจดั กจิ กรรม Definition, importance and concept of intergenerational interaction, building relationship between the elderly and young children, advantages and limitation of intergenerational interaction, the environmental management and ecosystem supporting the coexistence, organizing activities for intergenerational interaction by using media and technology 32

1073504 สภาวการณพ์ ่อ-แม่เลย้ี งเดีย่ ว 3(3-0-6) Circumstances of Single Parents แนวคิดพ้ืนฐานเรื่องครอบครัว ทฤษฎีสตรีนิยม สถานการณ์เก่ียวกับครอบครัวพ่อ-แม่เลี้ยงเด่ียวใน ประเทศไทย การให้ความรู้กับผู้ปกครองในการปรับตัวเมื่อเป็นครอบครัวเลี้ยงเด่ียว ความเครียดและการจัดการกับ ความเครียดท่ีเกิดจากสภาวการณ์เล้ียงเดี่ยว บทบาทของพ่อ-แม่เล้ียงเดี่ยว การศึกษากระบวนการเสริมพลังสำ�หรับ พอ่ -แมเ่ ลยี้ งเดย่ี ว การสรา้ งความเขม้ แขง็ และความสขุ ของพอ่ หรอื แมแ่ ละลกู การสรา้ งเครอื ขา่ ยชว่ ยเหลอื เกอื้ กลู ระหวา่ ง โรงเรยี นกบั ครอบครัวเลยี้ งเด่ยี ว Basic concept of family, feminist theory, situation about single parent families in Thailand, educating parents about adaptation when being single parent families, stress and stress management caused by circumstances of single parents, roles of single mother or single father, education and empowerment process for single parent families, strengthening and happiness of single parent families and their children, creating a support network between school and single parent families 1074909 แนวโนม้ และความเคลอ่ื นไหวทางการศกึ ษาปฐมวัย 3(3-0-6) Trend and Movement of Early Childhood Education การศกึ ษา วเิ คราะห์ ติดตาม และการจดั การความรูเ้ ก่ียวกับแนวโนม้ และความเคล่ือนไหวทางการศึกษา ปฐมวัย การวางแผนและการเขียนโครงการจัดสัมมนาและการฝึกปฏิบัติการจัดประชุมสัมมนาเกี่ยวกับแนวโน้มและ ความเคล่ือนไหวทางการศึกษาปฐมวัย การประเมินและการวิเคราะห์ผลการจัดสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย การใช้ เทคโนโลยใี นการสบื คน้ ข้อมูลและเปน็ เครือ่ งมอื ในการจดั สมั มนา The study, analysis, follow-up and knowledge management about trends and movements in early childhood education, planning, writing a seminar proposal and practice in organizing a seminar in trend and movement of early childhood education, assessment and analyzing the results of early childhood educational seminars, the application of technology in information retrieval and as a tools for organizing a seminar in trend and movement of early childhood education 1074316 ศาสตรข์ องพระราชากบั การศกึ ษาปฐมวยั 3(3-0-6) The King’s Philosophy with Early Childhood Education การบรู ณาการหลกั การและขนั้ ตอนการทรงงาน คณุ ธรรมค�ำ สอน ขอ้ คดิ จากพระราชนพิ นธแ์ ละพระราชด�ำ รสั การน�ำ พระราชด�ำ รสั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศกึ ษาปฐมวยั มาใชใ้ นการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั เดก็ นอ้ มน�ำ โครงการในพระราชด�ำ ริ สกู่ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั การน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นรสู้ �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั อยา่ งยัง่ ยืน การน�ำ การเล่นตามรอยพระยคุ ลบาท มาจดั ประสบการณก์ ารเรยี นร้เู พอ่ื ส่งเสรมิ พัฒนาการเด็ก และการ เผยแพรอ่ งคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในรปู แบบดจิ ทิ ลั ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษสคู่ รอบครวั และชมุ ชน ของเดก็ ปฐมวยั Integration of principles and procedures for his majesty King work, morality, teachings, ideas from his majesty King celebrations and speeches in early childhood education, leading the Royal project in the development of early childhood development, applying the sufficiency economy philosophy to apply in sustainable learning management for young children, introduction of his majesty King play to provide learning experiences to promote child development, dissemination of knowledge about early childhood development in digital form both in Thai and English to the family and the community of young children 33

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (4 ป)ี Suan Dusit

หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการประถมศกึ ษา (4 ป)ี ระดบั ปรญิ ญาตรี 1. ช่ือหลักสูตร หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการประถมศกึ ษา (4 ปี) ภาษาไทย Bachelor of Education Program in Elementary Education ภาษาอังกฤษ 2. ชือ่ ปริญญา ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (การประถมศึกษา) ภาษาไทย ชอ่ื เต็ม : ศ ษ.บ. (การประถมศกึ ษา) ชื่อยอ่ Bachelor of Education (Elementary Education) ภาษาองั กฤษ ช่อื เต็ม : B.Ed. (Elementary Education) ชือ่ ย่อ 3.วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร เพอ่ื สรา้ งบัณฑติ ทางการประถมศกึ ษายุคใหมใ่ ห้มคี ุณลกั ษณะดังต่อไปน้ี 1) มวี นิ ยั รบั ผดิ ชอบ รักและดูแลเอาใจใสผ่ ูเ้ รียน มคี า่ นยิ มและคุณลักษณะความเป็นครู ยดึ มัน่ จรรยาบรรณ วชิ าชีพครู มีความเปน็ พลเมืองทเี่ ข้มแข็ง และมคี วามเปน็ สวนดุสิต 2) มคี วามสามารถเชิงวชิ าชพี ครู รวมทั้งศาสตรแ์ ละศิลปด์ ้านการสอนในระดบั ประถมศกึ ษาแบบบรู ณาการ มี ความรู้ ทักษะและความเช่ียวชาญเฉพาะทางตามสาระวชิ า เพื่อเชอื่ มโยงและประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพัฒนาศักยภาพของผู้ เรยี นตามความแตกต่างระหวา่ งบุคคล โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นส�ำ คญั 3) มคี วามสามารถทางการส่อื สารและการจัดการเรยี นรู้ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4) มีทกั ษะทจ่ี ำ�เป็นส�ำ หรับศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นการสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนด้วยกระบวนการวจิ ยั เพอ่ื การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ และการปรับตวั สูส่ ากล 5) มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและความสามารถในการพฒั นาและการใชช้ มุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครใู นการพฒั นา ตนเอง 4. คณุ สมบัติของผ้เู ข้าศกึ ษา 1) ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า จากสถานศึกษาทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารรับรอง 2) ผา่ นการคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษาระบบกลาง (Admission) หรอื ผา่ นการคดั เลอื กตาม เกณฑข์ องมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 3) ผา่ นการทดสอบคุณลักษณะความเป็นครู 4) ผา่ นการทดสอบทักษะทางภาษาอังกฤษ 5) มีคุณลักษณะและบคุ ลิกภาพเหมาะสม และไมเ่ ป็นอปุ สรรคตอ่ การประกอบวชิ าชพี ครู 6) มเี จตคตทิ ดี่ ตี อ่ การประกอบวชิ าชพี ครรู ะดบั ประถมศกึ ษารกั เดก็ และมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจทจี่ ะพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองสมำ่�เสมอ 5. อาชพี ทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลงั ส�ำ เรจ็ การศึกษา 1) ครูผู้ช่วย ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ท้ังในโรงเรียนที่มีโครงการการศึกษานานาชาติ (International Programme) โครงการจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รภาษาองั กฤษแบบเขม้ ขน้ (Intensive English Programme) และ โรงเรยี นทีจ่ ัดการเรยี นการสอนแบบปกติ 2) ครแู นะแนวส�ำ หรบั เดก็ ประถมศกึ ษา หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นภาษาองั กฤษ (English as Additional Language: EAL Specialist) 3) นกั วชิ าการทางการศกึ ษา 35

โครงสรา้ งหลกั สตู ร สาขาวิชาการประถมศึกษา จ�ำ นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสูตรไมน่ อ้ ยกวา่ 147 หนว่ ยกิต มีสัดสว่ นจำ�นวนหนว่ ยกิต แยกตามหมวดวิชา และกลมุ่ วชิ า ดงั น ้ี 1. หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป 33 หนว่ ยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 108 หนว่ ยกติ 2.1 กลุ่มวชิ าชีพครู 35 หนว่ ยกติ 2.1.1 กลมุ่ วิชาการศกึ ษา 23 หน่วยกติ 2.1.2 กลมุ่ วชิ าการฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี 12 หนว่ ยกติ 2.2 กลมุ่ วชิ าเอก-โท 73 หนว่ ยกิต 2.2.1 กลุม่ วิชาเอก 43 หน่วยกติ 2.2.2 กลุม่ วิชาโท 30 หนว่ ยกติ 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หนว่ ยกติ การจดั การเรยี นการสอน หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป 33 หน่วยกิต 1500202 ความเป็นสวนดุสติ 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 3(2-2-5) 1500122 ทักษะการส่ือสารภาษาไทย 3(2-2-5) Thai Language Communication Skills 3(2-2-5) 1500123 ภาษาองั กฤษสำ�หรับวถิ ีชีวิตสมัยใหม ่ 3(3-0-6) English for Modern Lifestyle 3(2-2-5) 1500124 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สารสากล 3(3-0-6) English for International Communication 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกิน 3(2-2-5) Food for Life 3(2-2-5) 2500119 วถิ ชี วี ติ ตามแนวคดิ เศรษฐกิจหมนุ เวียน 3(2-2-5) Lifestyle for Circular Economy 2500120 คุณค่าของความสขุ Values of Happiness 2500121 พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก Thai and Global Citizens 4000114 จุดประกายความคิดเชิงธรุ กิจ Business Thinking Inspiration 4000115 การใช้ชวี ติ ในยคุ ดิจทิ ลั Living in the Digital Era 4000113 ความเขา้ ใจและการใช้ดิจทิ ัล Digital Literacy หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ใหเ้ รียนไมน่ อ้ ยกวา่ 108 หน่วยกิต กล่มุ วชิ าชพี คร ู 35 หนว่ ยกติ กลมุ่ วิชาการศึกษา 23 หน่วยกิต 1011112 ความเป็นครูวิชาชีพ Teaching Profession 2(2-0-4) 1051204 จติ วิทยาเพือ่ พฒั นาผู้เรยี น 3(3-0-6) Psychology for Learner’s Development 3(3-0-6) 1022305 หลักสูตรและวิทยาการการจดั การเรยี นร ู้ Curriculum and Learning Management Science 36

1032103 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ิทลั เพอ่ื การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค ์ 3(3-0-6) Innovation and Information Technology for Creative Learning 1042108 การวดั และประเมินการศกึ ษาและการเรยี นร ู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment 1043411 การวจิ ัยและการพฒั นานวัตกรรมเพือ่ พัฒนาผู้เรียน 3(3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners 1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยส�ำ หรบั ครู 3(3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers 1063106 การบรหิ ารการศึกษาและภาวะผูน้ ำ�ของครวู ชิ าชพี 3(3-0-6) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers กลุ่มวิชาการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี 12 หนว่ ยกติ 1013803 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 6 (270) School Internship 1 1014805 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6 (270) School Internship 2 กลุม่ วิชาเอก-โท 73 หนว่ ยกติ กลมุ่ วชิ าเอก 43 หน่วยกติ 1091102 การประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Elementary Education 1091301 การจัดการเรยี นรู้ภาษาไทยส�ำ หรบั ครูประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Thai Language Teaching for Elementary Education Teachers 1091302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีส�ำ หรบั ครูประถมศึกษา 3(2-2-5) Science and Technology for Elementary Education Teachers 1091303 สงั คมศึกษา ประวตั ศิ าสตร์ และภมู ปิ ัญญาไทยส�ำ หรับครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) Social Studies, History and Thai Wisdom for Elementary Education Teachers 1091304 คณติ ศาสตรส์ ำ�หรบั ครูประถมศึกษา 3(3-0-6) Mathematics for Elementary Education Teachers 1091305 สขุ ภาพและการออกกำ�ลังกายสำ�หรบั ครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) Health and Exercise for Elementary Education Teachers 1092401 ภาษากายและวรรณกรรมสำ�หรับเด็ก 3(3-0-6) Body Language and Literature for Children 1092302 การรู้ทักษะอาชพี เชงิ สร้างสรรค์ในโรงเรียนประถมศึกษา 3(3-0-6) Creative Career Literacy in Elementary Schools 1092303 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอ่ื สารสำ�หรบั ครปู ระถมศกึ ษา 3(3-0-6) English for Communication for Elementary Education Teachers 1092304 ศลิ ปะ ดนตรี และลลี าส�ำ หรับเด็กประถมศึกษา 3(2-2-5) Art, Music and Gesture for Elementary Education Children 1092305 การเรียนรู้แบบบรู ณาการและสะเต็มศกึ ษา 2(2-0-4) Integrated Learning and STEM Education 1083407 การศกึ ษาพิเศษ 3(3-0-6) Special Education 1072316 วา่ ยนำ�้ และการปฐมพยาบาล 2(1-2-3) Swimming and First Aid 37

1092306 ภาษาองั กฤษเพื่อการจัดการเรยี นรใู้ นหอ้ งเรียนประถมศกึ ษา 3(3-0-6) English Language for Elementary Education Classroom Teaching 3(3-0-6) 1092307 การเรยี นรู้แบบบูรณาการสาระความรกู้ ับภาษาอังกฤษ Content and Language Integrated Learning - CLIL 30 หน่วยกติ กลุ่มวชิ าโท (ให้เลือกจากกลุ่มตอ่ ไปนีเ้ พยี ง 1 กลมุ่ ) 3(3-0-6) ภาษาไทย 3(3-0-6) 1093509 ทักษะการอา่ นภาษาไทยในศตวรรษท่ี 21 3(3-0-6) Thai Language Reading Skill in 21st Century 3(3-0-6) 1093510 ทกั ษะการเขยี นภาษาไทยสำ�หรับครปู ระถมศกึ ษา 3(3-0-6) Thai Language Writing Skill for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1093511 ศิลปะการใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร 3(3-0-6) Thai Language Arts in Communication 3(3-0-6) 1093512 ภาษาไทย: มรดกของแผ่นดนิ 3(3-0-6) Thai Language: Territory Heritage 3(3-0-6) 1093513 ปริทรรศนว์ รรณคดไี ทย Thai Literature Review 30 หน่วยกติ 1093514 ปรทิ รรศน์วรรณกรรมรว่ มสมัยไทย 3(3-0-6) Contemporary Literature Review 3(3-0-6) 1093515 ภาษาศาสตรส์ ำ�หรับครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) Linguistics for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1093516 การเขยี นผลงานทางวชิ าการ 3(3-0-6) Academic Writing 3(3-0-6) 1093517 การสรา้ งบทเรยี นภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Lesson Creation 3(3-0-6) 1093518 วาทวทิ ยาสำ�หรบั คร ู 3(3-0-6) Speech for Teachers ภาษาอังกฤษ 1093705 เสยี งและสำ�เนยี งภาษาอังกฤษ English Language Sound and Accent 1093706 ภาษาองั กฤษและความเขา้ ใจในพหวุ ัฒนธรรม English Language and Cross-cultural Understandings 1093707 ภาษาองั กฤษกับความสัมพันธก์ ับชุมชนและโลก English Language and Relationship with Community and the World 1093708 ค�ำ ศัพทภ์ าษาอังกฤษสำ�หรบั ระดับประถมศกึ ษา English Language Vocabulary for Elementary Education Level 1093709 หลกั การใช้ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครูประถมศกึ ษา English Language Grammatical Usage for Elementary Education Teachers 1093710 การอ่านภาษาอังกฤษเพ่ือกา้ วทนั โลก English Reading for Accordance with the World 1093711 การประเมนิ ทักษะทางภาษาอังกฤษ English Language Skill Assessment 1093712 ภาษาองั กฤษในชน้ั เรยี นส่ือสาร English in Communicative Classrooms 1093713 ภาษาองั กฤษเพอื่ การน�ำ เสนอ English for Presentation 38

1093714 ภาษาอังกฤษสูค่ วามก้าวหนา้ เชิงวชิ าการ 3(3-0-6) English for Academic Advancement 30 หน่วยกติ คณิตศาสตร์ 3(3-0-6) 1093605 จ�ำ นวนและการด�ำ เนินการกบั การนำ�ไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ 3(3-0-6) Numbers and Operations with Real Situation Application 3(3-0-6) 1093606 การวดั และเรขาคณิตกบั การนำ�ไปใช้ในสถานการณจ์ ริง 3(3-0-6) Measurement and Geometry with Real Situation Application 3(3-0-6) 1093607 พีชคณติ กับการน�ำ ไปใช้ในสถานการณจ์ รงิ 3(3-0-6) Algebra and Real Situation Application 3(3-0-6) 1093608 สถิติและความนา่ จะเปน็ กบั การน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณ์จริง Statistics and Probability with Real Situation Application 3(3-0-6) 1093609 คณติ ศาสตรบ์ ูรณาการกับการนำ�ไปใช้ในสถานการณจ์ รงิ 3(3-0-6) Integrated Mathematics with Real Situation Application 3(3-0-6) 1093610 การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ Development of Mathematical Skills and Processes 30 หน่วยกติ 1093611 การประยุกต์ทฤษฎที างการศึกษาคณิตศาสตรใ์ นการพฒั นาการเรยี นการสอน 3(3-0-6) Application of Mathematical Education Theory in Mathematics 3(2-2-5) Instruction Development 3(3-0-6) 1093612 เทคโนโลยี และนวตั กรรมการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร ์ 3(3-0-6) Technology and Innovation for Mathematics Instruction 3(3-0-6) 1093613 ประเดน็ และแนวโน้มทางการเรยี นการสอนคณิตศาสตรร์ ะดบั ประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Issues and Trends in Mathematics Instruction at the Elementary Level 3(3-0-6) 1093614 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครูคณิตศาสตร์ 3(3-0-6) English for Mathematics Teachers 3(3-0-6) วิทยาศาสตรท์ วั่ ไป 1093615 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ Earth and Space Science 1093616 นวัตกรรมทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี Science and Technology Innovation 1093617 ไฟฟ้าและพลังงาน Electrical and Energy 1093618 นาโนเทคโนโลยีเบ้ืองตน้ Basic of Nanotechnology 1093619 เคมสี ภาวะแวดลอ้ มพนื้ ฐาน Fundamental of Environmental Chemistry 1093620 วสั ดุศาสตร์ Material Science 1093621 ความหลากหลายทางชวี ภาพ Biodiversity 1093622 สถติ สิ ำ�หรบั การวิจัย Statistics for research 1093623 วทิ ยาศาสตร์และสง่ิ แวดล้อม Science and environment 39

1093624 ชีวพลงั งาน 3(3-0-6) Bioenergy 30 หนว่ ยกติ สังคมศกึ ษา 3(3-0-6) 1093519 ศาสนาและหลักธรรมเพ่ือสันติสุขอยา่ งยง่ั ยนื 3(3-0-6) Religion and Moral Principles for Sustainable Peace 3(2-2-5) 1093520 ประวตั ิศาสตรแ์ ละสงั คมโลกในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) History and 21st Century Global Society 3(3-0-6) 1093521 การรเู้ รื่องภูมิศาสตรแ์ ละสิ่งแวดลอ้ ม 3(3-0-6) Geographic and Environmental Literacy 3(3-0-6) 1093522 เศรษฐกจิ ประเทศไทยและเศรษฐกจิ โลก 3(3-0-6) Thai and Global Economy 3(3-0-6) 1093523 พลวัตสังคมและการเมืองไทย 3(3-0-6) Social Dynamic and Thai Politics 1093524 ภมู ิศาสตร์ภมู ิภาคโลก Regional Geography of the World 1093525 ประชากรและการพัฒนา Population and Development 1093526 โลก สิง่ แวดลอ้ ม และการเปลยี่ นแปลง Earth, Environment and Change of Earth 1093527 สังคมและวัฒนธรรมไทยร่วมสมัย Contemporary Thai Society and Culture 1093528 ความสร้างสรรค์ในอารยธรรมโลก Creativities of World Civilization หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต รายวิชาใดๆ ในหลักสตู รระดับปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต โดยไมซ่ ำ�้ กบั รายวิชาทเี่ คยเรียนมาแลว้ และ จะต้องไมเ่ ปน็ รายวิชาทก่ี ำ�หนดให้เรยี นโดยไม่นบั หนว่ ยกิต รวมในเกณฑก์ ารสำ�เร็จการศกึ ษาของหลักสูตร 40

คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาการประถมศกึ ษา 1011112 ความเปน็ ครวู ชิ าชพี 2(2-0-4) Teaching Profession แนวคดิ และปรชั ญาการศกึ ษา ววิ ฒั นาการการศกึ ษากบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ทโลกและสงั คม แนวคดิ กลวธิ ี การจัดการศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน อุดมการณ์และจิตวิญญาณความเป็นครู คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ครู และจติ อาสา การพฒั นาความเปน็ ครูวิชาชีพใหม้ ีความรอบรู้ ทันสมยั และ ทันตอ่ การเปล่ียนแปลง Educational concepts and philosophies, educational evolution, transformation in global and social contexts, concepts and strategies in educational management including sufficient economy philosophy for sustainable development, ideology and spirituality of teaching profession, morality, ethics, code of conduct of teaching profession and public mind, development of teaching professionalism to contain mastery, modernity, and keeping up with changes. 1051204 จิตวิทยาเพือ่ พัฒนาผ้เู รยี น 3(3-0-6) Psychology for Learner’s Development แนวคดิ ทฤษฎี และหลกั การของจติ วทิ ยา การพฒั นาของสมองกบั การเรยี นรู้ การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเพอ่ื เขา้ ใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลท้ังผู้เรียนปกติและผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ การใช้เครื่องมือทางจิตวิทยา ท่ีเหมาะสมในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ และการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง เป็นระบบ Concepts, theories, and principles of psychology, human brain and learning development, analysis of learners’ differences both normal learners and learners with special needs, use of proper psychological tools to promote and develop learners to reach their highest potential, and systematic report on quality development of learners. 1022305 หลกั สตู รและวทิ ยาการการจดั การเรียนรู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management Science หลกั การ ทฤษฎกี ารพฒั นาหลกั สตู ร ตามแนวคดิ ปรชั ญาทตี่ อบสนองเปา้ หมายเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะ การออกแบบเนอื้ หาสาระโดยบรู ณาการกบั สภาพบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั ของ ผเู้ รยี นและทอ้ งถนิ่ หลกั สตู รสองภาษา วทิ ยาการการจดั การเรยี นรู้ ศาสตรก์ ารสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั การวางแผน และการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า และแบบเสมือนจริงในห้องเรียนปกตแิ ละห้องเรียนอจั ฉริยะ Principles theories of curriculum development established on philosophical concepts responding to goals of learners’ quality development, competency-based school curriculum development, content design integrated with diverse contexts of learners and their local areas, bilingual curriculum, learning management science, learner-centered approaches, planning and design of participated learning management, practicum of face-to-face and virtual practices on learning and classroom management in the normal and smart classrooms. 41

1032103 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการเรียนรูอ้ ย่างสรา้ งสรรค ์ 3(3-0-6) Innovation and Digital Technology for Creative Learning หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎนี วตั กรรม และกระบวนการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สารการศกึ ษาสมยั ใหม่ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบแนวคดิ ทางการศกึ ษาและกรอบการพฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ฝกึ ปฏบิ ตั ผิ ลติ ประยกุ ตใ์ ชส้ อ่ื และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น การคน้ ควา้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมโดยบรู ณาการขา้ มศาสตรเ์ พอื่ การเรยี นรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ Innovative principles, concepts, theories, and educational innovation development process. Modern information technology educational communication, Education transformation and learning framework in the 21stcentury, Production and implementation of media and digital technology for benefiting learners, research and development of learning resources and network, development and creation of multidisciplinary-integrated innovation for creative learning. 1042108 การวดั และประเมินการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment แนวคิด หลักการ เปา้ หมาย แนวทางการวัดและประเมินทางการศึกษาและการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การออกแบบ สร้าง และเลอื กใชว้ ธิ กี ารวัดและเทคโนโลยีการประเมินเพือ่ แก้ปญั หาและพฒั นาผูเ้ รยี นอย่างเหมาะสม การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมนิ พฒั นาการ และการใหผ้ ลปอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี นใหเ้ หมาะสมตาม ชว่ งวยั แนวคดิ หลกั การ จดุ มงุ่ หมายและกระบวนการของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ให้ไดม้ าตรฐานสากล Concepts, principles, goals, and direction of educational and learning measurement and assessment in the 21st century, design, creation, and selection of measurement methods and technology to suitably solve problems and develop learners, practices on measurement and assessment relevant to learning, assessment of learner’s progress, provision of feedbacks to the learners according to their age ranges properly, Concepts, principles, goals, and process of educational assurance to enhance educational quality according to international standards. 1043411 การวิจยั และการพฒั นานวัตกรรมเพือ่ พฒั นาผเู้ รียน 3(3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners แนวคดิ หลกั การเบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั วธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั การคดิ เชงิ นวตั กรรม รปู แบบ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม การออกแบบการวจิ ยั เพอื่ แกป้ ญั หาและพฒั นาผเู้ รยี น ฝกึ ทกั ษะศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม การบรู ณาการ ความรใู้ นศาสตรก์ ารสอนกบั การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นผา่ นกระบวนการวจิ ยั สมรรถนะทางการวจิ ยั ในบรบิ ทการศกึ ษา สมยั ใหม่ การนำ�เสนอผลการวจิ ัยและนวตั กรรมอยา่ งมีจรรยาบรรณ Concepts, basic principles related to research methodology, innovative thinking, research model for innovation development, research design for problem solving and development of learners, skill practices on study, search, research, and innovative development, integration of knowledge relevant to learning science and development of learner’s qualities though research process, research competencies in the modern educational contexts, presentation of research and innovation ethically. 42

1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยสำ�หรบั ครู 3(3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers หลกั และลกั ษณะส�ำ คญั ของภาษาไทยเพอื่ การสอี่ สารส�ำ หรบั ครใู นรปู แบบตา่ งๆ ชนดิ ของค�ำ การใชค้ �ำ วลี ประโยค หลกั การอา่ นรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง หลกั การและเทคนคิ การเขยี นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ การฟงั และการ ดูอย่างมีวจิ ารณญาณ การฝกึ พดู ต่อหนา้ ทป่ี ระชุมชน และการใชภ้ าษาเพื่อการเป็นครูมืออาชพี Principles and main characteristics of Thai language for a teachers’ variety of communication; type of words, usages of words, phrases, and sentences; principles of reading prose and poetry; principles and techniques of formal and informal writing; critical listening and observing; practice speaking publicly, including using language as a professional teacher. 1063106 การบรหิ ารการศกึ ษาและภาวะผู้น�ำ ของครูวิชาชีพ 3(3-0-6) Educational Administration and Leadership of Prefessional Teachers แนวคิด หลกั การ และทฤษฎเี กยี่ วกบั การบรหิ ารการศกึ ษา กฎหมายการศึกษา และแนวโนม้ การศึกษา ในอนาคต การศกึ ษาบรบิ ทของชมุ ชน การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครองและชมุ ชนบนพน้ื ฐานความแตกตา่ ง ทางวฒั นธรรมเพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพ การจดั ท�ำ โครงการทางการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี น แนวคดิ ทฤษฎภี าวะ ผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทของครวู ชิ าชพี การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และบคุ ลกิ ภาพเพอื่ เปน็ ตน้ แบบและด�ำ รงเกยี รตขิ องครู วชิ าชีพ Concepts, principles, and theories related to educational administration, educational laws, study of community contexts, building collaborative networks with parents and communities on multicultural basis to enhance learning quality of learners, operation of educational projects for learner’s development, concepts, theories of transformative leaders in teaching profession context, development of leadership and personality to be master teachers and maintain honor of professional teachers. 1013803 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(270) School Internship 1 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบ่ี รู ณาการความรแู้ ละศาสตร์ การสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นโดยตระหนกั ถงึ สขุ ภาวะของผเู้ รยี นรวมถงึ การดแู ล ชว่ ยเหลอื และพฒั นาผเู้ รยี น เปน็ รายบคุ คลตามศกั ยภาพ รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ และปฏบิ ตั งิ านอน่ื ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions, integration of knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing including caring, supporting, and developing learners individually according to their potential, systematic report on learners’ development outcomes, and fulfilling other tasks as assigned. 1014805 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 6(270) School Internship 2 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบี่ รู ณาการความรแู้ ละศาสตร์ การสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผู้เรยี น และปฏิบตั ิงานอ่ืนที่ได้รับมอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions which integrates knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing, research, creating technology, and applying digital technology to be beneficial for their learning outcomes and fulfilling other tasks as assigned. 43

1091102 การประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Elementary Education ศึกษา วิเคราะห์เกี่ยวกับหลักการ และแนวคิดของการประถมศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ จดุ มงุ่ หมายของการประถมศกึ ษา แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พระราชบญั ญตั กิ ารประถมศกึ ษา พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา แห่งชาติ หลักสูตรการประถมศึกษา สภาพและปัญหาของการประถมศึกษาในปัจจุบัน มุมมองจากงานวิจัยทางการ ประถมศกึ ษา ความหมายของพฒั นาการและการเรยี นรู้ พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ญั ญาของเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา การเรยี นรขู้ องเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา เชอื่ มโยง และอภปิ รายเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ ง กบั พฒั นาการ ทฤษฏกี ารเรยี นรู้ การศกึ ษาพฤตกิ รรมของเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา การใหค้ �ำ แนะน�ำ การเสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรม การเรียนรขู้ องเด็กระดบั ประถมศึกษา Study and analysis of principles and concepts of elementary education in Thailand and other countries, goals of elementary education, national education plans, elementary education acts, national education acts, elementary education curricula, states and problems of current elementary education, points of view from elementary education research studies, definitions of development and learning, developments of elementary children, physical, emotional, social, cognitive development, learning of elementary children, link and discussion learning management consistent with development, learning theories, behavioral studies of elementary learners, counseling, and suggestion of their learning performance. 1091301 การจดั การเรยี นรู้ภาษาไทยสำ�หรับครูประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Thai Language Teaching for Elementary Education Teachers ศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา การสอื่ สารภาษาไทยตามธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทยอย่างถูกต้องและสรา้ งสรรค์ การพฒั นาทกั ษะการอ่าน การเขยี น การฟงั และการพูดภาษาไทยในการสรา้ ง ความรแู้ ละน�ำ เสนอความคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน การพฒั นานวตั กรรมและ สอ่ื การเรยี นรภู้ าษาไทย การเลอื กใชแ้ บบเรยี นภาษาไทยใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา รวมทง้ั ศกึ ษาปญั หาและ แนวทางพฒั นาการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทย และการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาการรหู้ นงั สอื ภาษาไทยอยา่ งแตกฉานส�ำ หรบั ผูเ้ รยี นในระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษา Study of language change and influence, Thai communication in accordance with its nature and principles, development of the language reading, writing and listening and speaking to build up knowledge and express knowledge and ideas critically, subject to the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008), development of innovation and media for Thai learning, appropriate selection of Thai textbooks suitable for the school context, including study of problems and guidance on Thai learning management and practice of Thai literacy for elementary education learners. 44

1091302 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีส�ำ หรบั ครปู ระถมศึกษา 3(2-2-5) Science and Technology for Elementary Education Teachers ศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั การทฤษฎีกฎขอบเขตธรรมชาติและโลกทศั นข์ องวชิ าวทิ ยาศาสตร์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ยชาติ และสภาพแวดลอ้ ม ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละสรา้ งนวตั กรรมโดยใชเ้ ทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การเปน็ ผมู้ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญด้วยการปฏิบัติจริง ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา การใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื การเลอื กใชส้ อ่ื การเรยี นรู้ และแหล่งเรียนรู้ ในการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย และเหมาะสมกับผู้เรียนในระดับชั้น ประถมศกึ ษา Study and analysis of principles, theories, laws, scopes, nature and world view on sciences, relations between sciences, technology, humanity and environment; learning skills and development of innovation via digital technology and scientific methods. Being a person with scientific mind, morality and ethics, values in creative uses of sciences and technology. Techniques for setting up learner-centered activities using STEM education, problem-based learning, science projects, cooperative learning, selection of various learning materials and resources suitable for elementary education learners to seek knowledge and solve problems. 1091303 สังคมศึกษา ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญาไทยสำ�หรับครูประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Social Studies, History and Thai Wisdom for Elementary Education Teachers ศกึ ษา วเิ คราะหแ์ นวคดิ พน้ื ฐานของการจดั การเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมตามหลกั สตู รแกน กลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เศรษฐศาสตร์เบ้ืองต้น การดำ�เนินชีวิตในสังคมตามศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข หน้าท่ีพลเมือง การเป็น พลเมืองไทยท่ีเข้มแข็ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ อาเซียนศึกษาในระดับประถมศึกษา กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางประวตั ิศาสตร์ และทกั ษะการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 เพอ่ื สรา้ งความตระหนักเก่ียวกบั โลก Study and analysis of fundamental concepts of learning management for social studies, religions and cultures following the Basic Education Core Curriculum. Fundamental economics, leading one’s life according to the King’s philosophy and the sufficiency economy philosophy, democracy as the political form of government with the King as Head of State, civic duty, active citizenship, geography, history, Asian studies for elementary education learners, geoprocessing, historical process and 21st century skills to raise global awareness. 1091304 คณติ ศาสตรส์ �ำ หรบั ครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) Mathematical for Elementary Education Teachers ศึกษาความสำ�คัญและธรรมชาติของคณิตศาสตร์ หลักและแนวการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เชอื่ มโยง และอภปิ รายถงึ มโนทศั นพ์ น้ื ฐานทางคณติ ศาสตรต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน บรู ณาการความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั แนวคดิ จากงานวจิ ยั ดา้ นการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ และ กระบวนการท�ำ งานร่วมกนั ของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ส�ำ หรบั ใชอ้ อกแบบการจัดการเรียนรู้ การเลือกใช้สอื่ การเรยี นรู้ การจดั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กบั ธรรมชาติของเน้อื หา สถานการณ์จรงิ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผูเ้ รียน Study of importance and nature of mathematics, principles and maths learning management, the ability to analyze, connect and discuss mathematical fundamental concepts according to Basic Education Core Curriculum. Integration of mathematical knowledge, skills and processes, digital technology, concepts from research in mathematics teaching and the collaborative process of professional learning communities for apply to the design of learning management, selection of media for learning, setting up a learning environment and measuring and evaluating learning to develop learners appropriately with the nature of the content, real world situation and the difference between the students’ personalities. 45

1091305 สุขภาพและการออกก�ำ ลังกายสำ�หรับครูประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Health and Excercise for Elementary Education Teachers ศกึ ษา วเิ คราะหก์ ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของมนษุ ย์ การสรา้ งสมั พนั ธภาพในครอบครวั และกลมุ่ เพอ่ื น การสรา้ งสขุ นสิ ยั ทด่ี ี การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย การออกก�ำ ลงั กาย และการสรา้ งสมรรถภาพทางกายทเี่ หมาะสมส�ำ หรบั ผู้ เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา การปอ้ งกนั ตนเองจากยาเสพตดิ การลว่ งละเมดิ ทางเพศ การรจู้ กั ปฏเิ สธในเรอ่ื งทไี่ มเ่ หมาะสม ความส�ำ คญั แนวคดิ หลกั การดา้ นโภชนาการและการประกอบอาหารเบอ้ื งตน้ การเลอื กบรโิ ภคอาหาร ของเลน่ ของใชท้ มี่ ี ผลดตี อ่ สขุ ภาพและพฒั นาการของเดก็ การประเมนิ การเจรญิ เตบิ โต ปญั หาโภชนาการ การดแู ลเดก็ ในชว่ งพกั รบั ประทาน อาหารกลางวนั ในโรงเรยี น ความฉลาดทางอารมณ์ การเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ความรู้ ความเขา้ ใจ เพอื่ วเิ คราะห์ แปลความหมาย ประเมิน ปฏิบัติและจัดการตนเอง รวมทั้งช้ีแนะเร่ืองสุขภาพส่วนบุคคล ครอบครัวและชุมชนเพ่ือการมีสุขภาพท่ีดี การมคี วามปลอดภยั ในสถานการณต์ า่ งๆ การออกก�ำ ลงั กาย กจิ กรรม ทางกายและการเคลอื่ นไหวเบอ้ื งตน้ กจิ กรรมเขา้ จงั หวะ การเล่นเกม การเล่นกฬี า การละเลน่ พืน้ บ้าน การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสขุ ภาพ การปอ้ งกนั การบาดเจบ็ จากการเล่นกีฬา Study and analysis of human growth and development, building relationships with their family members and friends, healthy habits, body movements, appropriate exercises and Physical Fitness for primary pupils, self-prevention from drugs and sexual abuse and refusal of inappropriate matters, importance, concepts and principles of nutrition and culinary arts, selection of food, toys and appliances for consumption for children’s health and development, child growth asseeement, nutritious problems, lunch supervision at school, and emotional quotient, accessing to information, knowledge and understanding to analyse, interpret, evaluate, perform and arrange oneself, as well as advise individuals, families and their community for their good health and the safety in real-life situations, exercise, physical performance of elementary children, physical activities, and basic movement, rhythmic movement, game playing, sport, folk play, fitness promotion for health, and injury prevention from sport. 1092401 ภาษากายและวรรณกรรมส�ำ หรับเดก็ 3(3-0-6) Body Language and Literature for Children ศกึ ษาความส�ำ คญั ประวตั ิ และววิ ฒั นาการของวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ ในประเทศไทย ประเภทของวรรณกรรม สำ�หรับเด็ก วิเคราะห์องค์ประกอบ แนวคิด คุณค่าในวรรณคดีและวรรณกรรมจากหนังสือเรียนระดับประถมศึกษา ศึกษาความสำ�คัญของภาษากาย ฝึกการใช้ภาษากายและเสียง ในการเล่าเร่ือง การออกแบบและผลิตสื่อการสอน วรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ ประถมศกึ ษา ฝกึ การใช้ ภาษากาย เสยี ง และสอื่ ในการเลา่ เรอื่ งเพอ่ื ใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ส�ำ หรบั เดก็ ประถมศกึ ษา Study the importance, history and evolution of children’s literature in Thailand, and types of children’s literature. Analyze elements, value of language in the literatures from primary school textbooks. Study the importance of body language. Practice using body language and sound in storytelling. Design and produce the teaching materials for primary school children’s literature. Practice in using body language, audio and media in storytelling for learning management for primary school children. 46

1092302 การรู้ทกั ษะอาชีพเชงิ สร้างสรรค์ในโรงเรียนประถมศึกษา 3(3-0-6) Creative Career Literacy in Elementary Schools ศึกษาแนวคดิ เก่ียวกับงาน การวเิ คราะหง์ าน ทักษะกระบวนการการทำ�งาน ทกั ษะการจดั การ ทกั ษะการ ท�ำ งานรว่ มกนั ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา ความฉลาดทางอารมณ์ การรเู้ ทา่ ทนั สอื่ การสรา้ งชมุ ชนเขม้ แขง็ อาชพี ในชมุ ชน ทกั ษะการคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการท�ำ งาน งานบา้ น งานโภชนาการ การดแู ลเดก็ และผสู้ งู วยั การรเู้ รอื่ งเทคโนโลยที างการเงนิ การท�ำ บญั ชีในครวั เรือน งานประดษิ ฐ์ การออกแบบเบ้อื งต้น การใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์พ้ืนฐาน ตลอดจนการใช้พลังงานและ ทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ เพอื่ การด�ำ รงชวี ติ และการประกอบอาชพี อยา่ งประหยดั และรคู้ ณุ คา่ ตามศาสตรพ์ ระราชา และแนวคดิ ของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และกา้ วทนั กับการเปลยี่ นแปลงในโลกดิจิทลั และโลกอนาคต Study of careers, job analysis, operating procedure skills, management skills, teamwork skills, problem-solving skills, emotional quotient, media literacy, community resilience, community jobs, creativity skills for work, housework, nutrition careers, child and elderly care, financial technology literacy, household accounting, craft work, preliminary designs, use of basic materials and equipment, use of energy and local resources for living and making a good, economical and valued career subject to the late King’s philosophy and the philosophy of sufficiency economy to face and keep up with changes in the digital and future world. 1092303 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสารส�ำ หรับครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) English for Communication for Elementary Education Teachers ศกึ ษา วเิ คราะหก์ ารใชท้ กั ษะภาษาองั กฤษ การฟงั การพดู การอา่ น และการเขยี นในการสอื่ สารเพอ่ื แสวงหา ความรู้ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรสู้ กึ และความคดิ เหน็ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทงั้ ในสถานศกึ ษา ชมุ ชน และสงั คม ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะและถูกต้องหลักการใช้ภาษาอังกฤษ เข้าใจความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตก ต่างระหว่างภาษากบั วฒั นธรรมของเจ้าของภาษากบั ภาษาและวัฒนธรรมไทย ใชภ้ าษาอังกฤษในการเช่ือมโยง สืบคน้ ค้นควา้ รวบรวม และน�ำ เสนอขอ้ มลู ความรูท้ ีส่ ัมพนั ธก์ บั กรอบมาตรฐานฯ CEFR ระดับ B1 และกลมุ่ สาระ การเรยี น ร้อู ่นื ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน Study and analysis of communicative uses of English listening, speaking, reading and writing skills for acquiring knowledge, exchanging of information and news, expressing ideas and making arguments at study, in the community and in the society, tactfully and accurately in terms of English- language use, understanding of the relationships with similarities and differences between the native speakers’ language and culture and the Thai language and culture., use of English to link, search for, study, gather an present the data related with the B1 level of CEFR Framework and other learning areas, according to the Basic Education Core Curriculum. 1092304 ศลิ ปะ ดนตรี และลีลาส�ำ หรับเด็กประถมศกึ ษา 3(2-2-5) Art, Music and Gesture for Elementary Education Children ศกึ ษา วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบศลิ ป์ ทศั นธาตุ สรา้ ง และน�ำ เสนอผลงานทางทศั นศลิ ป์ จากจนิ ตนาการ การใช้ เทคนคิ วธิ กี ารของศลิ ปนิ ในการสรา้ งงาน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจองคป์ ระกอบดนตรี แสดงออกทางดนตรอี ยา่ งสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณค์ ณุ คา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรสู้ กึ ทางดนตรอี ยา่ งอสิ ระ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจองคป์ ระกอบลลี า วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณค์ ุณคา่ ของลลี า ถ่ายทอดความร้สู กึ ความคิดอย่างอสิ ระ สร้างสรรคก์ ารเคล่ือนไหวในรูปแบบ ต่าง ๆ ประยกุ ตใ์ ช้ทศั นศลิ ป์ ดนตรี และลีลาในชวี ติ ประจ�ำ วัน เห็นคุณคา่ ของงานศลิ ปะ ดนตรี และลลี าท่ีเป็นมรดก ทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ญั ญาไทย และสากล Study and analysis of components of arts, visual elements, development and presentation of visual arts from imagination, the use of artists’ techniques to create works with understanding of the elements of music and dramatic arts, to express ideas and feelings about music and gesture in a creative way, free analysis and critique of values of music and gesture, integration of various kinds of movement creation into visual and dramatic arts and music in everyday situations appropriate for primary pupils, and awareness of values from works from fine arts, music and gesture, as the cultural heritage, local wisdom, Thai wisdom and international wisdom. 47

1092305 การเรียนรูแ้ บบบูรณาการและสะเต็มศึกษา 2(2-0-4) Intregrated Learning and STEM Education ศกึ ษา ค้นควา้ วิเคราะห์ สรปุ องคค์ วามรู้เกยี่ วกบั แนวคิด หลักการ ทฤษฎี เก่ียวกบั การจดั การเรยี นรแู้ บบ บรู ณาการ วเิ คราะห์ เชอ่ื มโยง และอภปิ รายถงึ รปู แบบของการบรู ณาการหลกั สตู ร การจดั กจิ กรรมการสอน การวดั และ ประเมนิ ผลส�ำ หรบั การจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการสะเตม็ ศกึ ษา แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎขี อง สะเต็มศึกษา ความสำ�คัญของสะเต็มศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ การวัดและ การประเมินผลสะเตม็ ศกึ ษาในระดับประถมศกึ ษา Studying, researching, analyzing and summarizing the concepts, principles, theories on integrated learning management, models of curriculum integration, teaching activities, measurement and evaluation for integrated learning, STEM education, concept, principles, theories on STEM education, the importance of STEM education for the 21st century, learning management, measurement and evaluation for STEM education in elementary school levels. 1072316 ว่ายนำ้�และการปฐมพยาบาล 2(1-2-3) Swimming and First Aid ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการว่ายน้ำ� อุปกรณ์และส่ิงอำ�นวยสะดวกสำ�หรับการว่ายน้ำ�การว่ายนำ้�รูปแบบ ตา่ ง ๆ การออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ ส�ำ หรบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ การเขยี นโปรแกรมการออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ การเตรยี ม ความพร้อมของร่างกาย การฝึกปฏิบัติการว่ายน้ำ� การฝึกเป็นผู้ดูแลความเรียบร้อยในการจัดกิจกรรมว่ายน�้ำ ของเด็ก อุบัติเหตุและการป้องกันอุบัติเหตุ การช่วยเหลือตนเองและผู้อ่ืนในสถานการณ์ฉุกเฉิน และสาธารณะภัย การปฐม พยาบาลเบ้อื งต้นจากการเจบ็ ป่วยและจากการเกิดอุบัติเหตุ Introduction to swimming, swimming equipment and facilities, various swimming styles, water exercises for children with special needs, body preparation before swimming, training as a moderator in organizing children’s swimming activities, accidents and prevention in young children, self-help in daily life and in emergency situations, and disasters, first aid for young children from illness and accident. 1083407 การศึกษาพเิ ศษ 3(3-0-6) Special Education ความหมาย ความส�ำ คญั และความเป็นมาของการศึกษาพเิ ศษ กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เกย่ี วข้อง ประเภทเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ การพเิ ศษ การคดั กรอง การบรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ การศกึ ษาแบบเรยี นรวม เทคโนโลยี สอ่ื สิ่งอำ�นวยความสะดวกสำ�หรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล เทคนิคการสอนเด็กท่ี มคี วามต้องการพเิ ศษ Definition, significance and history of special education, related laws and statute, types of children with special needs, screening, early intervention service, inclusive education, technology, media and facilities for children with special needs, individualized education program, techniques for teaching children with special needs. 48

1092306 ภาษาองั กฤษเพอื่ การจัดการเรียนรใู้ นห้องเรียนระดบั ประถมศึกษา 3(3-0-6) English Language for Elementary Education Classroom Teaching ศกึ ษา ค้นคว้า วเิ คราะห์ สรปุ องค์ความรเู้ กี่ยวกบั การใชค้ ำ�สั่ง ค�ำ ขอร้อง คำ�แนะน�ำ คำ�อธบิ าย คำ�ชี้แจง การตอบรบั และการตอบปฏเิ สธ การแสดงความตอ้ งการ ความรสู้ กึ และ ความคดิ เหน็ ตอ่ เรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ตลอดจนการ ประยกุ ต์ใชไ้ วยากรณ์ ค�ำ ศัพท์ ประโยค สำ�นวน และภาษาที่ใชใ้ นการสื่อสารในชวี ติ ประจ�ำ วันในบรบิ ทห้องเรียนระดบั ประถมศกึ ษา โดยเลอื กใชภ้ าษา น�้ำ เสยี ง และกริ ยิ าทา่ ทางเหมาะสมกบั บคุ คลและโอกาสตามมารยาทสงั คม และวฒั นธรรม ของเจ้าของภาษา ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือให้การบริหารจัดการ การเรยี นรู้ในชั้นเรยี นเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ Studying, researching, analyzing and summarizing knowledge, according to the Basic Core Curriculum, of giving instructions, advice, and explanations; making requests, accepting and refusing invitations; expressing preferences, feelings, and attitudes towards different matters; applying grammar, vocabulary, sentences, expressions and idioms and classroom language used at elementary level with the appropriate choices of language, tone, and manners for different people and occasions along with and the native speakers’ social etiquettes and culture, so as for effective classroom management. 1092307 การเรียนรู้แบบบูรณาการสาระความรู้กับภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) Content and Language Integrated Learning - CLIL ฝกึ ทกั ษะการใชภ้ าษาองั กฤษไดแ้ ก่ทกั ษะการฟงั การพดู การอา่ นและการเขยี นในการเชอ่ื มโยงศกึ ษาคน้ ควา้ แสวงหาความรู้ วิเคราะห์ และสรุปองค์ความรู้ที่เก่ียวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนไม่ว่าจะเป็นคำ�ศัพท์ โครงสร้าง สำ�นวนภาษา และ หน้าท่ีของภาษาในการส่ือสารเพื่อเปิดมุมมองและโลกทัศน์ของตนเอง ภายใต้หัวข้อที่จำ�เป็นใน ศตวรรษที่ 21 ซงึ่ ไดแ้ ก่ ความตระหนกั เกยี่ วกบั โลก การรเู้ รอื่ งการเงนิ เศรษฐศาสตร์ ธรุ กจิ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ การร้เู รือ่ งหน้าท่ีพลเมือง การรู้เรื่องสุขภาพ และการรเู้ รอ่ื งสงิ่ แวดลอ้ ม จากขอ้ มลู สารสนเทศ และส่อื ตามสภาพจรงิ ทัง้ ทเ่ี ปน็ สอื่ สง่ิ พมิ พ์และสอื่ ดิจิทัล Practice of English skills - listening, speaking, reading and writing – to link, study, research, seek, analyze, and summarize knowledge of the other seven learning areas, in terms of vocabulary, language structures, idioms, and functions, so as to broaden your perspective and worldview, especially on the essential issues to learn in the 21st century: global awareness; financial, economic, business and entrepreneurial literacy; civic literacy; health literacy; and environmental literacy, through authentic materials, both in hard and soft copies. กลุ่มวชิ าโท ภาษาไทย 1093509 ทักษะการอา่ นภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) Thai Language Reading Skill in 21st Century ศกึ ษา คน้ ควา้ วเิ คราะหค์ วามรพู้ นื้ ฐานในการอา่ น ฝกึ การอา่ นออกเสยี ง เรยี นรกู้ ลวธิ กี ารอา่ นบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองอยา่ งถกู ตอ้ ง ไพเราะ เหมาะสมกบั เรอ่ื งทอ่ี า่ น มมี ารยาทและวจิ ารณญาณในการอา่ น ฝกึ การอา่ นจบั ใจ ความส�ำ คญั ตคี วาม แปลความ ขยายความ สรปุ ความ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วนิ จิ สาร น�ำ เสนอความคดิ เหน็ และการคาดคะเน เหตกุ ารณจ์ ากเรอ่ื งทอ่ี า่ นเปน็ ภาษาพดู และภาษาเขยี น รวมทง้ั สงั เคราะหแ์ ละประเมนิ คา่ ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการอา่ นขอ้ มลู สารสนเทศและสือ่ เทคโนโลยีต่าง ๆ อยา่ งรู้เท่าทัน โดยคิดเช่ือมโยงกับบริบททางสังคม ทักษะการเรยี นรู้ และเน้อื หา สาระการเรยี นร้ทู ่ีจ�ำ เป็นในศตวรรษท่ี 21 Study, investigation and analysis of basic knowledge in reading; practice of reading for pronunciation; learning of techniques in reading prose and poetry accurately, beautifully, appropriately, tactfully and critically; practice of reading for main ideas, interpretation, translation, extrapolation, summary, analysis, criticism, intensive reading, idea presentation and prediction of events in speech and writing. Synthesis and evaluation of knowledge gained from reading the information related to information and technological media with consciousness and awareness, by linking the information with social contexts, learning skills and the necessary themes in the 21st Century. 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook