Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

คู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

Published by Regis, 2021-04-01 08:56:49

Description: คู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

คำ�กลา่ วตอ้ นรับนักศกึ ษาใหม่ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564 ปีการศึกษา 2564 น้ี จะเป็นปีแห่งการเปล่ียนแปลงรูปแบบของการจัด กระบวนการเรยี นรู้ สำ� หรบั นกั ศกึ ษาเปน็ อยา่ งมาก อนั เนอ่ื งมาจากผลของการแพรร่ ะบาด ของไวรสั สายพันธุ์โคโรนา่ 2019 ทำ� ใหส้ ภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม ถูกบงั คับให้ คนต้องด�ำเนินชีวิตในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New normal) รวมท้ังเทคโนโลยีต่าง ๆ ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพ่ือน�ำมาใช้ตอบสนองความต้องการทางสังคม ท�ำให้ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในลักษณะถูกแทนท่ี (Disruption) มากกว่าการพัฒนา (Development) การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกัน ระบบ Online เข้ามาแทนที่การจัดชน้ั เรยี นปรกติ (On-site) และระบบการศึกษาสบื ค้น ดว้ ยตนเองผา่ นสอ่ื และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ กจ็ ะมบี ทบาททส่ี ำ� คญั หลกั สตู รและกระบวนการ จดั การกม็ กี ารเปลยี่ นแปลงใหม้ คี วามหลากหลาย เลอื กทจี่ ะเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการและ ความสนใจของผู้เรียนได้มากข้ึน รวมท้ังการปฏิบัติการจริงท่ีจะเพ่ิมทักษะของผู้เรียนให้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง สิง่ ต่าง ๆ เหล่านีเ้ ปน็ สว่ นทีม่ หาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ พยายามพัฒนาขึ้น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้พยายามพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน และตั้งใจอย่างเตม็ ทที่ ่จี ะท�ำใหน้ ักศกึ ษามคี ุณภาพ มปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุดในตวั ตน ของตนเอง มหาวทิ ยาลยั หวงั วา่ นกั ศกึ ษาทกุ คนคงจะประสบความสำ� เรจ็ ในการศึกษาเรยี นรูต้ ามทต่ี ้งั ใจไว้ (รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพนั ธิน) อธิการบดมี หาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 1

คำ�กลา่ วตอ้ นรับนักศกึ ษาใหม่ ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2564 ปีการศึกษา 2564 น้ี จะเป็นปีแห่งการเปล่ียนแปลงรูปแบบของการจัด กระบวนการเรยี นรู้ สำ� หรบั นกั ศกึ ษาเปน็ อยา่ งมาก อนั เนอ่ื งมาจากผลของการแพรร่ ะบาด ของไวรสั สายพันธุ์โคโรนา่ 2019 ทำ� ใหส้ ภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคม ถูกบงั คับให้ คนต้องด�ำเนินชีวิตในรูปแบบชีวิตวิถีใหม่ (New normal) รวมท้ังเทคโนโลยีต่าง ๆ ถูกพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพ่ือน�ำมาใช้ตอบสนองความต้องการทางสังคม ท�ำให้ การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในลักษณะถูกแทนท่ี (Disruption) มากกว่าการพัฒนา (Development) การจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาก็จะมีลักษณะเช่นเดียวกัน ระบบ Online เข้ามาแทนที่การจัดชน้ั เรยี นปรกติ (On-site) และระบบการศึกษาสบื ค้น ดว้ ยตนเองผา่ นสอ่ื และเทคโนโลยตี า่ ง ๆ กจ็ ะมบี ทบาททส่ี ำ� คญั หลกั สตู รและกระบวนการ จดั การกม็ กี ารเปลยี่ นแปลงใหม้ คี วามหลากหลาย เลอื กทจี่ ะเรยี นรตู้ ามความตอ้ งการและ ความสนใจของผู้เรียนได้มากข้ึน รวมท้ังการปฏิบัติการจริงท่ีจะเพ่ิมทักษะของผู้เรียนให้ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง สิง่ ต่าง ๆ เหล่านีเ้ ปน็ สว่ นทีม่ หาวิทยาลยั ตา่ ง ๆ พยายามพัฒนาขึ้น มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้พยายามพัฒนาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้เรียน และตั้งใจอย่างเตม็ ทที่ ่จี ะท�ำใหน้ ักศกึ ษามคี ุณภาพ มปี ระสทิ ธภิ าพสูงสุดในตวั ตน ของตนเอง มหาวทิ ยาลยั หวงั วา่ นกั ศกึ ษาทกุ คนคงจะประสบความสำ� เรจ็ ในการศึกษาเรยี นรูต้ ามทต่ี ้งั ใจไว้ (รองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพนั ธิน) อธิการบดมี หาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 1

2 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

คู่มือนักศึกษา ปีการศึกษา 2564 1 5 ค�ำ กล่าวตอ้ นรับนกั ศกึ ษาใหม่ ประจำ�ปีการศึกษา 2564 7 สว่ นที่ 1 แนะน�ำ มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต 8 l เกีย่ วกบั มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต 8 l Timeline สวนดสุ ิต 5.0 9 l ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกจิ 10 l ทศิ ทางของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต: จ๋ิว แต่ แจว๋ 10 l ตรามหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ 10 l สีประจำ� มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 11 l ดอกไม้ประจำ� มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ 13 l เพลงประจำ� มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต 14 สว่ นท่ี 2 ข้อควรรู้ของนักศึกษา 17 17 l กระบวนการจดั การเรยี นรู้ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 17 l การบรกิ ารวชิ าการสำ� หรับนกั ศกึ ษา 18 ■ ก�ำหนดการเปดิ และปิดภาคศึกษาของนกั ศกึ ษาภาคปกต ิ 19 ■ แนะน�ำวธิ กี ารตรวจสอบปฏิทินกิจกรรมวิชาการ 20 ■ การลงทะเบยี นเรียน 21 ■ ตารางเรยี น / ตารางสอบ 22 ■ โมบายแอปพลิเคช่ัน เพือ่ สนับสนนุ การวางแผนการเรียน 22 ■ การชำ� ระเงินค่าธรรมเนียมการศึกษา 22 ■ การจัดสอบ TOEIC 26 ■ การบรกิ ารโปรแกรมการเรยี นภาษาองั กฤษมัลตมิ ีเดยี ชุด English Discoveries Online 26 ■ การบรกิ ารอบรมภาษาองั กฤษพชิ ิต TOEIC 26 ■ การบริการทดสอบภาษาจนี (HSK, HSKK) 26 l การบริการสวสั ดกิ ารส�ำหรบั นกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยสวนดุสิต 27 ■ การผอ่ นผนั ช�ำระค่าบ�ำรุงการศกึ ษา 27 ■ การประกันอบุ ตั ิเหต ุ l กองทนุ เงินให้กู้ยืมเพอ่ื การศึกษา (กยศ.) l ทนุ การศกึ ษา ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 3

ส่วนที่ 3 สถานทีแ่ ละหนว่ ยงานท่สี ำ�คัญของมหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต 29 ■ สิ่งสกั การะค่มู หาวทิ ยาลยั 30 31 ■ ศูนยศ์ ลิ ปวัฒนธรรม 32 ■ สำ� นกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น 33 ■ ส�ำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 34 ■ สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม 35 ■ กองพฒั นานักศึกษา 36 ■ สวนดสุ ิตโพล 36 ■ อาคารรกั ตะกนษิ ฐ 37 ■ สวนดสุ ติ โฮมเบเกอร ่ี 37 ■ โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ 38 ■ ศูนย์พัฒนาทนุ มนุษย์ 38 ■ ส�ำนักกิจการพเิ ศษ 39 ■ ศูนย์บริการสอ่ื และส่ิงพิมพ์กราฟฟิคไซท์ 40 ■ เครอื่ งแบบและเคร่อื งแตง่ กายของนกั ศึกษา 42 ■ ขอ้ มลู คณะ/โรงเรียน และหลกั สูตรท่จี ัดการศกึ ษา ณ วทิ ยาเขต ศูนย์การศึกษานอกสถานที่ต้งั 53 54 สว่ นท่ี 4 ขอ้ บงั คบั ระเบียบ ประกาศ และสาระน่ารู้ ทีเ่ ก่ียวกบั นักศึกษา 54 และการเรียนการสอน 55 ■ ขอ้ บังคับ ระเบียบ ประกาศท่ีเก่ยี วกับนกั ศึกษาและการเรียนการสอน ■ อัตราค่าธรรมเนยี มการศึกษา ■ สาระน่าร ู้ 4 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ส�วนที่ 1 แนะนำมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ขอ� ควรรข�ู องนักศึกษา ส�วนท่ี 2 สว� นท่ี 3 สถานทแี่ ละหน�วยงานท่ีสำคัญ ของมหาวิทยาลยั สวนดุสติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 5

6 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

เก่ยี วกบั มหาวิทยาลยั สวนดุสติ พระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาพลรยั ะสรวานชดบสุ ญั ิตญพตั .ศิ . ๒๕๕๘ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วนั ที่ ๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๘ มผี ลบงั คบั ใชต้งั แตว ันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ภูมิพลอดลุ ยเดช ป.ร. มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดสุ ติ จึงเปล่ยี นสถานะเปน ใหไว ณ วันที่ ๑๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ มหาวิทยาลยั ในกำกบั ของรัฐ โดยใชชอื่ วา เปน ปท่ี ๗๐ ในรชั กาลปจจบุ ัน “มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตามพระราชบัญญัติ สว่ นราชการ และไมเ่ ปน็ รฐั วสิ าหกจิ แตเ่ ปน็ หนว่ ยงานของรฐั มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 เป็นมหาวิทยาลยั สวนดุสติ ท่ีอยู่ภายใต้การก�ำกับของรัฐ ท�ำให้มหาวิทยาลัยสามารถ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ. 2558 ซึ่ง กำ� หนดหรอื ออกรปู แบบการบรหิ ารจดั การดว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ ง ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาในวนั ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 มีอิสระและความคล่องตัวในการบริหารจัดการมากย่ิงขึ้น และมผี ลบงั คับใช้เมื่อวันท่ี 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 มีฐานะ ท้ังการบริหารงานทั่วไป การบริหารจัดการงบประมาณ เป็นหน่วยงานในก�ำกับของรัฐ ภายในการก�ำกับดูแลของ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานวิชาการ โดย รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มหาวทิ ยาลัยยังคงมีภารกิจของสถาบนั อดุ มศึกษาตามเดมิ โดยทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดี ศรสี นิ ทรมหา ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย ในวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 วชริ าลงกรณ มหศิ รภมู พิ ลราชวรางกรู กติ สิ ริ สิ มบรู ณอดลุ ยเดช อันถือเป็นสิริมงคลยิ่งแก่มหาวิทยาลัย สภามหาวิทยาลัยใน สยามนิ ทราธิเบศร ราชวโรดม บรมนาถบพิตร พระวชิรเกลา้ การประชมุ ครง้ั ที่ 1/2558 เมอ่ื วนั ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 เจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 พระราชทานโฉนดที่ดินใน จึงก�ำหนดใหว้ นั ดังกล่าว คอื วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 พระปรมาภิไธยแก่มหาวิทยาลัยสวนดุสิตเพื่อใช้ประโยชน์ เป็นวันเกิดของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ส�ำหรับการ ทางการศกึ ษา เนอื้ ท่ี 37 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา เมอื่ วนั อาทติ ย์ เปลย่ี นแปลงสถานะในครงั้ น้ี มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ไมถ่ อื เปน็ ท่ี 22 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 ณ พระทนี่ ั่งอัมพรสถาน ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 7

Time line สวนดุสิต 5.0 ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ ปรัชญา วิสัยทศั น พนั ธกิจ มหาวทิ ยาลัยท่ีสามารถสรา ง มหาวทิ ยาลัยเฉพาะทางที่มอี ตั ลักษณ 1. การผลติ บัณฑติ ความเขม แขง็ ในการอยูร อดได โดดเดนดานอาหาร การศกึ ษาปฐมวยั 2. การพัฒนานวัตกรรมและงานวจิ ยั อยางยง่ั ยืน บนพน้ื ฐานของ อุตสาหกรรมบรกิ าร และการพยาบาล 3. การทำนบุ ำรุงศิลปวัฒนธรรม การจัดการคณุ ภาพ และสขุ ภาวะ ภายใตกระบวนการ 4 การบริการวชิ าการ (Sustainable Survivability พัฒนาเพอ่ื ความเปนเลศิ บนพน้ื ฐาน Based on Quality ของการจดั การคณุ ภาพ Management) 8 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ทศิ ทางของมหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต: จิว๋ แต่ แจว๋ SDU Directions: SMALL but SMART ทศิ ทางของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต: จดุ เนนสวนดุสิต พ.ศ. 2563-2567 ดวยสภาวการณและบริบททางสงั คมทีพ่ ลิกผนั เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเรว็ ในปจ จุบนั ไดสงผลตอ การจัดการศึกษาในทุกระดบั ช้ัน รวมถงึ การศกึ ษาในระดบั อุดมศึกษาภายใต ก ารกำกับ ดจงึแู ไลดขดอำงเนกรนิ ะกทารรวองยกา างรตออดุ เนมอื่ศงกึ เษพาอ่ื พวทิัฒยนาาศจาุดสเตนรน  ฉวจิบัยบั แใลหะมน พวตัทุ กธรศรักมรามชห2า5วทิ63ย-า2ล5ัย6ส 7วนดสุ ติ เพอื่ กำหนดทศิ ทางและแนวทางอนั คมชดั ในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยใหบ รรลุ ผลสำเร็จตามเปาหมายและวัตถุประสงคท ่ีมงุ หวงั ท่ีสอดผสานกับแนวทางชีวติ วิถใี หม 1 การปรบั เปลยี่ น กระบวนการคิด แนวทาง 2 บคุ ลิกภาพที่โดดเดน แหง คานิยม 3 องคกรท่มี ีความโปรงใส 4 การทำงานบนรากฐาน แหง ความประณตี จดุ มุงเนนเชงิ กลยุทธ ความหลากหลายทางการศกึ ษา การบริการส่ิงอำนวย องคกรทพี่ รอมรับ จดุ เนน (SP ซรี ่ยี ) ความสะดวกพน้ื ฐาน การเปลยี่ นแปลง  การพฒั นาหลกั สูตรท่ีทา ทายเพ่อื ความยงั่ ยืน  ความเสถยี รของระบบสนบั สนนุ  การปรับกฎหมาย ระเบียบ  ความเปนเลิศในการผลติ การทำงาน หลกั สูตรแบบบูรณาการ หลกั สูตรท่ีโดดเดน ขอ บงั คบั ใหเ ทาทนั สถานการณ • กำลงั คน หลักสูตรแบบยดื หยนุ หลักสูตรท่ตี อบสนองผเู รยี น ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ โครงสราง  การสรา งและหลอ หลอม • พลงั สตปิ ญญา การผสานแบบกลมกลนื กบั แนวทางชวี ิตวิถีใหม พ้ืนฐานทห่ี ลากหลาย การบรกิ ารดจิ ิทัล • ความรแู ละการสรา งนวตั กรรม คนสวนดุสิต  มงุ เนน การผสมผสานระหวา งการเรยี นรู  พน้ื ทส่ี รางสรรคการเรียนรูและ โดยมีอัตลกั ษณ ท้ังในและนอกช้ันเรยี นกับการเรียนรผู าน ส่ิงอำนวยความสะดวก การเพ่มิ ขีดความสามารถทางความคดิ ระบบออนไลน และความคิดสรางสรรค การมงุ ม่ันใ นงาน - ดานการศึกษาปฐมวัยแบบพหวุ ิทยาการ หองสมุดมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ การคิดเชงิ ออกแบบ การรถู ึงลำดบั - ดานอาหารบนรากฐานแหง การเรียนรใู นพนื้ ทก่ี ารเรยี นรูของมหาวทิ ยาลัย คาเฟ ไลบรารี่ พน้ื ท่ีการเรยี นรูร ว มกัน ความสำคัญและสภาวการณเรง ดวน การเรยี นรจู ากการปฏบิ ตั ิงานจรงิ การเรียนรู พนื้ ที่กจิ กรรม ระบบการเรยี นรแู บบ ทักษะใหม ความเช่ียวชาญ ความเชี่ยวชาญดวยการปฏิบตั ิ บนฐานแหง เทคโนโลยี ออนไลน จากการปฏบิ ตั ิ - ดา นการพยาบาลและสขุ ภาวะ  การสง เสรมิ การเรยี นรูต ลอดชวี ิต  สภาพแวดลอ ม  การจดั สรรงบประมาณอยา งคุมคา สำหรบั เด็กและผูส ูงวยั เพอ่ื พัฒนาคนทกุ ชวงวยั - ดานอตุ สาหกรรมบรกิ าร มหาวทิ ยาลัยทส่ี วยสะอาดและใสใ จ ระบบคลงั หนว ยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตร ส่งิ แวดลอ ม การออกแบบท่เี ปน สากล ดว ยมาตรฐานระดบั สากล เพ่ือยกระดบั ทักษะ/เพิ่มทกั ษะ/และสงเสรมิ เพอ่ื คนทง้ั มวล ทักษะใหม  ระบบสนับสนนุ ผเู รียน  การเช่ือมโยงกบั ผทู ี่เกี่ยวขอ งในการ สนับสนุนงานหรอื กจิ กรรมของมหาวทิ ยาลยั ระบบการใหคำปรกึ ษาและชว ยเหลือ ทุนการศกึ ษา การบรกิ ารดา นสขุ ภาพ ศษิ ยเกา ผูปกครอง นกั ศึกษาตางชาติ การใหค วามชว ยเหลอื นักศกึ ษาดาน ผูม ีสวนไดสวนเสยี และชมุ ชน วชิ าการ มหาวิทยาลัยใชการบรหิ ารจดั การแบบพลวตั เปนแกนหลกั ขององคก ร เอกสารทศิ ทางมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ : จ๋วิ แต่แจ๋ว พ.ศ. 2563-2567 (SDU DIRECTIONS : SMALL BUT SMART) ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 9





































28 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ขอ� ควรรข�ู องนักศกึ ษา ส�วนที่ 2 สว� นที่ 3 สถานที่และหนว� ยงานทส่ี ำคัญ ของมหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 29

สง่ิ สักการะคมู่ หาวทิ ยาลัย ศาลหลวงปชู่ ัยมงคล เปน็ ศาลพระภมู ทิ ช่ี าวสวนดสุ ติ ใหค้ วามเคารพนบั ถอื ตั้งขนึ้ ตามคติความเชอ่ื แบบพราหมณ์ เพ่อื ดูแลปกปักรักษา ปกครองดูแลเคหะสถานบ้านเรือน สร้างขึ้นเม่ือคร้ังตั้ง โรงเรียนการเรือนพระนครประมาณปี พ.ศ. 2484 โดย มหาวิทยาลัยจะก�ำหนดจัดพิธีบวงสรวงในช่วงเดือน กมุ ภาพันธ์ของทุกปี และในโอกาสตา่ ง ๆ 30 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม สถาบันภาษา ศิลปะและ วฒั นธรรมมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เดมิ เปน็ ตำ� หนกั ทพี่ ระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง ไว้เป็นที่ส�ำราญพระราชหฤทัยใกล้กับพระราชวังดุสิต ตามแบบอยา่ งของพระราชวงั เบนิ สตอฟ ประเทศเดนมาร์ก ซึ่งใช้เป็นที่ประทับของพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั 3 พระองค์ คอื พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าเยาวภาพงศส์ นทิ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ พระองค์ เจ้าประภาพรรณพิไลย และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์ เจ้าวาปีบษุ บากร ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 31

ส�ำ นักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียน เป็นหน่วยงานทด่ี แู ลข้อมูลทางการศึกษาทีเ่ ก่ียวขอ้ ง งานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ประกอบดว้ ย 2 จดุ บรกิ าร กับงานทะเบยี นและสถิติการศึกษาของนักศึกษา สนับสนนุ โดย เปิดให้บรกิ ารในวนั จันทร์ - วนั ศกุ ร์ เวลา 08.30 - บริการด้านวิชาการ การลงทะเบียนเรียน การสอนและ 16.30 น. ยกเว้นวันเสาร์ - วันอาทิตย์ และวันหยุด การสอบ รวมถึงการจัดหาบริการด้านระบบสารสนเทศ นกั ขัตฤกษ์ สำ� หรบั นกั ศึกษา โดยในปัจจุบนั ส�ำนกั สง่ เสรมิ วิชาการและ สำ� นักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน งานทะเบียนนักศึกษา งานอ�ำนวยการและสื่อสารองคก์ ร โทรศัพท์ 02-244-5175 โทรศพั ท์ 02-244-5171-2 งานฐานข้อมูล โทรสาร 02-244-5176 โทรศพั ท์ 02-244-5234-5 งานสง่ เสรมิ วชิ าการ งานขอขนึ้ ทะเบยี นรบั ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา โทรศพั ท์ 02-244-5173 โทรศพั ท์ 02-244-5467 งานบรกิ ารนักศกึ ษา ณ จดุ บรกิ าร อาคาร 2 ชัน้ 1 โทรศัพท์ 02-244-5174 https://www.facebook.com/regis.suandusit 32 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

สำ�นกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส�ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และเพมิ่ ชอ่ งทางการใหบ้ รกิ ารระบบเครอื ขา่ ยไรส้ าย (Wi-Fi) เปน็ หนว่ ยงานใหบ้ รกิ ารระบบการเรยี นรู้ ระบบเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มากกวา่ 700 จดุ ทง้ั ในมหาวิทยาลยั วทิ ยาเขต และศนู ย์ และสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับนักศึกษาท่ีเข้าถึง การศึกษานอกสถานที่ตั้ง ท่ีครอบคลุมทุกพื้นที่การใช้งาน ระบบตา่ ง ๆ ได้ทกุ พื้นทีใ่ นรปู แบบ Smart Spaces รองรบั โดยปัจจุบนั ส�ำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยฯี เปิดบรกิ าร การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 อีกทงั้ สง่ เสริมการพฒั นาทักษะ วนั จันทร์ - วนั ศุกร์ เวลา 08.00-16.30 น. ยกเวน้ วนั เสาร์ Digital Literacy เพ่อื ขับเคลื่อนมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 5.0 - วันอาทิตย์ และวนั หยดุ นักขัตฤกษ์ ส�ำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส�ำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ (อาคาร 6) โทรศัพท์ 02-244-5301-3, 5306, 5308 มหาวิทยาลยั สวนดุสิต เลขท่ี 295 ถนนนครราชสีมา ฝ่ายห้องสมดุ เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 โทรศพั ท์ 02-244-5321, 5305 @aritdusit ฝ่ายพฒั นาระบบการเรยี นรู้ (TBL) www.arit.dusit.ac.th โทรศัพท์ 02-244-5226, 5220 02-244-5308 ฝา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ 02-244-5240, 5233 ฝา่ ยศูนย์ข้อมูลกลาง (Data Center) โทรศพั ท์ 02-244-5244, 5225 ส�ำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ http://www.arit.dusit.ac.th/2019/ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 33

สถาบนั ภาษา ศลิ ปะและวัฒนธรรม สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม (Institute of ศิลปะและวัฒนธรรม เช่น การจัดสอบ TOEIC (Test of Art, Language and Culture) เป็นหน่วยงานสนับสนุน English for International Communication) การให้ การด�ำเนินภารกิจของมหาวิทยาลัยสวนดุสิตด้านการผลิต บริการโปรแกรมการเรียนภาษาอังกฤษมัลติมีเดีย English บัณฑิตท่ีมีความรู้ความสามารถด้านภาษาไทยและภาษา Discoveries Online การบรกิ ารอบรมภาษาองั กฤษ “พชิ ติ ต่างประเทศ รวมถึงการบริการวิชาการด้านการท�ำนุบ�ำรุง TOEIC” การจัดสอบภาษาจีน HSK, HSKK ศนู ย์การเรยี นรู้ ศิลปะ วัฒนธรรมและความเป็นไทยท่ีมีรากฐานความรู้ ด้วยตนเองให้บริการอบรมภาษาอังกฤษแบบไม่มีค่าใช้จ่าย ความเชีย่ วชาญของมหาวิทยาลยั ศนู ยก์ ารแปลภาษา รวมถงึ การใหบ้ รกิ ารดา้ นวฒั นธรรม เชน่ การเสวนาออนไลน์ การวิจัยมรดกภมู ปิ ัญญาพนื้ บ้าน กิจกรรมการให้บริการที่ส�ำคัญของสถาบันภาษา สถาบันภาษา ศิลปะและวฒั นธรรม อาคาร 1 ชัน้ 2 หอ้ ง 1213 โทรศพั ท์ 02-244-5260-2 โทรสาร 02-244-5261 e-mail : [email protected] Line ID : ILAC_SDU Facebook : www.facebook.com/ilacatdusit 34 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

กองพัฒนานกั ศึกษา การบริการสวสั ดกิ ารและการพัฒนานกั ศึกษา การผอ่ นผันการตรวจเลือกเขา้ กจิ กรรมนักศึกษา/ รับราชการทหารกองประจำ� การ การประกนั อบุ ัตเิ หตุ การขอใบรับรองความประพฤต/ิ งานวชิ าทหาร งานประชาสัมพนั ธ์กองพฒั นานกั ศกึ ษา ตรวจสขุ ภาพ นักศกึ ษาแรกเข้า ขอ้ มูลการตดิ ตอ่ กองพัฒนานักศึกษา งานวชิ าทหาร งานประกันอบุ ัติเหตุ โทรศัพท์ 02-244-5192-3 โทรศพั ท์ 02-244-5190-1 การขอใบรบั รองความประพฤติ งานบริการดา้ นสุขอนามยั (ห้องพยาบาล) โทรศพั ท์ 02-244-5190-1 โทรศพั ท์ 02-244-5195-6 งานประชาสัมพนั ธ์ กองพัฒนานกั ศึกษา งานผอ่ นผนั การตรวจเลอื กเขา้ รบั ราชการทหารกองประจำ� การ โทรศัพท์ 02-244-5192-3 โทรศัพท์ 02-244-5190-1 กองพัฒนานกั ศึกษา มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิต กองพฒั นานักศึกษา อาคาร 2 ช้ัน 3 และช้ัน 4 มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต http://studentaffairs.dusit.ac.th/ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 35

สวนดสุ ติ โพล อาคารรักตะกนิษฐ จดุ ก�ำเนดิ เรมิ่ ตน้ ต้งั แต่ปีพทุ ธศักราช 2535 จากเป็น หอประชมุ ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เรยี กวา่ อาคาร งานภาคสนามที่นักศึกษาสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และ รกั ตะกนษิ ฐ ชอ่ื อาคารตงั้ ขน้ึ เพอ่ื เปน็ การเชดิ ชเู กยี รตอิ าจารย์ สารนิเทศศาสตร์ ใช้เป็นส่ิงที่สร้างเสริมทักษะและ คุณหญิงกระจ่างศรี รักตะกนิษฐ ผู้บริหารสถานศึกษา ประสบการณ์ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ท้ังการจัดหาข้อมูล สวนดุสิตยาวนานท่ีสุดถึง 29 ปี และในฐานะท่ีเป็น การรวบรวม การจดั ระบบ และวเิ คราะหจ์ ากขอ้ มลู ดบิ จนถงึ ปูชนียาจารย์ผู้บุกเบิกและสร้างสรรค์วิชาคหกรรมศาสตร์ ขั้นตอนการปรุงแต่ง และเผยแพร่ออกมาในรูปของ ให้กับมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ “สารนิเทศ” (INFORMATION) โดยสถานท่ีต้ังเดิมเป็น ต�ำหนักพระองค์เจ้าอัพภันตรีประชา ซึ่งเป็นหน่ึงในต�ำหนัก ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดเกลา้ ฯ สรา้ งขน้ึ 36 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

มากกวา่ 300 ชนดิ ท่ียอดนยิ ม ไดแ้ ก่ ท๊อฟฟี่เค้ก และเค้กฝอยทอง ซ่ึงขนมทั้ง 2 ชนิดน้ี ทางโฮมเบเกอร่ีได้คิดค้นและวางจ�ำหน่ายเป็นแห่งแรกของ ประเทศไทย สวนดุสติ โฮมเบเกอร่ี โรงเรยี นสาธติ ละอออุทศิ ก่อต้งั ขน้ึ เมื่อวนั ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 โดยใช้ โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ เปน็ สว่ นงานเทยี บเทา่ คณะ ชอ่ื วา่ โครงการอาหารกลางวนั 2 ตอ่ มามกี ารเนน้ การบรกิ าร ข้ึนตรงต่ออธิการบดี ตาม พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ด้านขนมอบมากข้ึน จงึ เปล่ียนชือ่ ใหมเ่ ปน็ โครงการบรกิ าร สวนดุสิต พ.ศ. 2558 จุดเร่ิมต้นจากกระทรวงศึกษาธิการ อาหารและขนมอบ สำ� หรับค�ำว่า ได้รับเงินบริจาคของ นางสาวลออ Home bakery เกดิ ข้ึนภายหลังเพื่อให้เป็นแบรนด์ หลมิ เซง่ ไถ่ จำ� นวนแปดหมนื่ บาท จงึ ไดน้ ำ� เงนิ จำ� นวน ของขนมอบ เป็นช่ือที่ผู้บริหารต้ังให้ได้จากการไปศึกษาที่ ดังกล่าว สร้างตึกอนุบาลข้ึนในบริเวณโรงเรียนการเรือน สถาบนั Philippines College of Arts and Trades และ พระนคร (มหาวทิ ยาลัยสวนดุสิตในปจั จบุ ัน) ใหช้ อื่ ตกึ หลังนี้ นำ� มาเป็นตน้ แบบเพ่อื สอนขนมอบให้กับนกั ศึกษาสาขาวิชา ว่า “ตึกละอออุทิศ\" (เดิมใช้ละอออุทิส) ใช้ตึกหลังน้ีเป็น คหกรรมศาสตร์ ปัจจุบันมีขนมวางจ�ำหน่ายอยู่หน้าร้าน โรงเรยี นอนบุ าล ชอ่ื วา่ โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ สงั กดั กอง ฝกึ หดั ครกู รมสามญั ศกึ ษา ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ โรงเรยี นอนบุ าลแหง่ แรกของกระทรวงศึกษาธิการ และเปิดท�ำการสอนคร้ังแรก เม่ือวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2483 เป็นโรงเรียนอนุบาล ที่สอนเด็กโดยมุ่งการเตรียมความพร้อมและส่งเสริม พัฒนาการของเด็ก ให้พัฒนาไปอย่างเหมาะสมสอดคล้อง และตอ่ เนอื่ งกนั ไป และเปน็ แหลง่ ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ให้แก่นักศึกษาครูให้นักศึกษาได้มาศึกษาสังเกต มีส่วนร่วม ในการสอน ทดลองสอน และฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เต็มข้นั ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 37

ศนู ยพ์ ฒั นาทุนมนษุ ย์ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในของส่วนงาน พ.ศ. 2558 เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 โดยให้ ส�ำนักงาน ต้ังอยู่ ณ อาคาร ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน มหาวทิ ยาลัย อำ� นวยการ สำ� นกั กิจการพิเศษ มีบทบาทหน้าท่ี ดงั นี้ สวนดุสิต ได้ถือก�ำเนิดข้ึนโดยด�ำริของรองศาสตราจารย์ ดร.ศิโรจน์ ผลพันธิน ต้ังแต่ปีพุทธศักราช 2527 เน่ืองจาก สำ� นกั งานอ�ำนวยการ สำ� นักกจิ การพเิ ศษ มคี วามจำ� เป็นตอ้ งทำ� การประชาสมั พนั ธ์ให้กบั สงั คม ชุมชน 1. ก�ำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุน โครงการที่อยู่ใน ยอมรับ เชื่อถือ ในบทบาทใหม่ด้านการผลิตบัณฑิต ก�ำกบั ดูแลใหม้ ีประสทิ ธภิ าพมากขึน้ สายวิชาการอ่ืนท่ีไม่ใช่สายครุศาสตร์ และเพ่ือให้เป็นท่ี 2. ร่วมมือกับหลักสูตร/ คณะ/ โรงเรียน ในการ ไ ว ้ ว า ง ใ จ แ ล ะ เ ช่ื อ มั่ น ใ น ผ ล ผ ลิ ต ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ฯ พฒั นาองคค์ วามรดู้ ้านตา่ ง ๆ มาใช้ในการจัดกจิ กรรม และ ขณะเดยี วกนั ปรากฏวา่ มี องคก์ รภาครฐั ภาครฐั วสิ าหกจิ และ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนักศึกษา รวมถึงส่งเสริม ภาคเอกชน ได้ร้องขอให้ช่วยพัฒนาพนักงานบุคลากรใน และสนับสนุนการจัดการคุณภาพ เพ่ือให้เป็นมาตรฐาน รูปแบบของการจัดการฝึกอบรม หรือขอสนับสนุนด้าน ยอมรับได้ และเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสิ่งใหม่ ๆ วิทยากรอยู่เสมอ มหาวิทยาลัยสวนดุสิตจึงได้จัดตั้ง ผ่านกระบวนการให้บริการวิชาการแบบ “ห้องเรียนสนาม” ศนู ยพ์ ฒั นาทนุ มนษุ ย์ เพอ่ื ให้บริการวิชาการด้านการพฒั นา สำ� หรบั นกั ศกึ ษา หลกั สตู ร/ คณะ/ โรงเรยี น และชมุ ชน ไดแ้ ก่ ทนุ มนษุ ยอ์ ยา่ งครบวงจรใหแ้ ก่องคก์ ร บคุ คลทัว่ ไป อาจารย์ ตดิ ต่อสำ� นักงานอำ� นวยการ ส�ำนกั กจิ การพเิ ศษ พนักงาน นักศกึ ษาของมหาวิทยาลัย ในรูปแบบของการฝึก 02-244-5370-8 โทรสาร : 02-243-5779 อบรมและการใหค้ �ำปรกึ ษา : https://dusitproduct.dusit.ac.th/ @dusitproduct ส�ำ นกั กจิ การพเิ ศษ สำ� นกั กจิ การพเิ ศษ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ เปน็ หนว่ ย งานสนบั สนนุ ตามโครงสรา้ งหลกั ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ โดยน�ำองค์ความรู้ และนวัตกรรม ท่ีเกิดจากการพฒั นาทางวชิ าการของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ของ มหาวทิ ยาลยั มาดำ� เนนิ การตอ่ ยอดใหเ้ ปน็ รปู ธรรมในลกั ษณะ “ธรุ กจิ วชิ าการ” มงุ่ เนน้ การจดั การคณุ ภาพ ตอบสนองสงั คม ได้ในสว่ นของ Social Return on Investment ท้งั ในด้าน ของ Business Dimension และ Academic Dimension ทง้ั นี้ สำ� นกั กจิ การพเิ ศษ ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ 38 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

ศูนยบ์ รกิ ารสอื่ และส่งิ พิมพ์ ยกระดับมาตรฐานการพิมพ์ของมหาวิทยาลัยฯ พร้อมท้ัง กราฟฟิคไซท์ ขยายตลาดงานส่ิงพิมพ์ออกไปให้กว้างขวาง ครอบคลุม มากยิ่งขึน้ และในปี พ.ศ. 2544 ได้มีการปรับเปลี่ยนชื่อเปน็ ศูนย์บริการสื่อและสิ่งพิมพ์ กราฟฟิคไซท์ ก่อตั้งขึ้น “โครงการสวนดุสติ กราฟฟคิ ไซท”์ เมอื่ พ.ศ. 2543 เดมิ ใช้ช่อื วา่ “ศณะ ดีไซน์ 2000” ในขณะ นนั้ งานออกแบบ และจดั พมิ พภ์ ายในมหาวทิ ยาลยั ฯ (สถาบนั ในปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ราชภัฏสวนดุสิตในสมัยนั้น) ขาดหน่วยงานท่ีรับผิดชอบใน ได้กา้ วสู่ความเปล่ียนแปลงอกี ครัง้ เนอื่ งจากมหาวทิ ยาลยั ฯ การออกแบบและผลิตส่ือส่ิงพิมพ์ เนื่องจากหน่วยงาน ได้ปรับเปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐและ กราฟฟิคเดิม ได้ย้ายไปที่ศูนย์การศึกษาธนาลงกรณ์ (ศูนย์ เปลย่ี นชอ่ื เปน็ “มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ” ซง่ึ การเปลย่ี นแปลง การศึกษานอกท่ีต้ังแห่งหน่ึงในสมัยน้ัน) เพ่ือเน้นการเรียน ครั้งนี้ท�ำให้โครงสร้างหน่วยงานภายในหลายหน่วยงานต้อง การสอนในสาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ ส่งผลให้การผลิต ปรับเปลี่ยนไป รวมถึง “โครงการสวนดุสิตกราฟฟิคไซท์” สื่อสิ่งพิมพ์ในมหาวิทยาลัยฯ ต้องใช้โรงพิมพ์ หรือบุคลากร โดยปรับเปลี่ยนเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายและแนวทาง ภายนอกให้มาด�ำเนินการออกแบบเป็นคร้ังคราว ท�ำให้ การด�ำเนินงานมหาวิทยาลัย อีกท้ังยังเป็นหน่วยงานอิสระ การออกแบบสงิ่ พมิ พข์ าดอตั ลกั ษณ์ และความเปน็ สวนดสุ ติ โดยใช้ชื่อว่า “ศูนย์บริการส่ือและส่ิงพิมพ์กราฟฟิคไซท์” ในการผลติ ผลงาน และในการเปลย่ี นแปลงคร้ังนีไ้ ดค้ วบรวม 2 หน่วยงาน คือ “โครงการสวนดุสิตกราฟฟิคไซท์” และ “ศนู ยห์ นังสอื ” ให้ ตอ่ มาอธกิ ารบดไี ดม้ อบหมายให้ นายศณะ ผลพนั ธนิ เป็นหน่วยงานเดียวกัน ภายใต้ชื่อดังกล่าว ซ่ึงการควบรวม พัฒนาจัดต้ังหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการออกแบบและผลิต สองหน่วยงานนั้นท�ำให้ ศูนย์บริการส่ือฯ สามารถผลิต สิ่งพิมพ์ขึ้นภายในมหาวิทยาลัยฯ โดยมีความมุ่งม่ันท่ีจะ สิง่ พมิ พ์ทหี่ ลากหลายมากขน้ึ เชน่ เอกสารประกอบการสอน พฒั นากระบวนการผลติ สอื่ สงิ่ พมิ พใ์ หม้ รี ปู แบบ และคณุ ภาพ ต�ำราเรียน เอกสารงานวิจัยของบุคลากร รวมถึงการผลิต ในระดับมาตรฐานโดยร่วมกับอาจารย์จากศูนย์ธนาลงกรณ์ ส่ือส่ิงพิมพ์อื่น ๆ ฯลฯ นอกจากน้ีศูนย์บริการส่ือฯ ยังได้ มาดำ� เนนิ งานโดย ดร.วโิ รจน์ เทพบตุ ร และอาจารยป์ ระพนั ธ์ ปรับปรุงพื้นที่จ�ำหน่ายหนังสือ และของท่ีระลึกต่าง ๆ ของ ประสพวฒั นา รว่ มกนั พฒั นางานทางดา้ นสงิ่ พมิ พ์ ทงั้ ในดา้ น มหาวิทยาลัยฯ ให้มีความทันสมัย และส่งเสริมภาพลัษณ์ เทคนิคชั้นสูง และการน�ำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ใน ให้กับมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งท้ังหมดน้ี ศูนย์บริการส่ือฯ การพิมพ์ เพื่อให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น อีกท้ังยังช่วยลด มีวตั ถปุ ระสงค์ในการดำ� เนนิ การตา่ ง ๆ เพ่อื สง่ เสริมการผลิต ต้นทุนการผลิต สามารถผลิตได้ตามความต้องการ ช่วย สอ่ื และสงิ่ พมิ พข์ องมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ใหก้ า้ วหนา้ ตอ่ ไป ทันกบั ความเปลย่ี นแปลงของโลกได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 39

เคร่ืองแบบและเคร่อื งแตง กายของนกั ศกึ ษา เครือ่ งแบบนกั ศกึ ษาเวลาเรียนปกติ เคร่ืองแบบชุดนักศึกษา เสื้อนกั ศกึ ษา แขนซา้ ยแถบด�ำ ‘สวนดุสิต’ ปกั Suan Dusit 200-320 บาท สายเขม็ ขดั หนงั สดี �ำ เนคไท 100 บาท ตรา มสด. 180 บาท กางเกงผ้า หรอื สแล็คสดี �ำ หัวเขม็ ขดั ตรา มสด. 100 บาท รองเท้าคทั ชู หวั ปดิ สีดำ� มีส้น จ�ำหน่ายเครือ่ งแบบชดุ นกั ศึกษา ตดิ ตอ่ ศูนย์บรกิ ารสอ่ื และส่ิงพมิ พก์ ราฟฟคิ ไซท์ อาคารสำ� นกั งานมหาวทิ ยาลยั ช้นั 1 สอบถามเพิ่มเติม โทร. 02-244-5425 40 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

เครื่องแบบนักศกึ ษาเวลาเรยี นปกติ เครื่องแบบชุดนักศึกษา เสอื้ นกั ศึกษา แขนซ้ายแถบด�ำ ‘สวนดสุ ิต’ ปกั Suan Dusit 180-320 บาท ตดิ ตงุ้ ตง้ิ ทรี่ งั ดุมแรก ดา้ นซ้าย ติดเข็ม มสด. 80 บาท ที่หนา้ อกเส้อื ดา้ นซา้ ย สายเข็มขดั 80 บาท หนงั สดี �ำ กระดุม 100 บาท ตรา มสด. 130 บาท หวั เขม็ ขดั ตรา มสด. กระโปรงทรง A 100 บาท ยาวคลุมเข่า ผ่าหลงั รองเท้าคัทชู หวั ปิดสีดำ� มสี ้น จ�ำหนา่ ยเคร่ืองแบบชดุ นกั ศึกษา ตดิ ตอ่ ศนู ยบ์ รกิ ารสื่อและสงิ่ พิมพก์ ราฟฟคิ ไซท์ อาคารส�ำนักงานมหาวทิ ยาลัย ชน้ั 1 สอบถามเพิ่มเติม โทร. 02-244-5425 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 41

ขอ้ มลู คณะ/ โรงเรียน และหลกั สูตรท่จี ัดการศึกษา ณ วทิ ยาเขตและศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถานท่ีตั้ง 1. คณะครศุ าสตร์ (Faculty of Education) หลกั สูตรท่ีจดั การศกึ ษา • หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา ปฐมวยั 1. หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถม ศึกษา (ในมหาวิทยาลยั ) อาคาร 7 ชนั้ 2 หอ้ ง 725 โทร. 02 244 5520 – 1, 02 244 5550 – 1 2. หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา • หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ปฐมวัย (ในมหาวทิ ยาลยั ) การประถมศกึ ษา อาคารเครอ่ื งปนั้ ดินเผา ชัน้ 5 ห้อง 854 3. หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษา โทร. 02 244 5512, 5524 ปฐมวัย (วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี) สถานทต่ี ดิ ตอ่ : วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี 57 หมู่ 2 ต. โคกโคเฒา่ อ. เมือง จ. สพุ รรณบุรี 72000 4. หลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการศึกษา http://suphanburicampus.dusit.ac.th/new/ ปฐมวัย (ศนู ย์การศึกษานอกท่ตี ัง้ นครนายก) • สำ� นกั งานวิทยาเขตสพุ รรณบุรี อาคารสวนแกว้ 2 โทร. 035 969 633 5. หลกั สูตรศึกษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา โทรสาร 035 969 635 ปฐมวยั (ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกท่ตี ง้ั ลำ� ปาง) • หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา ปฐมวยั 6. หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถม อาคาร ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ชน้ั 1 ห้อง 7205 ศกึ ษา (ศนู ย์การศึกษานอกท่ีต้งั ลำ� ปาง) โทร. 035 969 620 - 23 ตอ่ 6613 สถานทีต่ ิดต่อ : ในมหาวิทยาลยั 295 ถนนนครราชสมี า เขตดุสติ กรุงเทพฯ 10300 http://education.dusit.ac.th • ห้องส�ำนักงานคณบดีคณะครุศาสตร์ อาคาร 4 ชั้น 2 ห้อง 422 โทร. 02 244 5500 – 3 โทรสาร. 02 244 5509 42 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

สถานทต่ี ดิ ต่อ : ศนู ย์การศกึ ษานอกทตี่ ้งั นครนายก สถานทตี่ ิดตอ่ : ศูนยก์ ารศึกษานอกท่ีตงั้ ล�ำปาง 81/1-3 ถนนสวุ รรณศร ต.นครนายก อ.เมอื งนครนายก 140 ถ.สเุ รนทร์ ต.สบตยุ๋ อ.เมอื ง จ.ล�ำปาง 52100 http://lampang.dusit.ac.th/w2017/ จ.นครนายก 26000 • สำ� นกั งาน ศูนยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ั้ง ล�ำปาง http://nakhonnayok.dusit.ac.th อาคารธุรกิจการบิน ช้นั 1 • สำ� นักงานศูนยก์ ารศึกษานอกทีต่ ง้ั นครนายก โทร. 054 228 016 ต่อ 6500 อาคาร 4 (ตกึ ส้ม) โทร. 037 321 590 ต่อ 6402 • หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา โทรสาร 037 310 591 • หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษา ปฐมวยั อาคารธุรกิจการบนิ ช้ัน 2 หอ้ ง 205 ปฐมวยั โทร. 054 228 016 ต่อ 6503 อาคาร 5 ชั้น 4 หอ้ ง 544 • หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา โทร. 037 321 590 ตอ่ 6403 โทรสาร 037 310 591 การประถมศกึ ษา อาคารธุรกิจการบิน ช้ัน 2 หอ้ ง 205 โทร. 054 228 016 ต่อ 6503 คณะครุศาสตร์ วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี ศูนยก์ ารศกึ ษานอกท่ตี ง้ั นครนายก ศูนยก์ ารศกึ ษานอกท่ีตงั้ ล�ำปาง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 43

2. คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Faculty of Science and Technology) หลักสตู รทจ่ี ดั การศกึ ษา สถานท่ีติดต่อ : ในมหาวทิ ยาลยั 295 ถนนนครราชสมี า เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300 1. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอาชวี อนามยั • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาการ และความปลอดภยั (ในมหาวทิ ยาลัย) คอมพวิ เตอร์ 2. หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี อาคาร 11 ช้ัน 4 โทร. 02 244 5690 - 1 สารสนเทศ (ในมหาวิทยาลัย) • หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ สารสนเทศ คอมพิวเตอร์ (ในมหาวิทยาลยั ) อาคาร 11 ช้นั 3 โทร. 02 244 5630 4. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์ เครอ่ื งส�ำอาง (วิทยาเขตสุพรรณบรุ )ี สถานท่ีติดต่อ : อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา สถานท่ีตดิ ต่อ : วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี มหาวชริ ลงกรณ 57 หมู่ 2 ต. โคกโคเฒา่ อ. เมือง จ. สุพรรณบุรี 72000 http://suphanburicampus.dusit.ac.th/new/ 228-228/1-3 ศูนย์วิทยาศาสตร์ ถนนสิรินธร • สำ� นักงานวทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี เขตบางพลัด กรุงเทพฯ 10700 อาคารสวนแก้ว 2 โทร. 035 969 633 โทรสาร. 035 969 635 http://scitech.dusit.ac.th/ • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา • สำ� นกั งานคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาคารส�ำนักงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตรเ์ คร่ืองสำ� อาง ชั้น 1 อาคารแววเทย่ี งธรรม ชน้ั 2 หอ้ ง 5203 โทร. 02 423 9401 - 6 โทรสาร. 02 423 9419 โทร. 035 969 620 - 23 ต่อ 6615 • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอาชวี อนามยั และความปลอดภัย อาคารส�ำนักงานคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน 4 โทร. 02 423 9429 - 30 คณะวทิ ยาศาสตร์ วิทยาเขตสุพรรณบุรี และเทคโนโลยี 44 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

3. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ สถานทต่ี ดิ ตอ่ : ในมหาวทิ ยาลยั 295 ถนนนครราชสมี า เขตดสุ ติ กรงุ เทฯพ 10300 (Faculty of Humanities and Social Sciences) http://human.dusit.ac.th/home/ • หอ้ งสำ� นกั งานคณบดี หลกั สตู รท่จี ดั การศกึ ษา อาคาร 1 ชน้ั 1 หอ้ ง 1110 โทร. 02 244 5801 - 3 โทรสาร 02 241 8375 1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา • หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา อตุ สาหกรรมและองคก์ าร (ในมหาวทิ ยาลยั ) อตุ สาหกรรมและองคก์ าร 2. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและ อาคาร 1 ชนั้ 1 หอ้ ง 1116 การสอ่ื สาร (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 244 5838 • หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาและ 3. หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ (ในมหาวทิ ยาลยั ) การสอ่ื สาร อาคาร 1 ชน้ั 2 หอ้ ง 1211 โทร. 02 244 5849 • หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ อาคาร 1 ชน้ั 1 หอ้ ง 1115 โทร. 02 244 5858 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 45

4. คณะวทิ ยาการจดั การ • หลกั สตู รการจดั การบณั ฑติ (Faculty of Management Science) อาคาร 3 ชนั้ 4 หอ้ ง 343 โทร. 02 244 5720 หลกั สูตรท่ีจดั การศกึ ษา • หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าการตลาด อาคาร 3 ชนั 4 หอ้ ง 345 1. หลกั สตู รการจดั การบณั ฑติ (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 244 5740 โทรสาร. 02 243 9142 2. หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าการบรกิ าร • หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าการบรกิ าร ลกู คา้ (ในมหาวทิ ยาลยั ) ลกู คา้ 3. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด อาคาร 1 ชน้ั 1 หอ้ ง 1102 (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 244 5757 โทรสาร. 02 244 5757 4. หลกั สตู รบญั ชบี ณั ฑติ (ในมหาวทิ ยาลยั ) • หลกั สตู รบญั ชบี ณั ฑติ 5. หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจ อาคาร 3 ชน้ั 4 หอ้ ง 346 สรา้ งสรรคแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 244 5780 6. หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าธรุ กจิ ระหวา่ ง • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจ ประเทศ ธรุ กจิ จนี อาเซยี น (ในมหาวทิ ยาลยั ) สรา้ งสรรคแ์ ละเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั 7. หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ อาคาร 32 ชนั้ 5 นวตั กรรมและผปู้ ระกอบการธรุ กจิ (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 244 5747 – 48 8. หลักสตู รบริหารธุรกิจบณั ฑติ สาขาวชิ าเลขานุการ • หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจ ทางการแพทย์ (ในมหาวทิ ยาลยั ) ระหวา่ งประเทศ ธรุ กจิ จนี อาเซยี น อาคารเรยี นรวม 2 ชนั้ 2 หอ้ ง 229/1 โทร. 02 244 5340, 02 244 5347 • หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ นวตั กรรมและผปู้ ระกอบการธรุ กจิ อาคาร 32 ชน้ั 3 และ อาคาร 3 ชน้ั 4 หอ้ ง 342 อาคาร 3 ชน้ั 3 โทร. 02 244 5781 , 02 244 5730 • หลกั สตู รบรหิ ารธรุ กจิ บณั ฑติ สาขาวชิ าเลขานกุ าร ทางการแพทย์ อาคาร 3 ชน้ั 4 หอ้ ง 344 โทร. 02 244 5725 สถานทต่ี ดิ ตอ่ : ในมหาวทิ ยาลยั คณะวิทยาการจดั การ 295 ถนนนครราชสมี า เขตดสุ ติ กรงุ เทฯพ 10300 http://m-sci.dusit.ac.th/home/ • สำ� นกั งานคณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ อาคาร 3 ชน้ั 3 หอ้ ง 336 โทร. 02 244 5700 - 2 โทรสาร. 02 243 9142 46 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

5. คณะพยาบาลศาสตร์ (Faculty of Nursing) คณะวทิ ยาการจดั การ หลกั สตู รท่ีจัดการศกึ ษา 1. หลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑติ (ในมหาวทิ ยาลยั ) สถานท่ีติดต่อ : อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา มหาวชริ ลงกรณ 204/3 ศูนย์วิทยาศาสตร์ ถนนสิรินธร เขตบางพลัด กรงุ เทพฯ 10700 http://nurse.dusit.ac.th/ • สำ� นกั งานคณะพยาบาลศาสตร์ อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษามหาวชริ าลงกรณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ ชนั้ 2 โทร. 02 423 9460 - 5 ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 47

6. โรงเรยี นการเรอื น สถานทตี่ ดิ ตอ่ : อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชริ (School of Culinary Arts) ลงกรณ ถนนสริ นิ ธร หลักสตู รท่จี ดั การศึกษา 204/3 ถนนสริ นิ ธร เขตบางพลดั กรงุ เทพฯ 10700 โทร. 02 423 9449 - 50 1. ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า http://food.dusit.ac.th/ คหกรรมศาสตร์ (ในมหาวทิ ยาลยั ) • สำ� นกั งานโรงเรยี นการเรอื น อาคารโรงเรียนปฏิบัติการอาหารนานาชาติ ชั้น 1 2. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ การประกอบอาหารและการบรกิ าร (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 423 9449 - 50 • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี 3. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าโภชนาการ การประกอบอาหารและการบรกิ าร และการประกอบอาหารเพ่ือการสร้างเสริมสมรรถภาพและ อาคารคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ 2 ครงึ่ การชะลอวยั (ในมหาวทิ ยาลยั ) โทร. 02 423 9444 • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรม 4. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรม การประกอบอาหาร การประกอบอาหาร (ในมหาวทิ ยาลยั ) อาคารคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั 3 โทร. 02 423 9446 5. ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าโภชนาการ คหกรรมศาสตร์ (วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ )ี และการประกอบอาหารเพอื่ การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพและ การชะลอวยั 6. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี อาคารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ัน 3 การประกอบอาหารและการบรกิ าร (วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ )ี โทร. 02 423 9446 • ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า 7. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี คหกรรมศาสตร์ การประกอบอาหารและการบรกิ าร (ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี งั้ อาคารโรงเรียนปฏิบัติการอาหารนานาชาติ ชั้น 1 ตรงั ) ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ โทร. 02 423 9449 – 50 8. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี สถานทตี่ ดิ ตอ่ : วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี การประกอบอาหารและการบรกิ าร (ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ง้ั 57 หมู่ 2 ต. โคกโคเฒา่ อ. เมอื ง จ. สพุ รรณบรุ ี 72000 ลำ� ปาง) http://suphanburicampus.dusit.ac.th/new/ • สำ� นกั งานวทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี อาคารสวนแกว้ 2 โทร. 035 969 633 โทรสาร. 035 969 635 • หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การประกอบอาหารและการบรกิ าร อาคารแววเทยี่ งธรรม ชน้ั 3 หอ้ ง 5309 โทร. 035 969 620 - 23 ตอ่ 6612 48 คู่ มื อ นั ก ศึ ก ษ า ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

• ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า สถานทตี่ ดิ ตอ่ : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ง้ั ตรงั คหกรรมศาสตร์ 111 หมู่ 3 ถนนเพชรเกษม ต. หว้ ยยอด อ. หว้ ยยอด จ. ตรงั 92130 http://www.dusittrang.com/ อาคารแววเทย่ี งธรรม ชน้ั 2 หอ้ ง 5209 • สำ� นกั งาน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ งั้ ตรงั โทร. 035 969 620 - 23 ตอ่ 6611 อาคารดสุ ติ พารา ชน้ั 1 สถานทต่ี ดิ ตอ่ : ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ง้ั ลำ� ปาง โทร. 075 500 888 โทรสาร. 075 500 885 140 ถ.สเุ รนทร์ ต.สบตยุ๋ อ.เมอื ง จ.ลำ� ปาง 52100 • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี http://lampang.dusit.ac.th/w2017/ • สำ� นกั งาน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ งั้ ลำ� ปาง การประกอบอาหารและการบรกิ าร อาคารธรุ กจิ การบนิ ชน้ั 1 อาคารดุสิตพารา ช้ัน 1 ห้องสาขาเทคโนโลยี โทร. 054 228 016 ตอ่ 6500 • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี การประกอบอาหารและการบรกิ าร การประกอบอาหารและการบรกิ าร โทร. 075 500 888 ตอ่ 6843 อาคารธรุ กจิ การบนิ ชน้ั 2 หอ้ ง 202 โทร. 054 228 016 ตอ่ 6505 โรงเรียนการเรือน วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี ศูนย์การศึกษานอกที่ต้งั ลำ� ปาง ศูนยก์ ารศกึ ษานอกที่ต้งั ตรัง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ว น ดุ สิ ต 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook