5073637 โภชนาการสาํ หรับการออกกาํ ลังกายและการควบคุมนำ�้ หนกั 3(2-2-5) Nutrition for Exercise and Weight Control โภชนาการ บทบาทของสารอาหารขณะออกกาํ ลงั กายและควบคมุ น�้ำ หนกั การประเมนิ ภาวะโภชนาการ และองค์ประกอบของร่างกาย การวิเคราะห์การย่อยและดูดซึมสารอาหารเพื่อสร้างพลังงานด้วยเครื่องมือและ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ การจัดรายการอาหาร เครอื่ งดม่ื สําหรบั ผู้ทอ่ี อกกําลงั กายและควบคุมนำ�้ หนกั Nutrition; roles of ingredients during exercise and weight control; nutrition assessment and body composition; analysis of nutrient digestion and absorption for energy production by using tools and computer programmes; dietetics of food and beverage for active individuals and for weight control 5073638 การสง่ เสริมสุขภาพทางเลอื ก 3(3-0-6) Alternative Health Promotion ทฤษฎี หลกั การและแนวคดิ ทางสขุ ศึกษา แนวคดิ ดา้ นการส่งเสริมสขุ ภาพทางเลือก การจัดการเรียนรู้ เพอื่ สง่ เสรมิ สขุ ภาพ การวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหแ์ นวทางการสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางเลอื กทเี่ หมาะสมกบั กลมุ่ คนเฉพาะ กล่มุ ในบรบิ ทของสงั คมไทย Theories, principles, and concepts of health education; concepts of alternative health promotion; analysis and synthesis of alternative health promotion approaches given to specific groups of people living in the Thai society context 5073803 ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 2(0-6-0) Internship for Professional Experience ฝึกประสบการณ์วิชาชีพภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิตระหว่างศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 1-3 ในหน่วยงานท่ี เกยี่ วข้อง เชน่ โฮมเบเกอรี ครัวสวนดุสติ ศูนยฝ์ ึกปฏิบตั กิ ารอาหารนานาชาติ โรงแรมสวนดุสิตเพลส ศนู ยบ์ ริหาร กายเพ่อื สขุ ภาพ และดสุ ติ นวดแผนไทย เป็นตน้ เปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกว่า 160 ช่วั โมงต่อปีการศกึ ษา เพ่อื ใหเ้ กิด ประสบการณ์ในการทำ�งานก่อนการฝึกปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการ Internship within Suan Dusit University during the first, second and third years of study: Home Bakery, Suan Dusit Kitchen, International Culinary Center; Suan Dusit Place Hotel, Suan Dusit Fitness Center, and Dusit Thai Massage for at least 160 hours per academic year to gain experience before real externship at the enterprises 5074818 ฝกึ ปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ 4(0-30-0) Internship at Enterprises ฝกึ ปฏิบตั ิงานจรงิ ในสถานประกอบการ ท้งั ภายในมหาวิทยาลยั ภาครฐั เอกชน หรอื รฐั วิสาหกิจ เปน็ ระยะเวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 15 สปั ดาห์ ท�ำ ใหเ้ กดิ ประสบการณจ์ รงิ ในการท�ำ งานกอ่ นส�ำ เรจ็ การศกึ ษา ทง้ั นใ้ี นการฝกึ งาน จะมอี าจารย์ผ้รู บั ผิดชอบการฝึกงานตดิ ตามการฝกึ งาน และประเมินผลรว่ มกบั สถานประกอบการ Real practice at enterprises: within the university, public and private organisations, or public enterprises for at least 15 weeks to gain real experience before graduation; student interns shall be supervised, monitored, and evaluated by instructors and people from the enterprises 150
5074819 โครงงานทางโภชนาการและการประกอบอาหารเพือ่ การสร้างเสรมิ 3(0-9-0) สมรรถภาพและการชะลอวัย Senior Project in Nutrition and Culinary Arts for Health Capability and Anti-aging Wellness การสร้าง กลั่นกรอง และพัฒนาแนวความคิดผลิตภัณฑ์ การนำ�กระบวนการพัฒนาสูตร กรรมวิธี การผลติ การทดสอบผ้บู รโิ ภค ตวั อยา่ งและการควบคมุ คณุ ภาพผลิตภณั ฑท์ ่ีได้จากการพัฒนา การประเมินตลาด ผลิตภัณฑ์ และการนำ�เสนอผลงานโครงการที่สำ�เรจ็ ได้ Creating, screening and developing product concepts; adopting the formula development process; production process, consumer testing and quality control of the products obtained from the development; product market evaluation and presentation of successful project 5074820 หัวข้อเฉพาะทางด้านโภชนาการและการประกอบอาหาร 1(1-0-2) Selected Topics in Nutrition and Culinary Arts หัวข้อเฉพาะทางโภชนาการและการประกอบอาหารเพ่ือการสร้างเสริมสมรรถภาพและการชะลอวัย องคค์ วามรใู้ หมท่ นั ตอ่ เหตกุ ารณด์ า้ นการดแู ลสขุ ภาพแบบองคร์ วม โดยการศกึ ษางานวจิ ยั รบั ฟงั วทิ ยากรใหค้ วามรู้ และศกึ ษาดูงานจากหนว่ ยงานบรกิ ารสุขภาพ ศูนยเ์ วชศาสตรฟ์ ้ืนฟูและการชะลอวยั หรือสถานประกอบการอื่นๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง Selected topics in nutrition and culinary arts for health capability and anti-aging wellness; up-to-date new knowledge about holistic health care learning from research studies, guest speakers, studying trips to wellness centre, rehabilitation and anti-aging centre, or other health service agencies 151
Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป Suan Dusit
หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป การจัดการเรียนการสอน หลกั สตู รหมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป มจี �ำ นวน 8 รายวชิ า มลี กั ษณะเปน็ รายวชิ าบรู ณาการขา้ มศาสตร์ 4 กลมุ่ วชิ า ไดแ้ ก่ กลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ กลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ กลมุ่ วชิ าภาษา และกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรก์ บั คณติ ศาสตร์ โดยก�ำ หนดใหเ้ รยี น ไมน่ อ้ ยกวา่ 30 หนว่ ยกติ ดงั น้ี 1500201 ความเป็นสวนดสุ ติ 4(2-4-6) Suan Dusit Spirit 6(6-0-12) 1500119 ภาษาไทยเพ่ือพัฒนาความเปน็ ผูร้ อบร้ ู 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(4-0-8) 1500120 ภาษาองั กฤษเพือ่ การนำ�ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสะท้อนคดิ 4(2-4-6) English for Reflective Thinking 3(2-2-5) 2500116 สงั คมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกท่ีดี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำ�วนั Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเข้าใจและการใช้ดจิ ทิ ัล Digital Literacy 153
คำ�อธิบายรายวชิ าหมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป 1500201 ความเป็นสวนดสุ ติ 4(2-4-6) Suan Dusit Spirit พฒั นาการความเปน็ มาของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ตง้ั แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั อตั ลกั ษณแ์ หง่ วฒั นธรรม สวนดสุ ติ มารยาทอยา่ งไทยและการน�ำ ไปสคู่ วามเปน็ ผดู้ ที ไ่ี ดช้ อ่ื วา่ สภุ าพบรุ ษุ และสภุ าพสตร ี พฒั นาการในวชิ าการ ในสาขาที่โดดเด่นของมหาวิทยาลัย ด้านการเรือน วิชาชีพครู สาธิตอนุบาลละอออุทิศ การศึกษาพิเศษ อาหาร อตุ สาหกรรมการบรกิ าร งานการพยาบาล ตลอดทง้ั ศลิ ปวฒั นธรรมทดี่ งี าม อนั แสดงออกถงึ ความเปน็ ไทยและเทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคมโลกในทุกมิติ การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ความเขา้ ใจตนเองและผอู้ ่นื บคุ ลกิ ภาพตามรปู แบบความเป็นสวนดสุ ติ ความรกั ความศรทั ธา มุ่งมน่ั ทุม่ เท ในการทำ�งานดว้ ยความประณีต และร้จู ริงในสงิ่ ทท่ี ำ� Development of Suan Dusit University from the past to the present, SDU’s cultural identity, Thai social manners and development with civility into ladies and gentlemen, development of SDU’s academic distinction in culinary arts, teaching profession, kindergarten education at La-or Utis Demonstration School, special education, food and services, nursing services, and elegant art and culture, as identification of being Thai and aligned with global changes in all dimensions, self-study, understanding of oneself and others, particular personality according to Suan Dusit Spirit, love, belief, determination and devotion for work with great care and particular expertise 1500119 ภาษาไทยเพอ่ื พัฒนาความเปน็ ผ้รู อบรู ้ 6(6-0-12) Thai for Being Scholars ใช้ภาษาเพื่อความถูกต้อง ความงดงาม ความมีสุนทรียะของภาษาทั้งทักษะการฟัง การพูด การออกเสียง การอ่าน และการเขียน ใช้ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร โดยจับประเด็นสำ�คัญจากเร่ืองท่ีอ่านและฟัง ตั้งคำ�ถาม วิเคราะห์ ตีความ และประเมินค่า แสดงถึงบุคลิกภาพและความเป็นผู้รอบรู้ในการใช้ภาษาในฐานะ เครื่องมือของการประกอบอาชพี และการตดิ ต่อสื่อสารในแต่ละสังคม Use of language with accuracy, elegance and aesthetics, in terms of listening, speaking, pronunciation, reading and writing, use of Thai for communication, by getting main ideas from what is read and listened to, making inquiries, analyses, interpretations and evaluations, to indicate one’s personality and scholars for the use of Thai as a tool for professional work and communication in each society 1500120 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำ�ตน 4(4-0-8) English for Self-direction อา่ นและท�ำ ความเขา้ ใจขอ้ มลู สารสนเทศหรอื เรอ่ื งราวตา่ งๆ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั สรปุ ใจความส�ำ คญั จาก เรื่องที่ฟังและอ่าน อภิปราย เสนอแนวคิดในประเด็นที่เป็นข้อดีและข้อด้อยในศาสตร์สาขาวิชาชีพเฉพาะทางของ ตนเอง เขยี นจดหมาย รวมถึงคำ�ร้องขอที่ไมเ่ ปน็ ทางการ จดบันทกึ เร่อื งใกลต้ วั และใจความส�ำ คัญของเรอ่ื งระหวา่ ง การพูดคุย R eading and understanding of data and information and matters in everyday situations, demonstration of main ideas from what is heard and read, discussion, presentation of ideas related to strengths and weaknesses in one’s particular field of study, writing of letters and informal requests, and note-taking of familiar matters and key concepts during discussions 154
1500121 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสะท้อนคิด 4(4-0-8) English for Reflective Thinking ใชท้ กั ษะการฟงั และการพดู ภาษาองั กฤษในการใหร้ ายละเอยี ดค�ำ ชแี้ จงและค�ำ แนะน�ำ เรอ่ื งที่ ตนเองรู้ แกผ่ อู้ นื่ เขา้ ใจเนอื้ หาบทความและประกาศประชาสมั พนั ธต์ า่ งๆ วเิ คราะหข์ อ้ มลู เบอ้ื งตน้ และแสดงความคดิ เหน็ ใน เรอ่ื งทเ่ี ปน็ รปู ธรรมและนามธรรม รวมทง้ั เรอื่ งทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั วฒั นธรรมของไทยและของเจา้ ของภาษา สนทนาโตต้ อบ และพดู ให้ขอ้ มลู ในหัวข้อเร่อื งทค่ี ุ้นเคยอย่างคลอ่ งแคล่วและเปน็ ธรรมชาติ Practice of English listening and speaking skills in providing others with detailed instructions and advice in one’s area of expertise, understanding of articles and public announcements, analysis of basic information, and expression of ideas on abstract and concrete matters, as well as ones related to Thai and native-speaking culture, interaction with and provision of information for others with fluency and spontaneity 2500116 สังคมอารยชน 4(2-4-6) Civilized People Societies ความหมาย ความสำ�คัญ ความรู้และข้อคิดจากการศึกษาอารยธรรมโลก อารยธรรมตะวันตก อารยธรรมตะวนั ออก และอารยธรรมภูมภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ โดยมุ่งเน้นการวิเคราะห์เชงิ เปรยี บเทยี บกบั อารยธรรมไทย พัฒนาการทางสังคมแบบอารยชนในศตวรรษท่ี 21 ซึ่งสัมพันธ์กับระบบการเมือง การปกครอง กฎหมาย และรปู แบบของรฐั ตลอดจนระบบเศรษฐกจิ วฒั นธรรม ความเชอื่ ศาสนา ผา่ นผลงานศลิ ปกรรมแขนงตา่ งๆ ตง้ั แต่อดตี จนถึงปจั จุบนั Identification, significance, knowledge, and ideology gained from studies of global civilization, western civilization, eastern civilization and South East Asian civilization, emphasizing comparative analyses with Thai civilization, social development with civility in 21st century, which is related to political systems, laws and forms of government, economic systems, beliefs and religions, through various areas of arts from the past to the present 2500117 พลเมอื งไทยและพลโลกที่ด ี 4(2-4-6) Smart Thai and Global Citizens ประวัติความเป็นมาของสังคมไทยและโลกจากอดีตสู่ปัจจุบัน มรดกทางภูมิปัญญาในสาขาต่างๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เอกลกั ษณข์ องความเปน็ ไทย ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอื่ การปรบั ตวั ใหเ้ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง ของสงั คมโลก การคดิ วเิ คราะหแ์ ละการแกไ้ ขปญั หา ความรว่ มมอื และการอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งสนั ติ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมทศั นคตปิ ฏเิ สธคอรร์ ปั ชนั รจู้ กั หนา้ ทค่ี วามเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ตระหนกั ถงึ ความเปน็ ปจั เจกชนในฐานะ พลเมอื งไทยและพลโลก รวมถึงการเคารพในสทิ ธมิ นุษยชนและความหลากหลายทางวฒั นธรรม History of Thai and global societies from the past up to the present, wisdom heritage in various fields related to identity of being Thai and philosophy of sufficiency economy, to adapt oneself to changes in the global society, building up skills of analytical thinking and problem solution, collaboration and peaceful coexistence with others, responsibility for the society, anti-corruption attitude, awareness of one’s duty and one’s individual identification as Thai and global citizens, as well as respect to human rights and cultural diversity 155
4000112 วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในชวี ิตประจำ�วัน 4(2-4-6) Science and Mathematics in Daily Life การคดิ และการใหเ้ หตผุ ล การบรหิ ารการเงนิ สว่ นบคุ คล การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการตดั สนิ ใจ ทกั ษะ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรก์ บั ปจั จยั การด�ำ รงชวี ติ การประยกุ ตว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ สขุ ภาพ คณุ ภาพชวี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ การวเิ คราะหแ์ ละใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งคมุ้ คา่ สอื่ สังคมออนไลน์กบั การด�ำ เนินชีวติ ในยุคดจิ ทิ ัล และการบรู ณการทางวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศ สำ�หรบั การแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำ�วนั ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ การดำ�รงชวี ติ และการทำ�งาน Thinking and reasoning, personal finance, data analysis and decision-making, scientific skills and procedures, science and living factors, application of science for health, life quality and environment, information technology advancement, analysis and worthwhile use of information technology, online social media and ways of living in the digital age, and integration of science, mathematics and information technology, to solve everyday problems for benefits of living and working 4000113 ความเขา้ ใจและการใช้ดจิ ิทัล 3(2-2-5) Digital Literacy แนวคิดเกี่ยวกับทักษะความเข้าใจและการใช้ดิจิทัล สิทธิและความรับผิดชอบ การเข้าถึงส่ือดิจิทัล การสอื่ สารยคุ ดจิ ทิ ลั ความมนั่ คงปลอดภยั ยคุ ดจิ ทิ ลั ความเขา้ ใจสอ่ื ดจิ ทิ ลั แนวปฏบิ ตั ใิ นสงั คมดจิ ทิ ลั การมสี ขุ ภาพดี ในยุคดิจิทลั ดิจิทลั คอมเมิรซ์ กฎหมายดจิ ิทลั และเทคโนโลยดี ิจทิ ัลในอนาคต Digital literacy concept, rights and responsibilities, digital media access, digital communication, digital security, digital media understanding, digital society practices, digital health and wellness, digital commerce, digital law and future digital technology 156
ทป่ี รึกษา รศ.ดร.ศิโรจน ์ ผลพนั ธิน จดั ท�ำ ตน้ ฉบับ/ โรงเรียนการเรือน 157 ดร.สุวมาลย ์ ม่วงประเสริฐ ตรวจต้นฉบับ สำ�นักสง่ เสรมิ วิชาการและ งานทะเบยี นและศูนยบ์ ริการสอ่ื และส่งิ พมิ พก์ ราฟฟคิ ไซท์ บรรณาธิการ ผศ.ดร.จิตตว์ ิมล คล้ายสุบรรณ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ ดร.สทุ นั มมุ แดง ศิลปกรรม ศูนย์บริการส่อื และสง่ิ พมิ พ์กราฟฟิคไซท์ ปที ่ีพมิ พ ์ 2563
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158