Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 8-คู่มือหลักสูตร-คณะครุศาสตร์-ใส่ปก

8-คู่มือหลักสูตร-คณะครุศาสตร์-ใส่ปก

Published by Regis, 2023-05-15 07:42:49

Description: 8-คู่มือหลักสูตร-คณะครุศาสตร์-ใส่ปก

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ สิ ต น ดุ สิ ต ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ค�ำ กลา่ วตอ้ นรบั นักศกึ ษาจากคณบดคี ณะครุศาสตร์ 6 บรบิ ทคณะครุศาสตร์ 7 ประวัติความเปน็ มาของคณะครศุ าสตร์ 13 รายนามผบู้ รหิ ารและอาจารย์ หลกั สตู รของคณะครุศาสตร์ หลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑติ 18 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั (4 ป)ี ระดับปรญิ ญาตรี 21 โครงสร้างหลักสูตร สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 24 ค�ำ อธิบายรายวิชา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวยั 37 แผนการเชื่อมโยงการเรยี นส่กู ารฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 38 สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (4 ปี) ระดับปรญิ ญาตรี 40 โครงสร้างหลกั สูตร สาขาวิชาการประถมศกึ ษา 45 ค�ำ อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา 70 แผนการเชือ่ มโยงการเรียนสู่การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี 71 พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ 72 พระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 95 พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 101 พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 104 บทบาทนักศึกษากับการประกันคุณภาพของคณะครศุ าสตร์ 110 เทคนคิ 15 ขอ้ ของครทู ป่ี ระสบความสำ�เร็จ ภาคผนวก 115 หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 120 หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2566 3

คณะครศุ าสตร์ Suan Dusit 4

คำ�กลา่ วตอ้ นรบั นกั ศกึ ษาจากคณบดี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยวนดุสิต มีความมุ่งม่ันรับใช้สังคมและให้บริการด้านการจัดการศึกษา ตามภารกจิ หนา้ ทขี่ องสถาบนั อดุ มศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทอ้ งถนิ่ ในบรบิ ทของสงั คมชมุ ชนเมอื ง โดยมงุ่ ผลติ บณั ฑติ วชิ าชพี ครูและพัฒนาบุคลากรททางการศึกษา ตามแผนการศึกษาแห่งชาติ (2560-2579) ซึ่งสอดคล้องกับทิศทางของ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ : จวิ๋ แต่ แจว๋ พ.ศ. 2563-2567 กลา่ วคอื ครยู คุ ใหมจ่ ะตอ้ งประกอบดว้ ย ผมู้ คี ณุ ธรรม (Ethic) นำ�ความรู้ (Knowledge) มคี ณุ ธรรมน�ำ ความคิด (Thinking) และคุณธรรมพร้อมนำ�คน (Leadership) เพอ่ื พฒั นา ความเปน็ ครวู ิชาชีพใหส้ อดคล้องกบั มาตรฐานวิชาชพี ครแู ละเกณฑก์ ารรบั รองปริญญาของครุ สุ ภา ปจั จบุ นั คณะครศุ าสตร์ เปน็ 1 ในอตั ลกั ษณท์ ส่ี �ำ คญั ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ มงุ้ เนน้ การพฒั นาหลกั สตู ร ศึกษาศาสตรบณั ฑติ ที่มคี ุณภาพในระดับสากล จ�ำ นวน 2 หลกั สูตร ประกอบดว้ ย หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั และหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา โดยมจี ดุ เนน้ ในการสรา้ ง ครมู อื อาชพี ทม่ี คี วามรดู้ ี บคุ ลกิ ภาพเดน่ เนน้ ภาษา เรยี นรผู้ า่ นเทคโนโลยี ภาคภมู ใิ จในวชิ าชพี พรอ้ มเปน็ แบบอยา่ ง ทดี่ ีให้กับนักเรยี น และท่สี �ำ คญั ตอ้ งเปน็ ผทู้ สี่ ามารถบรู ณาการทกั ษะการสอนให้สอดคลอ้ งกบั สาระความรู้ทต่ี นเอง เชย่ี วชาญ เพ่อื วางรากฐานและพฒั นาผเู้ รียนให้เป็นคนดี มีสตปิ ญั ญา และสามารถท�ำ งานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ย่างเป็น กัลยาณมิตร ท่ีสำ�คัญใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงการเรียนรู้จากการทำ�งาน (Work-bases Learning) การจัดการศกึ ษาโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน (School-based-Education) โดยมีโรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ เป็นแหล่ง ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ โดยทุกหลักสูตรมีคณาจารย์ท่ีมีความเช่ียวชาญและมีประสบการณ์ทั้งในประเทศ และ ต่างประเทศ รวมไปถึงอาจารย์ท่ีปรึกษาท่ีพร้อมรับฟังและดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การเรียนการสอน ตลอดหลักสูตรดำ�เนินการอย่างราบรื่น และมีความสุขกับการเรียนรู้ที่คณะครุศาสตร์ได้เตรียมไว้ต้อนรับสำ�หรับ นกั ศกึ ษาทกุ คน ขอต้อนรบั นักศกึ ษาทุกคน ผศ.ดร.วณี ฐั สกุลหอม คณบดคี ณะครุศาสตร์ 5

บริบทคณะครศุ าสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต มีประวัติความเป็นมาโดยสืบทอดมาจากโรงเรียนมัธยมวิสามัญ การเรอื น และเปิดสอนหลกั สูตรอบรมครูการเรอื นขน้ึ เปน็ ครั้งแรก เมอ่ื พ.ศ. 2477 จากประวัตอิ ันยาวนานกว่า 88 ปี คณะครุศาสตร์ได้มีวิวัฒนาการในฐานะหน่วยงานท่ีมุ่งม่ันรับใช้สังคมและให้บริการด้านการจัดการศึกษาตามภารกิจ หน้าท่ีของสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินในบริบทของสังคม ชุมชนเมือง และความเป็นสากล ประกอบด้วย หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ จ�ำ นวน 2 หลกั สตู ร หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ จ�ำ นวน 2 หลกั สตู ร และ หลกั สตู ร ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ จ�ำ นวน 2 หลกั สูตร ปกี ารศึกษา 2558 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนดุสิต ไดป้ รบั เปลี่ยนเป็นมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต โดยมีพันธกจิ ส�ำ คัญ คอื การเป็นสถาบนั การศกึ ษาทางวชิ าการและวชิ าชีพขั้นสูง มวี ัตถุประสงค์ คอื ใหก้ ารศึกษาส่งเสริมวชิ าการ และวิชาชีพข้ันสูง สร้างบัณฑิต วิจัย บริการทางวิชาการแก่สังคมและท้องถ่ิน ริเร่ิม ปรับปรุง ถ่ายทอด และพัฒนา องค์ความรใู้ นด้านทมี่ คี วามเชี่ยวชาญและท�ำ นุบ�ำ รงุ ศิลปะและวัฒนธรรม ปกี ารศกึ ษา 2562 คณะครศุ าสตร์ไดป้ รบั เปลีย่ นการจัดการเรียนการสอนจากหลกั สตู ร 5 ปี เปลี่ยนเปน็ หลักสตู ร 4 ปี ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคณุ วุฒิระดับปรญิ ญาตรี สาขาครศุ าสตรแ์ ละสาขา ศกึ ษาศาสตร์ (หลกั สูตรสป่ี ี) พ.ศ. 2562 จำ�นวน 2 หลักสูตร คอื หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษา ปฐมวยั และหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต การประถมศกึ ษา โดยมเี ป้าประสงค์ส�ำ คัญ คือ การผลิตบณั ฑิตทม่ี ีคุณภาพ พรอ้ มท้ังยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา การสรา้ งอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่นบนพืน้ ฐานความเปน็ เลศิ มมี าตรฐานและคณุ ภาพ ทางวิชาการโดยใช้หลักคุณธรรมจริยธรรม ในการน้ีคณะครุศาสตร์ ได้ปรับรูปแบบการบริหาร โดยยึดทิศทางของ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต : จ๋ิวแต่แจว๋ พ.ศ. 2563 – 2567 เพื่อเป็นแนวทางในการพฒั นาคณะครศุ าสตร์ ใหม้ ผี ลการ ด�ำ เนนิ งานบรรลเุ ปา้ หมายตามวสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ จงึ ไดม้ งุ่ มน่ั ด�ำ เนนิ การในภารกจิ ทไ่ี ดร้ บั ผดิ ชอบ ประกอบดว้ ย ดา้ นการจดั การเรยี นการสอน การวจิ ยั การบรกิ ารวชิ าการแกส่ งั คม การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม และภารกจิ ทเ่ี ก่ยี วข้อง อย่างเต็มความสามารถ เพอ่ื ผลักดนั ใหภ้ ารกิจต่าง ๆ สำ�เร็จตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของ ชาติ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในยคุ ทปี่ ระเทศไทยไดป้ ระกาศจดุ เนน้ ในการสรา้ งเศรษฐกจิ ใหม่ คอื “เศรษฐกจิ ทขี่ บั เคลอ่ื นดว้ ย นวัตกรรม (Value-Based Economy)” สโู่ มเดลประเทศไทย 4.0 ซึง่ ถอื เป็นการเตรียมความพรอ้ มใหก้ บั นกั ศกึ ษา เพื่อ รองรับการปรับเปล่ียนเข้าสู่ยุคสังคมดิจิทัลอย่างเต็มระบบ และมีการปรับรูปแบบการฝึกประสบการณ์ของนักศึกษา เป็นรปู แบบของสหกิจศึกษา โดยมเี ง่อื นไขในการเข้าร่วมสหกิจศึกษาจากการใช้ผลคะแนนการสอบภาษาองั กฤษ และ มีค่าตอบแทนระหว่างการฝึกประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาออกไปเป็นบัณฑิตที่พร้อมใช้งาน ในอนาคต โดยมรี ปู แบบสหกจิ ศกึ ษาและการศกึ ษาเชงิ บรู ณาการกับการทำ�งาน (Cooperative and Work-Integrated Education: CWIE) ดังนี้ ระดบั ชั้นปีท่ี 1 การสังเกตการดูแลเด็กในโรงเรยี น การสงั เกตการสอนของครปู ระจำ�ช้ัน การสังเกตสภาพ แวดลอ้ มในโรงเรยี น และระบบการบรหิ ารจัดการในชน้ั เรยี น ระดับชั้นปีท่ี 2 การลงทดลองปฏบิ ตั ิกิจกรรมร่วมกบั ครูประจ�ำ ชน้ั ในโรงเรียน โดยมอี าจารย์และครปู ระจำ� ชั้นเป็นครพู เี่ ลี้ยง ระดับชนั้ ปีท่ี 3 นกั ศึกษาฝึกปฏบิ ตั ิการจัดกจิ กรรมใหก้ ับเด็กในโรงเรยี น จากการออกแบบและการจดั การ ของนกั ศกึ ษา ระดับชั้นปีที่ 4 นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาแบบเต็มรูป โดยใช้ระยะเวลา 1 ปีการศึกษา ในรูปแบบของสหกิจศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2565 คณะครศุ าสตรม์ กี ารพฒั นาหลกั สตู รตามความเชยี่ วชาญในระดบั ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ จำ�นวน 2 หลักสูตร ได้แก่ ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาล่ามภาษามือ และประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู รวมถงึ ระดบั มหาบัณฑิต จำ�นวน 2 หลักสตู ร ได้แก่ หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การการศกึ ษา ปฐมวยั และประถมศกึ ษา และหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ การสอนภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครปู ระถมศกึ ษา เพอื่ ให้ สอดรบั กบั การดำ�เนินงานควบคกู่ บั โรงเรียนสาธิตละอออุทิศ มหาวิทยาลัยสวนดุสติ 6

ประวตั ิความเปน็ มาคณะครศุ าสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ได้ก่อต้ังขึ้นมาเป็นเวลายาวนานกว่า 70 ปี ควบคู่มากับมหาวิทยาลัย ซึ่งเดิมเป็นโรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย “โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” สังกัดกองอาชีวศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ เปิดดำ�เนินกิจการ เมื่อ 17 พฤษภาคม 2477 ที่วังกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ โดยใช้หลกั สูตรวิสามญั การเรือน รบั นักเรียนที่จบ ม.4 เขา้ เรียนต่อ 4 ปี จะไดร้ ับประกาศนียบัตรประโยคมัธยมศึกษา (ม.8) วสิ ามญั การเรอื น แผนกการเรอื น หลกั สตู รนผี้ ลติ นกั เรยี นออกมาเพยี ง 3 รนุ่ คอื รนุ่ ที่ 1 ปี พ.ศ. 2477 มนี กั เรยี น 18 คน รนุ่ ท่ี 2 ปี พ.ศ. 2478 มีนกั เรียน 45 คน และรนุ่ ท่ี 3 ปี พ.ศ. 2479 มีนกั เรียน 15 คน จ�ำ นวนนกั เรยี นทง้ั หมด 78 คน แตจ่ บการศกึ ษาจรงิ 50 คน ต่อมาเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงแผนการศึกษาของชาติ หลักสูตรวิสามัญการเรือน เปล่ียนไปรับนักเรียนที่จบ ม.3 เข้าเรียนต่ออีก 3 ปี จะได้รับประกาศนียบัตรอาชีวศึกษาช้ันกลางแผนกการเรือน หลักสูตรท่ีสองของโรงเรียน การเรอื นจึงเป็นหลกั สตู ร 3 ปี เรียก “หลักสตู รมัธยมการเรือน” หรือ “การเรอื นตอนตน้ ” นกั เรียนทจี่ บหลักสตู รหนงึ่ และสอง หากตอ้ งการรบั ราชการ เปน็ ครจู ะต้องเขา้ รบั การอบรมอกี 1 ปี เพือ่ รบั ใบสำ�คัญการอบรมวิชาชีพ เรยี กวา่ “หลกั สตู รอบรมการเรอื น” เรมิ่ ตน้ เปน็ ครงั้ แรกเมอ่ื ปี พ.ศ. 2481 จงึ ถอื วา่ เปน็ ปแี รกทโี่ รงเรยี นการเรอื นผลติ ครู อนั จะน�ำ ไปสู่การเปลีย่ นแปลงทสี่ ำ�คัญในสมัยต่อมา พ.ศ. 2480 ได้ย้ายมาอยู่ท่ีวังจันทรเกษม (กระทรวงศึกษาธิการปัจจุบัน) โดยเปลี่ยนชื่อมาเป็น “โรงเรียน การเรอื นวงั จนั ทรเกษม” สงั กดั กองอาชวี ศกึ ษากรมวชิ าการ ในชว่ งนไี้ ดม้ กี ารใชห้ ลกั สตู รการเรอื น ชน้ั สงู เรยี กวา่ “หลกั สตู รการเรอื นตอนปลาย”หลกั สตู รนเ้ี รยี น3ปีรบั นกั เรยี นทจี่ บม.6สอบเขา้ เรยี น เม่ือสำ�เร็จจะได้ประกาศนียบัตรอาชีวศึกษาช้ันสูง พ.ศ. 2481 โรงเรียนการเรือนพระนคร สอนหลกั สูตรอบรมครูการเรือน พ.ศ. 2483 ยา้ ยจากวงั จนั ทรเกษมมาตงั้ อยบู่ รเิ วณวงั สนุ นั ทา และเปลยี่ นชอื่ เปน็ “โรงเรยี นการเรอื นพระนคร” ย้ายไปสังกัดกองฝึกหัดครู กรมสามัญศึกษา ในปีนี้ได้ก่อตั้งโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ ซ่ึงเป็นโรงเรียนแห่งแรกของกระทรวงศึกษาธิการ ในบริเวณโรงเรียนการเรือนพระนคร มผี สู้ นใจนำ�บตุ รหลานเขา้ เรยี นเป็นจ�ำ นวนมาก เป็นเหตุให้กระทรวงศกึ ษาธิการมนี โยบายเปดิ โรงเรียนอนบุ าลขนึ้ ในจังหวดั ต่างๆ เป็นจำ�นวนมาก พ.ศ. 2486 เปดิ แผนกอบรมครูอนุบาลขนึ้ อกี แขนงหน่งึ มีความมงุ่ หมาย เพื่อการเตรียมครสู อนในระดับช้ัน อนุบาลซึ่งยังขาดแคลนอยู่ พ.ศ. 2493 เริ่มใช้หลักสูตรประโยคการเรือน โดยรับนักเรียนจบช้ันม.6 เข้าเรียน 2 ปี เม่ือสำ�เร็จแล้วได้ ประกาศนยี บัตรประโยคการเรือน ผูท้ จ่ี บหลักสตู รหากมีความประสงคจ์ ะเป็นครู กเ็ รียนเพ่มิ เตมิ อกี 1 ปี โดยแยกสาขาเฉพาะออกเปน็ หลักสูตรประโยคครอู นุบาลและประโยคครูการเรือน พ.ศ. 2497 เริ่มใช้หลักสูตรประโยคครูมัธยมการเรือน ซ่ึงเป็นหลักสูตรเรียน 2 ปี (หลักสูตรนี้ใช้มาจนถึง พ.ศ. 2506 จึงได้ยกเลิกไป เม่ือเป็นหลักสตู รการฝึกหัดคร)ู พ.ศ. 2498 ยา้ ยสงั กดั จากกองฝกึ หดั ครู กรมสามญั ศึกษามาสังกัดกองโรงเรียนฝกึ หดั ครูกรมการฝกึ หดั ครู พ.ศ. 2499 มกี ารเปดิ สอนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษา (ป.กศ.) สาขาคหกรรมศาสตรเ์ ปน็ ครงั้ แรก และเปน็ แห่งแรกในประเทศไทย พ.ศ. 2501 ยกเลิกหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.คหกรรมศาสตร์) และเปิดหลักสูตร ประกาศนยี บัตรวชิ าการศกึ ษาชัน้ สูง (ป.กศ.สูง) สาขาคหกรรมศาสตรแ์ ละ ป.กศ.ชัน้ สงู สาขา การอนุบาลศึกษา พ.ศ. 2504 กรมการฝกึ หดั ครู ประกาศยกฐานะโรงเรยี นการเรอื นพระนคร เปน็ วทิ ยาลยั ครู ชอื่ วา่ “วทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ ” และมกี ารต้งั หมวดวชิ าการศกึ ษาข้นึ พ.ศ. 2517 เปิดสอนหลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) สาขาประถมศึกษา วิชาเอกสังคมศึกษาเปน็ ครง้ั แรก พ.ศ. 2518 เปิดหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขามัธยมศึกษาศาสตร์เป็นคร้ังแรก และเปล่ียนจากหมวด วชิ าการศึกษาเป็นคณะวชิ าครศุ าสตร์ 7

พ.ศ. 2519 พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครมู ผี ลบงั คบั ใช้ เปดิ หลกั สตู ร ป.กศ. (ทวภิ าค) และหลกั สตู รปรญิ ญาของ สภาการฝกึ หดั ครู โครงสรา้ งการบรหิ ารสถานศกึ ษา มกี ารเปลยี่ นแปลงจากต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการ เปน็ อธกิ ารวิทยาลัย สว่ นราชการอื่นๆ เปล่ียนจากหมวดวิชาเป็นคณะวิชา คณะวิชาครุศาสตร์ ประกอบดว้ ยภาค วชิ าตา่ งๆ รวม 7 ภาควชิ า ไดแ้ ก่ ภาควชิ าพน้ื ฐานการศกึ ษา ภาควชิ าจติ วทิ ยา และการแนะแนว ภาควชิ าทดสอบและวิจัยการศึกษา ภาควิชาหลกั สตู รและการสอน ภาควชิ า เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษา ภาควชิ าการอนบุ าลศกึ ษา และภาควชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ. 2520 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนอนุบาลละอออุทิศไปเป็น “โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศ” และเปิด หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑิต วชิ าเอกการอนุบาลศึกษาเปน็ คร้งั แรก พ.ศ. 2521 เปดิ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ วชิ าเอกวทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป และเปดิ โครงการอบรมครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษาประจ�ำ การ (อคป.) ตามโปรแกรมพฒั นาสมรรถภาพครรู วม 7 โปรแกรม คอื ภาษาไทย สงั คมศกึ ษาศลิ ปศกึ ษา วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษาและการศกึ ษาพเิ ศษ เป็นรุ่นแรกและเปดิ สอนเพิม่ ในปกี ารศึกษาตอ่ ไป พ.ศ. 2522 ยกเลิกหลักสูตร ป.กศ. (ทวิภาค) เปิดสอนหลักสูตร ป.กศ. ชั้นสูง เพิ่มข้ึนอีกหนึ่งวิชาเอก อุตสาหกรรมศลิ ป์เปิดสอนหลกั สตู รปริญญา ครศุ าสตร์ 2 ปี หลงั เพ่มิ อกี 5 วชิ าเอก รวมเปน็ 9 วชิ าเอก คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ ศลิ ปศกึ ษา วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป สงั คมศกึ ษา การประถมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา และการศกึ ษาพเิ ศษ เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 2 รวม 9 โปรแกรม คอื ภาษาองั กฤษและคณติ ศาสตร์ พ.ศ. 2523 เปดิ สอนหลกั สตู รปรญิ ญาครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) 4 ปี รวม 9 วชิ าเอก คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การประถมศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว พ.ศ. 2524 เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 4 รวม 10 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ คณติ ศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การประถมศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว พ.ศ. 2525 เปดิ สอน อคป. รนุ่ ท่ี 5 รวม 10 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา การประถมศึกษา การบริหารการศึกษา และการแนะแนว พ.ศ. 2526 เปดิ สอน ป.กศ. ซงึ่ ส�ำ นกั งานการประถมศกึ ษาแหง่ ชาติ (สปช.) สง่ มาเรยี นเปดิ สอนระดบั ป.กศ. ชนั้ สงู เทคนคิ อาชพี (ภาคสมทบ) รวม 3 วชิ าเอก คอื วารสารและการประชาสมั พนั ธ์ การอาหาร และ ศลิ ปะประดษิ ฐ์ เปดิ สอน อคป. รนุ่ ท่ี 6 รวม 9 โปรแกรม คอื ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศึกษา การประถมศึกษา ศิลปศกึ ษา การบริหารการศึกษา และ การแนะแนว พ.ศ. 2527 เปดิ สอนอคป.รนุ่ ท่ี7ระดบั ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตร์ รวม7โปรแกรมคอื คหกรรมศาสตร์ สงั คมศกึ ษา การอนบุ าลศกึ ษา การประถมศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษา และการแนะแนว ระดบั ป.กศ. ชน้ั สงู รวม 5 โปรแกรม คอื ภาษาองั กฤษ สขุ ศกึ ษา สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ และการอนบุ าล ศกึ ษา พ.ศ. 2528 หลังจากที่ได้แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติวิทยาลัยครูวิทยาลัยจึงเริ่ม เปิดสอนสาขาวิชา อนื่ เปน็ ครง้ั แรก และเปดิ รบั สมคั รนกั ศกึ ษาชายเปน็ สหศกึ ษาเปน็ ครง้ั แรกดว้ ย เปดิ สอน อคป. รนุ่ ที่ 8 เปน็ รนุ่ สดุ ทา้ ยระดบั ปรญิ ญาตรี ครศุ าสตร์ รวม 5 โปรแกรม คอื สงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา การบรหิ ารการศกึ ษาและการแนะแนวระดบั ป.กศ.ชน้ั สงู รวม5โปรแกรมคอื สงั คม ศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา และนาฏศิลป์ พ.ศ. 2529 สำ�หรบั สาขาวิชาการศึกษา คงเปดิ สอนตามปกติ เปดิ สอน กศ.บป. (การศึกษาสำ�หรับบคุ ลากร ประจ�ำ การ) รนุ่ แรกโดยเปดิ สอนทงั้ สายวชิ าชพี ครแู ละสายวชิ าอน่ื ระดบั อนปุ รญิ ญาศลิ ปศาสตร์ 2 วิชาเอก คือวารสารและการประชาสัมพันธ์และการจดั การทว่ั ไประดับ ป.กศ. ชนั้ สูง 5 วิชา เอก คอื สงั คมศกึ ษาคหกรรมศาสตร ก์ ารอนบุ าลศกึ ษา สขุ ศกึ ษา และพลศกึ ษา ระดบั ค.บ. 2 ปี หลัง 9 วชิ าเอกคอื สงั คมศกึ ษา ศิลปศกึ ษา เกษตรศาสตร์ การอนบุ าลศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ การแนะแนว พลศึกษา การประถมศกึ ษา และการบรหิ ารการศึกษา พ.ศ. 2531 ส�ำ หรบั สายวชิ าชพี ครคู งสอนตามปกตเิ ปดิ สอน กศ.บป. รนุ่ ที่ 3 ระดบั ค.บ. 2 ปหี ลงั มี 7 วชิ าเอก คอื การศึกษาปฐมวัย การประถมศึกษา ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา คหกรรมศาสตร์ สุขศึกษา และพลศกึ ษาระดบั ค.บ. 2 ปี หลงั มี7วชิ าเอกคอื การศกึ ษาปฐมวยั การบรหิ ารการศกึ ษาสงั คมศกึ ษา คหกรรมศาสตร์ จติ วิทยาและการแนะแนว สุขศึกษา และพลศึกษา 8

พ.ศ. 2533 รับนักศึกษาโครงการคุรทุ ายาท ระดับ ค.บ. 4 ปี วชิ าเอกการศึกษาปฐมวยั เปน็ รุ่นแรก พ.ศ. 2538 คณะวชิ าครศุ าสตรเ์ ปลย่ี นชอ่ื เปน็ คณะครศุ าสตร์ ตามพระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 และ เปิดสอนหลักสูตรปรญิ ญา ครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) 4 ปี โปรแกรมวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา เปน็ ปีแรก พ.ศ. 2539 รับนักศกึ ษาโครงการครุ ทุ ายาทเป็นรุ่นสดุ ทา้ ย พ.ศ. 2540 เริ่มทดลองการบรหิ ารโดยเปลีย่ นจากภาควิชาตา่ ง ๆ เปน็ โปรแกรมวิชา พ.ศ. 2542 เปดิ สอนหลักสูตรวิชาชพี ครู (24 หนว่ ยกติ ) พ.ศ. 2543 เปดิ สอนหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชพี ครู (27 หนว่ ยกติ ) พ.ศ. 2544 เปิดสอนหลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑิต (ค.บ.) 4 โปรแกรมวิชา ไดแ้ ก่ 1. โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาพิเศษ 2. โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 3. โปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตร์ทั่วไป 4. โปรแกรมวชิ าคณติ ศาสตร์ ตามนโยบายของสถาบัน ฯ พ.ศ. 2545 เปดิ สอนหลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑิต 2 โปรแกรมวิชา ไดแ้ ก่ 1. โปรแกรมวิชาการศึกษาพิเศษ 2. โปรแกรมวชิ าการศึกษาปฐมวัย ตามนโยบายของสถาบนั ฯ พ.ศ. 2546 รว่ มกบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ การบรหิ ารการศกึ ษาและปรญิ ญาโท สาขาการบริหารการศึกษา พ.ศ. 2547 เปล่ยี นสถานะภาพจากสถาบนั ราชภฏั สวนดุสิต เป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ (ตาม พ.ร.บ. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547) รว่ มมอื กบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ และปรญิ ญาโท สาขาการศกึ ษาพเิ ศษ และคณะครศุ าสตร์ ยงั คงเปดิ สอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ 2 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ และวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั การผลติ บณั ฑติ ในสว่ นทคี่ ณะมคี วามพรอ้ มมากทส่ี ดุ ใน 2 หลกั สตู รดงั กลา่ ว เพราะมโี รงเรยี นสาธติ อนุบาลละอออุทิศเป็นห้องปฏิบัติการให้กับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและศูนย์การศึกษา พเิ ศษเปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหก้ บั หลกั สตู รการศกึ ษาพเิ ศษ หลกั สตู รการจดั การศกึ ษาไดเ้ ปลยี่ นแปลง จากเดมิ โดยบณั ฑติ ในสาขาการศกึ ษาจะใชร้ ะยะเวลาศกึ ษาตลอดหลกั สตู ร เปน็ เวลา 5 ปี จงึ นบั เปน็ การเปลี่ยนแปลงครัง้ สำ�คญั ในดา้ นหลักสตู รและกระบวนการจัดการเรยี นการสอน เพือ่ ให ้ สอดคลอ้ งรบั กับบรบิ ทของสังคม พ.ศ. 2548 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) 2 โปรแกรมวิชา ได้แก่ โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั และโปรแกรมวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตในส่วนท่ีคณะมีความพร้อมมากท่ีสุด เพราะมีโรงเรียนสาธิตอนุบาล ละอออุทิศเป็นห้องปฏิบตั ิการใหก้ ับโปรแกรมวิชาการศกึ ษาปฐมวัย และมีศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เปน็ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหก้ บั โปรแกรมวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ และเปดิ ใหบ้ รกิ ารวชิ าการโครงการพฒั นา ครปู ระจ�ำ การใหไ้ ดร้ บั วฒุ ปิ รญิ ญาตรที างการศกึ ษา และรว่ มมอื กบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั ด�ำ เนนิ โครงการ พัฒนาผูบ้ รหิ ารประจ�ำ การให้ได้รบั วุฒปิ ระกาศนียบัตรบณั ฑิตบริหารการศึกษา พ.ศ. 2549 คณะครุศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมวัฒนธรรมไทย และจรรยาบรรณวิชาชีพสำ�หรับ ครูชาวต่างประเทศเปน็ หลกั สูตร การฝึกอบรมระยะสน้ั จ�ำ นวน 20 ชว่ั โมง การพัฒนาหลกั สูตร ดงั กล่าวเปน็ ผลการจากบังคับใชพ้ ระราชบญั ญตั ิสภาครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ซึ่งกำ�หนดให้วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพควบคุม ข้อกำ�หนดดังกล่าวครอบคลุมถึงกลุ่มครู ชาวต่างประเทศ ท่ีทำ�หน้าที่เป็นผู้สอนอยู่ในสถานศึกษาในประเทศไทย ในระดับที่ต่ำ�กว่า ระดับอุดมศึกษา ครูชาวต่างประเทศที่ทำ�การสอนในประเทศไทยจำ�เป็นต้องได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูจึงจะทำ�หน้าที่เป็นผู้สอนได้ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ไดพ้ ฒั นาหลกั สตู รการฝกึ อบรมวฒั นธรรมไทยและจรรยาบรรณวชิ าชพี ส�ำ หรบั ครชู าวตา่ งประเทศ พ.ศ. 2550 วนั ที่ 16 มนี าคม พ.ศ. 2550 ครุ สุ ภาอนมุ ตั หิ ลกั สตู รการฝกึ อบรมวฒั นธรรมไทยและจรรยาบรรณ วิชาชีพสำ�หรับครูชาวต่างประเทศ และคณะครุศาสตร์ได้ดำ�เนินการโครงการอบรมหลักสูตร วัฒนธรรมไทยและจรรยาบรรณวชิ าชพี สำ�หรับครชู าวต่างประเทศ (20 ชั่วโมง) 9

พ.ศ. 2551 เปดิ สอนหลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ การศกึ ษาปฐมวยั (หลกั สตู ร5ป)ี ตามนโยบายของมหาวทิ ยาลยั ฯ พฒั นาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑติ วชิ าชพี ครใู หส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรฯู้ และพฒั นา หลกั สตู รโครงการพฒั นาครปู ระจ�ำ การใหไ้ ดร้ บั วฒุ ปิ รญิ ญาตรที างการศกึ ษาเปน็ หลกั สตู รการศกึ ษา ปฐมวยั 5 ปี ตามอัตลกั ษณข์ องมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สวนดสุ ิต พ.ศ. 2552 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู รโครงการ พัฒนาครูประจำ�การให้ได้รับวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา (การศึกษาปฐมวัย) หลักสูตร ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู และหลักสูตรโครงการพัฒนาผู้บริหารประจำ�การให้ได้รับวุฒิ ประกาศนียบัตรบณั ฑติ (การบรหิ ารการศกึ ษา) พ.ศ. 2553 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ การศกึ ษาปฐมวยั และหลกั สตู รตา่ งๆ เชน่ เดียวกบั ปกี ารศึกษา 2552 พ.ศ. 2554 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (หลกั สตู ร 5 ป)ี หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2554 และหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย (หลกั สูตร 5 ปี) หลักสตู รปรับปรุ ง พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2555 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑติ การศึกษาปฐมวัย การประถมศกึ ษาและ หลักสูตรต่างๆ ในระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ตามพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยสวนดุสิต พ.ศ.2558 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 มผี ลบังคบั ใชต้ งั แต่วนั ท่ี 18 กรกฎาคม 2558 โดยใชช้ ่อื ว่า “มหาวิทยาลยั สวนดุสติ ” พ.ศ. 2560 คณะครศุ าสตรเ์ ปดิ สอนหลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา (หลกั สตู รหา้ ป)ี และสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย (หลกั สูตรห้าปี) หลกั สตู รปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2560 พ.ศ. 2562 คณะครุศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา (หลกั สูตร 4 ป)ี และสาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั (หลักสูตร 4 ป)ี หลกั สูตรปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2562 10

โรงเรียนสาธติ อนบุ าลละอออทุ ิศ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต ประวตั ิของโรงเรยี น โรงเรยี นสาธติ อนบุ าลละอออทุ ศิ เดมิ ชอ่ื โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ กลา่ วไดว้ า่ เปน็ โรงเรยี นอนบุ าลของรฐั แหง่ แรก สรา้ งขึน้ ด้วย เงนิ บรจิ าคของ น.ส. ละออ หลมิ เซง่ ไถ่ ได้เปดิ ทำ�การ เมือ่ วันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2483 แรกเรม่ิ ท�ำ การรับ นกั เรยี นอายุ 4 - 5 ปี จ�ำ นวน 30 คน เพอ่ื ทำ�การทดลองสอน ภายหลังปรากฏว่า ได้มีผู้สนใจนำ�บุตรหลานมาศึกษาในระดับอนุบาลเป็นจำ�นวนมาก โรงเรียนสาธิตอนุบาล ละอออทุ ศิ จงึ ไดข้ ยายชน้ั เรยี นและอาคารเรยี นเพม่ิ เตมิ ขน้ึ จากอาคารเรยี นชนั้ เดยี ว “ละอออทุ ศิ ” เปน็ ตกึ “วจิ ติ รอาคาร” “อนบุ าลวทิ ยา” และ “ศาลาดรณุ ” เมอื่ มกี ารเปลยี่ นแปลงการบรหิ ารงานของวทิ ยาลยั ครตู ามระบบของสภาการฝกึ หดั ครู โรงเรยี นอนุบาลละอออทุ ศิ จึงได้ชือ่ ว่า “โรงเรียนสาธติ อนุบาลละอออทุ ิศ” เมอ่ื จ�ำ นวนนกั เรยี นเพม่ิ มากขนึ้ อาคารเรยี นจงึ ตอ้ งปรบั ปรงุ ใหมโ่ ดยอาคารไมข้ อง “อนบุ าลวทิ ยา” และ “ศาลาดรณุ ” ใหเ้ ปน็ ตกึ ใหม่ โดยตกึ อนบุ าลวทิ ยา สรา้ งเปน็ ตกึ 3 ชน้ั ชนั้ ลา่ งเปน็ หอ้ งเรยี นนกั เรยี นอนบุ าล ชน้ั บนใชเ้ ปน็ สถานทเี่ รยี น ของนกั เรยี นฝกึ หดั ครแู ละปี พ.ศ. 2528 ไดร้ อื้ “ศาลาดรณุ ” ซง่ึ เปน็ อาคารไมช้ น้ั เดยี วออกและแทนทด่ี ว้ ย “อาคาร 50 ปี ละอออทุ ศิ ” สรา้ งในแนวเดยี วกบั อนบุ าลวทิ ยา โดยใชง้ บประมาณแผน่ ดนิ สว่ นหนง่ึ อกี สว่ นหนงึ่ ไดร้ บั การสนบั สนนุ จาก ผู้ปกครอง อาคารน้ีแลว้ เสรจ็ ในปี พ.ศ. 2533 ในปี พ.ศ. 2530 ได้สร้างอาคารเรยี นลกั ษณะเป็นบา้ น จำ�นวน 2 หลงั บรเิ วณสนามหญา้ ของโรงเรยี นด้านตดิ สระน�ำ้ วทิ ยาลยั เพือ่ ท�ำ การทดลอง และวจิ ยั เก่ียวกับการจัดสภาพแวดลอ้ มที่กระตนุ้ การเรยี นรใู้ ห้กบั เดก็ อายุ 2 - 3 ปี ทจ่ี ะสง่ ผลตอ่ พฒั นาการของเดก็ และเพอ่ื การทดลองหารปู แบบการจดั บา้ นสาธติ ในเชงิ ธรุ กจิ ซง่ึ นอกจากผลการวจิ ยั จะ ช่วยสนบั สนุนใหเ้ ปน็ รปู แบบทางการศกึ ษาปฐมวัยโดยตรงแลว้ ในทางออ้ มยังเปน็ การใหก้ ารศกึ ษาแก่เด็กอายุ 2 - 3 ปี และเป็นท่ีสาธิตจัดการศึกษาให้แก่เด็กวัยดังกล่าวให้แก่ผู้ที่สนใจได้มาศึกษาวิธีการจัดดำ�เนินงานและฝึกงานอีกด้วย และในปี พ.ศ. 2540 ไดเ้ รม่ิ โครงการบา้ นหนนู อ้ ยขนึ้ โดยรบั เดก็ ตง้ั แตอ่ ายุ 1.6 - 1.11 ปี เพอื่ หารปู แบบการจดั สงิ่ แวดลอ้ ม ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการทางภาษาแก่เดก็ ในปี พ.ศ. 2540 โรงเรยี นไดท้ �ำ การสรา้ งอาคาร 4 ชน้ั เพม่ิ ขน้ึ อกี 1 หลงั คอื “อาคารอเนกประสงค”์ เพอื่ ใชส้ �ำ หรบั เปน็ หอ้ งอาหาร และหอ้ งกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียน ในปี พ.ศ. 2545 โรงเรยี นไดท้ �ำ การรอื้ อาคาร “ละอออทุ ศิ ” จากอาคารเรยี นชน้ั เดยี วสรา้ งเปน็ อาคารเรยี น 4 ชนั้ มี ช้ันใต้ดินสำ�หรับจอดรถ อาคาร “ละอออุทิศ” ดำ�เนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2547 อาคารดังกล่าวใช้สำ�หรับเป็น ห้องเรียน ของนักเรียนระดบั อนุบาล ประถมศกึ ษาและส�ำ นักงานธุรการ ลกั ษณะการด�ำ เนินการดา้ นปฐมวยั 1) เป็นสถาบนั ใหก้ ารศึกษาอบรมแก่เด็กปฐมวัย อายุระหวา่ ง 1.6 - 5 ปี โดยแบ่งเปน็ ระดับขน้ั ต่างๆ ดังน้ี - โครงการบ้านหนูน้อย รับเด็กอายุ 1.6 - 1.11 ปี - โครงการบา้ นสาธิต รับเด็กอายุ 2 - 2.11 ปี - ระดับอนุบาลรบั เดก็ อายุ 3 - 5.11 ปี โรงเรยี นไดย้ ดึ แนวปรชั ญาวถิ ดี �ำ เนนิ การเรยี นการสอน ตามวถิ ที างแหง่ การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ทสี่ บื เนอ่ื งมาตง้ั แต่ เร่ิมก่อต้ังโรงเรียน โดยมุ่งเน้นการเตรียมความพร้อมและส่งเสริมการพัฒนาการเด็ก “หลักสูตรของโรงเรียนมีลักษณะ ยืดหยุ่นได้” โดยคำ�นึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็ก กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นสอดคล้องกับชีวิตประจำ�วัน และส่ิงแวดล้อมรอบตวั เด็ก 2) เปน็ แบบอยา่ งของการจดั การศกึ ษาปฐมวยั แกโ่ รงเรยี นและสถาบนั พฒั นาเดก็ ในทอ้ งถน่ิ ซง่ึ ตงั้ แตแ่ รกเรมิ่ กอ่ ตง้ั “โรงเรยี นอนบุ าลละอออทุ ศิ ” เปน็ สถานศกึ ษาระดบั อนบุ าลทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งใหม้ กี ารเปดิ โรงเรยี นในจงั หวดั ตา่ งๆ และจาก นน้ั มาถงึ ปจั จบุ นั โรงเรยี นยงั คงท�ำ หนา้ ทด่ี งั กลา่ วมาโดยตลอด ซง่ึ ในแตล่ ะปกี ารศกึ ษาจะมผี มู้ าขอเยยี่ มชม ศกึ ษาดงู าน ฝกึ งานและน�ำ แนวทางการจัดประสบการณ์ แมก้ ระท่งั นวตั กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียนไปทดลองใช้ 11

โรงเรียนสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝ่ายประถมศกึ ษา) โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยประถมศกึ ษา) เปน็ โรงเรยี นสาธติ ในสงั กดั คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ไดเ้ รม่ิ ด�ำ เนนิ การตงั้ แตเ่ ดอื นเมษายน พ.ศ. 2545 โดยเปดิ ตอ่ เนอ่ื งจากโรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยอนบุ าล) ทง้ั นเ้ี ปน็ ทางเลอื กส�ำ หรบั ผปู้ กครองทปี่ รารถนาจะเหน็ บตุ รหลานไดเ้ รยี นรใู้ นระบบโรงเรยี นทเี่ ออ้ื ตอ่ การพฒั นาขดี ความสามารถ ของผู้เรยี น อยา่ งเตม็ ศักยภาพ โดยมีวัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดการเรยี นการสอน ดงั นี้ 1. เพือ่ ใหห้ ลักสูตรการเรยี นการสอนในระดบั ช้นั อนบุ าลและช้ันประถมศึกษามคี วามเช่ือมโยงและต่อเน่ืองกัน 2. เพ่อื พัฒนาความรู้และทกั ษะท้งั 4 ด้านของเด็กอนั ได้แก่ ด้านรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม และสตปิ ญั ญา พรอ้ ม ท้งั ส่งเสริมให้เด็กเรยี นรู้ถงึ วธิ ีการศึกษาหาความรดู้ ้วยตัวเองอันจะเปน็ รากฐานสำ�คญั ส�ำ หรบั การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 3. เพ่ือส่งเสริมความเช่ือม่ันในตนเองของเด็ก พัฒนาทักษะกระบวนการคิดและการแก้ปัญหา รวมถึงทัศนคติ ในทางบวกตอ่ การเรยี น 4. เพอื่ ตอบสนองความสามารถและความสนใจทแี่ ตกต่างกนั ของเดก็ โดยเดก็ จะไดร้ ับการส่งเสรมิ ใหเ้ รยี นร้ใู น อัตราการเรยี นรูข้ องตนเองในทกั ษะดา้ นตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นการอา่ น การเขียน การสะกด คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ วทิ ยาศาสตร์ สังคมศกึ ษา ศลิ ปะ และดนตรี เป็นตน้ 5. เพอื่ เปน็ แหลง่ ทดลอง คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นาความรทู้ างดา้ นการศกึ ษาปฐมวยั และประถมศกึ ษา รวมตลอดถงึ เปดิ โอกาสใหค้ ณาจารยใ์ นสถาบนั ไดม้ าทดลองวจิ ยั เพอื่ พฒั นาความรู้ และเปน็ แหลง่ ใหค้ วามรว่ มมอื สนบั สนนุ การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาความรู้ และเปน็ แหลง่ ให้ความรว่ มมือ สนบั สนนุ การวิจยั ของหนว่ ยงานอ่ืนที่เกย่ี วขอ้ ง ในปพี .ศ. 2550 โรงเรียนสาธติ อนบุ าลละอออทุ ิศ และโรงเรียนประถมสาธิตละอออุทิศ ไดร้ วมกันโดยใช้ชือ่ วา่ โรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ (ฝา่ ยอนบุ าล) และ (ฝา่ ยประถม) โดยมผี บู้ รหิ ารคนเดยี วกนั เปน็ ต�ำ แหนง่ ผอู้ �ำ นวยการและมฐี านะ เทียบเท่าคณะ 12

รายนามผบู้ ริหารและอาจารย์ คณะครศุ าสตร์ Suan Dusit

Faculty of Education รคายณนามะผคบู้ รรหิ ศุ ารแาลสะอตาจารรย์ ์ ผ้บู รหิ ารคณะ อาจารย์์ ดร.พรชุลุ ีี ลัังกา Ph.D. (Early Childhood Education) ผศ.ดร.วีณี ััฐ สกุุลหอม ค.ม. (การศึึกษาปฐมวััย) ศษ.ด. (การบริิหารการศึกึ ษาพิเิ ศษ) ค.บ. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ค.ม. (เทคโนโลยีที างการศึึกษา) อาจารย์์ ดร.จุุฬินิ ฑิพิ า นพคุุณ ศศ.บ. (สื่�อ่ สารมวลชน) ค.ด. (การศึึกษาปฐมวัยั ) คณบดีีคณะครุศุ าสตร์์ ศษ.ม. (ปฐมวััยศึึกษา) ผศ.อััษฎา พลอยโสภณ ค.ม. (การศึึกษานอกระบบโรงเรียี น) ศศ.ม. (จิิตวิทิ ยาการศึึกษาและการแนะแนว) ศศ.บ. (ภาษาอัังกฤษธุรุ กิิจ) ค.บ. (ดนตรีีศึกึ ษา) ผศ.ดร.เอื้�้ออารีี จันั ทร รองคณบดีีฝ่่ายบริิหารและกิิจการนัักศึึกษา ค.ด. (เทคโนโลยีสี ารสนเทศและการสื่�่อสาร ผศ.นิศิ ารัตั น์์ อิสิ ระมโนรส การศึกึ ษา) ค.ม. (การศึึกษาปฐมวัยั ) บธ.ม. (การตลาด) ค.บ. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ค.บ. (คอมพิิวเตอร์์ศึกึ ษาและมััธยมวิทิ ย์์) รองคณบดีฝี ่่ายวิิชาการและประกัันคุุณภาพ ผศ.นิิศารัตั น์์ อิสิ ระมโนรส อาจารย์์ ดร.ปุณุ ยวีรี ์์ จิโิ รภาสวรพงศ์์ ค.ม. (การศึกึ ษาปฐมวัยั ) คศ.ด. (การศึึกษาปฐมวััย) ค.บ. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ศษ.ม. (การสอนภาษาอังั กฤษในฐานะภาษา ต่า่ งประเทศ) อาจารยป์ ระจำ�หลกั สูตร ศษ.บ. (ภาษาอัังกฤษ) ประธานหลัักสููตรศึึกษาศาสตรบััณฑิิต อาจารย์์ ดร.นงคราญ สุขุ เวชชวรกิจิ สาขาวิชิ าการศึึกษาปฐมวัยั ปร.ด. (การบริิหารการพััฒนา ด้้านการบริิหาร ผศ.ดร.กััลยา ชนะภััย การศึึกษา) กศ.ด. (หลักั สููตรและการสอน) M.Ed. (Gifted Studies) ค.ม. (การศึึกษานอกระบบ) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) ค.บ. (ประถมศึกึ ษา) อาจารย์น์ งเยาว์์ นุุชนารถ ประธานหลักั สูตู รศึกึ ษาศาสตรบัณั ฑิิต ศษ.ม. (ปฐมวััยศึกึ ษา) สาขาวิิชาการประถมศึึกษา ค.บ. (คอมพิิวเตอร์)์ อาจารย์อ์ ลงกรณ์์ เกิดิ เนตร ผศ.ดร.นิฤิ มล สุุวรรณศรีี ค.ม. (การบริกิ ารการศึกึ ษา) กศ.ด. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ค.บ. (คอมพิวิ เตอร์ศ์ ึกึ ษา) กศ.ม. (เทคโนโลยีีการศึึกษา) ประธานกลุ่่�มวิชิ าชีพี ครูู กศ.บ. (ภาษาไทย) ผศ.ดร.เกยููร วงศ์์ก้อ้ ม ผศ.พรใจ สารยศ กจ.ด. (การจััดการการศึกึ ษา) กศ.ม. (การศึกึ ษาปฐมวัยั ) ค.ม. (การศึกึ ษาพิิเศษ) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) ค.บ. (การศึึกษาพิิเศษ) ผศ.พรรััก อินิ ทามระ หัวั หน้้าศูนู ย์ก์ ารศึกึ ษาพิเิ ศษ กศ.ม. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ค.บ. (การศึึกษาพิิเศษ) อาจารยผ์ ูร้ บั ผิดชอบหลักสูตร ผศ.ศศิพิ ัันธุ์์� เปี๊�๊ยนเปี่่ย� มสินิ ศึกษาศาสตรบัณฑติ ค.บ. (การอนุบุ าลศึึกษา) สาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย ผศ.มุทุ ิิตา ทาคำแสน ค.ม. (การศึึกษาปฐมวัยั ) อาจารย์์ ดร.ปุณุ ยวีีร์์ จิโิ รภาสวรพงศ์์ ค.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) คศ.ด. (การศึึกษาปฐมวััย) ศษ.ม. (การสอนภาษาอัังกฤษในฐานะภาษา ต่่างประเทศ) ศษ.บ. (ภาษาอังั กฤษ) 14

อาจารย์ส์ ุุภาพร มููฮำหมัดั อาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร กศ.ม. (การศึกึ ษาปฐมวััย) ศึกษาศาสตรบณั ฑิต ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย อาจารย์์ ดร.สิิรธัมั ม์์ อุดุ มธรรมานุภุ าพ วิทยาเขตสุพรรณบรุ ี ศนู ยก์ ารศกึ ษา นครนายก Ph.D. (Early Childhood Education) M.A. (Early Childhood Studies) อาจารย์เ์ กษร ขวัญั มา ผศ.ศศิิพัันธุ์์� เปี๊ย�๊ นเปี่่ย� มสินิ ค.บ. (การอนุุบาลศึกึ ษา) ศษ.ม. (ปฐมวััยศึึกษา) ค.บ. (การอนุบุ าลศึกึ ษา) ศษ.บ. (ปฐมวัยั ศึกึ ษา) ผศ.จิริ าภรณ์์ ยกอิินทร์์ อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสูตร ผศ.ชนม์ธ์ ิิดา ยาแก้้ว ศษ.ม. (ปฐมวัยั ศึึกษา) ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ ค.ม. (การศึึกษาปฐมวัยั ) ศษ.บ. (เทคโนโลยีสี ารสนเทศและ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) การประเมิินผลการศึกึ ษา) ผศ.ดร.อารีีย์์ เรืืองภัทั รนนต์์ อาจารย์์อัญั ชิษิ ฐา ปิยิ ะจิิตติิ ผศ.ดร.กััลยา ชนะภัยั ปร.ด. (หลัักสูตู รและการสอน) ศษ.ม. (ปฐมวัยั ศึกึ ษา) กศ.ด. (หลัักสููตรและการสอน) ศษ.ม. (หลักั สูตู รและการสอน) กศ.บ. (ดุรุ ิยิ างคศาสตร์์ไทย) ค.ม. (การศึกึ ษานอกระบบ) ศษ.บ. (สังั คมศึึกษา) อาจารย์ฉ์ ััตรทราวดีี บุญุ ถนอม ค.บ. (ประถมศึึกษา) อาจารย์์กรณิิศ ทองสอาด ศษ.ม. (ปฐมวัยั ศึึกษา) ผศ.ดร.ประภาวรรณ สมุุทรเผ่า่ จิินดา ค.ม. (การศึึกษาปฐมวััย) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) ปร.ด. (การศึกึ ษานอกระบบเพื่อ�่ พัฒั นาสังั คม) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) ว่า่ ที่่ร� ้อ้ ยตรีหี ญิงิ ผศ.ดร.ขวัญั ใจ จริยิ าทัศั น์ก์ ร กศ.ม. (การอุุดมศึึกษา) ผศ.ดร.ฉััตรชัยั บุุษบงค์์ ปร.ด. (วิิจัยั วัดั ผลและสถิิติทิ างการศึึกษา) ค.บ. (คอมพิิวเตอร์์ศึกึ ษา) กศ.ด. (เทคโนโลยีีและสื่�อ่ สารการศึกึ ษา) ศศ.ม. (รัฐั ศาสตร์์) อาจารย์์ ดร. สิินชััย จัันทร์เ์ สม ค.ม. (โสตทัศั นศึึกษา) ศศ.บ. (รััฐศาสตร์์) กศ.ด. (คณิติ ศาสตร์)์ กศ.บ. (เทคโนโลยีกี ารศึึกษา) กศ.ม. (คณิิตศาสตร์)์ อาจารยป์ ระจำ�หลักสูตร กศ.บ. (วิทิ ยาศาสตร์์-คณิิตศาสตร์์) อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ผศ.ดร.เอมมิกิ า วชิริ ะวินิ ท์์ ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ผศ.รวีี ศิิริิปริิชยากร ปร.ด. (วิทิ ยาการทางการศึกึ ษาและ สาขาวชิ าการประถมศกึ ษา M.Ed. (Early Childhood) การจััดการเรีียนรู้� แขนงวิชิ า การศึึกษา วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี ค.บ. (การศึกึ ษาปฐมวััย) และการจัดั การเรียี นรู้�เพื่่�อการพัฒั นา) อาจารย์ช์ ััชรีี สุุนทราภััย กศ.ม. (เทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา) ผศ.ดร.สุนุ ทร เทีียนงาม ศษ.ม. (การบริหิ ารการศึกึ ษา) ศศ.บ. (นิิเทศศาสตร์์) ค.ด. (การวััดและประเมิินผลทางการศึึกษา) บธ.ม. (การจัดั การทั่่�วไป) ผศ.ทรรศนัยั โกวิิทยากร ค.ม. (วิิจััยการศึึกษา) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) กศ.ม. (การศึกึ ษาพิเิ ศษ) ค.บ. (การประถมศึกึ ษา) ค.บ. (การศึกึ ษาพิิเศษ) อาจารย์ว์ ราภรณ์์ วัฒั นเขจนร อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร ศศ.ม. (คณิิตศาสตรศึึกษา) ศึกษาศาสตรบณั ฑติ อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร บธ.บ. (บริิหารธุรุ กิิจบัณั ฑิติ ) สาขาวิชาการประถมศกึ ษา อาจารย์์ ดร.อนุุชา แข่ง่ ขันั ศูนย์การศึกษา นครนายก รศ.ดร.จีีระพัันธุ์�์ พููลพััฒน์์ ปร.ด. (การวิจิ ััยและพััฒนาหลัักสูตู ร) Ph.D. (Elementary Education) ศษ.ม. (การสอนภาษาอัังกฤษ) ผศ.ดร.พัชั รพร ศุุภกิจิ ค.ม. (บริิหารการศึึกษา) กศ.บ. (การสอนภาษาต่่างประเทศ ปร.ด. (หลัักสูตู รและการสอน) ค.บ. (ประถมศึกึ ษา) แขนงภาษาอังั กฤษ) M.A.A. (Arts Administration) ผศ.ดร.จิิราพร รอดพ่ว่ ง อาจารย์์ ดร.นวลศรีี สงสม กศ.บ. (การประถมศึึกษา) ปร.ด. (การวิจิ ัยั และพััฒนาหลัักสููตร) ปร.ด. (เทคโนโลยีสี ารสนเทศและ ผศ.ดร.ธนพรรษ พฤกษะวันั ค.ม. (วิจิ ััยการศึึกษา) การสื่อ�่ สารเพื่่อ� การศึึกษา) ปร.ด. (คณิิตศาสตร์ป์ ระยุกุ ต์์) ค.บ. (วิิทยาศาสตร์์-คอมพิวิ เตอร์)์ วท.ม. (เทคโนโลยีสี ารสนเทศ) วท.ม. (คณิิตศาสตร์)์ อาจารย์อ์ ััครวัฒั น์์ วงศ์์ฐิติ ิคิ ุณุ บธ.บ. (การจััดการ) วท.บ. (คณิติ ศาสตร์)์ ศษ.ม. (วิิจัยั และประเมินิ ผลการศึึกษา) วท.บ. (วิิทยาการคอมพิวิ เตอร์์) ผศ.รัตั นาพร หลวงแก้ว้ ค.บ. (การประถมศึกึ ษา) อาจารย์พ์ รพิมิ ล นามวงศ์์ ศศ.ม. (จิติ วิิทยาการศึกึ ษา) ศษ.บ. (คณิิตศาสตร์)์ กศ.ม. (เทคโนโลยีกี ารศึกึ ษา) ศศ.บ. (นิิเทศศาสตร์)์ ผศ.ทรรศนัยั โกวิิทยากร ศศ.บ. (บริหิ ารธุรุ กิจิ ) ผศ.สำเนีียง ฟ้้ากระจ่่าง กศ.ม. (การศึึกษาพิเิ ศษ) กศ.ม. (ภาษาไทย) ค.บ. (การศึกึ ษาพิิเศษ) ค.บ. (ภาษาไทย) ผศ.ดร.อรรถศาสน์์ นิิมิติ พัันธ์์ กศ.ด. (คณิติ ศาสตร์์ศึกึ ษา) ค.ม. (การศึึกษาคณิิตศาสตร์์) ค.บ. (คณิิตศาสตร์์) 15

อาจารยป์ ระจำ�หลักสตู ร อาจารย์ว์ ิไิ ลวรรณ หมายดีี รศ.ดร.เบญจวรรณ กี่่�สุขุ พัันธ์์ ศษ.ม. (การศึกึ ษา) กจ.ด. (การจััดการการศึกึ ษา) อาจารย์์ ดร.ดนยา อิินจำปา กศ.ม. (วิทิ ยาการทางการศึกึ ษาและการจััด ค.ม. (โสตทััศนศึกึ ษา) กศ.ด. (หลัักสููตรและการสอน) การเรีียนรู้�) ค.บ. (สัังคมศึกึ ษา) ค.ม. (การศึึกษาพิเิ ศษ) ศศ.บ. (ประวัตั ิิศาสตร์)์ ผศ.ดร.ชัยั ยศ ชาวระนอง ค.บ. (การศึกึ ษาพิเิ ศษ) ปร.ด. (วิจิ ััย วััดผล และสถิติ ิกิ ารศึกึ ษา) ผศ.ว่า่ ที่่�ร้อ้ ยตรีี ดร.มงคลชััย บุญุ แก้ว้ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สตู ร กศ.ม. (หลักั สูตู รและการสอน) ปร.ด. (วิิทยาศาสตร์ก์ ารออกกำลังั กายและ กศ.บ. (พิสิ ิิกส์์) การกีีฬา) อาจารย์์อิินสอน จัันต๊๊ะ ผศ.ดร.จิิระ จิิตสุุภา ศศ.ม. (การจััดการทางการกีฬี า) ศศ.ม. (การศึึกษานอกระบบ) ปร.ด. (เทคโนโลยีเี ทคนิคิ ศึึกษา) วท.บ. (วิทิ ยาศาสตร์ก์ ารกีฬี า) บธ.บ. (บริหิ ารธุุรกิิจ) วท.ม. (เทคโนโลยีสี ารสนเทศ) อาจารย์์ ดร.อุบุ ลรัตั น์์ หริณิ วรรณ ค.อ.บ. (ครุศุ าสตร์์เทคโนโลยี)ี อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตร ปร.ด. (เทคโนโลยีีเทคนิคิ ศึึกษา) อาจารย์์ ดร.สมยศ เผืือดจัันทึึก ศึกษาศาสตรบณั ฑติ วท.ม. (การจัดั การเทคโนโลยีสี ารสนเทศ) ศษ.ด. (การจัดั การการศึกึ ษา) สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย วท.บ. (วิิทยาการคอมพิวิ เตอร์)์ ศษ.ม. (วิิจัยั และประเมินิ ผลการศึึกษา) ศนู ยก์ ารศึกษา ล�ำ ปาง กศ.บ. (วิิทยาศาสตร์-์ คณิิตศาสตร์์) อาจารยป์ ระจำ�คณะครศุ าสตร์ ผศ.ดร.ชนินิ ทร์์ ฐิติ ิิเพชรกุุล อาจารย์์ปิยิ นัยั น์์ ภู่�เจริญิ ปร.ด. (เทคโนโลยีีและสื่�อ่ สารการศึกึ ษา) ค.ม. (หลัักสููตรและการสอน) อาจารย์์ ดร.สวงค์์ บุุญปลููก กศ.ม. (เทคโนโลยีีการศึกึ ษา) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) กจ.ด. (การจัดั การการศึกึ ษา) บธ.บ. (การโฆษณา) ผศ.ดร.ศศิธิ ร รณะบุตุ ร กศ.ม. (การวัดั ผลการศึึกษา) อาจารย์์ศักั ดิ์์�ชัยั ไชยรัักษ์์ ปร.ด. (วิิทยาการทางการศึกึ ษาและ กศ.บ. (คณิติ ศาสตร์)์ ค.ม. (การบริหิ ารการศึกึ ษา) การจัดั การเรีียนรู้� แขนงวิิชาการศึกึ ษา รศ.ดร.ชนะศึกึ นิชิ านนท์์ ค.บ. (คอมพิวิ เตอร์์ศึกึ ษา) ปฐมวััย) ค.ด. (การวัดั และประเมินิ ผลการศึกึ ษา) อาจารย์ศ์ ศนัันทน์์ บุุญยะวนิชิ กศ.ม. (การศึึกษาปฐมวััย) ค.ม. (วิิจััยการศึกึ ษา) M.A. (Education & Globalization) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) ค.บ. (วิิทยาศาสตร์์-เคมี)ี M.A. (English-Thai Translation) อาจารย์์ ดร.เอมอร ปัันทะสืืบ ผศ.ดร.จิิตต์์วิมิ ล คล้า้ ยสุบุ รรณ ศศ.บ. (ภาษาอังั กฤษ) ศษ.ด. (การสอนและเทคโนโลยีีการเรีียนรู้�) ศษ.ด. (การวิจิ ัยั และประเมินิ ทางการศึึกษา) รศ.ดร.กรรวิิภาร์์ หงษ์ง์ าม ค.ม. (การศึึกษานอกระบบ) ศษ.ม. (การวิจิ ัยั และประเมินิ ผลทางการศึกึ ษา) ศษ.ด. (การบริิหารการศึึกษาพิิเศษ) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) ศษ.บ. (การสอนคณิติ ศาสตร์์) สส.ม. (งานฟื้้น� ฟูสู มรรถภาพคนพิิการโดย อาจารย์์นิิตยา เทพนามวงค์์ ผศ.ทิิพสุุดา คิดิ เลิิศ ชุมุ ชน) ศษ.ม. (หลักั สููตรและการสอน) กศ.ม. (เทคโนโลยีกี ารศึึกษา) ศศ.บ. (การศึึกษาปฐมวััย) ศษ.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) วท.บ. (วิิทยาการคอมพิวิ เตอร์์) ผศ.กมลวรรณ อินิ อร่า่ ม อาจารย์พ์ ศิิน หงษ์์ใส ผศ.ดร.ภริิมา วิินิธิ าสถิิตย์์กุุล M.Ed. (Special Education) ศษ.ม. (บริหิ ารการศึึกษา) พธ.ด. (พุทุ ธจิิตวิิทยา) ค.บ. (การศึกึ ษาพิิเศษ) คบ. (การศึึกษาปฐมวััย) กศ.ม. (จิิตวิิทยาการศึกึ ษา) อาจารย์์สิริ ิิลัักษณ์์ มณีรี ัตั น์์ ค.บ. (การศึกึ ษาพิเิ ศษ) ศษ.ม. (จิิตวิทิ ยาครูกู ารศึกึ ษาพิิเศษ) อาจารยผ์ ูร้ ับผิดชอบหลกั สตู ร อาจารย์์ ดร.พันั พัชั ร ปิ่่�นจินิ ดา ค.บ. (การศึกึ ษาพิเิ ศษ) ศึกษาศาสตรบณั ฑิต กจ.ด. (การจัดั การการศึกึ ษา) อาจารย์ค์ รรชิิต สมจิติ ต์์ สาขาวชิ าการประถมศึกษา ค.ม. (เทคโนโลยีีทางการศึึกษา) M.Ed. (Special Education) ศูนยก์ ารศกึ ษา ล�ำ ปาง ค.บ. (วิทิ ยาศาสตร์์-เทคโนโลยีีการศึกึ ษา) ค.บ. (การศึึกษาพิิเศษ) ศษ.บ. (เทคโนโลยีแี ละสื่อ่� สารการศึกึ ษา) อาจารย์์ ดร.อนุุชา แข่ง่ ขันั อาจารย์์ดวงเดืือน วรรณกููล ผศ.ดร.พรเทพ ลี่่ท� องอินิ ปร.ด. (การวิจิ ััยและพัฒั นาหลักั สููตร) ศษ.ม. (ประถมศึกึ ษา) ปร.ด. (วิิทยาศาสตร์ก์ ารกีีฬา) ศษ.ม. (การสอนภาษาอังั กฤษ) ค.บ. (การศึึกษาปฐมวัยั ) กศ.ม. (พลศึกึ ษา) กศ.บ. (ภาษาต่า่ งประเทศ) อาจารย์อ์ ัคั รวัฒั น์์ วงศ์ฐ์ ิิติคิ ุณุ กศ.บ. (พลศึึกษา) ศษ.ม. (วิจิ ััยและประเมิินผลการศึกึ ษา) อาจารย์์ ดร.ภิิรดีี วััชรสิินธุ์�์ ค.บ. (การประถมศึึกษา) ค.ด. (วิธิ ีีวิิทยาการวิจิ ััยการศึกึ ษา) ศษ.บ. (คณิติ ศาสตร์์) ค.ม. (วิจิ ัยั การศึกึ ษา) ผศ.ดร.ชนินิ ทร์์ ฐิติ ิเิ พชรกุลุ ค.บ. (วิิทยาศาสตร์-์ คอมพิิวเตอร์)์ ปร.ด. (เทคโนโลยีแี ละสื่�่อสารการศึกึ ษา) อาจารย์์ ดร.ทิิพย์์ ขำอยู่� กศ.ม. (เทคโนโลยีกี ารศึึกษา) ปร.ด. (การวัดั และเทคโนโลยีที าง บธ.บ. (การโฆษณา) วิิทยาการปััญญา) อาจารย์์พวงผกา ปวีณี บำเพ็็ญ กศ.ม. (เทคโนโลยีที างการศึึกษา) ค.ม. (วิิธีวี ิิทยาการวิจิ ัยั การศึึกษา) ศศ.บ. (ภาษาอังั กฤษ) ค.บ. (การสอนวิิทยาศาสตร์์) 16

สำ�นักงานคณะครุศาสตร์ นางจันั ทรา สาดะระ หััวหน้า้ สำนัักงานคณะ น.ส.จิติ ต์์ตรีี จำปีีทอง น.ส.นฤมล แสงวัันทอง นางปานใจ คงสิิทธิ์์� น.ส.วิิภาวีี จงภู่� นายชััยสิิทธิ์์� เกษตรตระการ น.ส.อำภาพร นามเสนา น.ส.ระวีวี รรณ สุบุ รรณรัตั น์์ น.ส.พิมิ พ์์ชนก สีหี า ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ฝา่ ยบริการสนบั สนุนนกั ศึกษาพิการ เรยี นร่วม น.ส.กรวิภิ า อิินทรประเสริิฐ น.ส.กาญจนา ผิวิ งาม นายฉลองรััตน์์ บุญุ วงศ์์ น.ส.ชนินิ ัันท์์ แย้ม้ ขวััญยืืน นายปรเมศวร์์ ถนอมศัักดิ์์� น.ส.พอริิยา โหสกุุล น.ส.มณีบี ููรณ์์ นิลิ เขตร์์ น.ส.สุภุ ััค เนตรบุุษราคััม นายโสฬส ฤกษ์ม์ ีี 17

หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั (4 ป)ี Suan Dusit

หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย (4 ป)ี ระดบั ปริญญาตรี 1. ชื่อหลกั สตู ร ภาษาไทย หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย (4 ปี) ภาษาองั กฤษ Bachelor of Education Program in Early Childhood Education 2. ชอ่ื ปริญญา ภาษาไทย ชื่อเตม็ : ศึกษาศาสตรบัณฑติ (การศกึ ษาปฐมวัย) ศษ.บ. (การศกึ ษาปฐมวยั ) ภาษาองั กฤษ ชอื่ ย่อ : Bachelor of Education (Early Childhood Education) B.Ed. (Early Childhood Education) 3. วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร 1) มคี า่ นยิ มร่วม โดยมคี วามตระหนักและยดึ ผู้เรียนเป็นศนู ยก์ ลางของการท�ำ งานครู การพฒั นาความร้สู กึ ถึง ตวั ตนความเป็นครู และมีเจตคติตอ่ วิชาชพี ครูทเี่ ข้มแข็ง มจี ิตสาธารณะ มีจติ บริการตอ่ วชิ าชพี ครแู ละชมุ ชน 2) เปน็ คนดี มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ยดึ มน่ั ในวชิ าชพี ครู มจี ติ วญิ ญาณครู มจี รรยาบรรณวชิ าชพี ครเู ปน็ หลกั ในการ ปฏบิ ตั ติ น มคี วามเอาใจใส่ มคี วามพอเพยี ง มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ วชิ าการและวชิ าชพี และประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทด่ี ี 3) เปน็ ผใู้ ฝ่รู้ มีปัญญา มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ และการคดิ ขัน้ สูง มีความรอบรดู้ า้ นการเงิน และ มคี วามรอบร้เู ข้าใจในพฒั นาการของเด็กปฐมวยั เช่ียวชาญในการจดั การเรยี นรดู้ า้ นการศกึ ษาปฐมวัย 4) สามารถประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดทฤษฎที ่ีมีกบั การปฏิบัตงิ านจรงิ ในสถานศกึ ษาและชุมชนเพอ่ื พฒั นาเด็กปฐมวยั และสามารถนำ�ไปใช้ในการแกไ้ ขปญั หาผเู้ รยี นและสังคม 5) มที กั ษะในศตวรรษท่ี 21 รเู้ ทา่ ทนั สอ่ื เทคโนโลยสี มยั ใหม่ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ พฒั นางานวจิ ยั และสรา้ งสรรค์สอ่ื นวตั กรรมทางการศึกษาปฐมวยั 6) มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง รู้เทา่ ทันการเปล่ียนแปลงของสังคมและของโลก และ การใช้เทคโนโลยี ตดิ ตามแนวโนม้ และความเคลือ่ นไหวทางการศึกษา เพือ่ ให้เกิดการเรยี นรอู้ ย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ 7) มบี คุ ลกิ ภาพและสมรรถนะทเ่ี หมาะสมกบั ครปู ฐมวยั เปน็ พลเมอื งทเ่ี ขม้ แขง็ โดยใสใ่ จสงั คม รกั ชาติ รกั ทอ้ งถนิ่ มจี ติ ส�ำ นกึ ไทยและจติ ส�ำ นกึ สากล และด�ำ เนนิ ชวี ติ ตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย เคารพสทิ ธิ เสรภี าพ มจี ติ ส�ำ นกึ เปน็ พลเมอื งไทย พลเมอื งโลก 8) มีความเป็นผู้นำ�ทางวิชาการด้านการศึกษาปฐมวัย สามารถจัดกิจกรรม ผลิตส่ือ จัดหาแหล่งเรียนรู้ และ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เพอ่ื พัฒนาตนเองและผู้เรยี นใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพตามความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 9) มีความสามารถในการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร และสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้ ภาษาองั กฤษใหก้ ับเด็กปฐมวยั ได้  4. คณุ สมบตั ิของผเู้ ขา้ ศึกษา 1) สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการ รบั รองวิทยฐานะ 2) ผา่ นการคัดเลอื กบุคคลเข้าศกึ ษาในสถาบันอดุ มศกึ ษาระบบ (TCAS) หรือผา่ นการคดั เลือกตามเกณฑ์ของ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต 3) มีความสามารถทางภาษาองั กฤษผ่านเกณฑ์ทีก่ �ำ หนด 4) มีคุณลกั ษณะและบุคลกิ ภาพเหมาะสมและไม่เป็นอปุ สรรคตอ่ การประกอบวิชาชีพครู 5) ในกรณีทเ่ี ปน็ นักศกึ ษาตา่ งประเทศจะตอ้ งสามารถพดู ฟัง อ่าน เขียน และเขา้ ใจภาษาไทยเปน็ อยา่ งดี และ จะต้องมคี ุณสมบตั ติ ามขอ้ 1) ถึง 3) 19

5. อาชีพท่สี ามารถประกอบไดห้ ลังสำ�เรจ็ การศึกษา 1) ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาปฐมวยั ในสถานศกึ ษาทง้ั ของภาครฐั และเอกชน หรอื สถานศกึ ษาทม่ี กี ารจดั การ เรยี นการสอนเป็นภาษาอังกฤษ 2) นักวชิ าการทางการศกึ ษา 3) ผปู้ ระกอบอาชพี อสิ ระที่เก่ียวข้องกับการศึกษาปฐมวยั 20

โครงสร้างหลกั สูตร สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร มีสัดส่วนจำ�นวนหน่วยกิต แยกตามหมวดวิชาและกลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่า 147 หนว่ ยกติ ดงั นี้ 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 33 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะดา้ น 108 หน่วยกติ 2.1 กลุ่มวชิ าชีพครู 35 หนว่ ยกติ 2.1.1 กลมุ่ วิชาการศึกษา 23 หนว่ ยกิต 2.1.2 กลุ่มวิชาการฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพ 12 หน่วยกติ 2.2 กลุ่มวชิ าเอก 43 หนว่ ยกติ 2.3 กลุม่ วิชาโท 30 หน่วยกติ 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี เรียนไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต การจดั การเรยี นการสอน 108 หน่วยกิต หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ใหเ้ รียนไมน่ ้อยกว่า 35 หนว่ ยกิต กลมุ่ วชิ าชพี ครู 23 หน่วยกิต กลุ่มวชิ าการศึกษา 1011112 ความเปน็ ครูวิชาชีพ 2(2-0-4) Teaching Profession 3(3-0-6) 1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยส�ำ หรับครู 3(3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers 3(3-0-6) 1051204 จิตวิทยาเพอื่ พฒั นาผู้เรียน 3(3-0-6) Psychology for Learner’s Development 3(3-0-6) 1042108 การวัดและประเมินผลการศกึ ษาและการเรยี นรู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment 3(3-0-6) 1032103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพ่อื การเรยี นรอู้ ย่างสร้างสรรค ์ Innovation and Digital Technology for Creative Learning 1022305 หลักสตู รและวิทยาการการจดั การเรยี นรู ้ Curriculum and Learning Management Science 1043411 การวจิ ัยและการพฒั นานวตั กรรมเพื่อพฒั นาผู้เรียน Research and Innovation Development to Enhance Learners 1063106 การบรหิ ารการศึกษาและภาวะผูน้ �ำ ของครวู ชิ าชีพ Educational Administration and Leadership of Professional Teachers กลุ่มวิชาการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 12 หนว่ ยกิต 1013803 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6(270) School Internship 1 6(270) 1014805 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 School Internship 2 กลุ่มวิชาเอก 43 หนว่ ยกติ 1071109 มาตเุ วทวทิ ยา 3(3-0-6) Maternity Science 3(3-0-6) 1071110 การศกึ ษาปฐมวยั 3(3-0-6) Early Childhood Education 1083407 การศึกษาพเิ ศษ Special Education 21

1071307 ศิลปะ ดนตรี และลลี าส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย 3(2-2-5) Art, Music and Movement for Young Children 3(3-0-6) 1072603 การประเมินพฒั นาการและการเรียนรู้ของเดก็ ปฐมวยั 3(2-2-5) Developmental and Learning Assessment for Young Children 2(2-0-4) 1073318 การจดั การเรยี นรู้ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย 2(2-0-4) Learning Management for Young Children 2(1-2-3) 1072314 โภชนาการและความปลอดภัยส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย 2(2-0-4) Nutrition and Safety for Young Children 3(3-0-6) 1072315 คหกรรมศาสตรส์ �ำ หรับครูปฐมวัย 3(3-0-6) Home Economics for Preschool Teacher 3(2-2-5) 1072316 วา่ ยน�ำ้ และการปฐมพยาบาล 3(3-0-6) Swimming and First Aid 3(3-0-6) 1072317 ดนตรีส�ำ หรบั ครปู ฐมวยั 2(0-6-0) Music for Preschool Teacher 1071406 ส่อื ของเล่นและการดูแลเดก็ ในยุคดิจิทัล 30 หนว่ ยกิต Instructional Medias, Toys and Caring Young Children in the Digital Age 3(3-0-6) 1071308 ภาษาพาเพลิน 3(3-0-6) Language for Play and Learn 3(3-0-6) 1073406 การสอนแบบมอนเตสซอร่ี 3(3-0-6) Montessori Education 3(3-0-6) 1073319 ฉลาดรคู้ ณิต-วทิ ย ์ 3(3-0-6) Mathematics-Science Intelligence 3(3-0-6) 1073704 การเปน็ ผปู้ ระกอบการดา้ นการศกึ ษาปฐมวัย 3(3-0-6) Entrepreneur in Early Childhood Education 3(2-2-5) 1074908 นวนพิ นธ์ Individual Innovation กลมุ่ วชิ าโท 1071309 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับครูปฐมวยั English for Preschool Teacher 1551151 ทักษะการเรยี นภาษาองั กฤษ English Study Skills 1071310 ภาษาอังกฤษเพ่ือพฒั นาวชิ าชพี English for Professional Development 1072318 นทิ านและวรรณกรรมภาษาองั กฤษส�ำ หรบั เด็ก English Tales and Literature for Children 1072319 ภาษาอังกฤษเพอื่ ความสนุกสนาน English for Fun 1073211 หลักสตู รภาษาองั กฤษระยะสนั้ ส�ำ หรบั เด็ก English Short Course for Young Children 1072320 การสอนภาษาอังกฤษส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย Teaching English for Young Children 1553408 การพูดภาษาองั กฤษในยคุ แห่งความหลากหลาย English Speaking in the Age of Diversity 1073320 ภาษาองั กฤษในชน้ั เรียนปฐมวยั English in Early Childhood Class 22

1073321 ภาษาอังกฤษเพื่อยกระดบั วิชาชีพ 3(3-0-6) English for Professional Enhancement หมวดวิชาเลือกเสรีไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกติ ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ี เคยเรียนมาแลว้ และจะต้องไมเ่ ป็นรายวิชาที่ก�ำ หนดใหเ้ รียนโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ รวมในเกณฑก์ ารสำ�เร็จการศกึ ษาของ หลักสูตร โดยสามารถเลอื กไดจ้ ากรายวิชาอืน่ ๆ จากหลักสตู รระดบั ปริญญาตรมี หาวทิ ยาลัยสวนดุสติ หรอื รายวชิ า เลือกเสรีของสาขาวชิ าการศึกษาปฐมวัย ดงั น้ี รายวิชาเลอื กเสรีของสาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวัย 3(3-0-6) 1073502 การเกดิ อย่างมีคณุ ภาพ 3(3-0-6) The Quality Birth 3(3-0-6) 1073503 การเชือ่ มสัมพนั ธ์ระหว่างคนตา่ งร่นุ 3(3-0-6) Intergenerational Interaction 3(3-0-6) 1073504 สภาวการณ์พ่อ-แมเ่ ล้ยี งเดี่ยว Circumstances of Single Parents 1074909 แนวโน้มและความเคลอ่ื นไหวทางการศึกษาปฐมวยั Trend and Movement of Early Childhood Education 1074316 ศาสตร์ของพระราชากับการศึกษาปฐมวยั The King’s Philosophy with Early Childhood Education 23

คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย 1011112 ความเปน็ ครวู ชิ าชพี 2 (2-0-4) Teaching Profession แนวคิดและปรัชญาการศึกษา วิวัฒนาการการศึกษากับการเปลี่ยนแปลงบริบทโลกและสังคม แนวคิด กลวิธกี ารจดั การศึกษาและปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การพัฒนาท่ีย่ังยืน อุดมการณแ์ ละจติ วิญญาณความเป็น ครู คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และจิตอาสา การพัฒนาความเป็นครวู ชิ าชีพให้มคี วามรอบรู้ ทนั สมัย และทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง Educational concepts and philosophies, educational evolution, transformation in global and social contexts, concepts and strategies in educational management including sufficient economy philosophy for sustainable development, ideology and spirituality of teaching profession, morality, ethics, code of conduct of teaching profession and public mind, development of teaching professionalism to contain mastery, modernity, and keeping up with changes 1051204 จติ วิทยาเพื่อพัฒนาผู้เรียน 3 (3-0-6) Psychology for Learner’s Development แนวคิด ทฤษฎี และหลักการของจิตวิทยา การพัฒนาของสมองกับการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน เพ่ือเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งผู้เรียนปกติและผู้เรียนท่ีมีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ การใช้เคร่ืองมือทาง จติ วทิ ยาทเ่ี หมาะสมในการสง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ และการรายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น อยา่ งเปน็ ระบบ Concepts, theories, and principles of psychology, human brain and learning development, analysis of learners’ differences both normal learners and learners with special needs, use of proper psychological tools to promote and develop learners to reach their highest potential, and systematic report on quality development of learners 1022305 หลกั สูตรและวทิ ยาการการจัดการเรยี นรู้ 3 (3-0-6) Curriculum and Learning Management Science หลักการ ทฤษฎีการพัฒนาหลักสูตร ตามแนวคิดปรัชญาที่ตอบสนองเป้าหมายเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี คุณภาพ การพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอิงสมรรถนะ การออกแบบเนื้อหาสาระโดยบรู ณาการกับสภาพบรบิ ททแี่ ตก ตา่ งกนั ของผูเ้ รยี นและท้องถิ่น หลักสูตรสองภาษา วทิ ยาการการจดั การเรียนรู้ ศาสตร์การสอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำ�คญั การวางแผนและการออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารจดั การเรยี นรแู้ ละการจดั การชน้ั เรยี นแบบ เผชญิ หน้าและแบบเสมอื นจริงในห้องเรียนปกตแิ ละหอ้ งเรียนอัจฉรยิ ะ Principles theories of curriculum development established on philosophical concepts responding to goals of learners’ quality development, competency-based school curriculum development, content design integrated with diverse contexts of learners and their local areas, bilingual curriculum, learning management science, learner-centered approaches, planning and design of participated learning management, practicum of face-to-face and virtual practices on learning and classroom management in the normal and smart classrooms 24

1032103 นวตั กรรมและเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การเรยี นรู้อยา่ งสรา้ งสรรค ์ 3 (3-0-6) Innovation and Digital Technology for Creative Learning หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎนี วตั กรรม และกระบวนการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สารการศกึ ษาสมยั ใหม่ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบแนวคดิ ทางการศกึ ษาและกรอบการพฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ฝกึ ปฏบิ ตั ผิ ลติ ประยกุ ตใ์ ชส้ อ่ื และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น การคน้ ควา้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมโดยบรู ณาการขา้ มศาสตรเ์ พอ่ื การเรยี นรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ Innovative principles, concepts, theories, and educational innovation development process, modern information technology educational communication, education transformation and learning framework in the 21st century, production and implementation of media and digital technology for benefiting learners, research and development of learning resources and network, development and creation of multidisciplinary-integrated innovation for creative learning 1042108 การวดั และประเมนิ การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 3 (3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment แนวคดิ หลกั การ เป้าหมาย แนวทางการวัดและประเมินทางการศึกษาและการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 การออกแบบ สรา้ ง และเลอื กใช้วิธกี ารวัดและเทคโนโลยกี ารประเมนิ เพอื่ แก้ปัญหาและพฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งเหมาะสม การฝกึ ปฏิบัติการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมนิ พัฒนาการ และการให้ผลปอ้ นกลบั แกผ่ ู้เรียนใหเ้ หมาะสม ตามชว่ งวยั แนวคดิ หลกั การ จดุ มงุ่ หมายและกระบวนการของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการ ศึกษาใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล Concepts, principles, goals, and direction of educational and learning measurement and assessment in the 21st century, design, creation, and selection of measurement methods and technology to suitably solve problems and develop learners, practices on measurement and assessment relevant to learning, assessment of learner’s progress, provision of feedbacks to the learners according to their age ranges properly, Concepts, principles, goals, and process of educational assurance to enhance educational quality according to international standards 1043411 การวิจัยและการพฒั นานวตั กรรมเพ่ือพัฒนาผู้เรียน 3 (3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners แนวคิด หลักการเบ้ืองต้นเก่ียวกับวิธีวิทยาการวิจัย การคิดเชิงนวัตกรรม รูปแบบการวิจัยเพ่ือพัฒนา นวัตกรรม การออกแบบการวจิ ัยเพื่อแกป้ ญั หาและพัฒนาผ้เู รียน ฝกึ ทักษะศกึ ษา คน้ คว้า วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม การบรู ณาการความรู้ในศาสตร์การสอนกับการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นผา่ นกระบวนการวจิ ัย สมรรถนะทางการวิจัยใน บรบิ ทการศกึ ษาสมยั ใหม่ การน�ำ เสนอผลการวิจัยและนวตั กรรมอยา่ งมจี รรยาบรรณ Concepts, basic principles related to research methodology, innovative thinking, research model for innovation development, research design for problem solving and development of learners, skill practices on study, search, research, and innovative development, integration of knowledge relevant to learning science and development of learner’s qualities though research process, research competencies in the modern educational contexts, presentation of research and innovation ethically 25

1021301 สมรรถณะทางภาษาไทยสำ�หรับครู 3 (3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers หลกั และลักษณะสำ�คัญของภาษาไทยเพ่ือการสอี่ สารสำ�หรบั ครใู นรูปแบบตา่ ง ๆ ชนิดของคำ� การใชค้ ำ� วลี ประโยค หลกั การอา่ นรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง หลกั การและเทคนคิ การเขยี นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ การฟงั และ การดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ การฝกึ พูดต่อหน้าทปี่ ระชุมชน และการใช้ภาษาเพ่อื การเป็นครูมอื อาชพี Principles and main characteristics of Thai language for a teachers’ variety of communication; type of words, usages of words, phrases, and sentences; principles of reading prose and poetry; principles and techniques of formal and informal writing; critical listening and observing; practice speaking publicly, including using language as a professional teacher 1063106 การบริหารการศกึ ษาและภาวะผ้นู ำ�ของครูวชิ าชีพ 3 (3-0-6) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers แนวคดิ หลักการ และทฤษฎีเกยี่ วกับการบรหิ ารการศึกษา กฎหมายการศกึ ษา และแนวโน้มการศึกษาใน อนาคต การศกึ ษาบรบิ ทของชมุ ชน การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครองและชมุ ชนบนพนื้ ฐานความแตกตา่ งทาง วฒั นธรรมเพือ่ สง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ ม่ี ีคณุ ภาพ การจดั ทำ�โครงการทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียน แนวคิด ทฤษฎภี าวะ ผนู้ �ำ การเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทของครวู ชิ าชพี การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และบคุ ลกิ ภาพเพอ่ื เปน็ ตน้ แบบและด�ำ รงเกยี รตขิ อง ครวู ิชาชีพ Concepts, principles, and theories related to educational administration, educational laws, study of community contexts, building collaborative networks with parents and communities on multicultural basis to enhance learning quality of learners, operation of educational projects for learner’s development, concepts, theories of transformative leaders in teaching profession context, development of leadership and personality to be master teachers and maintain honor of professional teachers 1013803 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 1 6(270) School Internship 1 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบ่ี รู ณาการความรแู้ ละศาสตรก์ ารสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียนรวมถึงการดูแล ช่วยเหลือ และพัฒนา ผู้เรยี นเป็นรายบุคคลตามศกั ยภาพ รายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไดอ้ ย่างเป็นระบบ และปฏบิ ตั ิงานอืน่ ท่ีได้รบั มอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions, integration of knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing including caring, supporting, and developing learners individually according to their potential, systematic report on learners’ development outcomes, and fulfilling other tasks as assigned 26

1014805 การปฏิบตั กิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 6(270) School Internship 2 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบ่ี รู ณาการความรแู้ ละศาสตรก์ ารสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ให้เกิดประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้ของผู้เรยี น และปฏบิ ตั ิงานอ่ืนท่ไี ดร้ ับมอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions which integrates knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing, research, creating technology, and applying digital technology to be beneficial for their learning outcomes and fulfilling other tasks as assigned 1071109 มาตเุ วทวทิ ยา 3(3-0-6) Maternity Science จิตวิทยาพัฒนาการ การเจริญเติบโตและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ความรักความผูกพันระหว่างแม่กับ เด็กแรกเกิด การเลี้ยงดูเด็กทารก การอุ้มเด็ก การอาบน้ำ� และการป้อนอาหาร และการฝึกปฏิบัติการดูแลเด็กเล็ก ความรเู้ กยี่ วกบั สมองและพฒั นาการทางสมองของเดก็ ปฐมวยั การพฒั นาทกั ษะทางสมองเพอื่ บรหิ ารจดั การชวี ติ (EF) ทักษะชวี ติ สำ�หรบั เดก็ ปฐมวัย พหปุ ัญญา การบรู ณาการองค์ความรู้ที่สร้างสรรค์ทีน่ ำ�ไปสกู่ ารจดั การสิ่งแวดลอ้ มทเี่ อือ้ ต่อพัฒนาการเด็ก Developmental psychology, growth, and learning of young children, bonding and attachment between a mother with newborn, raising baby, carrying, bathing and feeding for baby, practice in caring for young children, knowledge of brain and brain development of young children, executive functions (EF) of the brain, life skills for young children, multiple intelligence, movement and new knowledge derived from the researches related to the nature of young children, integration of creative knowledge leading to environmental management supporting child development 1071110 การศกึ ษาปฐมวัย 3(3-0-6) Early Childhood Education ความหมาย ความส�ำ คัญของการศึกษาปฐมวัยจากบริบทต่างประเทศสู่บริบทไทย ความเป็นมาของการ จดั การศกึ ษาปฐมวยั หลกั สตู ร และรปู แบบการจดั การศกึ ษาปฐมวยั การจดั สภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมและเออื้ ตอ่ การ เรยี นรสู้ �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั แตล่ ะชว่ งวยั แนวโนม้ การศกึ ษาปฐมวยั นวตั กรรมการศกึ ษาปฐมวยั บทบาทของครู ผปู้ กครอง และชมุ ชนในการพฒั นาเดก็ การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธแ์ ละการสอื่ สารเชงิ บวกระหวา่ งครแู ละผปู้ กครอง การสงั เกตการจดั การ ศึกษาปฐมวยั ในสถานศกึ ษาปฐมวยั Definition, importance of early childhood education adapted from foreign to Thai contexts, background of early childhood educational provision, curriculum and management models of early childhood education, proper environment facilitating the learning of young children in each age range, trend of early childhood education, innovation of early childhood education, roles of teachers, parents, and communities in developing young children, creating interaction and positive communication between teachers and parents, observation on early childhood education provided in early childhood institutions 27

1083407 การศึกษาพเิ ศษ 3(3-0-6) Special Education ความหมาย ความสำ�คญั และความเป็นมาของการศกึ ษาพิเศษ กฎหมายและพระราชบัญญัติทเ่ี ก่ยี วข้อง ประเภทเดก็ ทมี่ คี วามตอ้ การพเิ ศษ การคดั กรอง การบรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรม่ิ การศกึ ษาแบบเรยี นรวม เทคโนโลยี สอื่ สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวกส�ำ หรบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล เทคนคิ การสอนเดก็ ท่มี คี วามต้องการพเิ ศษ Definition, importance and history of special education, related laws and statute, types of children with special needs, screening, early intervention service, inclusive education, technology, media and facilities for children with special needs, individualized education program, techniques for teaching children with special needs 1071307 ศลิ ปะ ดนตรี และลีลาส�ำ หรับเด็กปฐมวัย 3(2-2-5) Art, Music and Movement for Young Children การบูรณาการองค์ความรู้ทางสุนทรียะในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับธรรมชาติและพัฒนาการของ เดก็ ปฐมวัย ผา่ นศิลปะ เพลง ดนตรี การเคลอ่ื นไหวรา่ งกาย และการแสดงละครสำ�หรับเด็กปฐมวยั การวาดภาพลาย เสน้ การออกแบบและสรา้ งสรรคก์ จิ กรรมทห่ี ลากหลายทางวฒั นธรรม การใชส้ นุ ทรยี ะในการด�ำ เนนิ ชวี ติ ของเดก็ ปฐมวยั การบรู ณาการเทคโนโลยเี พอื่ สบื คน้ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครใู นการสรา้ งสรรคผ์ ลงานทางศลิ ปะ ดนตรี และการแสดงละครในสถานศึกษาปฐมวยั การจัดกจิ กรรมศลิ ปะ ดนตรี การแสดงละคร และการเคลอ่ื นไหวให้กับเด็ก ปฐมวยั การร่วมมอื กับผู้ปกครองและชุมชนเพอ่ื พัฒนาสุนทรยี ะของเดก็ ปฐมวัย Integration of artistic knowledge in learning management responding to the nature and child development through arts, songs, music, physical movement, and role play for young children, delineation, designing and creation of culturally diverse activities, using aesthetics in the life of young children, technologies integrated for Thai and English information retrieval for teachers in creating aesthetic piece of work in early childhood institutions, organizing of artistic, musical, role play, and movement activities for young children, collaboration with parents and community to develop aesthetic of young children 1072603 การประเมินพัฒนาการและการเรียนรขู้ องเดก็ ปฐมวยั 3(3-0-6) Developmental and Learning Assessment for Young Children ความหมาย ความส�ำ คญั และจดุ มงุ่ หมายการประเมนิ พฒั นาการ พฒั นาการของเดก็ แตล่ ะชว่ งวยั การประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ เทคนคิ วิธีการประเมินพัฒนาการแนวใหม่ การจัดสารนิทัศน์ การใชเ้ คร่ืองมอื และเกณฑ์ ในการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ในประเทศไทยและตา่ งประเทศทเ่ี ปน็ มาตรฐานสากล การสรา้ งเครอ่ื งมอื ในการประเมนิ พัฒนาการทุกด้านในช้ันเรียนท้ังรูปแบบของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการประเมิน พัฒนาการเดก็ การเขียนรายงานและนำ�เสนอผลการประเมินพฒั นาการใหก้ ับผทู้ เ่ี กีย่ วข้อง การนำ�ผลการประเมนิ ไป ใช้ในการพัฒนาเดก็ การฝกึ ประเมนิ พฒั นาการเดก็ ในสถานศึกษาปฐมวยั Definition, importance, and purposes of developmental assessment, the development of the child in each period, authentic developmental assessment of young children, new concept for developmental assessment technique, arrangement of documentation, using assessment tools and criteria for developmental assessment in Thai and other countries, creation of developmental assessment tools in all aspects for using in classroom both in Thai and English form, participation of parents in assessing the development of young children, reporting and presenting of assessment’s findings to stakeholders, the implementation of assessment result to young children development, practice on developmental assessment focusing on young children in the early childhood institution 28

1073318 การจดั การเรียนร้สู ำ�หรบั เด็กปฐมวัย 3(2-2-5) Learning Management for Young Children รปู แบบการจดั การเรียนรู้ทางการศกึ ษาปฐมวยั หลกั สูตรการศึกษาปฐมวยั กระบวนการพัฒนาหลกั สูตร สถานศึกษา การออกแบบและการพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา การนำ�หลักสตู รไปใช้ในชน้ั เรียน การประเมนิ หลกั สูตร สถานศกึ ษา การจดั การชน้ั เรยี น การจดั การศกึ ษาปฐมวยั แบบคละอายุ กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั การจดั กจิ กรรมประจ�ำ วนั เชงิ รกุ การจดั กจิ กรรมประจ�ำ วนั ของโรงเรยี นสาธติ ละอออทุ ศิ การสงั เกตการจดั กจิ กรรม ประจำ�วันของสถานศึกษา การบูรณาการการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรม การเขียนแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การทดลองสอนในชัน้ เรียน Models of learning management of early childhood education, early childhood education curriculum, school curriculum development process, design and development of school curriculum in early childhood education, applying courses in classroom, school curriculum evaluation, classroom management, instructional organizing for mixed-age preschoolers, activities to develop thinking skills for young children, proactive daily activities, La-or Utis demonstration school daily activities, observation of daily activities of teachers in early childhood institution, writing learning experience plan, implementing learning experience plan to the classroom 1072314 โภชนาการและความปลอดภัยส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย 2(2-0-4) Nutrition and Safety for Young Children แนวคดิ หลกั การจัดโภชนาการและอาหารสำ�หรับเดก็ ปฐมวัย เทคนิคการเตรยี มและการประกอบอาหาร การจดั กจิ กรรมประกอบอาหารส�ำ หรบั เดก็ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ประกอบอาหาร การดแู ลสขุ ภาพ อนามยั ของเดก็ ปฐมวยั วคั ซนี ส�ำ หรบั เดก็ โรคทพ่ี บบอ่ ยในเดก็ ปฐมวยั การปอ้ งกนั และการดแู ลรกั ษาโรคของเดก็ ปฐมวยั โรคภมู แิ พใ้ นเดก็ Concepts and principles related to nutrition and food for young children, preparation and cooking techniques, organizing cooking activities for young children, technology for information retrieval about cooking, health care for young children, vaccine for children, common diseases, prevention and care of young children diseases, allergies in children 1072315 คหกรรมศาสตรส์ ำ�หรับครปู ฐมวัย 2(2-0-4) Home Economics for Preschool Teacher งานบา้ น งานเรอื น งานประดษิ ฐ์ การจดั ตกแตง่ อาหารส�ำ หรบั เดก็ การประดษิ ฐส์ อื่ อปุ กรณจ์ ากกระดาษ ผา้ หรอื วสั ดอุ น่ื ๆ เพอ่ื การตกแตง่ และสรา้ งบรรยากาศในชนั้ เรยี น การจดั สภาพแวดลอ้ มใน ชนั้ เรยี นและนอกชนั้ เรยี น เทคนคิ การตัดเย็บเสื้อผ้าเบ้ืองต้น การดูแลและซ่อมแซมเส้ือผ้า การดูแลรักษาและซ่อมแซมสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้านและ ในชั้นเรยี น Housework, chore, crafts, food decoration for children, inventing media or equipment from paper, cloth or other materials for decoration and creating atmosphere in the classroom, creating good environment in inside and outside classroom, basic sewing techniques, caring and repairing clothes, caring and repairing classroom equipment and household utensils 29

1072316 ว่ายนำ้�และการปฐมพยาบาล 2(1-2-3) Swimming and First Aid ความรเู้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั การวา่ ยน�้ำ อปุ กรณแ์ ละสงิ่ อ�ำ นวยสะดวกส�ำ หรบั การวา่ ยน�้ำ การวา่ ยน�ำ้ รปู แบบตา่ ง ๆ การออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ ส�ำ หรบั เดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ การเขยี นโปรแกรม การออกก�ำ ลงั กายในน�้ำ การเตรยี มความ พรอ้ มของรา่ งกาย การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวา่ ยน�้ำ การฝกึ เปน็ ผดู้ แู ล ความเรยี บรอ้ ยในการจดั กจิ กรรมวา่ ยน�้ำ ของเดก็ อบุ ตั เิ หตุ และการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ การชว่ ยเหลอื ตนเองและผอู้ นื่ ในสถานการณฉ์ กุ เฉนิ และสาธารณภยั การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ จากการเจบ็ ปว่ ยและจากการเกิดอุบตั ิเหตุ Introduction to swimming, swimming equipment and facilities, various swimming styles, water exercises for children with special needs, body preparation before swimming, training as a moderator in organizing children’s swimming activities, accidents and prevention in young children, self-help in daily life and in emergency situations and disasters, first aid for young children from illness and accident 1072317 ดนตรสี ำ�หรับครปู ฐมวัย 2(2-0-4) Music for Preschool Teacher ทฤษฏดี นตรเี บอ้ื งตน้ การอา่ นโนต้ ดนตรี คอรด์ การแตง่ เพลงส�ำ หรบั เดก็ การผลติ เครอื่ งดนตรี การฝกึ ปฏบิ ตั ิ การขบั ร้อง และการเล่นเครือ่ งดนตรีไทยและสากล การจดั กจิ กรรมดนตรีสำ�หรบั เด็กปฐมวัย Introduction to music theory, reading music notes, chords, composing a song for children, production of musical instruments, practicing chorus and playing Thai and international musical instruments, organizing music activities for young children 1071406 ส่อื ของเลน่ และการดูแลเดก็ ในยุคดิจทิ ัล 3(3-0-6) Instructional Medias, Toys and Raisings Young Children in the Digital Age การวเิ คราะห์ เลอื ก ประยกุ ต์ ออกแบบและผลติ สอื่ ของเลน่ และทรพั ยากรการเรยี นรู้ ทส่ี ง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ การบรู ณาการสอ่ื ของเลน่ กบั กจิ กรรมประจ�ำ วนั โดยใชแ้ นวคดิ ของเลน่ ทฤษฎสี อื่ และนวตั กรรมทางการศกึ ษาปฐมวยั การ ทดลองใช้และประเมินคณุ ภาพของสื่อและของเล่น การใชส้ ื่อพ้นื ฐานและสื่อยคุ ดจิ ทิ ัล การรู้เท่าทันส่อื และความฉลาด ทางดิจิทัล การสร้างวินัยเชิงบวกให้เด็ก การสร้างความฉลาดทางอารมณ์ให้กับเด็ก กิจกรรมเพ่ือเสริมสร้างความ สมั พันธ์ในครอบครัว Analysing, selection, application, design and production of instructional medias, toys and learning resources to promote child development, the integration of instructional medias and toys with daily activities by using the concept of toys, theory of media and innovation in early childhood education, assessment and trial of media and toy, using the traditional media and the digital media, digital literacy and digital intelligence, positive discipline in young children, strengthening the emotional quotient for young children, activities to strengthen the relationship in the family 30

1071308 ภาษาพาเพลนิ 3(3-0-6) Language for Play and Learn การพฒั นาทกั ษะทางภาษาฟงั พดู อา่ นเขยี นภาษาไทยผา่ นนทิ านวรรณกรรมเพลงค�ำ คลอ้ งจองและค�ำ กลอน ทเ่ี หมาะสมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั การเลอื ก สรา้ ง ผลติ และการใชน้ วตั กรรม ทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพอ่ื พฒั นาภาษาส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั เทคนิคการเล่านิทาน การใช้นิทานและวรรณกรรมในการปรับพฤติกรรมทางภาษา การใช้ส่ือและเทคโนโลยีในการ จดั กจิ กรรมทางภาษา การประเมนิ พัฒนาการทางภาษา การมีสว่ นรว่ มของผูป้ กครอง และชมุ ชนในการพัฒนาภาษา สำ�หรับเดก็ การจัดโครงการพฒั นาภาษาด้วยนทิ านและวรรณกรรม To develop language skills in listening, speaking, reading, and writing through tales, literature, songs, rhyme and verse appropriate for young children, selection, creation, production, and use of the related innovations to promote language development for young children, techniques of telling tales and use of tales and literature for behavioural adjustment, use of instructional materials and technologies to arrange activities and assess the language development, participation of parents and communities in language development for young children through tales and literature,organizing language development project on the basis of tales and literature 1073406 การสอนแบบมอนเตสซอรี่ 3(2-2-5) Montessori Education ความเปน็ มาของการสอนแบบมอนเตสซอร่ี แนวคดิ และหลกั การทางการสอนแบบมอนเตสซอร่ี ความหมาย ของค�ำ ศพั ทท์ ส่ี �ำ คญั เกยี่ วกบั การศกึ ษาแบบมอนเตสซอร่ี หลกั สตู รและการสอนแบบมอนเตสซอร่ี การจดั การชน้ั เรยี น การ จดั การเรยี นการสอน การสงั เกตและบนั ทกึ การท�ำ งานของเดก็ การประเมนิ ผลตามกลมุ่ วชิ าการทไี่ ดก้ �ำ หนดในหลกั สตู ร ขน้ั ตอนการท�ำ งานกบั อปุ กรณม์ อสเตสซอรี่ บทบาทของครู เดก็ และผปู้ กครองในสภาพแวดลอ้ มของมอนเตสซอร่ี ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ในการนำ�เสนอขัน้ ตอนการทำ�งานกบั เดก็ The history of Montessori education, concept and principles of Montessori, definition of technical terms in Montessori education, curriculum and teaching of Montessori, classroom management, teaching and learning management, observation and recording children’s work, assessment in area of curriculum, process to work with Montessori’s materials, teacher, children and parents’ role in Montessori environment, practicing Montessori materials presentation 1073319 ฉลาดรู้คณติ -วิทย ์ 3(3-0-6) Mathematics-Science Intelligence แนวคดิ หลกั การ เกยี่ วกบั การจดั กจิ กรรมคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยสี �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั ทกั ษะ พนื้ ฐานทางคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรข์ องเดก็ ปฐมวยั การออกแบบกจิ กรรมบรู ณาการ ทสี่ ง่ เสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตรใ์ ห้กับเดก็ ปฐมวยั สะเตม็ ศึกษาสำ�หรบั เดก็ ปฐมวยั การจดั กจิ กรรมการคณิตศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ โดยบูรณาการกับเทคโนโลยีให้กบั เดก็ ปฐมวัย และการใชเ้ ทคโนโลยีในการสืบคน้ ข้อมลู Concepts and principles related to arranging mathematical, scientific, and technological activities for young children, basic mathematical and scientific skills for young children, design of learning- integrated activities promoting mathematical and scientific skills to young children, STEM Education for young children, arranging mathematical and scientific activities with technology integrated for young children, using technologies in information retrieval 31

1073704 การเปน็ ผปู้ ระกอบการด้านการศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) Entrepreneurship in Early Childhood Education แนวคิด หลักการ การวางแผน การจัดทำ�แผนธุรกิจอย่างง่าย หลักการบริหารงานคุณภาพ การเป็น ผู้ประกอบการ การลงทุน การวางแผนและการจัดการทางการเงินโดยใช้เทคโนโลยีทางการเงิน รูปแบบการบริหาร จัดการสถานศึกษาปฐมวัยทั้งภาครัฐและเอกชนท้ังในและต่างประเทศ เจตคติท่ีดีต่อการเป็นผู้ประกอบการ การ วางแผนและพฒั นาก�ำ ลงั คน การจดั การศกึ ษาปฐมวยั ทเี่ หมาะสมกบั สภาพเศรษฐกจิ และสงั คม การค�ำ นวณหาอตั ราผล ตอบแทนของการศกึ ษา ผลตอบแทนในทางสงั คม การประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ ทฤษฎที างเศรษฐศาสตรใ์ นการจดั ท�ำ โครงการ ด้านการศกึ ษาปฐมวัย Concepts, principles, planning, simple business plan planning, quality management principles, entrepreneurship, investment, planning and financial management using financial technology, model of early childhood educational institutions management in both public and private sectors both in Thailand and abroad, good attitude towards entrepreneurship, manpower planning and development, early childhood education management suitable for economic and social conditions, calculating the rate of return of education, social return, application of concepts and economic theories in organizing project in early childhood education 1074908 นวนพิ นธ์ 2(0-6-0) Individual Innovation แนวคดิ ทฤษฎที างการศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษางานวจิ ยั ในประเดน็ ทสี่ นใจ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ เรยี นรู้ ทหี่ ลากหลาย การสร้างนวตั กรรมทางการศึกษาปฐมวยั บนฐานของความสนใจ ข้อคน้ พบที่ไดจ้ ากการปฏบิ ตั ิการสอน ในสถานศึกษาและกระบวนการทางการวิจยั การนำ�เสนองานนวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัยที่ตนเองผลิตขนึ้ Concepts and theories of early childhood education, study the related research articles, information retrieval from various resources, the creation of early childhood education innovation based on interest or issue finding from school internship and research process, presenting individual innovation in early childhood education 1071309 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั ครูปฐมวัย 3(3-0-6) English for Preschool Teacher การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น ภาษาองั กฤษ การสนทนาในหวั ขอ้ เกย่ี วกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั ทคี่ นุ้ เคย การอ่านเพ่ือความเข้าใจข้อความหรือบทความสั้น ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาปฐมวัย เรียนรู้คำ�ศัพท์เฉพาะทางด้าน การศกึ ษาปฐมวยั การออกเสยี งภาษาองั กฤษทถ่ี กู ตอ้ งในระดบั ค�ำ วลี และประโยค การลงเสยี งเนน้ หนกั ในค�ำ การออกเสยี ง สงู ต�่ำ ในประโยค การเขยี นประโยคภาษาองั กฤษรปู แบบตา่ ง ๆ ทถี่ กู ตอ้ งตามหลกั โครงสรา้ งไวยากรณ์ การสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มูลที่หลากหลาย การใชส้ อื่ เทคโนโลยเี ป็นเครื่องมือในการฝึกทกั ษะการฟัง พูด อา่ น เขียนภาษาองั กฤษ To develop listening, speaking, reading and writing skills in English, conversation about various situation in daily life, reading for comprehension in passage or short article related to early childhood education, vocabularies and technical terms in early childhood education, correct English pronunciation of words, phrases and sentences, stress and intonation in English, writing many forms of English sentences in correct grammatical structures, information retrieval from various resources, using technology media as a tool for practicing listening speaking reading and writing skills in English 1551151 ทักษะการเรยี นภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Study Skills ทกั ษะการเรยี นภาษาองั กฤษ ทกั ษะการคน้ ควา้ ขอ้ มลู การบนั ทกึ การเรยี นรู้ การอา่ นเชงิ วชิ าการ การสรปุ ขอ้ มูล ทกั ษะการเขยี นถอดความ การเขยี นรายงานและการเขยี นอา้ งองิ English study skills, information retrieving skills, note-taking, academic reading, summarizing, paraphrasing, writing a report and reference skills 32

1071310 ภาษาองั กฤษเพ่ือพัฒนาวชิ าชพี 3(3-0-6) English for Professional Development การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี น ภาษาองั กฤษ การสนทนาในสถานการณต์ า่ ง ๆ เกย่ี วกบั ความสนใจ งานอดเิ รก ประสบการณส์ ว่ นตวั การใชส้ �ำ นวนภาษาองั กฤษในชวี ติ ประจ�ำ วนั ทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณแ์ ละถกู กาลเทศะ การอา่ นเพื่อจับใจความส�ำ คญั เรื่องเกีย่ วกับการศกึ ษาปฐมวยั การเลือกใช้คำ�ศัพท์เฉพาะทางการศกึ ษาปฐมวัย ค�ำ ทม่ี ี ความหมายเหมอื นหรอื ตรงกนั ขา้ มกนั การเขยี นจดหมายอเิ ลคทรอนคิ หรอื ขอ้ ความโตต้ อบกบั เพอื่ นเพอ่ื ขอและใหข้ อ้ มลู อย่างง่าย ๆ การสืบค้นข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพจากแหล่งข้อมูลที่น่าเช่ือถือและหลากหลาย การพูดนำ�เสนองาน การใชส้ ื่อเทคโนโลยเี ปน็ เคร่อื งมือในการฝึกทกั ษะการฟงั พูด อา่ น เขยี นภาษาอังกฤษ To develop English skills in listening, speaking, reading and writing, English conversation in various situations about the interests, hobbies, personal experiences, the proper use of English idioms in daily life, reading comprehension about early childhood education, using the terminology of early childhood education, synonyms and antonyms, writing an e-mail or message interact with friends to ask for and give simple information, the information retrieval related to the profession from a reliable and various sources, oral presentations, using media technology as a tool to practice listening, speaking, reading, writing in English 1072318 นทิ านและวรรณกรรมภาษาอังกฤษส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) English Tales and Literature for Young Children นทิ านและวรรณกรรมภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั แตล่ ะชว่ งวยั คตสิ อนใจ และการสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการ การเขยี นและน�ำ เสนอนทิ านและวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การจดั กจิ กรรมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั โดยใชว้ รรณกรรม เป็นฐาน English tales and literature that are suitable for young children in each age range, moral and imagination, writing and presenting tales and literature for young children, organizing activities for young children by using literature based 1072319 ภาษาอังกฤษเพอ่ื ความสนุกสนาน 3(3-0-6) English for Fun เทคนคิ การสอนและการจดั กจิ กรรมโดยใช้ เพลง เกม นทิ าน ค�ำ คลอ้ งจองและสอ่ื การสอนอน่ื ๆ เพอื่ พฒั นา ภาษาองั กฤษ การเลอื กและการผลติ สอ่ื ของเลน่ และเกมเพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษ ทเี่ หมาะสมส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั ในแตล่ ะ ชว่ งวยั การใชเ้ ทคโนโลยใี นการสรา้ งสรรคส์ อ่ื การสอนเพอื่ พฒั นาภาษาองั กฤษส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั เทคนคิ การจดั กจิ กรรม เพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษทสี่ อดคลอ้ งกบั พฒั นาการของเดก็ การบรู ณาการภาษาองั กฤษกบั กจิ กรรมประจ�ำ วนั ส�ำ หรบั เดก็ และการประเมนิ ความสามารถทางภาษาองั กฤษทเี่ หมาะสมกบั เดก็ ตามชว่ งวยั การจดั โครงการเพอ่ื พฒั นาภาษาองั กฤษ ส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวัย Teaching techniques and organizing activity by using songs, games, tales, rhyme and other instructional material for developing English, selection and of instructional material, toys and games to improve English suitable for young children in each age range, using technology to create instructional material to improve English for young children, techniques for organizing activities to develop English responding to child development, integration of English language with daily activities for young children, assessing English language proficiency with age appropriate for young children, organizing project to promote English language development for young children 33

1073211 หลักสูตรภาษาองั กฤษระยะสนั้ สำ�หรับเดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) English Short Course for Young Children ลกั ษณะของหลักสูตรระยะส้ันทส่ี ่งเสรมิ การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ การออกแบบและ การพฒั นาหลกั สตู ร ระยะสน้ั เพอื่ การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษของเดก็ ปฐมวยั การน�ำ หลกั สตู รระยะสนั้ ทพี่ ฒั นาขนึ้ ไปทดลองใชจ้ รงิ กบั เดก็ ปฐมวยั การประเมินหลักสูตรระยะส้ันทั้งก่อนและหลังการใช้หลักสูตร การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการสืบค้นข้อมูลและจัดทำ� หลักสตู รระยะส้ัน Characteristics of short courses that promote English learning, design and development of short courses for young children English learning, adopting a short course developed to be a real trial with young children, assessment of short courses before and after using the curriculum, using technology for information retrieval and create short courses 1072320 การสอนภาษาอังกฤษสำ�หรบั เดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) Teaching English for Young Children แนวคดิ หลักการ ความร้เู บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั การสอนภาษาองั กฤษสำ�หรับเด็กปฐมวัย ธรรมชาติการเรียนรู้ และล�ำ ดบั ข้นั การเรียนร้ภู าษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ กลวิธี แนวการสอน และวธิ ีการสอนภาษาองั กฤษรูปแบบ ตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั การศกึ ษางานวจิ ยั เพอ่ื วเิ คราะห์ และอภปิ รายขอ้ ดแี ละขอ้ จ�ำ กดั ของวธิ กี ารสอนภาษา องั กฤษแบบตา่ ง ๆ การประเมินผลการเรียนรภู้ าษาอังกฤษที่เหมาะสมกบั เดก็ ปฐมวัย Concepts, principles, basic knowledge of English language teaching for young children, learning nature and the stages of acquisition English as a foreign language, strategies, approach and method of teaching English suitable for young children, research studies to analyze and discuss the advantages and limitations of various English language teaching methods, assessment of English language learning suitable for young children 1553408 การพดู ภาษาอังกฤษในยคุ แหง่ ความหลากหลาย 3(3-0-6) English Speaking in the Age of Diversity หลกั การและวธิ กี ารพดู ในทชี่ มุ ชน การวางแผนและการจดั ระเบยี บวาระการพดู การพดู แบบไมไ่ ดเ้ ตรยี มการ มากอ่ น การพดู เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู การพดู เพอื่ โนม้ นา้ วใจ ฝกึ โตว้ าทแี ละอภปิ รายในประเดน็ โตแ้ ยง้ ทห่ี ลากหลาย และการพดู ในโอกาสพเิ ศษหรือโอกาสเฉพาะ ดว้ ยการคัดสรรค�ำ ส�ำ นวน และประโยคทเี่ กีย่ วเนื่องกบั หัวข้อท่ีจะนำ�เสนอ Principles and methods of public speaking, planning and making speeches: impromptu speeches, informative speeches, persuasive speeches, concepts, analytical skills, rhetorical strategies, debate and discussion practice on various argumentative issues and speeches for special occasions: by selecting words, expressions and sentences relating to the topics 1073320 ภาษาองั กฤษในช้ันเรียนปฐมวยั 3(2-2-5) English in Early Childhood Class การออกแบบกิจกรรม การเขยี นแผนการจัดประสบการณ์ การพัฒนาส่อื การสอน การจัดสภาพแวดลอ้ ม และการสร้างบรรยากาศ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสำ�หรับเด็กปฐมวัย การฝึกปฏิบัติการจัดกิจกรรมตาม แผนการจัดประสบการณ์ การประเมินการจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยหลังการจัด ประสบการณก์ ารเรียนรู้ การใช้ภาษาอังกฤษในช้นั เรยี น ค�ำ ศพั ทแ์ ละประโยคท่ีใช้ในชัน้ เรยี นปฐมวยั Activity design, Writing lesson plans, development of teaching materials, setting up the environment and creating an atmosphere to promote learning English for young children, practice in organizing activities according to lesson plans, evaluation of activities and learning evaluation of young children after organizing learning experiences, classroom language, vocabularies and sentences used in English class of young children 34

1073321 ภาษาอังกฤษเพอื่ ยกระดับวิชาชพี 3(3-0-6) English for Professional Enhancement การพฒั นาทกั ษะการฟงั พดู อา่ นเขยี นภาษาองั กฤษการอา่ นบทความวชิ าการและบทความวจิ ยั ภาษาองั กฤษ เก่ียวกบั การศึกษาปฐมวัย การแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับประเด็นปัญหาทางการศึกษาปฐมวัยทตี่ นเองสนใจ การนำ� เสนอขอ้ มลู ในสถานการณท์ เี่ ปน็ ทางการ การเขยี นจดหมายอเิ ลคทรอนคิ และการเขยี นจดหมายแบบเปน็ ทางการอนื่ ๆ ตามรปู แบบมาตรฐาน การเขยี นอา้ งองิ ตามหลักสากล การจดั โครงการเพอื่ พฒั นาภาษาองั กฤษ To develop listening, speaking, reading and writing skills in English, reading academic articles and research articles in English about early childhood education, giving personal opinion about early childhood educational issues, presentation of the information in formal situation, writing e-mail and other formal correspondences in standard format, writing references based on standard format, organizing the project to improve skills in English language รายวชิ าเลือกเสรีของสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 1073502 การเกดิ อย่างมีคุณภาพ 3(3-0-6) The Quality Birth การใหค้ วามรกู้ บั พอ่ แม่ ผปู้ กครองเกยี่ วกบั การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นการตงั้ ครรภ์ การดแู ลสขุ ภาพของหญงิ ต้ังครรภ์ การประเมินความเส่ียงของหญิงต้ังครรภ์ สารอาหารท่ีจำ�เป็นสำ�หรับหญิงต้ังครรภ์แต่ละไตรมาส การออก ก�ำ ลังกายท่เี หมาะสมส�ำ หรับหญิงตง้ั ครรภ์ การเตรียมตวั กอ่ นคลอด กจิ กรรมเพอื่ พัฒนาทารกในครรภ์ การดแู ลตัวเอง ของคณุ แมห่ ลงั คลอดและการดแู ลเดก็ แรกเกดิ การเลยี้ งลกู ดว้ ยนมแม่ บทบาทของพอ่ และครอบครวั ในการดแู ลคณุ แม่ กอ่ นและหลังคลอด การให้ค�ำ แนะนำ�แกค่ รอบครวั เมื่อ มีลกู คนตอ่ ไป Educating parents about pre-pregnancy preparation, health care of pregnant women, risk assessment of pregnant women, essential nutrients for each pregnancy trimesters, appropriate exercises for pregnant women, prenatal preparation, the activities for developing the fetus, postpartum self-care of mother and newborn, breastfeeding, the role of father and family in caring for mothers before and after birth, providing family guidance on how to behave when having a new baby 1073503 การเชื่อมสมั พนั ธ์ระหว่างคนตา่ งรุ่น 3(3-0-6) Intergenerational Interaction ความส�ำ คญั และแนวคดิ ของการอยรู่ ว่ มกนั ของคนตา่ งรนุ่ การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคนตา่ งรนุ่ ขอ้ ดแี ละ ขอ้ จ�ำ กดั ของการอยรู่ ว่ มกนั ของคนตา่ งรนุ่ การจดั สภาพแวดลอ้ มและระบบนเิ วศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การอยรู่ ว่ มกนั การจดั กจิ กรรม เพอื่ สานสัมพันธร์ ะหว่างผ้สู ูงอายแุ ละเด็กปฐมวยั โดยใชส้ อ่ื และเทคโนโลยีในการจัดกิจกรรม Definition, importance and concept of intergenerational interaction, building relationship between the elderly and young children, advantages and limitation of intergenerational interaction, the environmental management and ecosystem supporting the coexistence, organizing activities for intergenerational interaction by using media and technology 35

1073504 สภาวการณพ์ ่อ-แม่เลีย้ งเดยี่ ว 3(3-0-6) Circumstances of Single Parents แนวคิดพ้ืนฐานเร่ืองครอบครัว ทฤษฎีสตรีนิยม สถานการณ์เก่ียวกับครอบครัวพ่อ-แม่เล้ียงเด่ียวใน ประเทศไทย การให้ความรู้กับผู้ปกครองในการปรับตัวเม่ือเป็นครอบครัวเล้ียงเดี่ยว ความเครียดและการจัดการกับ ความเครียดท่ีเกิดจากสภาวการณ์เล้ียงเด่ียว บทบาทของพ่อ-แม่เลี้ยงเดี่ยว การศึกษากระบวนการเสริมพลังสำ�หรับ พอ่ -แมเ่ ลย้ี งเดยี่ ว การสรา้ งความเขม้ แขง็ และความสขุ ของพอ่ หรอื แมแ่ ละลกู การสรา้ งเครอื ขา่ ยชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู ระหวา่ ง โรงเรยี นกับครอบครัวเลย้ี งเดีย่ ว Basic concept of family, feminist theory, situation about single parent families in Thailand, educating parents about adaptation when being single parent families, stress and stress management caused by circumstances of single parents, roles of single mother or single father, education and empowerment process for single parent families, strengthening and happiness of single parent families and their children, creating a support network between school and single parent families 1074909 แนวโนม้ และความเคล่ือนไหวทางการศึกษาปฐมวัย 3(3-0-6) Trend and Movement of Early Childhood Education การศกึ ษา วิเคราะห์ ตดิ ตาม และการจดั การความร้เู กย่ี วกบั แนวโน้มและความเคล่อื นไหวทางการศึกษา ปฐมวัย การวางแผนและการเขียนโครงการจัดสัมมนาและการฝึกปฏิบัติการจัดประชุมสัมมนาเก่ียวกับแนวโน้มและ ความเคลื่อนไหวทางการศึกษาปฐมวัย การประเมินและการวิเคราะห์ผลการจัดสัมมนาทางการศึกษาปฐมวัย การใช้ เทคโนโลยีในการสืบค้นขอ้ มลู และเป็นเคร่ืองมอื ในการจัดสัมมนา The study, analysis, follow-up and knowledge management about trends and movements in early childhood education, planning, writing a seminar proposal and practice in organizing a seminar in trend and movement of early childhood education, assessment and analyzing the results of early childhood educational seminars, the application of technology in information retrieval and as a tools for organizing a seminar in trend and movement of early childhood education 1074316 ศาสตร์ของพระราชากบั การศกึ ษาปฐมวยั 3(3-0-6) The King’s Philosophy with Early Childhood Education การบรู ณาการหลกั การและขนั้ ตอนการทรงงาน คณุ ธรรมค�ำ สอน ขอ้ คดิ จากพระราชนพิ นธแ์ ละพระราชด�ำ รสั การน�ำ พระราชด�ำ รสั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาปฐมวยั มาใชใ้ นการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั เดก็ นอ้ มน�ำ โครงการในพระราชด�ำ ริ สกู่ ารพฒั นาเดก็ ปฐมวยั การน�ำ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรยี นรสู้ �ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั อยา่ งย่ังยนื การนำ�การเล่นตามรอยพระยคุ ลบาท มาจัดประสบการณ์การเรยี นรเู้ พือ่ ส่งเสริมพัฒนาการเดก็ และการ เผยแพรอ่ งคค์ วามรเู้ กยี่ วกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ในรปู แบบดจิ ทิ ลั ทง้ั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษสคู่ รอบครวั และชมุ ชน ของเด็กปฐมวยั Integration of principles and procedures for his majesty King work, morality, teachings, ideas from his majesty King celebrations and speeches in early childhood education, leading the Royal project in the development of early childhood development, applying the sufficiency economy philosophy to apply in sustainable learning management for young children, introduction of his majesty King play to provide learning experiences to promote child development, dissemination of knowledge about early childhood development in digital form both in Thai and English to the family and the community of young children 36

แผนการเชอื่ มโยงการเรยี นรสู้ ูก่ ารฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ฯ สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั (4 ป)ี หลกั สตู ร การฝก ประสบการณ 4ป สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั วชิ าชพี สาขาวิชาการประถมศึกษา หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ ชน้ั ปท ่ี 1 สงั เกตการดูแลเดก็ ในโรงเรียน สงั เกตการสอนของครปู ระจําชนั้ สังเกตสภาพแวดลอ มในโรงเรียนและ ระบบการบรหิ ารจัดการในชนั้ เรียน ชน้ั ปท ี่ 2 ทดลองปฏิบัติกิจกรรมรวมกับครูประจําช้ันในโรงเรยี น โดยมอี าจารยแ ละครปู ระจําชั้นเปนครูพเี่ ลีย้ ง ชนั้ ปท ่ี 3 ฝก ปฏิบัติการจัดกิจกรรมใหกับเด็กในโรงเรยี น จากการออกแบบและ การจดั การของนกั ศึกษา ชน้ั ปท ี่ 4 ฝกปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1 ปก ารศึกษา ในรูปแบบสหกิจศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลยั สวนดุสติ 37

หลักสตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา (4 ป)ี Suan Dusit

หลักสตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการประถมศึกษา (4 ป)ี ระดบั ปรญิ ญาตรี 1. ช่ือหลกั สูตร หลักสูตรศกึ ษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการประถมศกึ ษา (4 ปี) ภาษาไทย Bachelor of Education Program in Elementary Education ภาษาองั กฤษ 2. ชอ่ื ปรญิ ญา ศกึ ษาศาสตรบัณฑติ (การประถมศึกษา) ภาษาไทย ช่ือเตม็ : ศ ษ.บ. (การประถมศึกษา) ชอื่ ยอ่ Bachelor of Education (Elementary Education) ภาษาอังกฤษ ชอื่ เตม็ : B.Ed. (Elementary Education) ชือ่ ย่อ 3.วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร เพอื่ สรา้ งบณั ฑิตทางการประถมศกึ ษายุคใหมใ่ ห้มคี ุณลกั ษณะดังต่อไปน้ี 1) มวี ินัย รับผดิ ชอบ รักและดูแลเอาใจใสผ่ ูเ้ รียน มคี า่ นยิ มและคณุ ลักษณะความเป็นครู ยดึ มัน่ จรรยาบรรณ วิชาชีพครู มีความเป็นพลเมืองทเ่ี ขม้ แข็ง และมคี วามเปน็ สวนดุสิต 2) มีความสามารถเชิงวชิ าชพี ครู รวมทั้งศาสตรแ์ ละศิลปด์ ้านการสอนในระดบั ประถมศกึ ษาแบบบรู ณาการ มี ความรู้ ทักษะและความเช่ียวชาญเฉพาะทางตามสาระวชิ า เพื่อเชอื่ มโยงและประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาศกั ยภาพของผู้ เรียนตามความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล โดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำ�คญั 3) มีความสามารถทางการสอ่ื สารและการจัดการเรยี นรู้ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4) มที กั ษะทจี่ �ำ เปน็ สำ�หรับศตวรรษท่ี 21 โดยเน้นการสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอนดว้ ยกระบวนการวจิ ยั เพ่ือการเรียนรตู้ ลอดชวี ติ และการปรับตวั สูส่ ากล 5) มคี วามรู้ ความเขา้ ใจและความสามารถในการพฒั นาและการใชช้ มุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี ครใู นการพฒั นา ตนเอง 4. คณุ สมบตั ขิ องผเู้ ขา้ ศกึ ษา 1) ส�ำ เรจ็ การศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า จากสถานศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ ารรับรอง 2) ผา่ นการคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศกึ ษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษาระบบกลาง (Admission) หรอื ผา่ นการคดั เลอื กตาม เกณฑ์ของมหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต 3) ผ่านการทดสอบคณุ ลกั ษณะความเป็นครู 4) ผา่ นการทดสอบทกั ษะทางภาษาอังกฤษ 5) มคี ณุ ลกั ษณะและบคุ ลกิ ภาพเหมาะสม และไมเ่ ป็นอปุ สรรคตอ่ การประกอบวชิ าชพี ครู 6) มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การประกอบวชิ าชพี ครรู ะดบั ประถมศกึ ษารกั เดก็ และมงุ่ มนั่ ตง้ั ใจทจี่ ะพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่องสม�ำ่ เสมอ 5. อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดห้ ลงั สำ�เรจ็ การศึกษา 1) ครูผู้ช่วย ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ท้ังในโรงเรียนที่มีโครงการการศึกษานานาชาติ (International Programme) โครงการจดั การเรยี นการสอนหลกั สตู รภาษาองั กฤษแบบเขม้ ขน้ (Intensive English Programme) และ โรงเรยี นท่ีจดั การเรยี นการสอนแบบปกติ 2) ครแู นะแนวส�ำ หรบั เดก็ ประถมศกึ ษา หรอื ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นภาษาองั กฤษ (English as Additional Language: EAL Specialist) 3) นักวชิ าการทางการศึกษา 39

โครงสรา้ งหลกั สตู ร สาขาวิชาการประถมศึกษา จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร มีสัดส่วนจำ�นวนหน่วยกิต แยกตามหมวดวิชาและกลุ่มวิชา ไม่น้อยกว่า 147 หนว่ ยกิต ดงั น้ี 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 33 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 108 หน่วยกติ 2.1 กลุม่ วชิ าชพี ครู 35 หน่วยกติ 2.1.1 กลุ่มวชิ าการศึกษา 23 หนว่ ยกติ 2.1.2 กลุม่ วชิ าการฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 12 หนว่ ยกิต 2.2 กลมุ่ วิชาเอก-โท 73 หน่วยกติ 2.2.1 กลุ่มวชิ าเอก 43 หน่วยกติ 2.2.2 กลุ่มวชิ าโท 30 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี เรยี นไม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ การจัดการเรียนการสอน หมวดวิชาเฉพาะดา้ น ให้เรียนไม่นอ้ ยกว่า 108 หนว่ ยกติ กล่มุ วชิ าชพี คร ู 35 หน่วยกิต กลุ่มวชิ าการศกึ ษา 23 หน่วยกิต 1011112 ความเป็นครูวชิ าชีพ Teaching Profession 2(2-0-4) 1051204 จิตวิทยาเพ่อื พัฒนาผ้เู รยี น 3(3-0-6) Psychology for Learner’s Development 3(3-0-6) 1022305 หลักสตู รและวทิ ยาการการจดั การเรยี นร ู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management Science 3(3-0-6) 1032103 นวตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั เพือ่ การเรยี นรู้อยา่ งสร้างสรรค์ 3(3-0-6) Innovation and Information Technology for Creative Learning 3(3-0-6) 1042108 การวดั และประเมินการศกึ ษาและการเรยี นร ู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment 1043411 การวิจยั และการพัฒนานวตั กรรมเพอ่ื พัฒนาผูเ้ รยี น 12 หนว่ ยกิต Research and Innovative Development to Enhance Learners 6 (270) 1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยส�ำ หรบั ครู 6 (270) Thai Language Competencies for Teachers 1063106 การบรหิ ารการศกึ ษาและภาวะผนู้ �ำ ของครูวิชาชพี 73 หน่วยกติ Educational Administration and Leadership of Professional Teachers 43 หนว่ ยกิต กลุ่มวชิ าการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพ 3(3-0-6) 1013803 การปฏิบัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1 3(3-0-6) School Internship 1 1014805 การปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 2 School Internship 2 กลมุ่ วชิ าเอก-โท กลมุ่ วิชาเอก 1091102 การประถมศกึ ษา Elementary Education 1091301 การจัดการเรยี นรู้ภาษาไทยส�ำ หรับครปู ระถมศกึ ษา Thai Language Teaching for Elementary Education Teachers 40

1091302 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีสำ�หรบั ครูประถมศกึ ษา 3(2-2-5) Science and Technology for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1091303 สังคมศกึ ษา ประวัติศาสตร์ และภมู ิปญั ญาไทยส�ำ หรับครูประถมศึกษา 3(3-0-6) Social Studies, History and Thai Wisdom for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1091304 คณิตศาสตร์ส�ำ หรับครูประถมศึกษา 3(3-0-6) Mathematics for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1091305 สุขภาพและการออกก�ำ ลงั กายส�ำ หรับครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) Health and Exercise for Elementary Education Teachers 3(2-2-5) 1092401 ภาษากายและวรรณกรรมส�ำ หรับเดก็ 2(2-0-4) Body Language and Literature for Children 3(3-0-6) 1092302 การรู้ทกั ษะอาชพี เชิงสรา้ งสรรคใ์ นโรงเรยี นประถมศกึ ษา 2(1-2-3) Creative Career Literacy in Elementary Schools 3(3-0-6) 1092303 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สารส�ำ หรบั ครปู ระถมศึกษา 3(3-0-6) English for Communication for Elementary Education Teachers 1092304 ศลิ ปะ ดนตรี และลลี าส�ำ หรับเดก็ ประถมศกึ ษา Art, Music and Gesture for Elementary Education Children 1092305 การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการและสะเตม็ ศึกษา Integrated Learning and STEM Education 1083407 การศึกษาพเิ ศษ Special Education 1072316 วา่ ยน�ำ้ และการปฐมพยาบาล Swimming and First Aid 1092306 ภาษาองั กฤษเพ่ือการจัดการเรยี นร้ใู นหอ้ งเรียนประถมศกึ ษา English Language for Elementary Education Classroom Teaching 1092307 การเรียนรูแ้ บบบูรณาการสาระความรู้กบั ภาษาอังกฤษ Content and Language Integrated Learning - CLIL กลุ่มวิชาโท (ให้เลือกจากกลมุ่ ตอ่ ไปนเี้ พยี ง 1 กลุ่ม) 30 หน่วยกิต ภาษาไทย 3(3-0-6) 1093509 ทักษะการอา่ นภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 3(3-0-6) Thai Language Reading Skill in 21st Century 3(3-0-6) 1093510 ทักษะการเขยี นภาษาไทยส�ำ หรบั ครูประถมศึกษา 3(3-0-6) Thai Language Writing Skill for Elementary Education Teachers 3(3-0-6) 1093511 ศิลปะการใชภ้ าษาไทยในการส่ือสาร 3(3-0-6) Thai Language Arts in Communication 3(3-0-6) 1093512 ภาษาไทย: มรดกของแผน่ ดนิ 3(3-0-6) Thai Language: Territory Heritage 1093513 ปริทรรศนว์ รรณคดไี ทย Thai Literature Review 1093514 ปริทรรศน์วรรณกรรมร่วมสมยั ไทย Contemporary Literature Review 1093515 ภาษาศาสตรส์ �ำ หรบั ครปู ระถมศกึ ษา Linguistics for Elementary Education Teachers 1093516 การเขียนผลงานทางวชิ าการ Academic Writing 41

1093517 การสรา้ งบทเรยี นภาษาไทย 3(3-0-6) Thai Lesson Creation 3(3-0-6) 1093518 วาทวิทยาส�ำ หรบั ครู Speech for Teachers 30 หนว่ ยกิต 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1093705 เสยี งและสำ�เนยี งภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Language Sound and Accent 3(3-0-6) 1093706 ภาษาองั กฤษและความเขา้ ใจในพหวุ ัฒนธรรม 3(3-0-6) English Language and Cross-cultural Understandings 3(3-0-6) 1093707 ภาษาองั กฤษกับความสัมพันธก์ ับชมุ ชนและโลก 3(3-0-6) English Language and Relationship with Community and the World 3(3-0-6) 1093708 ค�ำ ศพั ท์ภาษาอังกฤษส�ำ หรับระดบั ประถมศกึ ษา 3(3-0-6) English Language Vocabulary for Elementary Education Level 3(3-0-6) 1093709 หลกั การใช้ภาษาองั กฤษส�ำ หรับครปู ระถมศึกษา English Language Grammatical Usage for Elementary Education Teachers 30 หน่วยกิต 1093710 การอ่านภาษาอังกฤษเพือ่ กา้ วทันโลก 3(3-0-6) English Reading for Accordance with the World 3(3-0-6) 1093711 การประเมนิ ทักษะทางภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Language Skill Assessment 3(3-0-6) 1093712 ภาษาอังกฤษในชนั้ เรยี นสอื่ สาร 3(3-0-6) English in Communicative Classrooms 3(3-0-6) 1093713 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การน�ำ เสนอ 3(3-0-6) English for Presentation 1093714 ภาษาอังกฤษสู่ความก้าวหนา้ เชิงวิชาการ 3(3-0-6) English for Academic Advancement คณิตศาสตร์ 1093605 จำ�นวนและการด�ำ เนนิ การกับการนำ�ไปใช้ในสถานการณ์จรงิ Numbers and Operations with Real Situation Application 1093606 การวัดและเรขาคณติ กับการน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ Measurement and Geometry with Real Situation Application 1093607 พชี คณติ กับการน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ Algebra and Real Situation Application 1093608 สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ กบั การน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ Statistics and Probability with Real Situation Application 1093609 คณติ ศาสตร์บรู ณาการกับการน�ำ ไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ Integrated Mathematics with Real Situation Application 1093610 การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร ์ Development of Mathematical Skills and Processes 1093611 การประยุกต์ทฤษฎที างการศึกษาคณติ ศาสตรใ์ นการพัฒนาการเรียนการสอน Application of Mathematical Education Theory in Mathematics Instruction Development 1093612 เทคโนโลยี และนวตั กรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร ์ Technology and Innovation for Mathematics Instruction 42

1093613 ประเด็นและแนวโน้มทางการเรียนการสอนคณติ ศาสตรร์ ะดับประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Issues and Trends in Mathematics Instruction at the Elementary Level 3(3-0-6) 1093614 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับครูคณิตศาสตร ์ English for Mathematics Teachers 30 หนว่ ยกติ วิทยาศาสตร์ทั่วไป 3(3-0-6) 1093615 วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ 3(2-2-5) Earth and Space Science 3(3-0-6) 1093616 นวัตกรรมทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) Science and Technology Innovation 3(3-0-6) 1093617 ไฟฟา้ และพลงั งาน 3(3-0-6) Electrical and Energy 3(3-0-6) 1093618 นาโนเทคโนโลยเี บื้องต้น 3(3-0-6) Basic of Nanotechnology 3(3-0-6) 1093619 เคมสี ภาวะแวดล้อมพื้นฐาน 3(3-0-6) Fundamental of Environmental Chemistry 1093620 วสั ดุศาสตร ์ 30 หน่วยกติ Material Science 3(3-0-6) 1093621 ความหลากหลายทางชวี ภาพ 3(3-0-6) Biodiversity 3(2-2-5) 1093622 สถติ สิ �ำ หรับการวจิ ยั 3(3-0-6) Statistics for research 3(3-0-6) 1093623 วิทยาศาสตร์และส่งิ แวดลอ้ ม 3(3-0-6) Science and environment 3(3-0-6) 1093624 ชวี พลงั งาน 3(3-0-6) Bioenergy สังคมศกึ ษา 1093519 ศาสนาและหลักธรรมเพอื่ สนั ติสุขอย่างยัง่ ยืน Religion and Moral Principles for Sustainable Peace 1093520 ประวัตศิ าสตรแ์ ละสงั คมโลกในศตวรรษที่ 21 History and 21st Century Global Society 1093521 การรูเ้ รื่องภมู ศิ าสตร์และส่งิ แวดลอ้ ม Geographic and Environmental Literacy 1093522 เศรษฐกิจประเทศไทยและเศรษฐกิจโลก Thai and Global Economy 1093523 พลวตั สงั คมและการเมืองไทย Social Dynamic and Thai Politics 1093524 ภมู ิศาสตรภ์ ูมภิ าคโลก Regional Geography of the World 1093525 ประชากรและการพัฒนา Population and Development 1093526 โลก สงิ่ แวดล้อม และการเปลยี่ นแปลง Earth, Environment and Change of Earth 43

1093527 สงั คมและวฒั นธรรมไทยร่วมสมัย 3(3-0-6) Contemporary Thai Society and Culture 3(3-0-6) 1093528 ความสร้างสรรค์ในอารยธรรมโลก Creativities of World Civilization หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกิต รายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รระดับปรญิ ญาตรี มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต โดยไมซ่ �้ำ กบั รายวชิ าทเ่ี คยเรยี นมาแล้ว และจะตอ้ งไม่เป็นรายวิชาที่ก�ำ หนดใหเ้ รียนโดยไมน่ ับหน่วยกิต รวมในเกณฑก์ ารสำ�เร็จการศึกษาของหลักสูตร 44

คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาการประถมศกึ ษา 1011112 ความเปน็ ครวู ชิ าชพี 2(2-0-4) Teaching Profession แนวคดิ และปรชั ญาการศกึ ษา ววิ ฒั นาการการศกึ ษากบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ทโลกและสงั คม แนวคดิ กลวธิ ี การจัดการศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน อุดมการณ์และจิตวิญญาณความเป็นครู คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี ครู และจติ อาสา การพฒั นาความเปน็ ครูวิชาชีพใหม้ ีความรอบรู้ ทันสมยั และ ทันตอ่ การเปล่ียนแปลง Educational concepts and philosophies, educational evolution, transformation in global and social contexts, concepts and strategies in educational management including sufficient economy philosophy for sustainable development, ideology and spirituality of teaching profession, morality, ethics, code of conduct of teaching profession and public mind, development of teaching professionalism to contain mastery, modernity, and keeping up with changes. 1051204 จิตวิทยาเพือ่ พัฒนาผ้เู รยี น 3(3-0-6) Psychology for Learner’s Development แนวคดิ ทฤษฎี และหลกั การของจติ วทิ ยา การพฒั นาของสมองกบั การเรยี นรู้ การวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นเพอ่ื เขา้ ใจ ความแตกต่างระหว่างบุคคลท้ังผู้เรียนปกติและผู้เรียนที่มีความต้องการจำ�เป็นพิเศษ การใช้เครื่องมือทางจิตวิทยา ท่ีเหมาะสมในการส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มศักยภาพ และการรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง เป็นระบบ Concepts, theories, and principles of psychology, human brain and learning development, analysis of learners’ differences both normal learners and learners with special needs, use of proper psychological tools to promote and develop learners to reach their highest potential, and systematic report on quality development of learners. 1022305 หลกั สตู รและวทิ ยาการการจดั การเรียนร ู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management Science หลกั การ ทฤษฎกี ารพฒั นาหลกั สตู ร ตามแนวคดิ ปรชั ญาทตี่ อบสนองเปา้ หมายเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ การพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาองิ สมรรถนะ การออกแบบเนอื้ หาสาระโดยบรู ณาการกบั สภาพบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั ของ ผเู้ รยี นและทอ้ งถนิ่ หลกั สตู รสองภาษา วทิ ยาการการจดั การเรยี นรู้ ศาสตรก์ ารสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ส�ำ คญั การวางแผน และการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ฝึกปฏิบัติการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนแบบเผชิญหน้า และแบบเสมอื นจริงในห้องเรียนปกตแิ ละห้องเรียนอจั ฉริยะ Principles theories of curriculum development established on philosophical concepts responding to goals of learners’ quality development, competency-based school curriculum development, content design integrated with diverse contexts of learners and their local areas, bilingual curriculum, learning management science, learner-centered approaches, planning and design of participated learning management, practicum of face-to-face and virtual practices on learning and classroom management in the normal and smart classrooms. 45

1032103 นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพ่อื การเรียนรูอ้ ย่างสรา้ งสรรค ์ 3(3-0-6) Innovation and Digital Technology for Creative Learning หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎนี วตั กรรม และกระบวนการพฒั นานวตั กรรมการศกึ ษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและ การสอื่ สารการศกึ ษาสมยั ใหม่ การเปลย่ี นแปลงรปู แบบแนวคดิ ทางการศกึ ษาและกรอบการพฒั นา ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 ฝกึ ปฏบิ ตั ผิ ลติ ประยกุ ตใ์ ชส้ อ่ื และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น การคน้ ควา้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมโดยบรู ณาการขา้ มศาสตรเ์ พอื่ การเรยี นรอู้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ Innovative principles, concepts, theories, and educational innovation development process. Modern information technology educational communication, Education transformation and learning framework in the 21stcentury, Production and implementation of media and digital technology for benefiting learners, research and development of learning resources and network, development and creation of multidisciplinary-integrated innovation for creative learning. 1042108 การวดั และประเมินการศกึ ษาและการเรยี นร้ ู 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment แนวคิด หลักการ เปา้ หมาย แนวทางการวัดและประเมินทางการศึกษาและการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 การออกแบบ สร้าง และเลอื กใชว้ ธิ กี ารวัดและเทคโนโลยีการประเมินเพือ่ แก้ปญั หาและพัฒนาผูเ้ รยี นอย่างเหมาะสม การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ การประเมนิ พฒั นาการ และการใหผ้ ลปอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รยี นใหเ้ หมาะสมตาม ชว่ งวยั แนวคดิ หลกั การ จดุ มงุ่ หมายและกระบวนการของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาเพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ใหไ้ ดม้ าตรฐานสากล Concepts, principles, goals, and direction of educational and learning measurement and assessment in the 21st century, design, creation, and selection of measurement methods and technology to suitably solve problems and develop learners, practices on measurement and assessment relevant to learning, assessment of learner’s progress, provision of feedbacks to the learners according to their age ranges properly, Concepts, principles, goals, and process of educational assurance to enhance educational quality according to international standards. 1043411 การวิจยั และการพฒั นานวัตกรรมเพือ่ พฒั นาผเู้ รียน 3(3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners แนวคดิ หลกั การเบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั วธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั การคดิ เชงิ นวตั กรรม รปู แบบ การวจิ ยั เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม การออกแบบการวจิ ยั เพอื่ แกป้ ญั หาและพฒั นาผเู้ รยี น ฝกึ ทกั ษะศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม การบรู ณาการ ความรใู้ นศาสตรก์ ารสอนกบั การพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นผา่ นกระบวนการวจิ ยั สมรรถนะทางการวจิ ยั ในบรบิ ทการศกึ ษา สมยั ใหม่ การนำ�เสนอผลการวจิ ัยและนวตั กรรมอยา่ งมีจรรยาบรรณ Concepts, basic principles related to research methodology, innovative thinking, research model for innovation development, research design for problem solving and development of learners, skill practices on study, search, research, and innovative development, integration of knowledge relevant to learning science and development of learner’s qualities though research process, research competencies in the modern educational contexts, presentation of research and innovation ethically. 46

1021301 สมรรถนะทางภาษาไทยสำ�หรบั ครู 3(3-0-6) Thai Language Competencies for Teachers หลักและลักษณะสำ�คัญของภาษาไทยเพื่อการส่ีอสารสำ�หรับครูในรูปแบบต่างๆ ชนิดของคำ� การใช้คำ� วลี ประโยค หลกั การอา่ นรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง หลกั การและเทคนคิ การเขยี นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ การฟงั และ การดูอย่างมวี จิ ารณญาณ การฝกึ พดู ต่อหน้าท่ปี ระชุมชน และการใชภ้ าษาเพ่ือการเป็นครมู ืออาชีพ Principles and main characteristics of Thai language for a teachers’ variety of communication; type of words, usages of words, phrases, and sentences; principles of reading prose and poetry; principles and techniques of formal and informal writing; critical listening and observing; practice speaking publicly, including using language as a professional teacher. 1063106 การบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ�ของครูวิชาชพี 3(3-0-6) Educational Administration and Leadership of Prefessional Teachers แนวคดิ หลกั การ และทฤษฎีเก่ยี วกบั การบริหารการศึกษา กฎหมายการศกึ ษา และแนวโนม้ การศกึ ษา ในอนาคต การศกึ ษาบรบิ ทของชมุ ชน การสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครองและชมุ ชนบนพน้ื ฐานความแตกตา่ ง ทางวฒั นธรรมเพอ่ื สง่ เสรมิ การเรยี นรทู้ มี่ คี ณุ ภาพ การจดั ท�ำ โครงการทางการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาผเู้ รยี น แนวคดิ ทฤษฎภี าวะ ผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงในบรบิ ทของครวู ชิ าชพี การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และบคุ ลกิ ภาพเพอื่ เปน็ ตน้ แบบและด�ำ รงเกยี รตขิ องครู วิชาชพี Concepts, principles, and theories related to educational administration, educational laws, study of community contexts, building collaborative networks with parents and communities on multicultural basis to enhance learning quality of learners, operation of educational projects for learner’s development, concepts, theories of transformative leaders in teaching profession context, development of leadership and personality to be master teachers and maintain honor of professional teachers. 1013803 การปฏบิ ตั ิการสอนในสถานศกึ ษา 1 6(270) School Internship 1 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบี่ รู ณาการความรแู้ ละศาสตร์ การสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นโดยตระหนกั ถงึ สขุ ภาวะของผเู้ รยี นรวมถงึ การดแู ล ชว่ ยเหลอื และพฒั นาผเู้ รยี น เปน็ รายบคุ คลตามศกั ยภาพ รายงานผลการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ และปฏบิ ตั งิ านอน่ื ทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions, integration of knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing including caring, supporting, and developing learners individually according to their potential, systematic report on learners’ development outcomes, and fulfilling other tasks as assigned. 1014805 การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษา 2 6(270) School Internship 2 การปฏบิ ตั กิ ารสอนสาขาวชิ าเฉพาะในสถานศกึ ษา ทบี่ รู ณาการความรแู้ ละศาสตร์ การสอนในการวางแผน และการจดั การเรยี นรทู้ ส่ี ามารถพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ปี ญั ญารคู้ ดิ และมคี วามเปน็ นวตั กรรม จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยดี จิ ิทัล ให้เกิดประโยชนต์ อ่ การเรียนรูข้ องผเู้ รียน และปฏิบัตงิ านอน่ื ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย Teaching practice on specific field in the educational institutions which integrates knowledge and teaching science in planning and learning management that can develop cognition among learners and build them up as innovators, creation of activities and happy learning environment for learners based on awareness of their wellbeing, research, creating technology, and applying digital technology to be beneficial for their learning outcomes and fulfilling other tasks as assigned. 47

1091102 การประถมศึกษา 3(3-0-6) Elementary Education ศึกษา วิเคราะห์เก่ียวกับหลักการ และแนวคิดของการประถมศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ จดุ มงุ่ หมายของการประถมศกึ ษา แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พระราชบญั ญตั กิ ารประถมศกึ ษา พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษา แห่งชาติ หลักสูตรการประถมศึกษา สภาพและปัญหาของการประถมศึกษาในปัจจุบัน มุมมองจากงานวิจัยทางการ ประถมศกึ ษา ความหมายของพฒั นาการและการเรยี นรู้ พฒั นาการทางดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ญั ญาของเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา การเรยี นรขู้ องเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา เชอื่ มโยง และอภปิ รายเกยี่ วกบั การจดั การเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ ง กบั พฒั นาการ ทฤษฏกี ารเรยี นรู้ การศกึ ษาพฤตกิ รรมของเดก็ ระดบั ประถมศกึ ษา การใหค้ �ำ แนะน�ำ การเสรมิ สรา้ งพฤตกิ รรม การเรียนรขู้ องเด็กระดบั ประถมศึกษา Study and analysis of principles and concepts of elementary education in Thailand and other countries, goals of elementary education, national education plans, elementary education acts, national education acts, elementary education curricula, states and problems of current elementary education, points of view from elementary education research studies, definitions of development and learning, developments of elementary children, physical, emotional, social, cognitive development, learning of elementary children, link and discussion learning management consistent with development, learning theories, behavioral studies of elementary learners, counseling, and suggestion of their learning performance. 1091301 การจดั การเรยี นรู้ภาษาไทยสำ�หรับครูประถมศกึ ษา 3(3-0-6) Thai Language Teaching for Elementary Education Teachers ศกึ ษาการเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา การสอื่ สารภาษาไทยตามธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทยอย่างถูกต้องและสรา้ งสรรค์ การพัฒนาทกั ษะการอ่าน การเขยี น การฟงั และการพูดภาษาไทยในการสรา้ ง ความรแู้ ละน�ำ เสนอความคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน การพฒั นานวตั กรรมและ สอ่ื การเรยี นรภู้ าษาไทย การเลอื กใชแ้ บบเรยี นภาษาไทยใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา รวมทง้ั ศกึ ษาปญั หาและ แนวทางพฒั นาการจดั การเรยี นรภู้ าษาไทย และการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเพอ่ื พฒั นาการรหู้ นงั สอื ภาษาไทยอยา่ งแตกฉานส�ำ หรบั ผูเ้ รยี นในระดบั ชัน้ ประถมศึกษา Study of language change and influence, Thai communication in accordance with its nature and principles, development of the language reading, writing and listening and speaking to build up knowledge and express knowledge and ideas critically, subject to the Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A.D. 2008), development of innovation and media for Thai learning, appropriate selection of Thai textbooks suitable for the school context, including study of problems and guidance on Thai learning management and practice of Thai literacy for elementary education learners. 48

1091302 วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยสี ำ�หรบั ครปู ระถมศึกษา 3(2-2-5) Science and Technology for Elementary Education Teachers ศกึ ษาวเิ คราะหห์ ลกั การทฤษฎีกฎขอบเขตธรรมชาติและโลกทศั นข์ องวชิ าวทิ ยาศาสตร์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ยชาติ และสภาพแวดลอ้ ม ทกั ษะการเรยี นรแู้ ละสรา้ งนวตั กรรมโดยใชเ้ ทคโนโลยี ดจิ ทิ ลั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การเปน็ ผมู้ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญด้วยการปฏิบัติจริง ตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา การใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน โครงงานวทิ ยาศาสตร์ การเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื การเลอื กใชส้ อื่ การเรยี นรู้ และแหล่งเรียนรู้ ในการสืบเสาะหาความรู้และการแก้ปัญหาอย่างหลากหลาย และเหมาะสมกับผู้เรียนในระดับชั้น ประถมศึกษา Study and analysis of principles, theories, laws, scopes, nature and world view on sciences, relations between sciences, technology, humanity and environment; learning skills and development of innovation via digital technology and scientific methods. Being a person with scientific mind, morality and ethics, values in creative uses of sciences and technology. Techniques for setting up learner-centered activities using STEM education, problem-based learning, science projects, cooperative learning, selection of various learning materials and resources suitable for elementary education learners to seek knowledge and solve problems. 1091303 สงั คมศึกษา ประวัติศาสตร์ และภูมปิ ัญญาไทยสำ�หรบั ครูประถมศึกษา 3(3-0-6) Social Studies, History and Thai Wisdom for Elementary Education Teachers ศกึ ษา วเิ คราะหแ์ นวคดิ พนื้ ฐานของการจดั การเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรมตามหลกั สตู รแกน กลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เศรษฐศาสตร์เบ้ืองต้น การดำ�เนินชีวิตในสังคมตามศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข หน้าที่พลเมือง การเป็น พลเมืองไทยท่ีเข้มแข็ง ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ อาเซียนศึกษาในระดับประถมศึกษา กระบวนการทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางประวัติศาสตร์ และทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เพือ่ สรา้ งความตระหนักเกี่ยวกบั โลก Study and analysis of fundamental concepts of learning management for social studies, religions and cultures following the Basic Education Core Curriculum. Fundamental economics, leading one’s life according to the King’s philosophy and the sufficiency economy philosophy, democracy as the political form of government with the King as Head of State, civic duty, active citizenship, geography, history, Asian studies for elementary education learners, geoprocessing, historical process and 21st century skills to raise global awareness. 1091304 คณิตศาสตร์สำ�หรับครปู ระถมศกึ ษา 3(3-0-6) Mathematical for Elementary Education Teachers ศึกษาความสำ�คัญและธรรมชาติของคณิตศาสตร์ หลักและแนวการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เชอื่ มโยง และอภปิ รายถงึ มโนทศั นพ์ นื้ ฐานทางคณติ ศาสตรต์ ามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน บรู ณาการความรู้ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั แนวคดิ จากงานวจิ ยั ดา้ นการเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ และ กระบวนการท�ำ งานร่วมกนั ของชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวิชาชีพ สำ�หรับใชอ้ อกแบบการจัดการเรียนรู้ การเลอื กใช้สอื่ การเรยี นรู้ การจดั สภาพแวดลอ้ มการเรยี นรู้ และการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นาผเู้ รยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม กับธรรมชาติของเนอื้ หา สถานการณจ์ รงิ และความแตกตา่ งระหว่างบุคคลของผู้เรียน Study of importance and nature of mathematics, principles and maths learning management, the ability to analyze, connect and discuss mathematical fundamental concepts according to Basic Education Core Curriculum. Integration of mathematical knowledge, skills and processes, digital technology, concepts from research in mathematics teaching and the collaborative process of professional learning communities for apply to the design of learning management, selection of media for learning, setting up a learning environment and measuring and evaluating learning to develop learners appropriately with the nature of the content, real world situation and the difference between the students’ personalities. 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook