Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนการเรือน

โรงเรียนการเรือน

Published by Regis, 2021-08-27 03:53:17

Description: โรงเรียนการเรือน

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ สิ ต น ดุ สิ ต ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ประวัตคิ วามเป็นมาโรงเรียนการเรือน 10 รายนามผ้บู รหิ ารและอาจารย์ หลักสตู รของโรงเรยี นการเรอื น หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ 14 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ระดับปรญิ ญาตรี 19 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ 32 สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร ระดับปริญญาตรี 37 ค�ำ อธบิ ายรายวชิ า สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร 55 สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมการประกอบอาหาร ระดับปรญิ ญาตรี 60 ค�ำ อธบิ ายรายวิชา สาขาวิชาอุตสาหกรรมการประกอบอาหาร 73 สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบอาหารเพือ่ การสร้างเสรมิ สมรรถภาพและการชะลอวัย ระดับปริญญาตรี 79 คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบอาหารเพ่อื การสร้างเสรมิ สมรรถภาพและ การชะลอวยั ภาคผนวก 95 หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 3

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ SโรcงhเรooียlนoกfารCเuรlือinนary Arts Suan Dusit

ประวัตคิ วามเปน็ มาโรงเรียนการเรือน (School of Culinary Arts) มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ก่อต้ังข้ึนเมื่อปี พ.ศ. 2477 ภายใต้ช่ือ “โรงเรียนมัธยมวิสามัญการเรือน” ตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทตี่ อ้ งการใหผ้ หู้ ญงิ ในขณะนนั้ ไดม้ กี ารศกึ ษาเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การบา้ นการเรอื นทดี่ ี และเปน็ โรงเรียนการเรือนแห่งแรกของประเทศไทย จนกระทงั่ ปี พ.ศ. 2504 โรงเรยี นการเรอื น เปลยี่ นสถานภาพเปน็ วทิ ยาลยั ครสู วนดสุ ติ เนน้ การผลติ ครทู างดา้ น คหกรรมศาสตร์เป็นหลัก จากนนั้ ในปี พ.ศ. 2538 จงึ เปลี่ยนสถานภาพเปน็ สถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ติ และในการจดั ท�ำ แผนกลยทุ ธ์ของ สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดม้ กี ารก�ำ หนดอตั ลกั ษณข์ องสถาบนั เอาไว้ 4 ดา้ นดว้ ยกนั คอื อตุ สาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรม บรกิ าร การศกึ ษาปฐมวยั และการศึกษาพเิ ศษ ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2547 จงึ เปลย่ี นสถานภาพเปน็ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ตาม พ.ร.บ.มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ พ.ศ. 2547 การพฒั นางานของมหาวทิ ยาลยั ยงั คงเนน้ ในดา้ นอตั ลกั ษณเ์ ดมิ ทสี่ บื เนอื่ งมาจากการเปน็ สถาบนั ราชภัฏ ยกเว้นอัตลักษณ์ด้านการศึกษาพิเศษท่ีไม่สามารถผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีเป็นครูการศึกษาพิเศษได้ จงึ ตอ้ งปรับเปน็ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษส�ำ หรบั เด็กเลก็ และก�ำ หนดอตั ลกั ษณ์ใหม่เปน็ พยาบาลศาสตร์ ตลอดระยะเวลาทีผ่ า่ นมามหาวทิ ยาลัยไดพ้ ัฒนาการจัดการเรยี นการสอนและความเข้มแขง็ ทางวชิ าการบนพ้นื ฐานความเชยี่ วชาญของมหาวทิ ยาลัย และได้การก�ำ หนดทศิ ทางไว้ชดั เจนวา่ มหาวิทยาลัยจะมุ่งเนน้ พฒั นาอัตลักษณ์ สำ�คัญ ซง่ึ ประกอบไปดว้ ย งานด้านอุตสาหกรรมอาหาร อตุ สาหกรรมบริการ การศึกษาปฐมวัย และพยาบาลศาสตร์ สภามหาวทิ ยาลัยได้อนุมตั ิจัดต้งั โรงเรียนการเรือน ข้ึนในวันที่ 26 กมุ ภาพันธ์ 2553 มีสถานะเป็นหน่วยงาน เทียบเท่าคณะและมีข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตว่าด้วยโรงเรียนการเรือน พ.ศ. 2553 โรงเรียนการเรือน เปน็ หนว่ ยงานทม่ี ภี ารกจิ หลกั ในการจดั การศกึ ษาในสาขาวชิ าทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ดา้ นอาหารและดา้ นคหกรรมศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาตรี การฝึกอบรม วจิ ัย การท�ำ นุบ�ำ รงุ ศิลปวัฒนธรรม และบรกิ ารทางวชิ าการ ในปีการศึกษา 2553-2554 โรงเรียนการเรือน มีการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลักสูตร 4 หลักสตู รประกอบดว้ ย 1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าอุตสาหกรรมอาหารและการบรกิ าร 2) หลกั สตู ร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 3) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ และ 4) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วและการบรกิ าร แขนงการจดั การ ภตั ตาคารและร้านอาหารแบบเร่งดว่ น รวมท้งั มกี ารเปดิ รับนกั ศึกษาใหม่ สาขาวิชาอุตสาหกรรมอาหารและการบรกิ าร สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทตี่ ัง้ สพุ รรณบรุ ี และสาขาวชิ าอุตสาหกรรมอาหารและการบริการ ณ ศูนย์การศึกษานอกทต่ี ั้งตรงั และศนู ย์การศกึ ษานอกทต่ี ้ังล�ำ ปาง ในปีการศกึ ษา พ.ศ. 2556-2559 มกี ารจดั การศึกษาระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลักสูตร 4 หลักสตู ร ประกอบ ดว้ ย 1) หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร (ในมหาวทิ ยาลยั วทิ ยาเขต สพุ รรณบรุ ี ศนู ย์การศกึ ษานอกทีต่ ้ังตรัง และศนู ยก์ ารศึกษานอกที่ตงั้ ล�ำ ปาง) 2) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขา วชิ าเทคโนโลยกี ารแปรรปู อาหาร 3) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาโภชนาการและการประกอบอาหาร และ 4) หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ (ในมหาวทิ ยาลัย วิทยาเขตสพุ รรณบุรี) ในปีการศึกษา 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐตาม พระราชบัญญตั ิมหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วันที่ 17 กรกฎาคม 2557 มีผล บงั คบั ใช้ตั้งแตว่ ันท่ี 18 กรกฎาคม 2558 จงึ ใช้ชื่อวา่ “มหาวิทยาลยั สวนดุสิต” ในปกี ารศึกษา 2560-2562 โรงเรยี นการเรือน มกี ารจดั การศึกษาในระดบั ปริญญาตรี แบง่ ตามหลกั สูตร 6 หลกั สูตร ดังน้ี 1) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร 2) หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร 3) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาโภชนาการ และการประกอบอาหาร 4) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการก�ำ หนดและการประกอบอาหาร 5) หลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ และ 6) หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร ในปีการศกึ ษา 2563 โรงเรียนการเรอื น มกี ารจัดการศกึ ษาในระดับปริญญาตรี แบ่งตามหลกั สูตร 6 หลักสูตร ดังน้ี 1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 2) หลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการก�ำ หนดและการประกอบอาหาร 3) หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรม 5

การประกอบอาหาร 4) หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบอาหารเพอ่ื การเสริมสรา้ ง สมรรถภาพและการชะลอวยั 5) หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ และ 6) หลักสตู รเทคโนโลยี บัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยีอาหาร ในปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นการเรอื น มกี ารจดั การศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรี แบ่งตามหลกั สูตร 4 หลักสูตร ดังนี้ 1) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบริการ 2) หลักสูตรวิทยา ศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาอตุ สาหกรรมการประกอบอาหาร 3) หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาโภชนาการและ การประกอบอาหารเพ่อื การเสริมสรา้ งสมรรถภาพและการชะลอวยั และ 4) หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ ภารกจิ ด้านการสนับสนุนการจดั การศึกษาและฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ปจั จุบันมีหนว่ ยงานศนู ย์ฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร อาหารนานาชาติ มีภารกิจดูแลห้องปฏิบัติการอาหารให้พร้อมในการจัดการเรียนการสอน จัดหลักสูตรฝึกอบรมด้าน อาหารใหก้ บั บคุ คลภายนอก จ�ำ หนา่ ยเบเกอรใี่ นชอื่ ของโรงเรยี นการอาหารนานาชาติ รวมทงั้ เปน็ สถานทฝ่ี กึ ประสบการณ์ วชิ าชีพใหก้ ับนกั ศกึ ษาด้านอาหารและบุคคลทส่ี นใจ เป้าหมาย โรงเรียนการเรอื น คอื ผ้นู ำ�ด้านอาหาร วสิ ยั ทัศน์ โรงเรียนการเรือนเป็นหน่วยงานทีม่ ีความเปน็ เลิศด้านการประกอบอาหารไทย และการจดั ตกแตง่ พันธกจิ โรงเรยี นการเรอื นเปน็ หนว่ ยงานผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี ณุ ภาพทางวชิ าชพี ขน้ั สงู ดา้ นการประกอบอาหาร และการจดั ตกแต่ง การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมเพอ่ื เผยแพร่และเปน็ แหลง่ อ้างอิงแกส่ งั คมและท�ำ นุบำ�รงุ ศลิ ปะ และวฒั นธรรม จดุ มุ่งเน้นกลยุทธ์ (Strategic focus areas) 1. ความหลากหลายทางการศกึ ษา (Academic diversity) 1.1 การพัฒนาหลักสตู รท่ที ้าทายเพ่อื ให้สามารถอย่รู อดได้อย่างย่งั ยืน (Curriculum survivability) หลกั สูตร แบบบูรณาการ หลักสูตรท่ีโดดเด่น หลักสูตรแบบยืดหยุ่น หลักสูตรท่ีตอบสนองผู้เรียน การผสานแบบกลมกลืนกับ แนวทางวถิ ีใหม่ 1.2 มงุ่ เนน้ การผสมผสานระหวา่ งการเรยี นรทู้ งั้ ในและนอกชน้ั เรยี นกบั การเรยี นรผู้ า่ นระบบออนไลน์ (Various learning platform) การเรยี นรใู้ นพนื้ ทกี่ ารเรยี นรขู้ องมหาวทิ ยาลยั การเรยี นรจู้ ากการปฏบิ ตั งิ านจรงิ การเรยี นรบู้ นพนื้ ฐานแห่งเทคโนโลยี 1.3 การส่งเสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวติ เพื่อพัฒนาคนทุกชว่ งวยั (Promotion of lifelong learning) ระบบคลงั หน่วยกิต หลักสตู รประกาศนียบัตร เพอ่ื ยกระดับทกั ษะ/ เพ่ิมทกั ษะ/ และสง่ เสรมิ ทักษะใหม่ 1.4 การเชื่อมโยงกับผู้ท่ีเก่ียวข้องในการสนับสนุนงานหรือกิจกรรมของมหาวิทยาลัย (Links with SDU’s supporters) การสรา้ งเครอื ขา่ ยทเ่ี ขม้ แขง็ จากศษิ ยเ์ กา่ ผปู้ กครอง นกั ศกึ ษาตา่ งชาติ สถาบนั อดุ มศกึ ษาทง้ั ในประเทศและ ตา่ งประเทศ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี รวมทงั้ พน้ื ทเ่ี ปา้ หมายและชมุ ชนใหเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการพฒั นากจิ การของมหาวทิ ยาลยั 2. การบรกิ ารสิง่ อำ�นวยความสะดวกพน้ื ฐาน (Infrastructure services) 2.1 ความเสถยี รของระบบสนบั สนุนการทำ�งาน (System stability) ระบบสารสนเทศและโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารทม่ี ีความมนั่ คง ปลอดภยั ตลอดจนมีการให้บริการดิจิทัลทีค่ รอบคลุมและเข้าถงึ การใชง้ านไดท้ ุกทีท่ กุ เวลา 2.2 พน้ื ทสี่ รา้ งสรรคก์ ารเรยี นรแู้ ละสง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก (Learning space and facilities) การจดั สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรแู้ ละเนน้ การจดั พนื้ ทก่ี ารเรยี นรู้ เพอื่ เปน็ การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรทู้ ส่ี ง่ เสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรคร์ ปู แบบ ใหม่ให้กบั อาจารย์ บุคคลากรและนักศึกษาไดส้ ืบคน้ ความรู้ แลกเปลีย่ นแนวคิดแบง่ ปันพน้ื ที่การทำ�งานและการเรยี นรู้ นำ�ไปส่กู ารสรา้ งชมุ ชนและสงั คมแหง่ การเรียนรูร้ ่วมกันของมหาวิทยาลัย 6

2.3 สภาพแวดลอ้ ม (Environment) มงุ่ เนน้ การจดั การคณุ ภาพดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม พฒั นาสกู่ ารเปน็ มหาวทิ ยาลยั ทส่ี วยงาม สะอาด ปลอดภยั สง่ เสรมิ การลดการใชท้ รพั ยากรและพลงั งาน มรี ะบบการปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม เช่น การจัดการขยะ การบำ�บัดน้ำ�เสีย การลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก รวมท้ังเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมท้ังการ ออกแบบพ้นื ที่ท่ีเหมาะสมส�ำ หรับทกุ คนในสงั คมให้สามารถใชป้ ระโยชน์ได้อย่างเต็มทแี่ ละเท่าเทยี มกนั 2.4 ระบบสนับสนุนผู้เรียน (Student’s support system) ระบบท่ีออกแบบสำ�หรับการช่วยเหลือนักศึกษา ระหว่างเรียน อาทิเช่น ระบบอาจารย์ท่ีปรึกษา ระบบการจัดหาทุนการศึกษา บริการด้านการดูแลสุขภาพนักศึกษา และการใหค้ วามช่วยเหลือนกั ศกึ ษาด้านวิชาการ 3. องคก์ รท่พี รอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง (Adaptive organization) 3.1 การปรับกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั ให้เท่าทันสถานการณ์ (Resilience in law and regulations) กฎ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ตอ้ งมคี วามยดื หยนุ่ และไมเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ การด�ำ เนนิ งาน สามารถปรบั ปรงุ แกไ้ ข ยกเลกิ ใหเ้ หมาะ สมกับสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพ่ือช่วยสนับสนุนให้การบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเป็นไปอย่าง คล่องตัวและไมข่ ัดต่อกฎหมายและศีลธรรมอันดี 3.2 การสรา้ งและหลอ่ หลอมคนสวนดสุ ติ (Reshaping SDU staff) การเพม่ิ ขดี ความสามารถทางความคดิ และ ความคิดสรา้ งสรรค์ การมุง่ มน่ั ในงาน การคิดเชิงออกแบบ การรู้ลำ�ดบั ความสำ�คญั และสภาวการณ์เรง่ ด่วน ทักษะใหม่ ความเชีย่ วชาญจากการปฏิบัติงาน 3.3 การจดั สรรงบประมาณอยา่ งคุม้ ค่า (Optimal budget allocation) การลงทุนในส่งิ สนับสนนุ การจดั การ ศกึ ษาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพของผเู้ รยี น และการพฒั นาพนื้ ทที่ เี่ ออื้ ตอ่ การจดั การเรยี นรรู้ ปู แบบใหม่ โดยค�ำ นงึ ถงึ การใชจ้ า่ ย งบประมาณอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ มีความคุม้ ค่า และเกิดประโยชน์สูงสดุ 4. จดุ เนน้ SP Series (Spotlight SP Series) ความเป็นเลศิ ในการผลิตก�ำ ลงั คน พลังสติปญั ญา ความรู้และการสรา้ งนวตั กรรม โดยมอี ัตลักษณ์ด้านอาหาร บนรากฐานแหง่ ความเชยี่ วชาญด้วยการปฏิบตั ิ (Culinary arts and services with Professional by Hands) 7

โครงสรา้ งโรงเรยี นการเรือน (Structure of School of Culinary Arts) คณบดี รองคณบดี สำ�นักงาน หลกั สตู ร หนว่ ยงานสนบั สนุน เลขานกุ าร •หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ •ศูนย์ฝึกปฏิบตั ิการอาหารนานาชาติ • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบริการ • หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าการกำ�หนดและการประกอบ อาหาร • หลักสูตรเทคโนโลยบี ณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยอี าหาร • หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาอุตสาหกรรมการประกอบ อาหาร • หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าโภชนาการและการประกอบ อาหารเพอ่ื การสรา้ งเสริมสมรรถภาพและการชะลอวยั • หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ วทิ ยาเขตสุพรรณบุรี • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบรกิ าร วิทยาเขตสพุ รรณบุรี • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบริการ ศูนย์การศึกษานอกท่ตี ัง้ ล�ำ ปาง • หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหาร และการบรกิ าร ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกทต่ี ัง้ ตรัง บคุ ลากร จำ�นวนบุคลากรโรงเรยี นการเรือน ประกอบดว้ ย บุคลากรสายวชิ าการและสายสนบั สนุนวชิ าการ โดยแบง่ เป็น บคุ ลากรสายวชิ าการ บุคลากรสายสนบั สนุนวชิ าการ - ข้าราชการ 5 คน - พนักงานมหาวทิ ยาลัย 42 คน - ลูกจา้ งของมหาวทิ ยาลยั 3 คน - ลูกจ้างของมหาวทิ ยาลยั 21 คน - พนักงานมหาวทิ ยาลัย 67 คน บุคลากรสายบรกิ าร - ลกู จ้างของมหาวทิ ยาลยั 44 คน 8

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผู้บริหารและอาจารย์ โรงเรยี นการเรอื น Suan Dusit

School of Culinary Arts รายนามผู้บริหารและอาจารย์ โรงเรยี นการเรือน ผู้บรหิ ารโรงเรยี น อสปววททาราขะ..จมบาธา..วาร((ชินเเยททาหเ์ดคคทลโโษุ คนักนโฎสโโนลลูตี ยยโรลทหีีกวยาลริทกีรงััพยอากายราาศปห์บราเราวักสะรบ็ต)กเรอกบบี่ยัณอว)ฑาหิตารและ การบรกิ าร ศูนยก์ ารศึกษานอกที่ตง้ั ตรัง วา่ ท่ีร้อยตรี ดร.ธนพฒั น์ แสงร่งุ เรือง วปสผวททารศขะ..มบ.าธฉ..วาตั((ชินสคาราหหกชธกลาานรกัรรรกกสณมำ�ูตสศบหรขุาวนญุ สศทิ ดตาไยแสชราลท์ตยศะร่ัวา์กไส(ปาโตภ)รรปชบนรัณะวกิทฑอยิตาบ)) ปบวทธร...ดบม... (((รวกฐัิทาปรยรจาะดัศศกาาสาสรตนธรรุศ์แกาลจิสะอตเทารหค)์ าโนรแโลลยะีกภาัตรตาคาร) อาหาร คอาณหบาดร)ีโรงเรียนการเรือน อปศวปท.รราม.ะ.จดบ.ธ.า(.าเ(ร(ศนกเยทราหษ์ครลดวฐโกันิจศรสัยโา.ลวสแตู ยรีลตรีกะเะรทา)์สพรคถอโุ่มติ านทิเหโกาลางดิรยว)บี ทิ ณั ยาฑกติ ารปัญญา) อาจารย์ธติ ิมา แก้วมณี สาขาวชิ าเทคโนโลยอี าหาร รวMอท.Sง.บคc..ณ((เFบทoดคoีฝโdน่าโยMลวยaิชีชnาวีaกภgาาeรพm)ent) ผวววปทททรศะ...บดม.ธด...าร(((นเเเ.ทททนหคคครลโโโานนกันธโสโโลลลิปูตยยยรทีีทีทปวาาาทิ ณุ งงงยอออาเาาากศหหหษาาาาสรรรมต))) รบัณฑติ สาขา ผศ.ดร.ณชั นก นกุ ิจ วชิ าอตุ สาหกรรมการประกอบอาหาร วปทร..ดม.. ((วพทิ ฒั ยนาศาผาสลตติ รภ์กัณาฑรออ์ าุตหสาารห)กรรมเกษตร) ผPBMBวปวททhiiรศ.ooEะ...บมDtt.neeธด...gccาร(((.hhนวเA.ท(ฐnnทิหdAคooติยลvdโllาooaากันvศnggaสโาฟcyyลnตูส))eยcเู รdตผeอี วรdตุ่าิทSส์ สยcSิ่งาiาแceหศวineกดาcnรสลecรต้อeมaมรnเaบก)dnณัษdตฑรติ ) วโรภอทชง.บนค.าณ(กวบาทิ รดย)ฝี า่าศยากสจิตกร์การานรอักาศหึกาษรแาละ กเสพาาือ่ขรชกาะวาชิลราสอโรวภา้ยั ชงเนสารกมิ าสรมแรลระถกภาารพปแระลกะอบอาหาร อาจารย์จารณุ ี วิเทศ ววทท..บม.. ((คคหหกกรรรรมมศศาาสสตตรร์)์ทัว่ ไป) ปสารขะาธวาชินาหคลหกั กสรูตรมรศศลิาปสตศรา์สตรบณั ฑติ อคคปศศราะ..จบมธา..าร((นกกยหาา์อรรลบบคั กั รรรสิหหิ พตู าาลรรรศธธรุุรไิลวกกปิจจิเศชคคายีหหสงกกตครรรรรา้บมมณั ศศาาฑสสติ ตตรร)์)์ สวทิาขยาาวเขชิ ตาคสหุพกรรรณรมบศุราี สตร์ อวกวททาาร..จมดนา..ว(ร(ตัธเยทกรุ ์คกรดรโจิ นมรเทโ).ลจคยนัโนที ทโาลรงยอจ์ ีแานหลาะารกศ)าิรรพิจดั ันธว์ ัฒนา วปสทารขะ.บาธ.วา(ิชนจาลุหเทชลีวคักวโสทินตู ยโรลาว)ยิทกี ยาารศปารสะตกรอบบัณอฑาหิตารและ การบริการ ผศศศ.ม.บ. ุญ(คญหการพรมรศเาชสื่อตมรศสึกมษพา)งษ์ สปค.ารบขะ.าธ(วาคิชนหาหกเทรลรคักมโสนศูตาโรลสวยตทิ ีกรย)์าารศปารสะตกรอบบัณอฑาหติ าร และการบรกิ าร วิทยาเขตสุพรรณบุรี วอทา.จมา. ร(โยภ์สชนรุ ศยี า์พสรตรธ์ศญัึกษญาะ) กจิ สปศษารขะ.บาธ.วา(ิชนคาหหเทลกคักรรโสนมูตโศรลาวยสทิ ีกตยาราร์)ศปารสะตกรอบบณั อฑาหิตารและ ศกนูารยบ์กรากิ ราศรึกษานอกทีต่ ง้ั ล�ำ ปาง 10

อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบ ผปรศ.ด.ด. (รว.ทิณยัชาศนากสตนรุกก์ าิจรอาหาร) อศาาจสาตรรยบ์ผณั ้รู ฑบั ติ ผดิ สชาอขบาหวชิลาักเสทตูครโนวโทิลยยาี หสลาขักาสวูตชิ ราศคิลหปกศรารสมตศราบสณั ตรฑ์ติ วโวภททช..มบน..า((กพวาิทฒั รย)นาาศผาลสติตภรก์ณั าฑรอ์อาุตหสาารหแกลระรมเกษตร) การประกอบอาหารและการบริการ อาจารย์ณจั ยา เมฆราวี วิทยาเขตสพุ รรณบุรี อวทา.จมา. ร(คยหจ์ การรรณุมศี าวสิเตทรศ์) ควทศ..มบ.. ((เอทาคหโานรโแลลยะกี โาภรชจนดั าแกลาะรบ-ธรุรกิ กาิจรออาาหหาารร)) วท.บ. (คหกรรมศาสตร์ท่ัวไป) อาจารย์ธัญลกั ษณ์ อ่นุ สขุ คศผศ.ศบ.ม..บ(.คญุ(คหญหกกรารรพมรมศรศาเสาชสตอื่ ตรม์)รศสึกมษพา)งษ์ วอวททา..จมบา.. ร((คคยหหณ์ กกรรัฐรรธมมดิศศาาาสสกตตริจร)์์)เนตร อววททาห..มบา..ร(()พวทิ ฒั ยนาาศผาลสติตภรแ์ณั ลฑะ์อเทตุ คสโานหโกลรยรีกมาเรกษตร) วอวผททาศห..บม.พา..รร(()วอททิุตวยสีาาธศหนากสสรตรัมมรบแ์ เกลณั ษะเตณทรค์)โนโลยกี าร อาจารยเ์ บญจรัตน์ ประพฤทธ์ติ ระกูล ผศ.มนฤทยั ศรีทองเกดิ ววทท..บม.. ((ควทิหยการศรมาสศตาสรแ์ตลระ์) เทคโนโลยกี าร อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบ ววอททาห..มบา..ร(()ววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรร์กแ์ ลาระอเทาหคโานรโ)ลยกี าร อาหาร) แสหลลาขะักกาสาวตู ริชรบาวรเททิ ิกคยาโารนศโลาสยตกี รารบปณั รฑะกิตอบอาหาร อาจารย์ ดร.ณัชฌา พันธว์ุ งษ์ วอทา.จมา. ร(คยห์ปกวรรติ มรศาาสภตารส)์ รุ กุล ศนู ย์การศกึ ษานอกท่ีตัง้ ลำ�ปาง ปวทร..ดม.. ((Fคuหnกcรtรioมnศaาl สFตoรo์)d and Nutrition) ศษ.บ. (ศึกษาศาสตร์-คหกรรมศาสตร์) วท.บ. (อตุ สาหกรรมเกษตร) ผปรศ.ด.ด. (รว.ัฒโสนรธจั รจรม์ วศิสาสุทตธรแิ )์ พทย์ อาจารยส์ ุรีย์พร ธญั ญะกจิ อปรา.จด.า(รวยิท์ยดารศ.าสตธุ รา์แลสะนิ เที ชค้ินโนทโลอยงผี ลิตภัณฑ์ ศคศ.บ.ม. (.ค(คหหกกรรรมรมศศาสาสตตร)์รศ์ ึกษา) ศวทษ..มบ.. ((โคภหชกนรศรามสศตารสศ์ ตกึ รษ)์ า) ปววททระ..บมม..ง(()วปิทระยมาศง)าสตรก์ ารอาหาร) ผศ.อรรถ ขันสี อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบ ควท.บ.ม. (.อ(เาทหคาโรนแโลละยโกีภาชรนจาัดกแาลระ)บริการอาหาร) อหสาลาจขกั าาสวรตู ชิยราผ์ วกรู้ทิ าบัยรผากศดิ ำ�าชหสอนตบดรแบลณั ะ ฑิต วสหทิลาขยักาาสวเูตขิชรตาศสคลิ ุพหปรกศรราณรสมบตศรุ ราี บสัณตรฑ์ ติ อาจารย์ฐิตวิ รฎา ใยสำ�ลี การประกอบอาหาร อววททาห..บมา..ร(()เวททิ คยโานศโาลสยตที ราแ์ งลอะาเหทาครโ)นโลยกี าร คอศา.จมา. ร(กยาอ์ รบัครริหพาลรธุรไวกจิเชคยีหงกครร้ามศาสตร)์ อาจารย์จรรยา โทะ๊ นาบุตร ผศ.ฉัตรชนก บุญไชย คศ.บ. (การบรหิ ารธุรกจิ คหกรรมศาสตร)์ อวทาห.มา.ร()วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี าร ววทท..บม.. ((สคาหธการรรณมสศุขาสศตาสรท์ตรว่ั ์ไ(ปโภ) ชนวทิ ยา)) อคคศศา..จบมา.. ร((อคยาห์นหกชุารรรนแมาลศฎะาโสภกตชุลรน์ศวาึกทิกษายาร์ )) อวทาห.บา.ร()วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ ววปผททรศ...ดบม.ด... (ร((โพส.ภยาิษชธศวนาิทพารยศณราาสทสพุขาตลศงรอาา์)สยาหตโถรา)์รและโภชนาการ) ผศ.ราตรี เมฆวิลยั วอปอทาราห..จดมา.า.ร(ร()วโยภทิ ์ชยดนารศศ.าาอสสาตตนรรแ์ศ์งลึกใะษจเาทแ)คนโนน่ โลยกี าร อาจารย์ ดร.พรรณรพี เอ่ยี มทวเี จรญิ คค..มบ.. ((กคาหรกบรรรหิมาศรากสาตรรศ)์ กึ ษา) วท.บ. (เทคโนโลยีการอาหาร) ปวอวททารห...ดมบา...ร((()วจวทิทิลุ ยชยาวีาศวศทิาาสสยตตาปรรก์แ์ราะลรยะอุกเทาตหค)์ าโนร)โลยกี าร อาจารยอ์ ทิ ธิพล อเนกธนทรพั ย์ ววปอททรา...จดบม.า.. (ร((วจอยิทุลตุ ์ยชสดาวีารศวห.ิทาภกสยราตารคปรมก์ภรเกาะมู รษยิอุกตคาตรหูป)์)ารระ)เสรฐิ ย่งิ คคศศ..บม.. ((กกาารรบบรริหิหาารรธธุรุรกกจิจิ คคหหกกรรรรมมศศาาสสตตรร์))์ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสูตรวทิ ยา อาจารยจ์ ันทรกานต์ ทรงเดช อาจารย์กนกวรรณ สัทธรรม ศกศาูนารสยปต์กรราะรบกศัณอึกบฑษอิตาานหสอาากรขทแาีต่วลง้ัิชะกาตาเทรรคบังโรนิกโลายรี ววทท..บม.. ((คคหหกกรรรรมมศศาาสสตตรร์)์) คคศศ..บม.. ((ออาาหหาารรแแลละะโโภภชชนนาากกาารร)) อาจารยด์ ษุ ฎี ทรพั ยบ์ วั อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบ ววทท..บม.. ((เเททคคโโนนโโลลยยีหีกาลรงั อกาาหรเากรบ็) เกี่ยว) แสหลลาขะักกาสาวูตรชิ รบาวรเทิทิกคยาโารนศโลาสยตีกรารบปัณรฑะกิตอบอาหาร อาจารย์ทพิ ยพ์ กิ า ธรฤทธิ์ ศคศศ..มบ.. ((คอหาหการรรแมลศะาโสภตชรนเ์ พากอ่ื าพรฒั) นาชมุ ชน) อววนททวาตั..จดมกา.. ร(ร(รธเยทมรุ ์คก)ดโิจนรเทโ.ลจคยนัโนีททโาลรงยอจ์ ีแานหลาะารกศ)าิรริพจดั ันกธารว์ ฒั นา อาจารย์สภุ าวดี นาคบรรพ์ วท.บ. (จุลชีววทิ ยา) ววทท..บม.. ((ววทิิศวยกาศรรามสแตปรก์รราูปรออาาหหาารร)) โปโคผภภศรศชช..ดม.นนด..าา(ร(กกเค.กาาธหษรรรีก))ต))นรรรุชเมขตศฉราาอ้สยนตศ(รอ์ ิร(าอโิ หชาาหตราแิ รลแะละ อาจารยส์ าวิตรี ณวุ งศศ์ รี คศศศ..บบ.. ((ศโภึกชษนาาศกาาสรตชรุม-์ ชคนห)กรรมศาสตร)์ วเวกททษ..บมต..ร(()กวทิารยจาดัศกาาสรตเรท์กคาโรนอโาลหยาอี รุตแสลาะหกรรม โภชนาการ) อวทา.จมา. ร(คยห์สกริ รนิรมทศราท์สติพรย์)์ สตุ ตาพงค์ คผลศติ.บภ. ัณ(อฑา์)หารและโภชนาการ-พัฒนา 11

อเสทาาคจขโาานวรโลชิยยา์ผบีเรู้ทณั บัคผโฑนดิติ โลชยอีอบาหหลากั รสูตร อาจารยธ์ ติ มิ า แกว้ มณี อวทา.จมา. ร(สยขุ เ์ าสภาบิ วาพลอรารหณารป) าละสุวรรณ Mวท.S.บc.. ((เFทoคoโdนโMลยaชีnีวaภgาeพm)ent) วท.บ. (พัฒนาผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร) อาจารย์ ดร.วีระ พุ่มเกดิ อาจารยป์ ยิ วรรณ อยูด่ ี วอทา.จมา. ร(คยห์ปกทัรรมมาศากสาตญร์)จนรักษ์ ศวปท.รม..ดบ. .(.เ((ศกเทราษครวฐโนิจศัยโาลสแยลตีกะรา)์สรถอติ าทิหาางรว)ทิ ยาการปัญญา) วอวททาห..บมา..ร(()วชทิวี วยทิ าศยาา)สตร์และเทคโนโลยกี าร คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ) ผศ.ดร.ปัญญภสั ก์ ปิ่นแก้ว อาจารยย์ ศสินี หัวดง ววผททศ..มบ.ว.. รี ((วเะทิทพคยงโานศศโ์าลวสยริ ตีกฬุ รา์กหราห์ธรมอนักาก)หฤารษ)ณ์ ปวทร..ดม.. ((ววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรรก์์กาารรออาาหหาารร)) ควทศ..มบ.. ((สอาาธหาารรณแลสะุขโศภาชสนตารก์ า(โรภ)ชนวิทยา)) อาจารยก์ ิตติศกั ดิ์ วสันตวิ งศ์ วกทาร.บอ.า(หวาทิ รย)าศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.ชตุ ิปภา สวุ รรณกนษิ ฐ์ ววศท..มบ.. ((ววศิทิ วยการศรามสเตกรษแ์ ตลระ)เทคโนโลยีการ ผศ.ดร.สุวรรณา พิชยั ยงค์วงศ์ดี MPh.S.D. .(E(FnogoindeearnindgNMutarnitiaogneaml Secnite)nces) อาหาร) นปวทาร.น.ดมา..ช((วาวติทิท)ิยย)าาศศาาสสตตรร์ก์กาารรออาาหหาารร)(หลักสตู ร วท.บ. (พัฒนาผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรมเกษตร) วผทศ.ม.พ. ัท(สธาธนาันรณทส์ ศขุ ศราีมส่วตงร์ (โภชนวิทยา)) วกทาร.บอ.า(หวาทิ รย)าศาสตร์และเทคโนโลยี อควทาศห..บบา..ร(()คค)หหกกรรรรมมศศาาสสตตรรท์บัว่ณั ไฑป)ิต (ธรุ กิจ ผศ.ดร.ภทั ราทิพย์ รอดสำ�ราญ อาจารย์ประจำ�คณะ อาจารยห์ ทัยชนก ศรีประไพ วววศศท...ดมบ... (((วววศิิศิทววยกการรศรรามมสกกตาารรร์แออลาาะหหเทาารรค))โนโลยี ววทท..บม.. ((พพษิฒั วนทิ ายผาลทิตาภงณัอาฑห์อาุตรสแลาหะโกภรชรนมาเกกษารต)ร) การอาหาร) ผศ.ดร.พรยุพรรณ พรสขุ สวสั ดิ์ อาจารยส์ นุ ิทรา ชยั ภัย วอทา.จมา. ร(วยิท์กยันาศตาก์สตนรษิ ก์ ฐาร์ อจางหราัตรน) วิทย์ ศปศร..ดม.. ((วกัฒารนบธรรหิ รามรศงาาสนตวรัฒ)์ นธรรม) ววทท..มบ.. ((อวิทาหยาารศแาลสะตโรภ์กชานราแกพาทรยเพ์) ื่อการพัฒนา) อวทาห.บา.ร()วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการ ค.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ผศ.ดร.วราภรณ์ วิทยาภรณ์ คคปผ..รศมบ.ด...ด.((กค(รวาห.ฒัสรกบานรรยรธิหมบราศรงัรมากอสศารตารสรศป์)ตึการษน์)าพ) รม ววปททร...ดมบ... (((พพอุตฒัฒั สนนาาาหผผกลลรติติ รภภมณัณัเกฑฑษอ์อ์ตตุุตรส)สาาหหกกรรรรมมเเกกษษตตรร)) สหอาลาจขกั าาสวรูติชยรา์ผวอู้ริทุตับยสผาาศดิ หาชกสอรตบรรมบัณฑิต อคศา.จมา. ร(อยาป์ หรารมแะละรโอภดชนมาว่ กงาร) ผศ.ดร.อรอนงค์ ทองมี การประกอบอาหาร คศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ศปศร..ดม.. ((วคฒั หนกรธรรมรมศศาสาสตตรศ์ร์)ึกษา) อค.ามจ. า(หรลยกั ์กสาตู ญรแจลนะากาเรฟส่อือนงศ) รี คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ) วผทศ.ด.ด. ร(เ.ทนครโานธโลปิ ยที ปาณุ งอเากหษารม) วท.บ. (คหกรรมศาสตรท์ วั่ ไป) ผปรศ.ด.ด. (รเ.กนษุจตริ ราเขตรรัศอ้ มนไี )พบลู ย์ ววทท..มบ.. ((เเททคคโโนนโโลลยยีทที าางงออาาหหาารร)) อคศา.จมา. ร(คยห์ปกภรรสั มมศนาสเตวรช์ (กอจิาหารและโภชนา)) ศคศ.บ.ม. (.ผ(ผ้าแ้าลและเะคเครื่อรื่องแงตแตง่ กง่ กายา)ย) อาจารย์ ดร.ศวรรญา ปั่นดลสขุ คศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ผศ.ดร.พริ มาลย์ บุญธรรม ววปททร...ดบม... (((เวเททิทคคยโโานนศโโาลลสยยตีทกี ราาก์ งราออราาอหหาาาหรรา))ร) อววททา..จมบา.. ร((พอยุตัฒน์ สนนัาาหทผกลพรติ รรภมรัณเกจุ ฑษขิ อ์ตจุตรร)สหกรรมเกษตร) ศศคศศ.บ..มด. (..ค((อคหาหกชกรีวรรศมรึกมศษศาสาา)สตตร์)ร์ศกึ ษา) ผศ.ดร.กนกกานต์ วีระกุล ผศ.ดร.นฤมล นันทรักษ์ อาจารยป์ ญั จมา ประภาพันธศักดิ์ วPทh..มD.. ((อFุตooสdาหSกcรieรมncเกeษaตnรd) Biotechnology) EMd.H.DE..((InHdoumsteriaEclEodnuocmaitciosn) Management) Mวท.M.บ.. ((Mเทaคnโaนgโeลmยชี eีวnภt)าพ) วท.บ. (อุตสาหกรรมเกษตร) ศศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ศคอศศา..จบมา.. ร((คมยหัณจ์ กฑารรนรกึมศลิศศปาสร์)ตอี รร)์ ุณ อวทา.จมา. ร(คยห์บกษุรรรมาศคามัสตสร)์ีดาเหลอื ง ผูเ้ ชยี่ วชาญด้านอาหาร อาจารย์ธนกิ านต์ นบั วันดี วอทาห.บา.ร()วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการ คคศศ..บม.. ((ออาาหหาารรแแลละะโโภภชชนนาากกาารร-พ)ฒั นาผลติ ภณั ฑ)์ อาจารยท์ รงพล วธิ านวฒั นา วปบวท่าธร...ทบดม..ี่ร. (((้อวรกทิัฐยาปยรตารจรศะัดีศากดสาารตสร.รนธธแ์ ุรศนลกาะิจพสเอทตฒั าครห)์นโนา์ รโแลแสยลกีงะารภรุ่งัตอเตาราหือคางาร)ร) บบธธ..มบ.. ((กกาารรเจปัดน็ กผาู้ปรครระัวกแอลบะกภาัตรต) าคาร) นางสาวนวลเพญ็ ธรรมษา อหาลจกั าสรตู ยร์ผวรู้ทิ ับยผาศิดาชสอตบรบัณฑติ อควทศา..จมบา.. ร((เอยทาเ์คหปโาน็นรโแเลอลยะกกี โาภทรชจรนัดพัาแกยลาะส์ รบ)นิ รกิ ารอาหาร) คศ.บ. (อาหารและโภชนาการ) สอแลาาหขะกาาาวรริชเพชาะอ่ืโลภกอชาวนรยัาสกราา้ รงแเสลระกิมาสรมปรรระถกภอบาพ วอทา.จมา. ร(โยภส์ชนังศวาาสลตยร์์ศชึกมษภา)ูจา นศศา.ยบ.พ(งอศุตสอ์ านหนั กรตร์ มศกริ าแิ รทส่องงไเพทรีย่ ววแัลลยะ์ ศศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ การโรงแรม) ผศ.ดร.ฐติ า ฟูเผา่ อวทา.จมา. ร(วยทิ เ์ ยสาาศวาลสตกั รษแ์ ณละ์ เกทันคโจนินโละยีการ ศนศา.ยบ.ท(ศัอุตเทสาพหกอรงั รกมุรกาาภรทนิ อ่ นั งเทท์ีย่ วและ MBPhi.oE.Dtne.gc(.hA(ndAovdloavngacyn)ecdedScSiceinecneceanadnd อวทาห.บา.ร()อุตสาหกรรมเกษตร) การโรงแรม) วBวททio..บมte..c((hวเทnทิ คoยโlาoนศgโาyลส)ยตีอรตุ ์สสิง่ าแหวกดรลร้อมมเก) ษตร) อาจารย์อศั พงษ์ อุประวรรณา นวทา.บย.น(พโภสชิทนาธก์ิ าภรู่ทแลอะงการประกอบอาหาร) วอวททาห..มบา..ร(()วเททิ คยโานศโาลสยตีอราแ์ หลาะรเ)ทคโนโลยีการ นายนิคมศม อักษรประดิษฐ์ ศMBษ.aB.nม.Aa..g((พeInmฒั teeนrnศntaกึ)tษioาn)al Hotel and Resort 12

ÁÁËËÒÒ ÔÇ ÔÇ· · Ò ÅÒÑ ÅÂÑ ÂÊ ÇÊ Ç´´Ø ÊØ ÊÔ µÔ µ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ Bachelor of Arts Program in Home Economics SS uu aa nn DD uu ss ii tt

หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ระดับปริญญาตรี 1. ชื่อหลกั สูตร หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in Home Economics ภาษาองั กฤษ : 2. ชอื่ ปรญิ ญา ภาษาไทย ชื่อเตม็ ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (คหกรรมศาสตร)์ ชือ่ ย่อ ศศ.บ. (คหกรรมศาสตร)์ ภาษาอังกฤษ ชอื่ เตม็ Bachelor of Arts (Home Economics) ชื่อยอ่ B.A. (Home Economics)) 3. วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร เพอ่ื ผลติ บณั ฑติ ทมี่ คี ณุ ลกั ษณะสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะของสาขาวชิ า ตรงกบั ความตอ้ งการของสงั คมและตลาดแรงงาน ดังน้ี 3.1) มีความรู้และทักษะความเช่ียวชาญด้วยการปฏิบัติด้านคหกรรมศาสตร์ สามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้แบบ บูรณาการงานด้านอาหารและโภชนาการ ศิลปประดิษฐ์ผ้าและเคร่ืองแต่งกาย พัฒนาการมนุษย์และครอบครัว และการ จัดการบ้านและท่อี ยอู่ าศัย 3.2) สามารถคดิ วิเคราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ บริหารจัดการงานดา้ นคหกรรมศาสตร์และท�ำ งานเปน็ ทมี 3.3) มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ดำ�รงไวซ้ ึง่ ศิลปวฒั นธรรมภูมปิ ญั ญาอันดงี ามของไทย 3.4) แสดงออกถงึ วัฒนธรรมความเป็นสวนดสุ ิต บุคลิกภาพ ความอ่อนนอ้ มถ่อมตน ความประณีต จติ บริการ และ ความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ครอบครัว และสังคม 3.5) มเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ งานดา้ นคหกรรมศาสตร์ สามารถเรยี นรตู้ อ่ ยอดเพอื่ พฒั นาตนเอง เชอื่ มโยงและบรู ณาการองค์ ความรู้เพ่อื การสรา้ งสรรคแ์ ละพัฒนางาน 3.6) สามารถสอื่ สารทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ และสามารถใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยี 4. อาชพี ที่สามารถประกอบได้หลงั ส�ำ เร็จการศกึ ษา 4.1) อาชีพอสิ ระทางดา้ นคหกรรมศาสตร์ 4.2) ผูป้ ระกอบการทางดา้ นคหกรรมศาสตร์ 4.3) เจา้ หนา้ ทงี่ านภาครฐั และเอกชน เชน่ นกั พฒั นาคหกรรมศาสตรใ์ นพนื้ ทเี่ ขตเมอื ง นกั วจิ ยั และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ 4.4) ครูด้านคหกรรมศาสตร์ (ในกรณีทเ่ี รียนครบตามหลกั สูตรวิชาชีพครู) 14

โครงสรา้ งหลกั สูตร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 123 หนว่ ยกติ มสี ดั สว่ นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวชิ าและ กล่มุ วชิ า ดังน้ี 1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 30 หนว่ ยกิต 2. หมวดวชิ าเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 87 หนว่ ยกิต 2.1 กล่มุ วชิ าพ้ืนฐานวชิ าชีพ 18 หนว่ ยกิต 2.2 กลมุ่ วชิ าเฉพาะ 63 หนว่ ยกติ - วชิ าเฉพาะบงั คบั 27 หนว่ ยกิต - วิชาเฉพาะเลือก 36 หน่วยกติ 2.3 กล่มุ วิชาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี 6 หนว่ ยกิต 3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไม่น้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ กรณีท่ีนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ที่มีความประสงค์จะไปสอบเพื่อรับใบ ประกอบวิชาชีพครู จะต้องเรียนรายวิชาในกลมุ่ วชิ าชีพครูเพมิ่ อีกจ�ำ นวน 30 หนว่ ยกิต การจดั การเรยี นการสอน 30 หน่วยกิต หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 3(2-2-5) 1500202 ความเป็นสวนดสุ ิต 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 3(2-2-5) 1500122 ทกั ษะการสอ่ื สารภาษาไทย 3(2-2-5) Thai Language Communication Skills 3(3-0-6) 1500123 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั วิถชี ีวติ สมยั ใหม ่ 3(2-2-5) English for Modern Lifestyle 3(3-0-6) 1500124 ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สารสากล 3(2-2-5) English for International Communication 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกิน 3(2-2-5) Food for Life 2500119 วิถีชวี ิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวยี น Lifestyle for Circular Economy 2500120 คณุ ค่าของความสุข Values of Happiness 2500121 พลเมืองไทยและพลเมอื งโลก Thai and Global Citizens 4000114 จดุ ประกายความคิดเชงิ ธรุ กจิ Business Thinking Inspiration 4000115 การใช้ชีวิตในยคุ ดิจทิ ัล Living in the Digital Era หมวดวชิ าเฉพาะ เรียนไมน่ อ้ ยกว่า 87 หนว่ ยกิต กล่มุ วิชาพื้นฐานวชิ าชีพ 18 หน่วยกิต 4501201 ทัศนศลิ ป์สำ�หรบั งานคหกรรมศาสตร ์ Visual Arts for Home Economics 3(3-0-6) 4502109 เทคโนโลยีส�ำ หรับงานคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Technology for Home Economics 3(1-4-4) 4511207 การคัดเลอื กวตั ถุดบิ อาหารและการเตรียม Raw Materials Selection and Preparation 15

4543901 ระเบยี บวิธีการวจิ ัยพัฒนาการมนุษย์และครอบครวั 3(2-2-5) Research Methods in Human Development and Family Science 4502901 การสัมมนาทางคหกรรมศาสตร ์ 3(3-0-6) Seminar in Home Economics 4502110 ภาษาองั กฤษเพือ่ งานคหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) English for Home Economics กล่มุ วิชาเฉพาะ เรียนไม่น้อยกว่า 63 หนว่ ยกติ วิชาเฉพาะบังคับ 27 หน่วยกติ 4511208 อาหารสวนดุสติ (อาหารและขนมไทย) 3(1-4-4) Suan Dusit Thai Cuisine (Thai Cuisine and Desserts) 4512227 อาหารอาเซียน 3(1-4-4) ASEAN Cuisine 4512228 อาหารไทยและศลิ ปะการตกแต่งอาหาร 3(1-4-4) Thai Cuisine and Decorative Arts 4511109 การจดั การโภชนาการสำ�หรับครอบครัวและเด็ก 3(1-4-4) Nutrition Management for the Family and Child 4513105 อาหารทางเลอื กและอาหารสมดุล 3(1-4-4) Alternative Food and Balanced Diet 4513307 การให้บริการอาหารปรมิ าณมาก 3(1-4-4) Commercial Quantity Food Service Production 4511209 สขุ าภิบาลและความปลอดภยั สำ�หรับการใหบ้ ริการอาหาร 3(2-2-5) Sanitation and Safety for Food Service 4521306 แฟชน่ั และเสน้ ใย 3(1-4-4) Fashion and Fiber 4551105 ศิลปะการจัดดอกไม้ 3(1-4-4) Arts of Flower Arrangements วชิ าเฉพาะเลอื ก เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกติ 4513250 อาหารยโุ รป 3(1-4-4) European Cuisine 3(1-4-4) 4513251 ขนมอบ และเพสตร้ี 3(1-4-4) Bakery and Pastry 3(1-4-4) 5073629 ศาสตรก์ ารดแู ลและหลกั โภชนาการสำ�หรับผสู้ ูงอายุ 3(1-4-4) Nursing Science and Nutrition for Older People 3(1-4-4) 4512229 การถนอมอาหารและแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ 3(1-4-4) Food Preservation and Product Processing 3(1-4-4) 4512230 อาหารนานาชาติและศิลปะการตกแต่งอาหาร International Cuisine and Decorative Arts 4552113 ศิลปะงานมาลัยแบบสรา้ งสรรค์ Creative Arts of Flower Garlands 4553426 การแกะสลกั วัสดุเน้อื ออ่ น Soft Material Carving 4552410 ศลิ ปะงานใบตองวิจติ รศิลป์ Fine Arts of Banana-leaf Crafts 16

4522104 พฤติกรรมมนษุ ยก์ ับเครอ่ื งแต่งกาย 3(1-4-4) Dress and Human Behavior 3(1-4-4) 4533402 การจดั การงานแมบ่ ้าน 3(3-0-6) Housekeeping Management 3(3-0-6) 4532303 การจดั การบ้านเรอื นและชุมชนท่ีอย่อู าศัย Home and Community Management 4503102 การสือ่ สารภาษาองั กฤษ English Communication หมายเหตุ : 1. นกั ศึกษาเลอื กเรียนรายวชิ าเฉพาะเลอื กท้ังหมด 36 หนว่ ยกิต หรือ 2. นกั ศึกษาเลือกเรียนรายวชิ าเฉพาะเลอื กเพอ่ื เพิ่มทักษะด้านอาหารและโภชนาการ จ�ำ นวน 15 หนว่ ยกิต และทักษะดา้ นภาษาองั กฤษ จ�ำ นวน 3 หน่วยกติ และเลอื กเรียนจากกลุ่มวชิ าเลือกเสรีท่จี ัดใหก้ ับนกั ศึกษาสาขาวิชาอน่ื ๆ แทนรายวิชาเฉพาะเลือกเพ่อื เพ่ิมทกั ษะตามความสนใจได้อย่างนอ้ ย จ�ำ นวน 18 หนว่ ยกติ กลมุ่ วชิ าฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ 6 หนว่ ยกติ 4503803 การฝึกประสบการณว์ ิชาชีพคหกรรมศาสตร์ 6(600) Home Economics Practicum หมวดวชิ าเลอื กเสรไี มน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกิต เลือกเรยี นรายวชิ าใด ๆ ในหลกั สตู รระดับปริญญาตรมี หาวิทยาลยั สวนดุสติ โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมา แลว้ และจะตอ้ งไมเ่ ป็นรายวิชาท่ีกำ�หนดใหเ้ รยี นโดยไมน่ บั หน่วยกิตรวมในเกณฑก์ ารส�ำ เรจ็ การศึกษา ใหเ้ ลือกเรียนรายวชิ าเลอื กเสรตี ่อไปนท้ี จี่ ัดให้กบั นกั ศกึ ษาสาขาวิชาอน่ื เพอื่ เพิม่ ทักษะตามความสนใจ วิชาเลือกเสรที หี่ ลักสูตรจัดใหก้ บั นักศึกษาสาขาวชิ าอน่ื ๆ เพอื่ เพิ่มทกั ษะตามความสนใจ 4523308 ผลิตภัณฑส์ ่ิงทอ 3(1-4-4) Textile Products 4523405 ผ้าสำ�หรบั งานบรกิ าร 3(1-4-4) Fabric for Services 4524501 เทคโนโลยกี ารซัก อบ รีด 3(1-4-4) Laundry Technology 4523309 หลกั การตดั เยบ็ เบอื้ งต้น 3(1-4-4) Basic Principles of Clothing Construction 4523102 เสือ้ ผ้าส�ำ หรบั บุคคลทุกช่วงวัย 3(1-4-4) Clothing for People of All Ages 4523209 การออกแบบและการดดั แปลงเส้อื ผา้ 3(1-4-4) Clothing Design and Alterations 4553124 การจัดดอกไมใ้ นโอกาสพเิ ศษ 3(1-4-4) Flower Arrangements for Special Occasions 4553125 งานดอกไม้ในประเพณีไทย 3(1-4-4) Flower Arrangements in the Thai Tradition 4553427 เครือ่ งหอมของช�ำ ร่วย 3(1-4-4) Incense Souvenirs 4553428 เคร่ืองแขวนไทยรว่ มสมยั 3(1-4-4) Contemporary Thai Mobiles 4553429 พานดอกไม้ 3(1-4-4) Flowers Pedestal Tray 17

4553126 ศิลปะการจดั ดอกไมร้ ่วมสมัย 3(1-4-4) Art of Contemporary Flower Arrangements 3(1-4-4) 4553430 ช่อดอกไมแ้ ละกระเชา้ ของขวัญ 3(1-4-4) Bouquet and Gift Basket 3(1-4-4) 4553431 งานป้นั แบบสร้างสรรค ์ 3(1-4-4) Creative Sculpture 3(3-0-6) 4553206 งานประดษิ ฐ์ดอกไมเ้ ทยี ม Artificial Flower Crafts 4513252 การแกะสลักผักผลไม้เพอื่ งานอาหาร Fruit and Vegetable Carving for Food 4503103 การเป็นผ้ปู ระกอบการดา้ นคหกรรมศาสตร์ Entrepreneur in Home Economics กรณีท่ีนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ ที่มีความประสงค์จะไปสอบเพื่อรับใบ ประกอบวชิ าชีพครู จะตอ้ งเรียนรายวชิ าในกลมุ่ วิชาชพี ครูเพ่ิมอกี จ�ำ นวน 30 หน่วยกิต 1015106 ความเปน็ ครูวิชาชพี 3(3-0-6) Teaching Profession 1055403 จติ วิทยาสำ�หรบั คร ู 3(3-0-6) Psychology for Teachers 1045112 การวัดและประเมินผลการศึกษาและการเรยี นร ู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment 1035701 เทคโนโลยดี ิจิทลั เพื่อการเรยี นรูอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ 3(3-0-6) Digital Technology for Creative Learning 1025209 หลกั สูตรและการจัดการเรยี นร ู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management 1045409 การวจิ ัยและการพัฒนานวัตกรรมเพอื่ พัฒนาผเู้ รยี น 3(3-0-6) Research and Innovation Development to Enhance Learners 1065503 การบริหารการศกึ ษาและภาวะผนู้ �ำ ของครูวิชาชพี 3(3-0-6) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers 1015107 การสอ่ื สารภาษาไทยส�ำ หรบั ครู 3(3-0-6) Thai Communication for Teachers 1015108 การสอ่ื สารภาษาอังกฤษส�ำ หรบั ครู 3(3-0-6) English Communication for Teachers 1085102 การศกึ ษาพเิ ศษ 3(3-0-6) Special Education 18

คำ�อธิบายรายวชิ า หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 4501201 ทัศนศลิ ปส์ �ำ หรับงานคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Visual Arts for Home Economics องคป์ ระกอบศลิ ปะทเี่ ก่ียวข้องในงานคหกรรมศาสตร์ ศิลปะในการสร้างสรรคต์ กแตง่ ออกแบบผลงาน เพ่อื นำ�ไปประกอบอาชพี ทางดา้ นคหกรรมศาสตร์ Elements of arts in home economics; the art of creative decoration design, product design for the home economics profession 4502109 เทคโนโลยสี ำ�หรบั งานคหกรรมศาสตร ์ 3(2-2-5) Technology for Home Economics ทักษะการใช้เทคโนโลยีและอุปกรณ์ในการงานคหกรรมศาสตร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถนำ�ไปใช้ ประโยชน์ในงานคหกรรมศาสตร์ โปรแกรมการคำ�นวณด้านการเงินและการบัญชี โปรแกรมการจัดการทางด้านอาหาร โปรแกรมการเขียนงานออกแบบเพื่อนำ�เสนอ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยสี ารสนเทศระบบงานในองคก์ รใหม้ ีความทัน สมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ Skills on technology and equipment in home economics, computerized programs to be used in home economics, financial and accounting calculation program, food management program, design programs for presentation; use of workflow IT to become a modernized and efficient organization 4511207 การคดั เลอื กวตั ถดุ ิบอาหารและการเตรยี ม 3(1-4-4) Raw Materials Selection and Preparation หลกั การเลอื กซอ้ื วตั ถดุ บิ การคดั คณุ ภาพ การค�ำ นวณตน้ ทนุ ราคาวตั ถดุ บิ ประเภทของวตั ถดุ บิ อาหาร การเตรยี ม วัตถุดิบอาหาร การเลือกใช้อุปกรณ์ในการเตรียม การห่ัน การตัดแต่งให้เหมาะสมกับชนิดอาหาร การเก็บรักษาวัตถุดิบ อาหารหลังการเตรยี ม การเกบ็ รกั ษาท่อี ณุ หภมู ิห้อง การแช่เย็น การแช่แข็ง เพื่อให้คงคุณภาพและปลอดภัย Principles of ingredient purchasing; quality selection; calculation of ingredient costs; types of ingredients; ingredient preparation; selection of kitchen equipment for cut and decoration of each food; conservation of food after preparation; conservation at room temperature; food chilling and freezing for nutrition preservation and safety 4543901 ระเบียบวธิ ีการวิจัยพฒั นาการมนษุ ยแ์ ละครอบครวั 3(2-2-5) Research Methods in Human Development and Family Science แนวคิด ทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์และครอบครัว พฤติกรรมมนุษย์แต่ละช่วงวัย พัฒนาการครอบครัว การ วิเคราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คล หลักการและแนวคดิ พ้นื ฐานของการวิจยั เชงิ ปริมาณและเชิงคุณภาพของพัฒนาการ มนษุ ย์และครอบครัว กระบวนการวิจัย เคร่อื งมือและกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการวิเคราะห์ขอ้ มูล และการน�ำ เสนอ ขอ้ มูลวจิ ัยเชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ Theories and concepts of human and family development; human behaviors at different ages; family development; an analysis of interpersonal relations; basic concepts and principles of quantitative and qualitative human and family development research; research methods; tools and data collection process, data analysis, and presentation of quantitative and qualitative data 19

4502901 การสัมมนาทางคหกรรมศาสตร์ 3(3-0-6) Seminar in Home Economics ศาสตรค์ หกรรมกบั การด�ำ รงชวี ติ หลกั เศรษฐศาสตร์ การสมั มนาหวั ขอ้ เฉพาะทางคหกรรมศาสตร์ การสมั มนา องค์ความรู้ การวิจัย นวัตกรรม และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย การอ่านและเขียนบทความวิชาการ ด้าน คหกรรมศาสตร์ การน�ำ เสนองาน การใชภ้ าษากายทีม่ ีประสิทธิภาพ และบุคลกิ ภาพทด่ี ี Home economics and life; principles of economics, seminars on specific issues of home economics; seminars on knowledge, research, innovation, and modern technology; reading and composing academic articles in home economics; work presentation; using efficient body language and having pleasant personality 4502110 ภาษาอังกฤษเพือ่ งานคหกรรมศาสตร์ 3(2-2-5) English for Home Economics การพัฒนาทักษะฟัง พดู อา่ น และการเขยี นภาษาองั กฤษ เพอื่ การสอื่ สารในชีวติ ประจ�ำ วนั คำ�ศัพท์เฉพาะ ทางคหกรรมศาสตร์ และการใช้ภาษาองั กฤษในบริบททเี่ ก่ียวขอ้ งกบั งานด้านคหกรรมศาสตรแ์ ละงานบริการ English skill development in listening, speaking, reading and writing for everyday communication; home economics technical terms; using English in home economics and services 4511208 อาหารสวนดสุ ิต (อาหารและขนมไทย) 3(1-4-4) Suan Dusit Thai Cuisine (Thai Cuisine and Desserts) เอกลักษณ์อาหารสวนดุสิต เคร่อื งปรุง เคร่อื งแนม เคร่ืองจิม้ เครอ่ื งเคียง เทคนิคการประกอบอาหาร การจัด สำ�รับอาหาร อปุ กรณ์เครื่องมอื และการจัดบรกิ ารอาหาร การจดั ตกแตง่ โต๊ะอาหาร การเลือกใชผ้ า้ ในการจัดบริการอาหาร การจัดดอกไม้บนโตะ๊ อาหาร มาตรฐานการบริการและบคุ ลกิ ภาพท่เี หมาะสมใน การใหบ้ ริการอาหาร Uniqueness of Suan Dusit recipe: condiments, dipping, side dishes, cooking techniques, food set, equipment, and food service; dining table decoration; selection of clothes for food service; flower arrangements for a dining table; service standards and personality in food serving 4512227 อาหารอาเซยี น 3(1-4-4) ASEAN Cuisine วัฒนธรรมอาหารในภูมิภาคอาเซียน วัตถุดิบและหลักการประกอบอาหารประจำ�ชาติในภูมิภาคอาเซียน มาตรฐานและข้อบงั คบั ของอาหารฮาลาล วัตถดุ ิบ เครอ่ื งปรงุ อุปกรณ์ เครอื่ งมือเครือ่ งใช้ การปรุงประกอบ เครื่องหมายฮาลาล ASEAN food culture; ingredients and cookery principles of ASEAN nations; standards and regulations of halal food: ingredients, condiments, kitchen equipment, cooking methods and halal symbols 4512228 อาหารไทยและศิลปะการตกแตง่ อาหาร 3(1-4-4) Thai Cuisine and Decorative Arts การประกอบอาหารไทย ขนมไทย ตามวฒั นธรรมและเอกลกั ษณเ์ ฉพาะของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ การเลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ การเตรียม การปรุงประกอบ การตกแต่งและจัดองค์ประกอบของจานอาหารแบบสร้างสรรค์ การจัดเสิร์ฟ การรักษา มาตรฐานของอาหาร การคิดคำ�นวณต้นทนุ การผลิต Cooking Thai food and desserts of local cultures and identities; selection of ingredients; preparation and cooking; decoration and dish composition with creativity; food serving, food standard preservation, and calculation of production costs 20

4511109 การจดั การโภชนาการส�ำ หรบั ครอบครัวและเด็ก 3(1-4-4) Nutrition Management for the Family and Child โภชนาการตอ่ การดำ�รงชีวิต การเปลยี่ นแปลงทางสรรี วิทยา ทงั้ สงั คม อารมณ์ และจิตใจ ความต้องการสาร อาหารและพลงั งานของเดก็ ทารก เดก็ เล็ก เด็กวัยก่อนเรียน เด็กวัยเรียน วยั รนุ่ วยั ผูใ้ หญ่ วัยสูงอายุ รวมถึงหญงิ มคี รรภ์ และหญิงใหน้ มบุตร การจ�ำ แนกประเภทสารอาหาร อาหารหลัก 5 หมู่ ลักษณะอาหารทเ่ี หมาะสมกบั พัฒนาการของเดก็ การประกอบอาหารเพอ่ื สง่ เสรมิ ภาวะโภชนาการส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ ปญั หาสขุ ภาพทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ภาวะโภชนาการ การก�ำ หนด รายการอาหาร และการประกอบอาหารสำ�หรับบุคคลในครอบครวั ทกุ ชว่ งวัย Nutrition for living; physiological changes: social, emotional, and psychological changes; nutrition and energy needs of infants, babies, pre-school children, school students, teenagers, adults, older adults, including pregnant women and breastfeeding mothers; classification of five main food nutrients; food for child development; cooking for nutrition promotion of older adults; health problems related to nutrition; dietetics and cooking for family members of all ages 4513105 อาหารทางเลือกและอาหารสมดลุ 3(1-4-4) Alternative Food and Balanced Diet ความหมายและความส�ำ คญั ของอาหารทางเลอื ก อาหารสมดลุ วตั ถดุ บิ วธิ กี ารปรงุ อปุ กรณใ์ นการผลติ อาหาร การดแู ลสขุ ภาพในรปู แบบของ Intermittent Fasting (IF) Ketogenic Diet และ Low Carb การรบั ประทานอาหารมงั สวริ ตั ิ อาหารเจ และอาหารตามหลักศาสนา Definitions and importance of alternative food, balanced diet, ingredients, cooking methods, cooking equipment; healthcare with Intermittent Fasting (IF), Ketogenic Diet and Low Carb; vegan, vegetarian and religious foods 4513307 การให้บรกิ ารอาหารปริมาณมาก 3(1-4-4) Commercial Quantity Food Service Production การเตรียมให้บริการอาหารปริมาณมาก การวางแผนรายการอาหาร การเตรียมวัตถุดิบ การลดการสูญเสีย ในขั้นตอนการเตรียมอาหาร การประกอบอาหารปรมิ าณมาก การจัดเตรยี มบคุ ลากรใน งานครัวและงานใหบ้ รกิ ารอาหาร การจดั สถานทสี่ ำ�หรบั บรกิ ารอาหาร การดูแลให้บรกิ ารลกู ค้า Food preparation for catering; menu planning; ingredient preparation; food waste reduction during the preparation process; cookery for catering; staff training for kitchen and food serving tasks; place setting for catering; customer care and service 4511209 สขุ าภบิ าลและความปลอดภัยส�ำ หรบั การให้บริการอาหาร 3(2-2-5) Sanitation and Safety for Food Service พ้นื ฐานสขุ าภิบาลอาหาร สุขลักษณะที่ดสี ว่ นบุคคลของผใู้ ห้บรกิ ารอาหาร ความสำ�คญั ของสุขลกั ษณะทดี่ ใี น การใหบ้ รกิ ารอาหาร การจดั การสขุ าภบิ าลในสถานประกอบการอาหาร ความปลอดภยั ของอาหาร การเสอื่ มเสยี ของอาหาร อาหารเป็นพษิ และอนั ตรายจากสารกอ่ ภมู ิแพ้ Foundations of food sanitation; pleasant personal hygiene of food service persons; importance of pleasant hygiene for food service; sanitation management in food production enterprises; food safety; food deterioration; food poisoning and the dangers of allergic substances 21

4521306 แฟช่นั และเส้นใย 3(1-4-4) Fashion and Fiber เสน้ ใย เส้นดา้ ย ผืนผา้ การเลอื กชนดิ ของผนื ผา้ ให้เหมาะสมกบั การใช้งาน การเลือก การใชอ้ ุปกรณ์ การดูแล รกั ษาอุปกรณต์ ดั เย็บ การเย็บตะเขบ็ ต่าง ๆ การทำ�แบบตดั พน้ื ฐาน และการตัดเยบ็ เสือ้ ผ้าแบบงา่ ย การประยกุ ตห์ ลกั ศลิ ป์ หลกั การออกแบบ การออกแบบ แนวโนม้ แฟช่ัน แรงบันดาลใจในการออกแบบเสื้อผา้ เคร่อื งแต่งกาย Fibers; threads; fabric; fabric selection for usage; the selection, use and care of sewing equipment; seam finishing; basic pattern-making and simple clothing construction; use of arts and design principles; fashion trends; inspiration for clothing design 4551105 ศลิ ปะการจดั ดอกไม้ 3(1-4-4) Arts of Flower Arrangements หลักการทางศิลปะ การประยุกต์ใช้องค์ประกอบศิลป์ในการจัดดอกไม้ท่ีเก่ียวกับชีวิตในวิถีไทย การเลือก การเตรยี ม การใช้ การดแู ลรักษาวัสดุ วธิ แี ละขัน้ ตอนการจดั ดอกไม้แบบสากลเบือ้ งตน้ และแบบไทยเบ้อื งตน้ ท่ใี ช้ในชวี ติ ประจำ�วนั และโอกาสพเิ ศษ Principles of arts; application of arts to flower arrangements; the banana-leaf art in Thai ways of life; the selection, preparation and care of materials; basic methods and processes of international flower arrangements; the banana-leaf art in daily life and special occasions 4513250 อาหารยโุ รป 3(1-4-4) European Cuisine วัฒนธรรมอาหารยุโรป คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีเก่ียวข้อง ความรู้เก่ียวกับวัตถุดิบ อุปกรณ์และเคร่ืองมือ การเตรียม หลักการและเทคนิคการปรุงประกอบอาหารยุโรป การเก็บรักษา การถนอมอาหาร การจัดเสิร์ฟ วัฒนธรรม การรับประทาน European food culture; English vocabulary related to European cuisine; knowledge of ingredients, kitchen equipment, tools, and food preparation; methods and techniques of European food cooking; food conservation and preservation; serving; dining cultures 4513251 ขนมอบ และเพสตรี้ 3(1-4-4) Bakery and Pastry คำ�จำ�กัดความของขนมอบ และเพสตร้ี ประเภทวัตถุดิบ เครื่องมือและอุปกรณ์ กรรมวิธีการผลิตคุกกี้ เค้ก พาย ทารต์ ชูวส์เพสตรี้ โดนัท และขนมปงั การตกแตง่ การแต่งหน้าเคก้ เบ้อื งต้น รปู แบบ เทคนิคการจัดเสิรฟ์ การจัดท�ำ ต�ำ รับมาตรฐาน Definitions of bakery and pastry; types of ingredients; tools and equipment; production processes of cake, pie, tart, Choux pastry, doughnut and bread; decoration; cake decoration; serving techniques; production of a standard recipe 22

5073629 ศาสตร์การดแู ลและหลกั โภชนาการสำ�หรับผสู้ ูงอายุ 3(3-0-6) Nursing Science and Nutrition for Older People ความหมาย หลักการ แนวคิด และทฤษฎีผสู้ งู อายุ สภาวะสขุ ภาพของผสู้ ูงอายุ หลกั การและทฤษฎกี ารออก กำ�ลงั กายทีเ่ หมาะสมส�ำ หรบั ผ้สู ูงอายุ ไดแ้ ก่ การเดิน การวิ่งจอ๊ กกงิ้ การกายบรหิ าร ไทเกก๊ ชกี่ ง และโยคะ การเลือกวธิ ี การออกก�ำ ลงั กายเพอื่ ฟนื้ ฟสู มรรถนะส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ การประเมนิ สภาวะสขุ ภาพ ของผสู้ งู อายุ การค�ำ นวณความตอ้ งการ พลงั งานและสารอาหารส�ำ หรบั การเสรมิ สรา้ งสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ การเลอื กชนดิ ของอาหารและรปู แบบอาหารทเี่ หมาะสม ส�ำ หรบั ผสู้ งู อายุ การจดั โภชนาการใหเ้ หมาะสมกบั สภาวะสขุ ภาพของผสู้ งู อายุ แนวทางการแกไ้ ขและการปอ้ งกนั ปญั หาทาง โภชนาการของผสู้ ูงอายุ การเสริมสรา้ ง สขุ ภาวะทางอารมณแ์ ละสุขภาพสมองดว้ ยกิจกรรมนันทนาการท่ีเหมาะสมส�ำ หรับ ผู้สูงอายุ Definitions, principles, concepts and theories of older people; health conditions of older people; principles and theories of appropriate exercise for older people: walking, jogging, body exercise, tai chi, qigong, and yoga; selection of exercise for rehabilitation of older people; health assessment of older people; calculation of energy and nutrients required for health promotion of older people; selection of food and appropriate diet for older people; nutrition preparation appropriate for health conditions of older people; guidelines for nutritional problem prevention and treatment of older people; emotional well-being and brain health enhancement by recreational activities appropriate older people 4512229 การถนอมอาหารและแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ 3(1-4-4) Food Preservation and Product Processing หลกั การถนอมอาหาร การแปรรปู อาหาร การจดั การหลงั การเกบ็ เกยี่ ววตั ถดุ บิ อาหาร กระบวนการ เทคโนโลยี การถนอมและแปรรปู อาหาร ไดแ้ ก่ การใช้ความรอ้ น การแช่เย็น การแช่แข็ง การทำ�แหง้ การทำ�ใหเ้ ข้มขน้ การหมกั การใช้ วตั ถเุ จือปนอาหาร บรรจภุ ณั ฑอ์ าหาร และการพฒั นาผลติ ภัณฑอ์ าหาร บรรจภุ ณั ฑ์อาหาร Principles of food preservation and processing; post-harvest management; the process and technology of food preservation and processing: heating, chilling, freezing, drying, concentrating, fermenting, using food additives; food packages and packaging development 4512230 อาหารนานาชาตแิ ละศลิ ปะการตกแต่งอาหาร 3(1-4-4) International Cuisine and Decorative Arts ประวตั คิ วามเป็นมาและวัฒนธรรมอาหารตา่ งชาติ วัตถดุ ิบ วิธีการประกอบอาหารระดับพนื้ ฐาน รูปแบบการ จดั เสริ ฟ์ อาหารจนี อาหารอติ าลี อาหารฝรง่ั เศส อาหารเกาหลี อาหารญป่ี นุ่ และอาหารเวยี ดนาม ศลิ ปะการจดั จานอาหาร แบบสร้างสรรค์ และการเลือกใชว้ ตั ถุดบิ ในการจัดตกแต่งจานอาหาร History and culture of foreign foods; ingredients; basic cooking methods; serving styles of Chinese, Italian, French, Korean, Japanese, and Vietnamese cuisine; the art of creative decoration; the selection of ingredients for food decoration 4552113 ศิลปะงานมาลยั แบบสรา้ งสรรค ์ 3(1-4-4) Creative Arts of Flower Garlands ประเภท รปู แบบ การออกแบบ การเลือก การเตรียม การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ การรอ้ ยมาลัย ในรปู แบบตา่ ง ๆ และแบบสร้างสรรค์ตามสมัยนยิ ม เพอ่ื น�ำ ไปใชใ้ นโอกาสพเิ ศษและเชิงธุรกจิ Types, patterns, designs, selection, preparation, and equipment usage; the making of creative flower garlands for special occasions and businesses 23

4553426 การแกะสลกั วัสดุเนือ้ ออ่ น 3(1-4-4) Soft Material Carving ความเป็นมา ความสำ�คัญ ความหมาย ประโยชน์ การแกะสลกั ผัก ผลไม้ สบู่ และเทียน การเลือกวสั ดุ การเต รยี ม การใช้ การดูแลรักษาวัสดุอปุ กรณ์ การแกะสลกั ลวดลายพ้นื ฐาน Background, importance, definitions, benefits; carving of vegetables, fruits, soaps and candles; the selection of materials, preparation, use and care of equipment; basic pattern carving 4552410 ศิลปะงานใบตองวิจิตรศิลป์ 3(1-1-4) Fine Arts of Banana-leaf Crafts หลกั ศลิ ปะ การออกแบบ รปู แบบงานใบตองวจิ ติ รศลิ ป์ การเลอื ก การเตรยี ม การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ ขน้ั ตอนและ วิธกี ารประดษิ ฐ์ชน้ิ งานจากใบตองและวสั ดุอนื่ ๆ เพ่อื ใชใ้ นงานประเพณีนยิ มและโอกาสพเิ ศษ Principles of arts and design; patterns of fine arts of banana-leaf crafts; the selection and preparation of materials and equipment; techniques of banana-leaf crafts and other materials for traditions and special occasions 4522104 พฤติกรรมมนษุ ย์กับเครื่องแตง่ กาย 3(1-4-4) Dress and Human Behavior พฤตกิ รรมและการบรโิ ภคเครอ่ื งแตง่ กาย ศลิ ปะการแตง่ กาย การเลอื กเสอ้ื ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กาย ใหเ้ หมาะสม กบั วยั รปู รา่ ง บคุ ลกิ ภาพ โอกาส สถานท่ี สภาพแวดลอ้ ม วฒั นธรรม และสมยั นยิ ม การดแู ลรกั ษาเสอ้ื ผา้ และเครอ่ื งแตง่ กาย และการซ่อมแซมเสอ้ื ผ้า Behaviors and purchases of apparel; the art of dressing; apparel selection for different age groups, body types, personality, places, environments, cultures and trends; clothing and fabric care; garment repair 4533402 การจัดการงานแม่บ้าน 3(1-4-4) Housekeeping Management ความรทู้ วั่ ไป หลกั การจดั การของงานแมบ่ า้ น โครงสรา้ งการบรกิ ารงานแมบ่ า้ น หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ มรรยาท และ จรรยาบรรณของแม่บ้าน กระบวนการท�ำ งานบา้ น การเลือกเครอ่ื งมือเครอื่ งใชใ้ นการทำ�ความสะอาด เทคนคิ การท�ำ ความ สะอาด การดแู ลรกั ษา ตรวจสอบความเรียบรอ้ ยตามสขุ ลกั ษณะ ความปลอดภยั และการจัดเก็บข้อมลู เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง กับงานแม่บา้ น Knowledge, management of housekeeping; housekeeping service structure; responsibility, etiquette and ethics; housekeeping procedures; the selection of tools and equipment for cleaning; cleaning techniques; maintenance; ensuring hygiene; safety and document storage to housekeeping 4532303 การจัดการบ้านเรอื นและชมุ ชนทอี่ ยอู่ าศยั 3(3-0-6) Home and Community Management การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในบ้านและชุมชนที่อยู่อาศัย ความปลอดภัยและอันตรายที่สามารถเกิดข้ึนได้ใน บ้านและชมุ ชนที่อยอู่ าศยั การซอ่ มแซมและปรับปรงุ บา้ นเรือนและทอ่ี ยอู่ าศยั การจัดตกแต่งภายในและภายนอกบ้านและ ชมุ ชนท่อี ย่อู าศยั การบริหารจัดการเงินและทรพั ยส์ นิ สว่ นกลางของชมุ ชนท่ีอยู่อาศัย กฎหมายระเบยี บข้อบังคบั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง กบั การจัดการและดแู ลชมุ ชนท่อี ยู่อาศัย Management of home and community environment; safety and danger within home and community; home repairs; home and community decoration; community finance and property management; laws and regulations of home and community management 24

4503102 การส่ือสารภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Communication การพัฒนาทกั ษะการสือ่ สารภาษาองั กฤษ ฟงั พูด อ่าน เขียน การทดสอบและเทคนคิ การทำ�แบบทดสอบวัด ระดับความสามารถดา้ นภาษาอังกฤษทงั้ ในดา้ นวชิ าการและเพื่อการสอื่ สาร English skill development: listening, speaking, reading and writing; testing and techniques for academic and communicative English proficiency tests 4503803 การฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพคหกรรมศาสตร์ 6(600) Home Economics Practicum ฝึกปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการภายในมหาวิทยาลัยสวนดุสิต หรือสถานประกอบการอื่นทั้งภาครัฐ และเอกชน รวมถึงรัฐวิสาหกิจ ทางดา้ นคหกรรมศาสตร์ โดยบูรณาการศาสตร์ของคหกรรมในด้านอาหารและโภชนาการ ผา้ และการแตง่ กาย ศลิ ปะประดษิ ฐแ์ ละงานสรา้ งสรรค์ พฒั นาการมนษุ ยแ์ ละครอบครวั และดา้ นครอบครวั ทอ่ี ยอู่ าศยั เพอ่ื ฝึกประสบการณจ์ ริงกอ่ นส�ำ เร็จการศึกษา Practicum at Suan Dusit University enterprises or other places: public, private organizations or public enterprises with integration of home economics domains: food and nutrition, fabric and dressing, crafts and creative arts, human and family development, and home and community, before graduation 4523308 ผลิตภณั ฑ์สง่ิ ทอ 3(1-4-4) Textile Products รปู แบบผลิตภัณฑส์ ่ิงทอ และโอกาสใช้สอย การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ การเย็บของใชข้ องตกแต่ง การออกแบบและ พฒั นาผลิตภัณฑ์ส่งิ ทอ เสือ้ ผ้า เครอ่ื งแต่งกาย เคร่ืองใช้และเคหะสง่ิ ทอ และการดูแลรกั ษาผลิตภณั ฑส์ ่งิ ทอ Styles and functions of textile products; using materials and equipment; decorative sewing; design and development of textile products; clothes and costumes; home textiles and textile product care 4523405 ผ้าส�ำ หรับงานบริการ 3(1-4-4) Fabric for Services งานบริการผ้าในด้านท่ีพักอาศัย ด้านการจัดเล้ียง การเลือกผ้าอย่างเหมาะสมกับการใช้งาน การเลือกผ้า ส�ำ หรบั เครอื่ งนอน การจัดห้องอาหาร การจัดเล้ียง และการจัดงาน Fabric services in residential accommodations and catering; the selection of clothes for different purposes; the selection of fabric for bedding, dining room arrangements, catering, and events 4524501 เทคโนโลยีการซัก อบ รีด 3(1-4-4) Laundry Technology รูปแบบ วิธีการซกั การอบ การรีด และขจัดคราบเป้อื น อุปกรณ์ซัก อบ รีด การวเิ คราะห์ความเสียหายท่เี กดิ กับเสอ้ื ผา้ และการปอ้ งกนั Types, washing methods, drying, ironing and stain removal; washing equipment; an analysis of fabric damage and protection 4523309 หลักการตัดเย็บเบอ้ื งต้น 3(1-4-4) Basic Principles of Clothing Construction การเลือก การใช้อุปกรณ์ การดูแลรักษาอุปกรณ์ตัดเย็บ การเย็บตะเข็บต่าง ๆ การกำ�หนด ขนาดรูปแบบ การค�ำ นวณผ้า การเลอื กผ้า การเตรียมผา้ การวัดตัว การท�ำ แบบตดั พน้ื ฐาน และการตดั เย็บเสอ้ื ผ้าแบบงา่ ย The selection, use, and maintenance of sewing equipment; seam finishing; pattern sizes; cloth calculation, fabric selection and preparation; body measurements; basic patterns making and simple clothing construction 25

4523102 เสอ้ื ผ้าสำ�หรบั บุคคลทกุ ชว่ งวัย 3(1-4-4) Clothing for People of All Ages การเลอื กซ้อื เลือกใช้ผา้ ให้เหมาะสมกบั บคุ คล การออกแบบ การตดั เย็บ เสื้อผ้าและผลิตภัณฑจ์ ากผ้าสำ�หรบั เดก็ แรกเกดิ เดก็ กอ่ นวยั เรยี น วยั เรยี น วยั รนุ่ วยั ผใู้ หญแ่ ละผสู้ งู อายุ การเลอื ก การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ และเทคนคิ การดดั แปลง เสื้อผา้ Clothing purchases and wearing for an individual; design, sewing, and clothes for the newborns, pre-school children, students, teenagers, adults and older adults; the selection and use of materials and equipment; alteration techniques 4523209 การออกแบบและการดัดแปลงเสอ้ื ผ้า 3(1-4-4) Clothing Design and Alterations การประยกุ ต์หลักศิลป์ หลักการออกแบบเสื้อผา้ เครื่องแตง่ กาย การเลือก การใช้วสั ดุ อุปกรณ์ แรงบนั ดาล ใจในการดัดแปลงเสอ้ื ผ้า เทคนิคการดดั แปลงเส้อื ผา้ The application of art and clothing design principles; apparel; the selection and use of materials and equipment; inspiration for clothing alterations; clothing alteration techniques 4553124 การจดั ดอกไม้ในโอกาสพเิ ศษ 3(1-4-4) Flower Arrangements for Special Occasions ความสำ�คัญ รูปแบบ การออกแบบ การจัดดอกไม้ในงานเล้ียงรับรองและงานพิธี การจัดดอกไม้ตกแต่ง สถานท่ี แท่นพธิ ี โต๊ะอาหาร Importance, patterns, design of flower arrangements for receptions and official ceremony; flower arrangements for place, podium and dining table decoration 4553125 งานดอกไม้ในประเพณไี ทย 3(1-4-4) Flower Arrangements in the Thai Tradition งานดอกไมใ้ นประเพณีเกย่ี วกับชีวิตและสงั คมไทย การออกแบบ การเลอื ก การเตรียม การใช้วัสดุ อปุ กรณ์ การประดษิ ฐแ์ ละเทคนิคการจดั ดอกไม้แบบประณตี ศิลปแ์ ละแบบไทยรว่ มสมยั The art of flowers in Thai traditions: life and society; design, selection, preparation and use of materials and equipment; crafts and techniques for flower arrangements: fine arts and contemporary Thai styles 4553427 เครอื่ งหอมของช�ำ รว่ ย 3(1-4-4) Incense Souvenirs ความเป็นมา ความสำ�คัญ เครื่องหอมและของชำ�ร่วย การออกแบบ การเลือก การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การผลิตเครื่องหอมไทยและการประดษิ ฐ์ของช�ำ ร่วย บรรจภุ ัณฑ์ และการน�ำ ไปใช้ในชวี ติ วฒั นธรรม Background and importance of incense souvenirs; design, selection and preparation of materials and equipment; production and crafts of Thai incense souvenirs and packaging; cultural use of incense products 4553428 เคร่อื งแขวนไทยร่วมสมยั 3(1-4-4) Contemporary Thai Mobiles รูปแบบ ประเภท ประโยชน์ และโอกาสของการใช้งานเครื่องแขวนไทยร่วมสมัย การออกแบบ การเลือก การเตรยี ม การใช้ การประดิษฐเ์ คร่ืองแขวนขนาดเลก็ ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ สำ�หรับโอกาสพเิ ศษ Patterns, types, benefits and opportunities of using contemporary Thai mobiles; design, selection and preparation of materials and equipment; the making of small-sized, medium-sized and large-sized mobiles for special occasions 26

4553429 พานดอกไม ้ 3(1-4-4) Flowers Pedestal Tray ความเป็นมา รูปแบบ ประโยชน์ของการจัดพานดอกไม้ การออกแบบ การเลือก การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การจดั พานดอกไมใ้ นรูปแบบต่าง ๆ รูปแบบดง้ั เดิม รูปแบบสมัยนิยม Background, patterns and benefits of flower pedestal trays; design, selection and preparation of materials and equipment; arrangements of flower pedestal trays: traditional patterns and popular styles 4553126 ศิลปะการจดั ดอกไม้ร่วมสมยั 3(1-4-4) Art of Contemporary Flower Arrangements ความเป็นมา รูปแบบ ศิลปะการจัดดอกไม้ในภาชนะ จัดดอกไม้แบบสากลร่วมสมัย แบบไทยร่วมสมัย การเลือก การเตรยี ม การใช้ การดูแลรกั ษา วสั ดุอุปกรณก์ ารจดั ดอกไม้ การจดั ดอกไมเ้ พอ่ื ใช้ใน การตกแต่งสถานท่ี Background, patterns and arts of flower arrangements in containers: International and contemporary Thai styles; the selection, preparation, use and care, equipment material; flower arrangements for place decoration 4553430 ชอ่ ดอกไมแ้ ละกระเชา้ ของขวญั 3(1-4-4) Bouquet and Gift Basket การออกแบบ รูปแบบการจัดช่อดอกไม้และกระเช้าของขวัญ แบบไทย แบบสากล การเลือก การเตรียม การดูแลรักษา การจดั ผลงานเพ่อื ใช้มอบในโอกาสต่าง ๆ Designs and patterns of bouquets and gift baskets: Thai and international styles; the selection, preparation, care and arrangements of bouquets and gift baskets for various occasions 4553431 งานปัน้ แบบสร้างสรรค์ 3(1-4-4) Creative Sculpture หลกั ศลิ ปะการปนั้ จากวสั ดุประเภทดนิ ไทย รปู ทรงต่าง ๆ การเลือก การเตรยี ม การดแู ลรกั ษา การออกแบบ เพอื่ นำ�ไปใช้เปน็ ของเล่น ของใช้ ของตกแต่ง เครอ่ื งประดบั และของช�ำ ร่วย ตามสมัยนยิ ม Principles of sculpture by using Thai clay; selection, preparation, care and design of clay toys, wares, decoration, accessories and souvenirs 4553206 งานประดิษฐด์ อกไมเ้ ทยี ม 3(1-4-4) Artificial Flower Crafts ความเป็นมา ความสำ�คัญ ประเภท วัสดุอุปกรณ์การประดิษฐ์ดอกไม้เทียม การออกแบบ การสร้างแบบ การประดษิ ฐ์ดอกไม้จากวัสดุธรรมชาติ วัสดเุ หลือใชแ้ ละอ่ืน ๆ Background, importance, categories and materials for artificial flower crafts; the design, modelling and crafts of artificial flowers from natural materials, waste and other materials 4513252 การแกะสลกั ผกั ผลไม้เพือ่ งานอาหาร 3(1-4-4) Fruit and Vegetable Carving for Food ความส�ำ คัญ ประโยชน์ การแกะสลกั ผักและผลไมเ้ พ่ืองานอาหาร การเลือก การเตรียม การใช้ การดูแลรกั ษา วัสดอุ ปุ กรณ์ การแกะสลักเพ่ือการรับประทาน เพอ่ื จดั ตกแตง่ จานอาหาร เพ่ือการตกแตง่ อาหารในงานจดั เลีย้ ง Importance and benefits of fruit and vegetable carving for food; the selection, preparation, use and care of equipment; carving for meals, dish and banquet decorations 27

4503103 การเป็นผปู้ ระกอบการดา้ นคหกรรมศาสตร ์ 3(3-0-6) Entrepreneur in Home Economics แนวคดิ การบริหารธุรกจิ ในศตวรรษท่ี 21 บทบาทและความสำ�คัญของการบริหารธรุ กิจยุคใหม่ องคป์ ระกอบ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ การบริหารความเส่ียง การจัดทำ�แผนธุรกิจ การเตรียมพร้อมสำ�หรับการเป็น ผู้ประกอบการทางด้านคหกรรมศาสตร์ Business administration concepts in the 21st century; roles and importance of business administration in a modern era; elements; an analysis of business environments; risk management; composing the business plans; preparation for becoming home economics entrepreneurs 1015106 ความเป็นครวู ิชาชพี 3(3-0-6) Teaching Profession แนวคิดและปรัชญาการศึกษา ววิ ัฒนาการการศึกษากับการเปลี่ยนแปลงบรบิ ทโลกและสังคม แนวคิด กลวิธี การจัดการศึกษาและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน อุดมการณ์และ จิตวิญญาณความเป็นครู จิต อาสา คุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณและมาตรฐานวิชาชพี ครู คณุ ลักษณะของครูทดี่ ี การพฒั นาความเป็นครวู ชิ าชีพให้ มีความรอบรู้ ทนั สมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง Educational concepts and philosophies, educational evolution, transformation in global and social contexts, concepts and strategies in educational management including sufficient economy philosophy for sustainable development, ideology and spirituality of teaching profession, public mind, morality, ethics, code of conduct and standards of teaching profession, qualifications of good teachers, development of teaching professionalism to contain mastery, modernity, and keeping up with changes 1055403 จติ วทิ ยาสำ�หรับคร ู 3(3-0-6) Psychology for Teachers จิตวิทยาพ้ืนฐานและจติ วิทยาพฒั นาการของมนษุ ย์ จติ วทิ ยาการเรียนรู้และจติ วทิ ยาการศกึ ษา จิตวิทยาการ แนะแนวและการให้คำ�ปรึกษา การให้คำ�แนะนำ�ช่วยเหลือผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ใช้จิตวิทยาเพ่ือความเข้าใจและ สนบั สนุนการเรยี นรขู้ องผเู้ รยี นใหเ้ ตม็ ศักยภาพ Fundamental psychology and human development psychology, learning psychology, educational psychology, guidance and counseling psychology to help guide students to have a better life, usage of psychology to understand, support, and fulfill the students’ learning potential 1045112 การวัดและประเมนิ ผลการศึกษาและการเรียนร ู้ 3(3-0-6) Educational and Learning Measurement and Assessment แนวคิด หลักการ เป้าหมาย แนวทางการวัดและประเมินผลทางการศึกษาและการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 การออกแบบ สรา้ ง และเลือกใช้วิธกี ารวัดและเทคโนโลยกี ารประเมินเพอื่ แก้ปญั หาและพฒั นาผ้เู รยี นอย่างเหมาะสม การ ฝึกปฏิบตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประเมนิ พัฒนาการและการให้ผลปอ้ นกลับแก่ผเู้ รยี นใหเ้ หมาะสมตามชว่ ง วยั แนวคดิ หลักการ จุดมงุ่ หมายและกระบวนการของการประกนั คุณภาพการศึกษาเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาใหไ้ ด้ มาตรฐานสากล Concepts, principles, goals, and direction of educational and learning measurement and assessment in the 21st century, design, creation, and selection of measurement methods and technology to suitably solve problems and develop learners, practices on measurement and assessment relevant to learning, assessment of learner’s progress, provision of feedbacks to the learners according to their age ranges properly, Concepts, principles, goals, and process of educational assurance to enhance educational quality according to international standards 28

1035701 เทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ 3(3-0-6) Digital Technology for Creative Learning หลักการ แนวคิดและกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารการศึกษาสมัยใหม่ การ เปลย่ี นแปลงรปู แบบแนวคิดทางการศึกษาและกรอบการพัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ฝกึ ปฏิบตั ผิ ลติ ประยุกต์ใช้สื่อและ เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น การคน้ ควา้ พฒั นาแหลง่ เรยี นรแู้ ละเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ การสรา้ ง และพฒั นาเทคโนโลยีดิจิทัลโดยบรู ณาการข้ามศาสตร์เพ่ือการเรยี นรูอ้ ยา่ งสร้างสรรค์ Principles, concepts, and modern information technology development process, educational conceptual format transformation and learning framework in the 21st century, production and implementation of media and digital technology for benefiting learners, research and development of learning resources and network, development and creation of multidisciplinary-integrated digital technology for creative learning 1025209 หลักสตู รและการจัดการเรียนรู้ 3(3-0-6) Curriculum and Learning Management หลกั การ ทฤษฎกี ารพฒั นาหลกั สตู ร ตามแนวคดิ ปรชั ญาทตี่ อบสนองเปา้ หมายเพอ่ื พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี ณุ ภาพ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงสมรรถนะ การออกแบบเน้ือหาสาระโดยบูรณาการกับสภาพบริบทที่แตกต่างกันของผู้ เรียนและท้องถ่นิ หลักสตู รสองภาษา วิทยาการการจัดการเรยี นรศู้ าสตร์การสอนทเี่ น้นผเู้ รยี นเป็นส�ำ คญั การวางแผนและ การออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบมีสว่ นรว่ มฝึกปฏิบตั ิ การจดั การเรียนรูแ้ ละการจัดการชัน้ เรียนแบบเผชญิ หน้าและแบบ เสมอื นจรงิ ในห้องเรยี นปกตแิ ละหอ้ งเรยี นอัจฉริยะ Principles theories of curriculum development established on philosophical concepts responding to goals of learners’quality development, competency-based school curriculum development, content design integrated with diverse contexts of learners and their local areas, bilingual curriculum, learning management science, learner-centered approaches, planning and design of participated learning management, practicum of face-to-face and virtual practices on learning and classroom management in the normal and smart classrooms 1045409 การวิจัยและการพัฒนานวัตกรรมเพ่ือพฒั นาผู้เรียน 3(3-0-6) Research and Innovative Development to Enhance Learners แนวคดิ หลกั การเบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั วธิ วี ทิ ยาการวจิ ยั การคดิ เชงิ นวตั กรรม รปู แบบการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นานวตั กรรม การออกแบบการวจิ ัยเพอื่ แก้ปญั หาและพัฒนาผูเ้ รยี น ฝึกทักษะศกึ ษา คน้ ควา้ วจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม การบูรณาการ ความรู้ในศาสตร์การสอนกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนผ่านกระบวนการวิจัย สมรรถนะทางการวิจัยในบริบทการศึกษา สมยั ใหม่ การน�ำ เสนอผลการวิจยั และนวตั กรรมอย่างมีจรรยาบรรณ Concepts, basic principles related to research methodology, innovative thinking, research model for innovation development, research design for problem solving and development of learners, skill practices on study, search, research, and innovative development, integration of knowledge relevant to learning science and development of learner’s qualities though research process, research competencies in the modern educational contexts, presentation of research and innovation ethically 1065503 การบริหารการศกึ ษาและภาวะผ้นู �ำ ของครูวชิ าชีพ 3(3-0-6) Educational Administration and Leadership of Professional Teachers แนวคิด หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา กฎหมายการศึกษาและแนวโน้มการศึกษาใน อนาคต การศึกษาบริบทของชมุ ชน การสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผปู้ กครองและชุมชนบนพ้ืนฐานความแตกต่างทาง วฒั นธรรมเพอื่ ส่งเสริมการเรยี นรูท้ ีม่ คี ุณภาพ การจดั ท�ำ โครงการทางการศกึ ษาเพื่อพัฒนาผเู้ รยี น แนวคดิ ทฤษฎภี าวะผนู้ ำ� การเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทของครวู ชิ าชพี การพฒั นาภาวะผนู้ �ำ และบคุ ลกิ ภาพเพอื่ เปน็ ตน้ แบบและด�ำ รงเกยี รตขิ องครวู ชิ าชพี Concepts, principles, and theories related to educational administration, educational laws, study of community contexts, building collaborative networks with parents and communities on multicultural basis to enhance learning quality of learners, operation of educational projects for learner’s development, concepts, theories of transformative leaders in teaching profession context, development of leadership and personality to be master teachers and maintain honor of professional teachers 29

1015107 การสือ่ สารภาษาไทยส�ำ หรบั ครู 3(3-0-6) Thai Communication for Teachers หลักและลักษณะส�ำ คญั ของภาษาไทยเพ่ือการสอี่ สารส�ำ หรบั ครูในรูปแบบต่าง ๆ ชนดิ ของคำ� การใชค้ �ำ วลี ประโยค หลกั การอ่านร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง หลักการและเทคนคิ การเขยี นทางการและไม่เป็นทางการ การฟงั และการดู อยา่ งมวี จิ ารณญาณ การฝึกพูดต่อหนา้ ท่ปี ระชุมชนและการใช้ภาษาเพอ่ื การเปน็ ครมู อื อาชีพ Principles and main characteristics of Thai language for a teachers’ variety of communication; type of words, usages of words, phrases, and sentences; principles of reading prose and poetry; principles and techniques of formal and informal writing; critical listening and observing; practice speaking publicly, including using language as a professional teacher 1015108 การส่ือสารภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครู 3(3-0-6) English Communication for Teachers การพัฒนาทักษะการฟัง พดู อ่าน เขยี น ภาษาองั กฤษ การสนทนาในสถานการณ์ต่าง ๆ เก่ียวกับความสนใจ งานอดิเรก ประสบการณส์ ่วนตัว การใช้ส�ำ นวนภาษาองั กฤษในชวั ติ ประจ�ำ วนั ทเี่ หมาะสมกบั สถานการณแ์ ละถูกกาลเทศะ ค�ำ ท่มี คี วามหมายเหมือนหรือตรงกนั ขา้ มกนั การเขยี นจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรือข้อความโต้ตอบกับเพื่อนเพื่อขอและให้ข้อมูลอย่างง่าย ๆ การสืบค้นข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับวิชาชีพจากแหล่งข้อมูลท่ี นา่ เชอื่ ถอื และหลากหลาย การพูดน�ำ เสนองาน การใชส้ ื่อเทคโนโลยเี ป็นเคร่อื งมือในการฝึกทักษะการพดู ฟัง อ่าน เขียน ภาษาองั กฤษ Development of English skills in listening, speaking, reading and writing, English conversation in various situations about the interests, hobbies, personal experiences, the proper use of English idioms in daily life, synonyms and antonyms, writing an e-mail or message interact simply with friends to ask for and give information, the information retrieval related to the profession from a reliable and various sources, oral presentations, using media technology as a tool to practice listening, speaking, reading, writing in English 1085102 การศกึ ษาพิเศษ 3(3-0-6) Special Education ความหมาย ความสำ�คัญและความเป็นมาของการศึกษาพิเศษ กฎหมายและพระราชบัญญัติที่เก่ียวข้อง ประเภทเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ การคดั กรอง การบรกิ ารชว่ ยเหลอื ระยะแรกเรมิ่ การศกึ ษาแบบเรยี นรวม เทคโนโลยี สอ่ื สงิ่ อ�ำ นวยความสะดวกส�ำ หรบั เดก็ ทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล เทคนคิ การสอนเดก็ ทม่ี คี วาม ต้องการพิเศษ Definition, importance and history of special education, related laws and statute, types of children with special needs, screening, early intervention service, inclusive education, technology, media and facilities for children with special needs, individualized education program, techniques for teaching children with special needs 30

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยี การประกอบอาหารและการบรกิ าร Bachelor of Science Program in Culinary Technology and Service S u a n D uS su ia t n D u s i t

หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบรกิ าร ระดบั ปรญิ ญาตรี 1. ชือ่ หลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบริการ ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Culinary Technology and Service 2. ชอื่ ปรญิ ญา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : วิทยาศาสตรบณั ฑิต (เทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบรกิ าร) ชือ่ ยอ่ : วท.บ. (เทคโนโลยีการประกอบอาหารและการบรกิ าร) ภาษาองั กฤษ ช่อื เตม็ : Bachelor of Science(Culinary Technology and Service) ช่อื ยอ่ : B.Sc. (Culinary Technology and Service) 3. วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร เพื่อสรา้ งบณั ฑติ ใหม้ ีคณุ ลักษณะและคณุ สมบัติ ดงั น้ี 3.1) มคี วามรู้ ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร ศิลปะการประกอบอาหาร การบรหิ ารจดั การ และ การบรกิ ารอาหาร 3.2) ประยุกตใ์ ชค้ วามรูเ้ พ่อื พฒั นางานด้านอาหารและการบริการใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทงั้ ในและตา่ งประเทศ 3.3) มคี วามสามารถในการส่อื สารเพอื่ ปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3.4) มบี ุคลิกภาพดีและมจี ติ บริการ 3.5) มีคุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบวชิ าชพี ทางการประกอบอาหารและการบริการ 4. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดห้ ลังส�ำ เร็จการศกึ ษา 4.1) เจา้ หนา้ ทป่ี ฏบิ ัติงานด้านการผลติ และบริการอาหาร ในอุตสาหกรรมบริการอาหาร* 4.2) เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการขายสนิ ค้าในอุตสาหกรรมบริการอาหาร*และโรงงานอตุ สาหกรรมอาหาร** 4.3) ผู้แทนจ�ำ หนา่ ยสินคา้ ในอุตสาหกรรมบรกิ ารอาหาร*และโรงงานอุตสาหกรรมอาหาร** 4.4) อาจารย/์ นักวิชาการดา้ นการผลติ และการบริการอาหาร 4.5) ประกอบอาชพี อสิ ระดา้ นอาหาร ได้แก่ นักเขียน นักวิจารณอ์ าหาร เปน็ ต้น 4.6) ผูป้ ระกอบการดา้ นการผลติ อาหารและการบริการอาหาร หมายเหตุ * อตุ สาหกรรมบรกิ ารอาหาร หมายถึง ร้านอาหาร ภตั ตาคาร โรงแรม โรงพยาบาล ครัวกลาง ครัวสายการบิน เรอื ส�ำ ราญ รถไฟ และรถทวั ร์ ** โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร หมายถงึ โรงงานแปรรูปผลติ ภณั ฑ์อาหาร 32

โครงสรา้ งหลักสตู ร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 145 หนว่ ยกติ มสี ดั สว่ นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวชิ าและ กลมุ่ วชิ า ดังน้ี จำ�นวนหน่วยกติ รวมตลอดหลกั สูตร 145 หนว่ ยกติ 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 33 หน่วยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะ 106 หน่วยกติ 2.1 กลมุ่ วชิ าแกน 18 หนว่ ยกิต 2.2 กลมุ่ วิชาเฉพาะด้าน 73 หนว่ ยกิต 2.3 กลุ่มวชิ าเลือก 12 หน่วยกติ 2.4 กลุ่มวชิ าฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ 3 หนว่ ยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรไี ม่นอ้ ยกว่า 6 หน่วยกิต การจัดการเรียนการสอน 33 หนว่ ยกิต หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 3(2-2-5) 1500202 ความเป็นสวนดุสิต 3(2-2-5) Suan Dusit Spirit 3(2-2-5) 1500122 ทักษะการสอ่ื สารภาษาไทย 3(2-2-5) Thai Language Communication Skills 3(3-0-6) 1500123 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับวถิ ชี ีวิตสมยั ใหม่ 3(2-2-5) English for Modern Lifestyle 3(3-0-6) 1500124 ภาษาองั กฤษเพอื่ การส่อื สารสากล 3(2-2-5) English for International Communication 3(2-2-5) 2500118 อาหารการกนิ 3(2-2-5) Food for Life 3(2-2-5) 2500119 วถิ ีชวี ิตตามแนวคิดเศรษฐกจิ หมุนเวียน Lifestyle for Circular Economy 2500120 คณุ คา่ ของความสุข Values of Happiness 2500121 พลเมอื งไทยและพลเมอื งโลก Thai and Global Citizens 4000114 จดุ ประกายความคิดเชงิ ธรุ กจิ Business Thinking Inspiration 4000115 การใชช้ วี ิตในยุคดจิ ิทัล Living in the Digital Era 4000113 ควาเขา้ ใจและการใชด้ จิ ทิ ลั Digital Literacy หมวดวชิ าเฉพาะ 106 หน่วยกิต วิชาแกนเรียน 18 หน่วยกิต 5071102 คณิตศาสตรก์ ารอาหาร Culinary Mathematics 3(3-0-6) 5071201 จุลชวี วทิ ยาอาหาร Food Microbiology 5071403 ชวี เคมอี าหาร 3(2-2-5) Food Biochemistry 3(2-2-5) 33

5071701 ฟสิ ิกสก์ ารประกอบอาหาร 3(2-2-5) Culinary Physics 3(2-2-5) 5071702 เคมวี เิ คราะห์อาหาร Food Analytical Chemistry 5074315 สถิติและการวางแผนการทดลองในการวิจัยดา้ นอาหาร 3(3-0-6) Statistics and Experimental Design for Food Research 73 หนว่ ยกติ วิชาเฉพาะดา้ น ไมน่ ้อยกวา่ 3(3-0-6) 5073344 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับงานบริการด้านอาหารและเครื่องดื่ม 3(3-0-6) English for Food and Beverage Service 4(4-0-8) 5072322 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย ี English for Food Science and Technology 3(2-2-5) 5074317 ทกั ษะภาษาอังกฤษส�ำ หรบั การเขยี นเชิงวิชาการและการนำ�เสนองาน 3(2-2-5) English Academic Writing and Presentation Skills 5071303 วิทยาศาสตร์การประกอบอาหาร 3(2-2-5) Culinary Science 3(3-0-6) 5072419 เทคโนโลยขี ้าว Rice Technology 3(3-0-6) 5071309 เทคโนโลยีการครวั และความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน 3(2-2-5) Kitchen Technology and Work Safety 5073307 ความปลอดภยั ของอาหารและการสขุ าภบิ าล 3(2-2-5) Food Safety and Sanitation 3(2-2-5) 5072604 โภชนาการสำ�หรับการประกอบอาหาร 3(2-2-5) Culinary Nutritions 3(2-2-5) 5072311 ความร้เู กย่ี วกับอาหารและการเตรียม 3(2-2-5) Food Knowledge and Preparation 3(2-2-5) 5072312 เทคนคิ การผลิตเบเกอร ี 3(2-2-5) Bakery Techniques 3(2-2-5) 5072313 เทคนิคการอบและผลติ เพสตรี ้ Baking and Pastry Techniques 3(2-2-5) 5072324 อาหารยโุ รป 1 3(2-2-5) Cuisines of Europe I 5073345 อาหารยุโรป 2 Cuisines of Europe II 5072325 อาหารไทยดั้งเดมิ Traditional Thai Cuisine 5072326 อาหารไทยรว่ มสมยั Contemporary Thai Cuisine 5073346 ขนมไทยดัง้ เดิม Traditional Thai Desserts 5074318 การประกอบอาหารเอเชีย 1 Culinary of Asia I 5073347 การจดั บริการเครื่องด่มื Beverage Service 5073348 การจัดการงานบรกิ ารอาหาร Food Service Management 34

5073349 การเป็นผปู้ ระกอบการธุรกจิ อาหาร 3(2-2-5) Entrepreneurship in Food Business 3(2-2-5) 5073350 เทคโนโลยสี ารสนเทศยคุ ดจิ ิทัลในธุรกิจบรกิ ารอาหาร 3(2-2-5) Digital Technology in Food Service Business 3(2-2-5) 5074414 การพฒั นาผลติ ภณั ฑอ์ าหาร 3(3-0-6) Food Product Development 5073341 การพฒั นาบุคลากรและการฝกึ อบรมดา้ นเทคโนโลยีอาหาร 12 หนว่ ยกติ Human Resource Development and Training in Food Technology 3(2-2-5) 5073351 การควบคมุ ต้นทนุ อาหารและเคร่ืองดมื่ 3(2-2-5) Food and Beverage Cost Control 3(2-2-5) วิชาเลือก เลอื กเรยี น 3(2-2-5) ให้นกั ศกึ ษาเลือกเรียนไดต้ ามความถนดั หรอื ความสนใจให้ครบ 12 หน่วยกิต 3(2-2-5) 5073318 อาหารมงั สวริ ตั ิ Vegetarian Cuisine 3(2-2-5) 4552111 ศลิ ปะงานใบตอง และการแกะสลกั ผกั -ผลไม ้ 3(2-2-5) Art of Banana Leaf and Vegetable-fruit Carving 5073352 การประกอบอาหารไทยท้องถน่ิ 3(2-2-5) Culinary of Local Thai Food 3(2-2-5) 5073353 อาหารว่างไทย Thai Snacks 3(2-2-5) 5073354 ขนมไทยพื้นบ้านและขนมไทยรว่ มสมยั 3(3-0-6) Local and Contemporary Thai Desserts 5073355 การประกอบอาหารเอเชยี 2 3(2-2-5) Culinary of Asia II 3(2-2-5) 5073356 วฒั นธรรมอาหารเกาหล ี Korean Cuisine Culture 3(2-2-5) 5073107 การประกอบอาหารโมเลกลู าร์ 3(3-0-6) Molecular Gastronomy 5073357 อาหารหวานยโุ รป 3(3-0-6) European Desserts 5073358 การตกแต่งเบเกอรแี ละเพสตรี ้ 35 Bakery and Pastry Decoration 5072104 การจัดการอุตสาหกรรมอาหาร Food Industrial Management 5073330 การจดั ตกแตง่ อาหารเพื่อการโฆษณา Food Styling 5073331 การจดั บรกิ ารร้านอาหารรว่ มสมยั Contemporary Restaurant Service 5073359 การผลิตอาหารเพื่อการบริการบนเครื่องบนิ Food Production for Airline Services 5073333 การตลาดธุรกิจบริการ Marketing for Service Business 5073334 การจดั การห่วงโซ่อปุ ทานและโลจิสตกิ Supply Chain Management and Logistic

5073342 อุตสาหกรรมการผลติ อาหารฮาลาล 3(2-2-5) Halal Food Production Industry 3(2-2-5) 5073360 การบรหิ ารธรุ กจิ แฟรนไชส ์ 3(3-0-6) Franchise Management 3571108 จติ วทิ ยาในอุตสาหกรรมบริการ Psychology in Service Industry 1(150) กลุ่มวชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ให้เรียน 3 หน่วยกิต จากรายวิชาต่อตอ่ ไปน้ี 5074804 การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านในสถาบัน 2(1,200) Internship 5074813 ฝึกปฏิบัตงิ านในสถานประกอบการผลิตและบรกิ ารอาหาร Externship หมวดวชิ าเลอื กเสรีไมน่ ้อยกว่า 6 หนว่ ยกิต ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรมี หาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ โดยไมซ่ �ำ้ กบั รายวชิ าทเ่ี คยเรยี น มาแล้ว และจะต้องไม่เปน็ รายวชิ าทกี่ ำ�หนดให้เรียนโดยไมน่ ับหนว่ ยกติ รวมในเกณฑก์ ารส�ำ เรจ็ หลกั สตู รฯ 36

คำ�อธบิ ายรายวชิ า หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารประกอบอาหารและการบริการ ต 5071102 คณิตศาสตรก์ ารอาหาร 3(3-0-6) Culinary Mathematics ทฤษฎจี �ำ นวนเบอื้ งตน้ การบวก การลบ การคณู การหารเศษสว่ นทศนยิ ม อตั ราสว่ นรอ้ ยละ เซต สมการ กราฟรปู ทรงเรขาคณติ การคำ�นวณพ้ืนทแ่ี ละปรมิ าตรของรูปทรงเรขาคณติ การชงั่ การตวง การวัด และระบบของ หนว่ ยวดั การแปลงหนว่ ยน�้ำ หนกั และปริมาตร การค�ำ นวณรอ้ ยละผลได้ การคำ�นวณต้นทนุ การผลติ ตอ่ หนว่ ย การ ค�ำ นวณและก�ำ หนดราคาขาย การค�ำ นวณกำ�ไร-ขาดทุน และการค�ำ นวณจุดคุ้มทนุ The basic of number theory, addition, subtraction, multiplication, division, fraction, decimal, ratio, percent, set, equation, graphs, geometric shapes, area and volume of geometricshapes, weighing, measuring, measuring systems, unit conversions, percent yield, cost per unit, pricing, profits and loss, break-even point calculation 5071201 จุลชวี วิทยาอาหาร 3(2-2-5) Food Microbiology ความรพู้ น้ื ฐานทางจลุ ชวี วทิ ยาปจั จยั ทมี่ ผี ลตอ่ การเจรญิ ของจลุ นิ ทรยี ใ์ นอาหารจลุ นิ ทรยี ท์ ใี่ ชป้ ระโยชนใ์ น การแปรรปู การเสอ่ื มคณุ ภาพ และการเนา่ เสยี ของอาหาร การควบคมุ จลุ นิ ทรยี ใ์ นอาหาร โรคอาหารเปน็ พษิ มาตรฐาน อาหารด้านจุลินทรีย์สำ�หรับอาหารชนิดต่างๆ การตรวจสอบจุลินทรีย์สำ�หรับอาหารชนิดต่างๆ การตรวจสอบ จลุ ินทรีย์ในอาหารดว้ ยวธิ ีมาตรฐานและวิธีแบบรวดเร็ว The basic knowledge of microbiology, factors affect on microbial growth in foods, microorganisms used in food processing, food deterioration and food spoilage, microbial control, food borne pathogens, microbial criteria for various foods, microbiological examination in food using conventional methods and rapid methods 5071403 ชวี เคมีอาหาร 3(2-2-5) Food Biochemistry ความรพู้ น้ื ฐานทางดา้ นเคมอี นิ ทรยี ์ โครงสรา้ ง และคณุ สมบตั ขิ องชวี โมเลกลุ ไดแ้ ก่ คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั กรดอะมโิ นและโปรตนี เอนไซม์ กรดนวิ คลอิ กิ วิตามิน และเกลือแร่ กระบวนการเมแทบอลิซมึ และการควบคุม เมแทบอลซิ ึมของชีวโมเลกลุ The basic knowledge of organic chemistry the structures and functions of bimolecular that are carbohydrates, lipids, amino acids and proteins, enzymes, nucleic acids, vitamins and minerals, mtabolic pathways and control of biomolecular metabolism 5071701 ฟิสิกสก์ ารประกอบอาหาร 3(2-2-5) Culinary Physics การประยกุ ต์ใชห้ ลกั การทางฟสิ กิ สใ์ นการประกอบอาหาร ไดแ้ ก่ ระบบหนว่ ย การเคลื่อนที่ โมเมนตัม งานก�ำ ลงั พลงั งาน การใหค้ วามรอ้ น การเปลย่ี นแปลงอณุ หภมู ิ การน�ำ ความรอ้ นและการถา่ ยเทความรอ้ นระหวา่ ง การประกอบอาหาร ความหนาแน่น และกมั มนั ตภาพรังสี The application of basic physics to work in the culinary arts including unit systems, motion, momentum, work, power, energy, heating, thermodynamic, thermal conductivity, heat transfer, density and radio activity 37

5 หคส0าลำข7�อัก1า7วสธชิ0ตูิบ2ารเ าทวยคFคเทิ คโรวoยนมoาาโาวีมdลยศิเรคAยู้เาวบรีกสnชิาื้อaาตะรlงาหyรตปtอ์ ้บนiรcาเัณaะหกกl่ีายอCฑรวบ hกิต อe ับ mาเหคisมาtรrีอyแนลินะทกราียร์บไรดกิ้แากร่ ปฏิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน 3(2-2-5) กรดเบสการไทเทรต การเตรยี มสารละลาย การเตรยี มบัฟเฟอร์ เคมอี ินทรียท์ ่ีเก่ียวกบั อาหาร ไดแ้ ก่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตนี ใน อาหาร การวิเคราะห์เชิงปริมาณ และคณุ ภาพโดยใช้เครื่องมอื พื้นฐานและขน้ั สูง The basic knowledge of inorganic chemistry including oxidation and reduction, acid-base, titration, buffer and solution preparation. An introductory organic chemistry related to food technology majoring in carbohydrate, fat and protein. Quantitative and qualitative analysis using laboratory equipments and advance analytical equipments 5074315 สถิตแิ ละการวางแผนการทดลองในการวิจยั ด้านอาหาร 3(3-0-6) Statistics and Experimental Design for Food Research หลกั การพน้ื ฐานทางสถติ ิ ความนา่ จะเปน็ การสมุ่ ตวั อยา่ ง การทดสอบสมมตฐิ าน การวเิ คราะหค์ วาม แปรปรวน การเปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลี่ย การวางแผน การทดลองดา้ นอาหาร การวเิ คราะห์ขอ้ มลู และประมวลผลดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำ�เรจ็ รูป Fundamental principles related to statistics, probability, sampling, hypothesis testing, analysis of variance, comparison of mean difference, planning of food experimental plan, data analysis and data processing through computer program 5073344 ภาษาอังกฤษสำ�หรับงานบริการดา้ นอาหารและเคร่ืองด่มื 3(3-0-6) English for Food and Beverage Service ภาษาอังกฤษในบริบทของงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม คำ�ศัพท์และสำ�นวนท่ีใช้ในงานด้านการ ประกอบอาหารและเครอ่ื งดื่มและการบรกิ าร การใหข้ อ้ มูล การต้งั คำ�ถามและการตอบค�ำ ถาม การพฒั นาทกั ษะ การส่ือสารภาษาอังกฤษในบรบิ ทของงานบรกิ ารอาหารและเครื่องดื่ม English in the context of food and beverage service, essential vocabularies and idioms used in food and beverage production and service, giving information, question and answer, development of English communication skills in the context of food and beverage service 5072322 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย ี 3(3-0-6) English for Food Science and Technology ภาษาองั กฤษเชิงวิชาการในบริบททางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพอ่ื การ เรยี นรู้ทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โดยเน้นเก่ียวกบั ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะด้าน โครงสรา้ งและสำ�นวนที่ใชใ้ นคูม่ ือและ สื่อการเรียนรตู้ ่างๆ การอา่ นและการฟังเพอ่ื วิเคราะห์และสรปุ ความในประเดน็ สำ�คญั Academic English in the context of science and technology, English skills for learning in science and technology development, technical vocabulary, structures and expressions used in the manual and learning media, reading and listening to analyze and summarize the key points 38

5074317 ทกั ษะภาษาอังกฤษสำ�หรบั การเขยี นเชิงวิชาการ และการนำ�เสนองาน 4(4-0-8) English Academic Writing and Presentation Skills เทคนิควธิ กี ารเขียนงานเชิงวชิ าการดว้ ยภาษาอังกฤษทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสม การเขียนค�ำ นยิ าม การเขยี น บทคดั ยอ่ การเขยี นรายงาน การเขยี นสรปุ และอภปิ ราย การเขยี นอธบิ ายกระบวนการการเขยี นเชงิ เปรยี บเทยี บ การ เขียนแสดงเหตแุ ละผลเทคนคิ วธิ ีการนำ�เสนองานด้วยภาษาอังกฤษ การเลอื กใช้ค�ำ ศัพท์และโครงสร้างประโยคที่ เหมาะสมในการน�ำ เสนอ การเชือ่ มโยงและเรียบเรียงลำ�ดบั การตง้ั ค�ำ ถามและการตอบคำ�ถาม การอภปิ รายแสดง ความคดิ เหน็ Academic English writing techniques with the correct context, writing definitions, abstract, report, summary and discussion, writing process, comparison as well as cause and effect, English presentation techniques, word and sentence structures for presentation, sentences rearrangement, questions, answers, discussions and debates 5071303 วิทยาศาสตรก์ ารประกอบอาหาร 3(2-2-5) Culinary Science คณุ ลกั ษณะและคณุ สมบตั พิ นื้ ฐานส�ำ คญั ขององคป์ ระกอบในอาหาร ทง้ั คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขมนั น�ำ้ เกลอื แร่ วติ ามนิ และวัตถุเจือปนต่างๆ การเปล่ียนแปลงโครงสรา้ งและลกั ษณะขององคป์ ระกอบสำ�คญั ในอาหาร ระหว่างการเตรียมและปรุงประกอบ รวมท้ังปฏิกิริยาเคมีที่เก่ียวข้อง การประยุกต์ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์ใน การประกอบอาหาร เทคโนโลยกี ารถนอมอาหาร และแนวโนม้ ในปัจจุบนั The characteristics and important properties of food ingredients and components including carbohydrates, proteins, fats, water, minerals, vitamins and food additives, structure and physical changing during preparing and cooking, related chemical reactions, application of sciences principle in cooking, food preservation technology and current trends 5072420 เทคโนโลยีขา้ ว 3(2-2-5) Rice Technology การแบ่งประเภทของขา้ วไทยในการบริโภค ผลของสมบตั ทิ างกายภาพและเคมขี องขา้ วสารทีม่ ตี ่อการ หงุ ตม้ คณุ ภาพและมาตรฐานขา้ วไทย การเพาะปลกู และเทคโนโลยกี ารจดั การหลงั การเกบ็ เกยี่ ว การสี การแปรสภาพ และการเกบ็ รกั ษา หว่ งโซอ่ ปุ ทานการคา้ ขา้ วของประเทศไทย ความส�ำ คญั ของขา้ วตอ่ สงั คม และเศรษฐกจิ ไทย ฝกึ ปฏบิ ตั ิ การหงุ ข้าวดว้ ยนำ�้ ไขมันพืช และไขมันสัตว์ การตม้ ข้าวตม้ โจก๊ และขา้ วแช่ การน่งึ และตม้ ขา้ วเหนยี ว Assortment of rice consumption in Thailand, effects of physical and chemical properties of rice on cooking quality, the quality and standard of Thai rice, cultivation and postharvest management technologies, milling, processing and storage, trade goods in the supply chain, the importance of rice for society and economy, practices for cooking rice with water, vegetable and animal fats, boiling of boiled rice, porridge and rice in ice water, and steaming and boiling sticky rice 5071309 เทคโนโลยกี ารครวั และความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน 3(2-2-5) Kitchen Technology and Work Safety ประเภทครวั ระบบงานครวั บคุ ลากรทางดา้ นงานครวั การจดั การครวั การออกแบบการจดั พน้ื ท่ี การจดั วาง อปุ กรณ์ วธิ กี ารใชง้ าน การบ�ำ รงุ รกั ษาอปุ กรณแ์ ละครภุ ณั ฑค์ รวั การท�ำ ความสะอาดโดยวธิ ตี า่ งๆ ความปลอดภยั ใน การปฏบิ ตั งิ านและการใชพ้ ลงั งาน การตระหนกั ในสง่ิ แวดลอ้ ม ฝกึ ทกั ษะในการใชเ้ ครอื่ งมอื อยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภยั การฝกึ ปฏิบัตติ ามกฎระเบยี บของการท�ำ งานในหอ้ งครวั ตามหลักสากล การฝึกปฏบิ ัติ ใช้งานครภุ ัณฑ์ เครื่องครัว สำ�หรับการผลติ อาหารปริมาณมาก Types of kitchen, kitchen systems, kitchen staffs and organization chart, kitchen management, location design and setup, equipments alignment and instruction, maintenance equipments and tools, cleaning methods, energy work safety energy consumption, environment awareness, practice using tools and understanding working process for mass production under international kitchen standard rule 39

5073307 ความปลอดภยั ของอาหารและการสขุ าภิบาล 3(3-0-6) Food Safety and Sanitation ความสำ�คัญของความปลอดภัยของอาหารและการสุขาภิบาลต่อสุขภาพของผู้บริโภค อันตรายของ อาหาร และสารก่อภูมแิ พ้ การเสอ่ื มเสยี ของอาหาร การปนเป้ือนของอาหารและน้�ำ การจัดการสุขาภิบาลอาหาร การผลิตอาหารปลอดภยั การควบคมุ คุณภาพอาหาร กฎหมายและมาตรฐานทีเ่ กย่ี วข้องกับอาหาร Significance of food safety and sanitation through the consumer health, food hazard and food allergens, food spoilage, food and water contamination, food sanitation management, safe food production, food quality control , food related laws and standards 5072604 โภชนาการสำ�หรบั การประกอบอาหาร 3(3-0-6) Culinary Nutritions ความหมาย แหลง่ ทม่ี าและบทบาทของสารอาหารคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมันวติ ามิน เกลือแร่ น�ำ้ พฤติกรรมการบริโภค การคัดเลือกและการเก็บรักษาวัตถุดิบ การสูญเสียสารอาหารระหว่างการเตรียมและการ ประกอบอาหารการเลือกใช้สภาวะการเตรียมและประกอบอาหารที่เหมาะสม การจัดมื้ออาหารเพ่ือสุขภาพ การ จดั ม้อื อาหารสำ�หรบั กล่มุ บคุ คล การเสริมสารอาหาร การจัดสูตรอาหารอาหารแลกเปลยี่ น และฉลากโภชนาการ Meaning, source and role of nutrients, carbohydrates, proteins, fats, vitamins, minerals, water food consumption behavior, selection and storage of raw materials, nutrient losses during food preparation and cooking, selection of appropriate cooking and processing conditions, menu planning for healthy, menu planning for various conditions persons, food fortification, food exchange and food labeling 5072311 ความรู้เก่ยี วกับอาหารและการเตรียม 3(2-2-5) Food Knowledge and Preparation การจ�ำ แนกประเภทคณุ ลกั ษณะและการใชว้ ตั ถดุ บิ อาหารประเภทตา่ งๆการจดั เตรยี มผกั ผลไม้ถว่ั ธญั ชาติ ผลิตภัณฑน์ ม อาหารแห้ง และอาหารก่ึงส�ำ เร็จรปู เพื่อการปรุงประกอบให้เหมาะสมกับประเภทอาหาร หลกั การ ทำ�สต็อก การใช้ประโยชน์จากเคร่ืองเทศและสมนุ ไพร การชำ�แหละและตดั แต่งเนือ้ สัตว์ การเลือกซือ้ การตรวจรับ การเตรยี ม และการเกบ็ รกั ษา รวมถงึ การประเมนิ คณุ ภาพของวตั ถดุ บิ อาหารเหลา่ นน้ั ในดา้ นรสชาติ เนอื้ สมั ผสั กลนิ่ ลกั ษณะปรากฏ และคณุ ลกั ษณะอนื่ ๆ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ การใชม้ ดี และเขยี งอยา่ งถกู ตอ้ ง การตดั หน่ั แตง่ ผกั และผลไม้ เบอ้ื งตน้ การเตรยี ม มสี อองพลาส บราวนส์ ตอ็ ค ไวทส์ ตอ็ ค รซิ อตโตเหด็ วานลิ ลาไรสพ์ ดุ ดง้ิ สตวู ผ์ ลไม้ ผกั โ-ขมผดั เบคอนและกระเทยี ม ปลาโซทอดราด ซอสบราวบทั เทอร์ สลดั คสู คสู โพเลนตา้ สลดั พาสตา้ กบั กงุ้ ชคิ เกน้ แชสเซอร์ สโตรกานอฟเนอื้ ไขค่ น ออมเลท ไข่ดาว ไขอ่ บเบคอน/แฮม แฮชบราวน์ ผัดเห็ด/ผัดมันฝรัง่ มะเขือเทศย่าง สลัด มนั ต้ม เฟรนช์โทสต์ เอ้กอินเดอะโฮล แพนเคก้ มัฟฟินชอ็ กโกแลต/กล้วยหอม และวาฟเฟิล The classification, characteristics and use of food raw materials, preparation of vegetables, fruits, nuts, grains dairy products, dried and prepared foods for properly cooking, herbs and spices application, meats trimming, purchasing, receiving, preparing and storing of food ingredients, evaluate all senses of ingredient qualities including taste, texture, smell, appearance and other quality attributes, practice session; brown stock, white stock, mushroom risotto, vanilla rice pudding with fruit compote, sautéed spinach with crispy garlic and bacon, sole a la mernier, cous cous salad, polenta, pasta salad with prawn, chicken chasseur, beef stroganoff, scrambled egg, omelet, fried egg, baked egg in bacon/ham cup, hash brown, sauté mushroom/potato, grilled tomato, potato salad, French toast, egg in the hole, pancake, muffins and waffle 40

5072312 เทคนิคการผลิตเบเกอรี 3(2-2-5) Bakery Techniques ความหมายของเบเกอรี หลกั การผลติ วตั ถดุ บิ การใชอ้ ปุ กรณเ์ ครอ่ื งมอื เทคนคิ การเตรยี มและการผลติ ขนมปงั ประเภทตา่ งๆ ทง้ั ขนมปงั ยสี ต์ ควกิ เบรดและขนมปงั ชนดิ พเิ ศษ รวมถงึ การตกแตง่ การจดั เสริ ฟ์ การผลติ เบเกอรี ในระดบั อตุ สาหกรรม เทคโนโลยกี ารบรรจแุ ละการเกบ็ รกั ษา และการฝกึ ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่มฟั ฟนิ สโคนแพนเคก้ โลฟทเี บรด ขนมปังปอนด์ ขนมปงั ผวิ แขง็ ฟอคคาเซียเบรด พติ ้าเบรด วานิลลาชาลาห์ บริโอช ขนมปงั หวาน ขนมปังบรรจุไส้ โดนทั ยีสต์ และขนมปัง เพ่อื สุขภาพ Meaning and baking principles, raw materials, equipment and tools, preparation and baking techniques for various yeast breads, quick breads and specialbread. including decoration, serving, industrial bakery production, packaging and storage technology and practical sessions such as muffin, scone, pancake, loaf, tea bread, loaf, hard bread, focaccia bread, pita bread, vanilla challah, brioches, sweet bread, stuffed bread, yeast-raised doughnut and healthy bread 5072313 เทคนิคการอบและผลิตเพสตรี้ 3(2-2-5) Baking and Pastry Techniques ความหมายของเพสตร้ี ประเภท วตั ถดุ บิ เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การผลติ ขนมอบและเพสตรท้ี งั้ เคก้ คุกก้ี พาย ทารต์ ชอ็ กโกแลต หนา้ และไสข้ นมชนดิ ต่างๆ ไดแ้ ก่ กานาช เมอแรงก์ เพสตร้ีครีม เกลซไอซิง และครีม ต่างๆ การตกแต่ง การผลิตเพสตรี้ในระดับอุตสาหกรรม เทคโนโลยีการบรรจุและการเก็บรักษา รูปแบบการจัด เสริ ฟ์ การจดั ท�ำ ต�ำ รบั มาตรฐาน และฝกึ ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ บตั เตอรค์ กุ กี้ บตั เตอรเ์ คก้ สปองจเ์ คก้ ชฟิ ฟอนเคก้ อลั มอนด์ ฟอเรนตนิ เค้ก ชอ็ กโกแลตฟดั จ์เค้ก กานาช พฟั เพสตร้ี ชวู ส์เพสตรี้ ฟรุตทารต์ เลมอนเมอแรงกพ์ าย ครวั ซองต์ และเดนสิ เพสตรี้ Meaning, kinds, ingredients, equipment and tools. including the principles and techniques of baked goods and pastries, which include cakes, cookies, pie, tarts, chocolate, toppings and fillings such as ganache, meringue, pastry cream, glazes, icings and various creams. Learn different garnishing techniques, packaging serving styles, standard recipe development, industrial pastry production, packaging and storage technology and practical sessions; butter cookies, butter cake, sponge cake, chiffon cake, almond florentine cake, chocolate fudge cake, ganache, puff pastry, choux pastry, fruit tart, lemon meringue pie, croissant and danish pastry 5072324 อาหารยโุ รป 1 3(2-2-5) Cuisines of Europe I หลกั การประกอบอาหารแบบยโุ รป การใชค้ วามรอ้ นชน้ื การใชค้ วามรอ้ นแหง้ การใชค้ วามรอ้ นแบบผสม ผสาน ศกึ ษาค�ำ ศพั ท์ เทคนคิ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การประกอบอาหารยโุ รป คณุ สมบตั ิ และหนา้ ทข่ี องวตั ถดุ บิ ในการประกอบ อาหารยโุ รป การเตรยี มและการปรงุ ประกอบของวตั ถดุ บิ ประเภทเนอื้ สตั วแ์ ละสตั วป์ กี การใชอ้ ปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ในครัวยุโรป ประเภทของอาหารเช้าแบบยุโรปชนิดต่างๆ รวมถึงสลัดบาร์ นำ้�สลัด ซอส ออร์เดิร์ฟร้อนและเย็น แซนดว์ ชิ คานาเป้ ซปุ เยน็ ปาเต้ เทอรร์ นี กาลานทนี มสู เซอลนี เทคนคิ การเตรยี มการประกอบ การเกบ็ รกั ษา การ จดั เสริ ฟ์ วฒั นธรรมการรบั ประทาน และฝกึ ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่ องิ ลชิ มฟั ฟนิ เอก้ เบเนดกิ พอรค์ ชอป เนอื้ สนั ในมว้ น อกเปด็ ซอสสม้ อลั มอนดโ์ ปเตโต้ คอทเทจพาย เนอ้ื อบกบั ยอกเชยี รพ์ ดุ ดงิ้ ไกอ่ บ พอรค์ กอรด์ องเบลอ ซโี่ ครงหมอู บ บารบ์ คี วิ มนั ฝรั่งอบ บรอกโคล่ีโมเนส่ ์ ชิคเก้นคฟี ปลากะพงซอสเบอร์บลองค์ ขา้ วพิลาฟ แกะอบ ซอสฮนั น่มี สั ตาร์ด หอย แมลงภอู่ บซอสไวนข์ าว ปลากะพงอบ สลดั ซซี ่าร์ ซปุ แคนตาลูปเย็น ซุปกาปาสโช่ แซลมอนกราฟลักซ์ เทพานาด คลับแซนวชิ และแซนวชิ หนา้ เปดิ European method of cooking moist-heat method, dry-heat method, combination heat method such as technical terms in European cuisine, characteristics and usage of ingredients, equipments and tools Study types of European breakfast including salad bar, dressing, sauce, hot and cold hors d’oeuvre, sandwiches, canapés, cold soup, pâtés, terrine, galantine, mousseline preparation and cooking techniques, holding of prepared food, serving styles and culture, and practice sessions such 41

as English muffin, egg benedict (poached egg with Hollandaise sauce), pork chop, beef roulade, roasted duck in orange sauce, almond potato, cottage pie, roasted beef with Yorkshire pudding, roasted chicken with jus, pork cordon bleu, BBQ pork rib, baked potato, broccoli mornay, chicken kiev, sea bass with beurre blanc sauce, rice pilaf, roasted rack of lamb with honey mustard sauce, mussel with white wine sauce and darne of sea bass in the papillote, ceasar salad, cantaloupe cold soup, gapazcho soup, salmon gravlax, tapenade, club sandwich and open-faced sandwiches 5073345 อาหารยุโรป 2 3(2-2-5) Cuisines of Europe II อาหารยโุ รปชนดิ ตา่ งๆ หลกั การท�ำ สตอ็ ก ซปุ ซอส และการประกอบอาหารยโุ รปประเภท ผกั ธญั ชาติ แปง้ และเน้ือสตั ว์ โดยใช้เทคนิคการประกอบ ไดแ้ ก่ การผัด การทอด การอบ การยา่ ง การตุ๋น การเคี่ยว การต้ม การนงึ่ เทคนคิ การถนอมอาหาร และ การรมควนั เนอ้ื สตั วช์ นดิ ตา่ งๆ การจดั อาหารส�ำ หรบั มอื้ กลางวนั และอาหารค�่ำ การจัดเสิรฟ์ วฒั นธรรมการรับประทาน และฝกึ ปฏบิ ตั ิ ไวท์สต็อก บราวนส์ ต็อค สปาเกตตค้ี าร์โบนารา่ สปาเกตตี้ หอยลาย ซุปหัวหอม ซุปเวลูเต้ไก่ สลัดไก่ชัทเน่ย์ พิซซ่า ไส้กรอก ซุปคอนซอมเม่ ลาซานญ่า คีชผักโขม ปลา กะพงซอสเนยขาวกับ ดอกกะหล่ำ�ปูเล่ สลัดผักย่าง หมูม้วนพาร์ม่าแฮมมันบดและฟักทอง มันฝร่ังบด สตูว์ไก่ พานาคอตตา้ ซอสสตรอเบอร่ี หอยแมลงภซู่ อสมะเขอื เทศ ปลาราดซอสเบยี รเ์ นส่ ์ สเตก็ เนอื้ พรกิ ไทยด�ำ เบรดพดุ ดงิ้ ซอสวนิลา ชคิ เกน้ ฟรคี าสเซ่ เครปซูเซท แอปเป้ลิ ครัมเบ้ิล และทีรามสี ุ Types of European dishes, culinary funda mentals such as stock soup and sauce making, cooking of vegetables, grains, flour and meats by using different techniques such as sautéing, frying, roasting, baking, broiling, grilling, braising, poaching, curing and smoking techniques for meat preparing of European lunch and dinner menu, serving styles, table manners and culture and practical sessions such as white chicken stock, brown chicken stock, spaghetti carbonara, spaghetti vongole (spaghetti with clams), french onion soup, chicken velute soup, chutney chicken salad, pizza, sausage, consommé soup, lasagna, quiche au epinard (spinach custard pie), sea bass with beurre blanc sauce and cauliflower puree, grilled vegetable salad, braised pork roll with parma ham and pumpkin, mashed potato , chicken stew, panna cotta (cream pudding) with strawberry sause, mussels in tomato sauce, sole fillet with béarnaise sauce, pepper steak, bread and butter pudding with vanilla sauce, chicken fricasse (white chicken stew), crepe suzette (crepe with orange sauce and topped with zest), apple crumble and tiramisu 5072325 อาหารไทยดง้ั เดมิ 3(2-2-5) Traditional Thai Cuisine ความส�ำ คญั เอกลักษณ์ วฒั นธรรม และประเภทของอาหารไทย ส่วนประกอบ และวิธีการปรงุ การใช้ เครอื่ งมอื และอปุ กรณใ์ นการประกอบอาหาร เครอื่ งเคยี งและของแนม การจดั ส�ำ รบั และการจดั เสริ ฟ์ อาหารไทยและ ฝกึ ปฏบิ ตั อิ าหารไทยดงั้ เดมิ ไดแ้ ก่ แกงเลยี ง แกงเขยี วหวาน พะแนง มสั มน่ั แกงเผด็ แกงส�ำ รวม แกงนอกหมอ้ แกงตม้ จวิ๋ แกงจดื ลูกรอก ต้มส้ม ตม้ เค็ม น้�ำ พริกกะปิ น้ำ�พรกิ ลงเรือ กะปคิ วั่ แสรง้ ว่า หลนปลากเุ ลา ยำ�ทวาย ยำ�หวั ปลี ย�ำ ใหญ่ ยำ�ไขป่ ลาดุก หมูหวาน ปลาฟู ก้งุ ฝอยแพ ไข่ลกู เขย หมี่กรอบ ขา้ วมนั ส้มตำ� และข้าวแช ่ The important, identity, culture and categories of traditional Thai foods, ingredients, components and cooking methods, tools and equipments using in cooking, side dishes, menu setting, serving and practical session on traditional Thai food cooking such as Kang Lieng (spicy vegetable soup with hairy basil), Kang Khiew Wan (green curry), Pha Nang (stir fried red curry), Mus Sa Mun (sweet red curry), Kang Phed (red curry), Keang Sum Roum (mixed curry), Keang Nok Mor (spicy clear soup with dried shrimp and dried fish), Keang Tom Chiew (hot spicy and sour chicken soup), Keang Jeud Look Rok (egg sausage soup), Tom Som (spicy soup with tamarind), Tom Khem (salty and sweet braised), Nam Prik Ka Pi (shrimp paste sauce), Nam Prik Long Reur (spicy chilli sauce and shrimp paste served with sweetened pork, fluffy catfish, salted egg and fresh vegetable), Ka Pi Khua (shrimp paste 42

in coconut cream), Sang Wa (blanched shrimps seasoned with chilli onion and lemomgrass served with fresh vegetable and fluffy), Lon Pla Ku Low (coconut sauce with haddock) Yum Tha Wai (boiled vegetable in coconut salad), Yum Hua Pli (banana blossom salad), Yum Yai (egg, chicken and vegetable spicy salad), Yum Khai Pla Dook (spicy cat fish eggs salad), Moo Wan (salty and sweet stir-fried pork), Pla Foo (crispy fried fish), Kung Foy Phae (crispy fried shrimp), Khai Look Kheuy (sweet and sour fried boiled egg), Mee Krob (crispy fried noodle), Khow Mun Som Tum (cooked rice in coconut milk with papaya salad) and Khow Chae (cooked rice soaked in iced water and serve with different condiments) 5072326 อาหารไทยร่วมสมยั 3(2-2-5) Contemporary Thai Cuisine ต�ำ รบั อาหารไทยรว่ มสมยั ทนี่ ยิ มทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ เครอ่ื งปรงุ สว่ นประกอบและวธิ กี ารปรงุ การประยกุ ตใ์ ชว้ ตั ถดุ บิ อาหารทดแทน การจดั เสริ ฟ์ ฝกึ ปฏบิ ตั อิ าหารไทยรว่ มสมยั ไดแ้ ก่ ตม้ ย�ำ กงุ้ แกงกะหรี่ แกงมสั มนั่ ต้มข่าไก่ ฉฉู่ ี่ ผดั ไทย ผดั กะเพราไก่ ผัดขเ้ี มา ไกผ่ ดั เมด็ มะม่วงหมิ พานต์ ยำ�เนอื้ ยา่ ง ยำ�วนุ้ เส้น ย�ำ ถ่วั พู ปลาสามรส ทะเลผัดผงกะหร่ี หอ่ หมก ขา้ วอบสับปะรด ผัดเปรี้ยวหวาน สะเต๊ะ ไกห่ อ่ ใบเตย ทอดมนั ปลากราย ปูจ๋า ปีกไก่ สอดไส้ หมูแดดเดยี ว ปอเปีย๊ ะทอด พระรามลงสรง และ หม่ีกะทิ The contemporary Thai food that is popular in domesticand aboard, recipes, ingredients, components and cooking methods, the application of using alternative raw materials for food replacement, menu setting, serving and practical session on following contemporary menus includes Tom Yum Kung (spicy hot and sour shrimp soup), Keang Kari (yellow curry), Keang Musmun (mussamun curry), Tom Kha Kai (chicken galangal in coconut milk), ChuChee (stir-fried red curry with fish), Phad Thai (Thai style stir-fried noodles), Phad Kra Phrow Kai (spicy stir-fried chicken with basil), Phad Kee Mow (spicy stir-fried with wild galangal and sweet basil), Kai Phad Med Ma Moung Him Ma Phan (stir fried chicken with catshew nuts), Yum Nuer Yang (spicy beef salad), Yum Woon Sen (vermicilli spicy salad), Yum Thou Phoo (winged bean spicy salad), Pla Sam Rod (fried fish topped with sweet sour and hot sauce), Ta Lea Phad Phong Kari (spicy stir-fried yellow curry), Hor Mok (steamed curried fish cake in banana leaf), Khow Obb Subparod (baked rice with pineapple), Phad Preaw Wan (sweet and sour stir-fried), Satay (skewer of marinated meat), Kai Hor Baiteuy (fried chicken wrapped with pandan leaf), Thod Mun Pla (deep-fried curried fish cake), Poo Cha (deep fried crab meat minced pork in the shell), Peek Kai Sod Sai (stuffed chicken wing), Moo Dad Diew (deep-fried sun-dried marinated pork), Porpia Tord (deep-fried spring rolls), Phra Ram Long Song (cooked rice topped with morning glory red curry) and Mee Ka Ti (coconut noodle) 43

5073346 ขนมไทยด้ังเดิม 3(2-2-5) Traditional Thai Desserts ประวตั ขิ นมไทย ประเภท วัตถุดิบ อุปกรณ์และเครอ่ื งมือในการเตรยี มและประกอบขนมไทย การจัด ตกแตง่ และการจดั เสริ ์ฟขนมไทยตามวัฒนธรรม ฝกึ ปฏิบตั ิขนมไทย ไดแ้ ก่ จา่ มงกุฏ ทองเอก ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง เมด็ ขนุน เรไร ลืมกลนื หยกมณี ขนมบุหลันดนั้ เมฆ สมั ปันนี มัสกอด หนั ตรา ขนมเบอ้ื งไทย ขนมเกสร ล�ำ เจยี ก ขนมกระเช้าสดี า และลกู ชุบ The history of traditional Thai desserts, categories, raw materials, tools and equipments using in preparation and cooking, decoration and serving Thai dessert based on cultures and practical session on traditional Thai dessert includes Cha Mong Kood (egg yolk dumpling in wheat flour crown), Thong Eak (wheat flour dumpling with egg yolks, Thong Yib (pinched gold egg yolks), Thong Yod (golden egg yolks drops), Foy Thong (gloden egg yolks thread), Med Kha Noon (mock jackfruit seed), Ray Rai (rice thread with shredded coconut meat), Leum Kleun (stir-fried mung bean flour), Yok Ma Nee (steamed pandan tapioca pearl cake), Kha Nom Bulun Dun Mek (steam mixed rice flour and tapioca dumpling and topping with egg yolk), Sumpunnee (tapioca flour stir-fried with coconut cream), Muskod (Thai style cup cake), Huntra (stir-fried mung bean flour in syrup soaked with egg yolk), Khanombeung Thai (Thai style crisp tart), Kha Nom Kae Sorn Lum Cheak (glutinous rice roast filled with coconut meat), Khanom Krachow Si-da (basket tart of coconut meat in sticky syrup) and Look Chub (delectable imitation fruits) 5074318 การประกอบอาหารเอเชีย 1 3(2-2-5) Culinary of Asia I ประวตั คิ วามเปน็ มาวฒั นธรรมอาหารเอเชยี และหลกั การประกอบอาหารเอเชยี ของประเทศจนี ญปี่ นุ่ และ เกาหลี เทคนคิ ในการใชเ้ ครอื่ งมอื และอปุ กรณใ์ นการเตรยี มวตั ถดุ บิ การประกอบอาหาร การตกแตง่ อาหาร การน�ำ เสนอ และการฝึกปฏิบัติ กลุ่มอาหารจีน ได้แก่ ฮ้อยจ้อ ขนมกุยช่าย ก๋วยเต๋ียวหลอด กระเพาะปลานำ้�แดง ซาลาเปา ขนมจบี ฮะเกา๋ เสน้ บะหมหี่ มแู ดง เปด็ ยา่ งฮอ่ งกง ขา้ วอบเผอื ก ขนมเขง่ ขนมเทยี น โอวหนแ่ี ปะกวย และขนมอี๋ กลมุ่ อาหารญป่ี นุ่ ไดแ้ ก่ โอโคโนมยิ ากิ ทาโกะยากิ ราเมนยากโิ ซบะ เทอรยิ ากิ คตั สดึ ง เทมปรุ ะ มนั จู ขา้ วหอ่ สาหรา่ ย ไดฟกุ ุ ชาวนั มชู ิ และมโิ ชะชปุ กลมุ่ อาหารเกาหลี ไดแ้ ก่ แพชกู มิ จิ มยี อกกกุ นามลุ พบิ มิ บบั ฉบั เช กมิ จจิ เิ ก บลุ โกกิ คลั บกี ยุ ซูจองกวา ฮวาจอน คูจอลพนั พาจอน คยองดัน เมจกั กวา (ครองแครงขงิ ) History of Asia food culture, principles of cooking in various categories of Asian cuisines from China, Japan and Korea, Equipments and tools using techniques for raw materials preparation and cooking, dishes decoration, presentation and practical sessions; Chinese cuisine such as Hoi Jo (deep fried crab meat roll), Kuichai (chinese chive dumpling), Kuyteiw Lhod (steamed rice noodle roll), Kra Prow Pra Nam Deang (braised fish maw in red gravy), Dim Sum(steamed dumplings), Sen Ba Mee (wheat noodle), Muu Deang (pork with red sauce), Ped Yang Hong Kong (Hong Kong roasted duck), Kaw Obb Peuak (Baked taro rice), Khanom Kheng (basket shaped rice cake), Khanom tien (pyramid-shaped stuffed rice cake), Ohnee Pakuy (sweet glutinous rice topped with taro paste and ginko nut) and Kanom Iee (glutinous rice dumpling in syrup).Japanese cuisine such as Okonomiyaki (Japanese savory pancake), Takoyaki (Japanese ball shaped octopus pancake), Ramen (wheat noodles in various soup),Yakisoba (Japanese fried noodles), Teriyai (marinaded meat with sweet soy sauce), Katsudon (rice topped with pork cutlet), Tempura (deep-fried seafood and vegetables), Manju (steamed bun stuffed with red bean paste) Shiruko (sweet red bean soup), Kawhosarai (Japanese laver-rolled rice), Daifuku (glutinous rice dumpling stuffed with red bean paste), Chawan mushi and Miso soup(Japanese fermented bean paste soup with seaweed and tofu). Korean cuisine such as Baechu Kimchi (Chinese cabbage kimchi), Miyeokguk (seaweed soup), Namul (seasoned cooked/fresh vegetable), Bibimbap (rice mixed with vegetable), Japchae (stir-fried cellophane noodle), Kimchi Jjigae (kimchi soup), Bulgogi (marinated barbecued beef), Galbi Gui (marinated barbecued rib), Sujeongwa (ginger-cinnamon tea), Hwajeon (sweet pancake), Gujeolpan (combination nine different food), Pajeon (Korean onion-pancake), Gyeongdan (wrapped boil rice) and Majakgwa (Korean traditional cookie) 44

5073347 การจดั บริการเครอ่ื งด่ืม 3(2-2-5) Beverage Service การบรกิ ารท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั เครื่องด่มื ความหมายและความสำ�คัญของการบรกิ ารเคร่ืองดมื่ ความรเู้ กี่ยว กับธุรกจิ ประเภทท่ีใหบ้ ริการเคร่ืองดืม่ รปู แบบและประเภทของเครื่องดืม่ ได้แก่ เครอื่ งด่ืมที่มแี อลกอฮอล์ เครอ่ื ง ดื่มทไี่ ม่มีแอลกอฮอล์ เคร่ืองดม่ื ผสม องค์ประกอบและวัตถุดบิ ของเคร่อื งดื่มผสม หลกั การใช้แกว้ ให้เหมาะสมกับ เครอื่ งดื่ม และการตกแต่งแก้วของเคร่อื งดมื่ แบบตา่ งๆ การจัดเตรียมเคร่อื งมอื อุปกรณ์ และสถานทใ่ี นการผสม เครอื่ งดมื่ และการบริการเคร่ืองดื่ม เทคนคิ และหลักการผสมเคร่อื งดืม่ และการบรกิ ารเครื่องด่ืม การผสมเคร่อื งดม่ื ประกอบลลี า จรรยาบรรณและมารยาทของพนักงานบรกิ ารเคร่ืองดมื่ รวมทัง้ เรยี นรู้ การจับคเู่ ครื่องดืม่ กับอาหาร Beverage service ,meaning and importance of beverage service business, knowledge of business and categories of beverage such as alcohols, non-alcohols beverage and mixed drink, ingredients and raw materials of mixed drink, principle of matching glass and beverage and decorative glass of various baverage, preparing equipments, tools and place for beverage mixing and beverage service, teching and principle of beverage mixing and beverage service, show flair bartending, ethics and manner of service staff, in addition learn to pair beverage with food 5073348 การจดั การงานบรกิ ารอาหาร 3(2-2-5) Food Service Management หลกั การและกระบวนการในการจัดบริการอาหาร รูปแบบการจัดบรกิ ารอาหาร การออกแบบ การจดั ตกแตง่ สถานท่ี การวางแผนและการจดั รายการอาหาร วสั ดอุ ปุ กรณ์ การจดั โตะ๊ การจบั ผา้ ปโู ตะ๊ การพบั ผา้ เชด็ ปาก การจัดเกบ็ และการท�ำ ความสะอาดของพ้นื ทีบ่ ริการ การจดั การองค์กรและทมี งาน จิตวทิ ยาการบริการและการมี จติ บรกิ าร บทบาทหน้าที่ บุคลิกภาพและมารยาทของผใู้ ห้บริการอาหาร การวิเคราะหต์ ้นทนุ ราคา จดุ คุ้มทุน การ จดั ท�ำ บญั ชเี บอื้ งตน้ การแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ และการจดั ท�ำ แผนบรหิ ารความเสยี่ ง เทคโนโลยสี �ำ หรบั การพฒั นา งานบรกิ ารอาหาร Principles and processes of food service management, food service patterns, service design, location decoration, menu planning and setting, tools and equipments, table setting, table skirting, napkin folding, cleaning and cleaning of food service area, organization and staff management, service psychology and service mind, roles, personalities and manners of food service provider, costing, pricing, break even point analysis, basic accounting, problems solving and risks management, technology for food service development 5073349 การเป็นผ้ปู ระกอบการธรุ กิจอาหาร 3(2-2-5) Entrepreneurship in Food Business แนวคิดเกี่ยวกับการเป็นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารที่ดี จัดทำ�แผนธุรกิจ รูปแบบธุรกิจอาหาร การดำ�เนินการธุรกิจให้มีประสิทธิภาพและประสบความสำ�เร็จ บทบาทหน้าท่ีของธุรกิจต่อสังคมและชุมชนภาษี ธุรกจิ และกฎหมายทเ่ี กีย่ วข้อง Concept about good entrepreneur in food business, business plan, types of food business, efficient and successful conducting food business, business role toward society and community and business tax and related laws 5073350 เทคโนโลยีสารสนเทศยคุ ดิจทิ ัลในธุรกจิ บริการอาหาร 3(2-2-5) Digital Technology in Food Service Business บทบาท จริยธรรมและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อธุรกิจอาหาร การประยุกต์ใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์ในการตลาด และการประยกุ ตใ์ ชค้ อมพวิ เตอร์ในการดำ�เนินงานตา่ งๆ ในธุรกจิ บรกิ ารอาหาร The roles, morality, digital technology application in food service business, practice how to use sofeware including and application for marketing, including other processes in food service business 45

5074414 การพัฒนาผลิตภณั ฑอ์ าหาร 3(2-2-5) Food Product Development ความสำ�คัญของการพฒั นาผลิตภัณฑอ์ าหาร ประเภทของผลิตภัณฑใ์ หม่ การตลาดผลิตภัณฑอ์ าหาร ความตอ้ งการของผู้บริโภค กระบวนการพัฒนาผลิตภณั ฑ์อาหาร เทคนคิ ทางสถติ ทิ ี่ใช้ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ การ ทดสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ การประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัส การทดสอบผู้บริโภค และการนำ�ผลิตภัณฑ์ ออกส่ตู ลาด Importance of food product development, types of new products, food product marketing, consumer needs, food product development processes, statistical techniques used in food product development, product quality assessment, sensory evaluation, consumer testing, and launching products to the market 5073341 การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรมดา้ นเทคโนโลยีอาหาร 3(2-2-5) Human Resource Development and Training in Food Technology หลักการพัฒนาบุคลากรในองค์กร การวางแผนและการบริหารจัดการ การฝึกอบรมการพัฒนาตาม สายอาชีพด้านเทคโนโลยีอาหาร การสำ�รวจความจำ�เป็นในการฝึกอบรม การกำ�หนดวัตถุประสงค์ในการอบรม การจัดทำ�แผนการฝึกอบรม เทคนิคการนำ�เสนอและการสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการฝึกอบรม การวัด และประเมนิ ผล การจดั ท�ำ เอกสารในการฝกึ อบรม ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเปน็ วทิ ยากรหรอื ผสู้ อนงานดา้ นเทคโนโลยอี าหาร Principles of human resource development, planning and training management, developing a career in food technology, exploring the need for training, setting the objectives of the training, preparation of training plans, technical presentations and teaching, media training assessment, measurement and evaluation, documentation of training, trained as trainers or coaches in food technology 5073351 การควบคมุ ต้นทนุ อาหารและเครือ่ งดม่ื 3(3-0-6) Food and Beverage Cost Control การควบคุมต้นทุนด้านอาหารและเคร่ืองดื่มในอุตสาหกรรมการบริการอาหาร การคำ�นวณต้นทุน การกำ�หนดรายการอาหารและเครือ่ งดม่ื ความเหมาะสมของจำ�นวนพนกั งานในแผนกการจัดทำ�บัญชีทเ่ี กีย่ วขอ้ ง Food and beverage cost control in the food service industry, cost calculation, setting menu of food and beverage, staff allocation and related accounting 5073318 อาหารมังสวิรตั ิ 3(2-2-5) Vegetarian Cuisine ความเปน็ มา หลกั ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั อาหาร ประเภทของอาหารมงั สวริ ตั ิ การเลอื กใชว้ ตั ถดุ บิ และการเลอื ก วตั ถดุ บิ เพอ่ื ทดแทนเนอ้ื สตั ว์ วธิ กี ารปรงุ การจดั ตกแตง่ และจดั เสริ ฟ์ การจดั ท�ำ ต�ำ รบั มาตรฐาน การควบคมุ คณุ ภาพ คุณคา่ ทางโภชนาการ การพฒั นาต�ำ รบั อาหารมังสวริ ตั ิ Background, guideline of vegetarian practice, categories of vegetarian food, raw material selection and raw materials selection for meat replacement, cooking method, decoration and serving, making of standard recipe, quality control, nutritional value, development of vegetarian menus 46

4552111 ศิลปะงานใบตอง และการแกะสลกั ผกั -ผลไม้ 3(2-2-5) Art of Banana Leaf and Vegetable-fruit Carving ความหมาย ความส�ำ คญั และความเปน็ มาของศลิ ปะงานใบตองและการแกะสลกั การปอกควา้ น ตดั แตง่ และแกะสลกั ผกั -ผลไมเ้ พอ่ื น�ำ ไปจดั ส�ำ รบั อาหาร การประดบั ตกแตง่ สถานทห่ี รอื การใชใ้ นลกั ษณะอน่ื ความรทู้ ว่ั ไป เก่ยี วกับงานใบตอง และการแกะสลักผักผลไม้ โดยคำ�นึงถึงหลักโภชนาการความสะอาดความปลอดภัย และการ ใชป้ ระโยชนส์ งู สุดเพื่อการอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม The definition, importance, and background of arts of banana leafs and fruit and removing seeds, peeling, vegetable carving for setting menu, decoration must be included in the course. General knowledge of banana leaf functions, leaf-made containers for food fairs, fairs, festivals and specific events should be introduced 5073352 การประกอบอาหารไทยท้องถิน่ 3(2-2-5) Culinary of Local Thai Food ความส�ำ คญั เอกลกั ษณ์ วฒั นธรรม ประเภทของอาหาร สว่ นประกอบ วธิ กี ารปรงุ การใชเ้ ครอื่ งมอื และ อปุ กรณ์ในการประกอบอาหาร การจัดส�ำ รับและการจัดเสิร์ฟอาหารไทยตามวฒั นธรรมการบรโิ ภคอาหารพน้ื บ้าน ภาคเหนอื ไดแ้ ก่ แกงแค แกงฮังเล แกงโฮะ๊ น้�ำ พรกิ หน่มุ น้ำ�พริกอ่อง ลาบเหนอื ขนมจีนน้ำ�เง้ียว ข้าวซอยไก่ ข้าว กนั้ จน้ิ ไสอ้ วั่ ไขป่ า่ ม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ได้แก่ แกงหน่อไมใ้ บยา่ นาง แกงอ่อม ตม้ แซ่บ สม้ ต�ำ ไก่ยา่ ง ก้อย ลาบ น�้ำ ตก ซปุ หนอ่ ไม้ แจว่ บอง น�้ำ พรกิ ปน่ ปลา หมก ผัดหม่ีโคราช ขนมจนี น้ำ�ยาป่า ภาคกลาง ไดแ้ ก่ แกงคว่ั แกงบวน ตม้ กะทสิ ายบวั แกงปา่ น�ำ้ พรกิ มะม่วง หลนเตา้ เจ้ยี ว ไส้กรอกปลาแนม หม่ีกะทิเส้นจันทผ์ ดั ปู ขนมจีน น้ำ�พริก ขนมจีนซาวน้ำ� และ ภาคใต้ ได้แก่ แกงไตปลา แกงเหลอื ง ค่วั กลงิ้ นำ�้ พริกโจร น�ำ้ พริกก้งุ เสยี บ นำ�้ พริกบดู ู ปลาทอดขม้นิ ไก่ฆอแระ เคยน้ำ� ขา้ วยำ�ปกั ษใ์ ต้ ขนมจนี นำ้�ยา และเตา้ คว่ั The important, identity, culture, food categories, component, cooking method, equipment using for cooking, setting menu and serving Thai food in accordance with cultural consumption of North and North East of Thailand, menus setting, and practical session on following Local Thai cuisine of North of Thailand, such as Keang Khae (spicy soup with mixed vegetables), Keang Hungley (Hangley curry), Keang Ho (spicy mixed vegetable with mung bean noodle soup), Nam Prik Noom (spicy young green chili), Nam Prik Ong (minced pork with tomato chilli paste), Lab (spicy minced pork), Kanom Chin Nam Ngeaw (rice noodle with spicy meat and tomato soup), Khow Soi Khai (curry noodle chicken and galangal in coconut milk soup), Khow Khun Chin (steamed rice paste with pork blood and ground meat), Sai Our (spicy sausage), Khai Pam (roast eggs mixture in banana leaf container); Local Thai Cuisine of North-East of Thailand, such as Keng Nor Mai Bai Ya Nang (spicy bamboo shoot soup with Ya-Nang leaf), Keang Om (North-Eastern style mixed vegetable spicy soup), Tom Sab (North-East style spicy meat soup), Som Tum (papaya salad), Khai Yang (grilled chicken), Koy (spicy fresh meat salad), Lab (spicy minced meat salad), Num Tok (spicy grilled meat salad), Soup Nor Mai (spicy bamboo shoot salad), Jew Bong (North-Eastern anchovy paste), Num Prik Pon Pla (ground fish paste with chili), Mok (spicy meat roast), Pkad Mee Korat (Korat stir-fried noodle), and Khanom Chin Num Ya Pa (rice noodle with spicy red curry soup); Local Thai Cuisine of Central of Thailand, such as Keang Khua (pork curry with morning glory), Keang Boun (a layout of pork innards and assorted condiments), Tom Ka Ti Sai Bou (lotus stalk and mackerel in coconut soup), Keang Pa (hot and spicy mixed vegetable soup) , Num Prik Ma Moung (chilli paste with mango), Lon Toa Chiew (coconut milk chilli dip) , Sausage Planam (shredded fish mixed with slice of pork skin), Mee Ka Ti (coconut noodle), Senchun Phad Poo (Chantaburi noodle stir-fried with crab), Khanom Chin Num Prik (rice noodle with sweet red curry), Khanom Chin Sow Num (rice noodle with ground dry shrimp, pineapple slices and coconut cream) and Local Thai Cuisine of South of Thailand, such as Keang Tai Pla (fish entrail curry), Keang Leung (sour yellow curry), Khua Kling (Southern style hot and spicy stir-fried pork), Num Prik Jon (chilli paste with baby mango), Num Prik Kung Sieb (roast 47

shrimp chilli paste), Nam Prik Boo Doo (fermented fish innard chilli paste), Pla Tod Khamin (fried fish with turmeric and garlic), Khai Kor Rae (roast chicken pasted with curry), Kheuy Num (steamed egg with shrimp paste and coconut cream), Khow Yum Puk Tai (Southern style rice salad), Khanom Chin Num Ya (rice noodle with spicy red curry) and Toa Kua (noodle with tofu and boiled eggs) 5073353 อาหารวา่ งไทย 3(2-2-5) Thai Snacks ความหมายและความสำ�คัญของอาหารว่างประเภทต่างๆ วัตถุดิบ วิธีการปรุง อุปกรณ์ในการผลิต อาหาร ศิลปะการประกอบอาหารเพอ่ื การจดั ตกแตง่ อาหารวา่ งไทย และการจดั เสริ ฟ์ ในโอกาสตา่ งๆ Meaning and the importance of various Thai desserts, ingredients, cooking methods, kitchenware, Thai culinary arts for decoration of Thai snacks and serving in some special occasions 5073354 ขนมไทยพนื้ บ้านและขนมไทยร่วมสมัย 3(2-2-5) Local and Contemporary Thai desserts ขนมไทยพน้ื บา้ นและขนมไทยรว่ มสมยั ทน่ี ยิ มในปจั จบุ นั ประเภทวตั ถดุ บิ อปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ในการ เตรยี มและประกอบขนมไทย การจดั ตกแตง่ และการจดั เสริ ฟ์ ฝกึ ปฏบิ ตั ขิ นมไทย ไดแ้ กข่ นมตม้ แดง ตม้ ขาว ขนมโค ข้าวเหนียวแก้ว ข้าวเหนียวแดง ข้าวเหนียวมูนหน้าต่างๆ ข้าวตู ข้าวเหนียว หน้านวล ข้าวต้มมัด ข้าวเม่าคลุก ขนมครก เล็บมือนาง ตะโก้ ขนมเปยี กปูน ขนมกล้วย ขนมตาล ขนมสอดไส้ ขนมชน้ั ขนมถว้ ยตะไล ขนมสาล่ีอบ ขนมบา้ บน่ิ ขนมหมอ้ แกง กลว้ ยบวดชี ขนมปลากริม บวั ลอย ลอดชอ่ งน้ำ�กะทิ ทับทมิ กรอบ สาคูเปียก กลว้ ยเชอื่ ม ขนมขี้หนู ไข่หงส์ และขนมกง The local and contemporary Thai dessert, categories, raw materials, tools and equipments for using in preparation and cooking, decoration and serving and practical session on Thai dessert such as Kha Nom Tom Daeng Tom Khaow (red and white glutinous rice flour dumpling), Kha Nom Ko (caramelized coconut dumpling in coconut cream), Khao Niew Kaew (glossy glutinous rice), Khao Niew Daeng (red glutinous rice), several kinds of topping on Khao Niew Moon (glutinous rice with topping), Khao Too (sun-dried rice mixed with palm sugar and shredded coconut), Khao Niew Na Nuon (glutinous rice topped with coconut cream and black bean), Khao Tom Mad (filled glutinous rice paste with coconut milk and black bean wrapped with banana leaves), Khao Mow Klook (unhusked young rice paste with shredded coconut meat and sugar), Kah Nom Krok (baked rice pudding), Leb Meu Nang (sticky rice flour topping with shredded coconut meat), Tako (rice and flour custard with coconut cream), Kha Nom Piak Poon (rice flour custard), Kha Nom Kluay (steamed banana cake), Kha Nom Tarn (toddy palm cake), Kha Nom Sod Sai (filled coconut cream), Kha Nom Chun (layer rice cake), Kha Nom Thouy Ta Li (steamed rice flour topping with coconut cream), Kha Nom Sali Ob (wheat flour cake), Kha Nom Ba Bin (barbille), Khanom Mor Keang (mung bean flour pudding) , Kluay Buat Chi (simmered banana in coconut milk), Kha Nom Pla Grim (sweet and salt rice flour in coconut cream), Bua Louy (glutinous rice dumpling in coconut milk), Lod Shong Num Kra Thi (rice noodles with coconut milk), Thup Thim Krob (mock pomegranate seed in ice coconut milk), Sa Koo Piak (tapioca pearls pudding), Kluay Chuem (boiled banana in sticky syrup), Khanom Ki Noo (sweet rice flour powder with shredded coconut meat), Khai Hong (fried rice flour ball stuffed with spicy mung bean) and Khanom Kong (fried mung bean flour) 48

5073355 การประกอบอาหารเอเชยี 2 3(2-2-5) Culinary of Asia II ประวัติความเป็นมาอาหารเอเชีย วัฒนธรรมอาหารเอเชียและหลักการประกอบอาหารเอเชียของ ประเทศอินเดีย เวียดนาม อินโดนีเซีย และมาเลเซีย เทคนิคในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ในการเตรียมวัตถุดิบ การประกอบอาหาร การตัดแต่ง การน�ำ เสนอ และฝกึ ปฏบิ ตั ิ กลุม่ อาหารอนิ เดีย ไดแ้ ก่ ชเิ กนทนั โดรี ขนมปังนาน ทิก้ามาซาล่าไก่ ซาโมซา่ บรยิ านไี ก่ ไลต้า ซปุ ดาร์ ชัทเน่ เซฟ่อนไรส์ ชกิ เกนบัตเตอร์ กุหลาบจามนู และมะม่วง พดุ ดง้ิ กลุ่มอาหารเวียดนาม ได้แก่ เฝอ บัน่ กว๋ น จา๊ วโตม แหนมเนอื ง บั้นแซว่ บน้ั หอย บ๋นั หม่ีอ๊อบลา และบั๋น หม่ีปาเต้ กล่มุ อาหารอนิ โดนีเซยี ไดแ้ ก่สะเตะ๊ กาโดกาโด นาสิโกเรง เรนดงั บคั มโี กเรง หมอี่ ะยัม ขา้ วต้มมัดไส้ไก่ แซมบัล เบอเบคเบอตูตู ดาดาร์กุหลัน และโกลัค กลุ่มอาหารมาเลเซีย ได้แก่ ลักซา บะกุ๊ดเต ชาร์ก๋วยเต๋ียว ชลิ ีแซมบลั อิน ชคิ าบนิ นาสเิ ลอมกั ลัคซาแซมบัคอุดงั โรจกั โรตจี าไน โรตีจาราเซรมิ กุ ะ และกุระมิลากา History of Asia food, food culture, principles of cooking in various categories of Asian cuisines from India, Vietnam, Indonesia and Malaysia, Equipments and tools using techniques for raw materials preparation and cooking, dishes decoration, and practical sessions; Indian cuisine such as Tandoori Chicken (roasted chicken marinated in yoghurt seasoned with herbs and spices), Nan Bread (slightly leavened bread in a large flat leaf shape), Chicken Tikka Masala (roasted chicken chunks served in rich-tasting orange-colored sauce), Samosa (samosa pastry filling with spiced potatoes, vegetable, or minced meat), Chicken Biryani (steamed fragrant yellow rice covered with chicken), Raita (spiced yogurt with cucumber), Dal Soup (Lentil soup), Chutney (yogurt dip with tomato cucumber and mint), Saffron rice (steamed basmati rice with saffron), Chicken Butter (butter chicken curry), Gulab Jamun (deep-fried donuts soaked in sugar syrup) and Mango Pudding (dessert made from mango puree and milk); Vietnamese cuisine such as Pho (noodle soup served with basils, mint leaves, and bean sprouts), Banh Cuon (stuffed steamed rice-skin dumplings with pork), Chao Tom (fried seasoning shrimp on sugarcaned skewers), Nem Nuong (grilled seasoning pork ball wrapped with rice flour sheet, mixed vegetables served with peanut dipping sauce), Banh Xeo (stuffed crispy egg crepe), Banh Hoi (grilled pork with rice vermicelli), Bun Mee Obb La (fried egg topped with Vietnamese pork sausages served in hot pan) and Banh Mi Pate (sandwich with pâté, Vietnamese sausage and meat); Indonesian cuisine such as Satay (skewer of marinated meat), Kado Kado (mixed vegetable salad with peanut dressing), Nasi Goreng (stir-fried rice with flavoring paste served with eggs, sausages, prawn crackers, pickled cucumbers and carrots), Beef Rendang (stewed beef in coconut milk and spices), Bakmi Goreng (stir-fried thin noodles with eggs, meat and vegetables), Mee Ayam (boiled egg noodles in stock and topped with succulent slices of gravy-braised chicken), Khao Tom Mat Sai Gai (steamed small bundles of rice wrapped in coconut leaf), Sambal (spicy condiment of chili based sauce) and Bebek Betutu (roasted duck in banana leaf); Malaysian cuisine such as Laksa (spicy noodle based curry soup), Bak Kut Teh (meaty pork ribs simmered in complex broth of herbs and spices), Mee Rebus (spicy slightly sweet curry-like gravy garnished with a hard boiled egg, calamansi limes, spring onions, Chinese celery, green chillies, fried firm tofu, fried shallots and bean sprouts), Nasi Lemak (steamed rice in coconut cream with herbs and spices wrapped in banana leaf served with cucumber slices, small fried anchovies, roasted peanuts, hard boiled egg, and sambal), Ayam Percik (spicy barbecued marinated chicken in chili and turmeric powder), Ayum Goreng Kunyit (deep-fried turmeric chicken), Roti Canai (grilled circular and flat puffed bread usually served hot with curry), Tosei (thin pancake made from rice flour served with curry) and Rojak (fruit salad topped with a spicy sauce of shrimp paste and toasted nut) 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook