Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2562

คู่มือหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2562

Published by Regis, 2020-04-13 05:06:35

Description: คู่มือหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปี 2562

Search

Read the Text Version

ท ย า ลั ย ส ว ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิว น ดุ ส น ดุ ส ท ย า ลั ย ส ว ม ห า ิว ม ห า ิวท ย า ลั ย ส วน ดุ สิ ต น ดุ สิ ต

2

ส า ร บั ญ 5 ประวัตคิ วามเป็นมาของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 9 รายนามผ้บู รหิ ารและอาจารย์ หลักสูตรของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต 13 สาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร ระดบั ปรญิ ญาตรี 18 แผนการเรียนตลอดหลักสูตร สาขาวชิ าภาษาและการสอื่ สาร 20 ค�ำ อธิบายรายวชิ า สาขาวิชาภาษาและการส่อื สาร 33 สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ระดบั ปริญญาตรี 40 แผนการเรียนตลอดหลักสตู ร สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ 42 ค�ำ อธิบายรายวิชา สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ 60 สาขาวิชาจิตวทิ ยาอตุ สาหกรรมและองคก์ าร ระดบั ปรญิ ญาตรี 65 แผนการเรยี นตลอดหลกั สูตร สาขาวิชาจิตวิทยาอตุ สาหกรรมและองค์การ 67 ค�ำ อธิบายรายวชิ า สาขาวชิ าจิตวทิ ยาอตุ สาหกรรมและองค์การ ภาคผนวก 81 หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 3

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

ประวตั คิ วามเป็นมาคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ประวัตคิ วามเป็นมา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ กอ่ ตงั้ ขน้ึ ตามพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518 เดมิ เรยี กวา่ “คณะวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์” มีภาควชิ าในสังกดั 11 ภาควชิ า ในปี พ.ศ. 2523 ไดเ้ รมิ่ เปดิ สอนหลกั สตู รระดับปริญญาตรี 4 ปี ภาคปกติ มวี ชิ าเอก 4 วชิ า คอื วิชาเอกภาษาไทย ภาษาองั กฤษ สังคมศึกษา และศิลปศกึ ษา ต่อมาไดม้ กี ารพัฒนาหลักสตู รปริญญาตรีเพม่ิ ขน้ึ ตามล�ำ ดับ ดงั นี้ พ.ศ. 2528 หลงั จากทไี่ ดแ้ กไ้ ขปรบั ปรงุ พระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถ เปดิ สอนสายวชิ าการอน่ื ได้ นอกเหนอื จากสายวชิ าชพี ครู คณะฯ จงึ เรม่ิ เปดิ สอนสายวชิ าการอน่ื เปน็ ปแี รก โดยเรมิ่ เปดิ สอน ในระดบั อนปุ ริญญา คอื อนปุ ริญญาศิลปศาสตร์ (อ.ศศ.) 2 วิชาเอก ไดแ้ ก่ ภาษาองั กฤษ และออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ และเปิดรับนักศึกษาชายเป็นสหศึกษาเป็นปแี รก พ.ศ. 2529 ขยายการเปิดสอนระดบั ปริญญาตรีสายวชิ าการอน่ื โดยเปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลักสตู ร ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) วชิ าเอกภาษาองั กฤษ และเปิดสอนระดบั อนปุ รญิ ญาศิลปศาสตร์เพิ่ม คอื วิชาเอกภาษา องั กฤษธุรกจิ และเปดิ สอนในโครงการจดั การศกึ ษาส�ำ หรบั บคุ ลากรประจำ�การ (กศ.บป.) พ.ศ. 2531 ขยายการเปดิ สอนเพ่ิม ระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) และ (2 ปี หลงั อนปุ ริญญา) วชิ าเอกศลิ ปกรรม (ออกแบบนเิ ทศศิลป์) พ.ศ. 2533 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (2 ปี หลงั อนปุ รญิ ญา) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ (ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2533 ส�ำ หรับนักศกึ ษาภาคสมทบ) พ.ศ. 2534 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ สำ�หรับนักศึกษาภาคปกติ และภาคสมทบ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานชอื่ “สถาบนั ราชภฏั ” แก่วทิ ยาลัยครทู ัว่ ประเทศ พ.ศ. 2538 ไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั สิ ถาบนั ราชภฏั พ.ศ. 2538 สง่ ผลใหว้ ทิ ยาลยั ครู สวนดสุ ติ เปลย่ี น ชื่อเปน็ “สถาบันราชภฏั สวนดสุ ติ ” สงั กดั สำ�นักงานสภาสถาบนั ราชภฏั กระทรวงศกึ ษาธิการ คณะวชิ ามนษุ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ จึงได้เปลี่ยนเป็น “คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์” และตำ�แหน่งหัวหน้าคณะได้เปล่ียนเป็น “คณบดี” พ.ศ. 2541 เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษา ฝรัง่ เศสธรุ กิจ ส�ำ หรับนกั ศึกษาภาคปกติ พ.ศ. 2542 เปดิ สอนภาคปกติ ระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ และระดับอนปุ ริญญาศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชาออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ ณ ศูนย์ ธนาลงกรณ์ นอกจากนี้ยังเปิดสอนภาคสมทบ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต โปรแกรมวิชา รฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศูนย์ปราจนี บุรี พ.ศ. 2543 เปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชาภาษาไทย และโปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ไดข้ ยายการเปดิ โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกสถาบนั เพ่ิมอีก 7 ศนู ย์ ได้แก่ ส�ำ หรับนักศกึ ษาภาคปกติ ณ ศูนยส์ ุโขทยั และ ส�ำ หรบั นกั ศึกษาภาคสมทบ ณ ศนู ย์นครปฐม ศูนย์นครนายก ศูนยช์ ลบรุ ี ศูนย์พัทยา ศนู ย์สระบรุ ี ศนู ย์พะเยา - เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ปี) หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าบรรณารกั ษศาสตร์และ สารนเิ ทศศาสตร์ ณ ศนู ยพ์ ณชิ การสยาม กรุงเทพมหานคร - เปดิ สอนระดับปริญญาตรี (4 ป)ี หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ าภาษาอังกฤษธุรกิจ ณ ศูนยช์ ลบรุ ี พ.ศ. 2544 ขยายการจดั การศกึ ษา ตามโครงการความรว่ มมือกบั ศนู ย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรียน อ�ำ เภอ บ้านแพ้ว จงั หวัดสมทุ รสาคร เปิดสอนระดับปรญิ ญาตรี (4 ปี) หลกั สูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ า รัฐประศาสนศาสตร์ 5

พ.ศ. 2545 เปิดสอนระดับปริญญาตรี (4 ป)ี หลกั สูตรนิติศาสตรบณั ฑิต (น.บ.) โปรแกรมวิชานติ ศิ าสตร์ ภาค สมทบในมหาวทิ ยาลยั ศนู ยต์ รงั และศนู ยห์ วั หนิ เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตร(ี 4 ป)ี หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ โปรแกรมวชิ าภาษาอังกฤษธรุ กจิ และโปรแกรมวิชาพัฒนาชุมชน ภาคสมทบ ศนู ย์ หวั หนิ พ.ศ. 2546 เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาตรี (4 ป)ี หลกั สตู รนติ ศิ าสตรบณั ฑติ (น.บ.) โปรแกรมวชิ านติ ศิ าสตร์ ตามโครงการ ความรว่ มมอื จดั การศกึ ษาหลกั สตู รนติ ศิ าสตร์ ส�ำ หรบั บคุ ลากรส�ำ นกั งานศาลปกครอง ณ อาคารเอม็ ไพรท์ าวเวอร์ ชน้ั 33 เลขที่ 195 ถนนสาธรใต้ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร - เ ปลยี่ นสาขาวชิ าจากสาขาศลิ ปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) โปรแกรมวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ เปน็ สาขารฐั ประศาสน ศาสตรบณั ฑิต (รป.บ.) โปรแกรมวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ แทน พ.ศ.2547 สถาบนั ราชภฏั สวนดสุ ติ ไดป้ รบั เปลยี่ นสถานภาพจาก“สถาบนั ”เปน็ “มหาวทิ ยาลยั ”ตามพระราชบญั ญตั ิ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ พ.ศ. 2547 เมอ่ื วนั ท่ี 15 มถิ ุนายน พ.ศ. 2547 ช่ือวา่ “มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต” พ.ศ. 2548 เปดิ เพม่ิ หลกั สตู รปรญิ ญาตรี (4 ป)ี ศลิ ปศาสตรบณั ฑติ โปรแกรมวชิ าออกแบบแฟชนั่ และโปรแกรม วิชาออกแบบสอ่ื สิ่งพมิ พ ์ พ.ศ. 2549 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ เปน็ สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ติ ตามประกาศ กระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง การแบง่ ส่วนราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดสุ ติ ลงวนั ท่ี 22 พฤษภาคม 2549 และ เปล่ียนการจัดการศึกษาระดับหลักสูตรจากโปรแกรมวิชาเป็นหลักสูตร โดยมีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้รับ ผิดชอบจดั การศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 ไดเ้ ปดิ หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าออกแบบการแสดงนทิ รรศการ จดั สอนทศ่ี นู ยส์ พุ รรณบรุ ี และหลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 จากการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของมหาวิทยาลัย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ได้ถูกโอนไปสังกัดโรงเรียนการเรือน และสาขาวิชาออกแบบการแสดงและนิทรรศการโอนไปสังกัด โรงเรยี นการท่องเที่ยวและการบริการซึง่ เปน็ นโยบายเทยี บเท่าคณะท่ีจัดต้งั ใหม่ พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ได้เปล่ียนสถานะเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ ตามพระราช บญั ญัตมิ หาวิทยาลยั สวนดุสติ พ.ศ. 2558 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วันที่ 17 กรกฎาคม 2558 มผี ลบังคับใช้ ต้งั แตว่ ันท่ี 18 กรกฎาคม 2558 โดยใช้ชอื่ วา่ “มหาวทิ ยาลยั สวนดุสติ ” ในปีการศึกษา 2562 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ รับผิดชอบจัดการศึกษาในการผลิตบัณฑิตระดับ ปรญิ ญาตรี ดังน้ี ระดับปรญิ ญาตรี จ�ำ นวน 1 หลักสูตร 3* สาขาวิชา ประกอบด้วย หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) จ�ำ นวน 3 สาขาวชิ า 1. สาขาวชิ าภาษาและการส่ือสาร 2. สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 3. สาขาวชิ าจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและองคก์ าร 6

ปรัชญา มหาวิทยาลัยสวนดุสิต “เป็นมหาวิทยาลัยท่ีมีความสามารถในการสร้างความเข้มแข็งในการอยู่รอด (Survivability)” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ตระหนักถึงปรัชญาของมหาวิทยาลัย ในการพัฒนากำ�ลังคน เพ่ือตอบสนองความต้องการของสังคมแห่งคุณภาพ และสังคมแห่งการเรียนรู้ จึงเน้นปรัชญาในการดำ�เนินการ คือ “คณุ คา่ ของมนุษยอ์ ยทู่ ี่การพัฒนาตนและสังคมอยา่ งต่อเนอ่ื งบนพ้นื ฐานของคุณธรรมและจริยธรรม” วสิ ัยทัศน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นคณะที่จัดการศึกษาเฉพาะทางท่ีเน้นในสาขาวิชาที่มีความเช่ียวชาญ เปน็ เลศิ ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพ สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละนวตั กรรมใหเ้ ปน็ ทย่ี อมรบั ไดใ้ นภมู ภิ าคอาเซยี น ภายใตก้ ารบรหิ าร จัดการเชงิ พลวัต พันธกิจ ผลิตบัณฑิตสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับและต้องการของสังคม โดยมีจุด เด่นด้านบุคลิกภาพเฉพาะตามวัฒนธรรมสวนดุสิต สร้างสรรค์ พัฒนางานวิจัย และเผยแพร่องค์ความรู้ทั้งทางด้าน มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สชู่ มุ ชน สงั คม ประเทศชาติ และนานาชาติ ทำ�นบุ ำ�รุง พัฒนามาตรฐาน และเผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมไทย ให้เป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคอาเซียน ตามหลักการบริหารจัดการเชิงพลวัต มีความยืดหยุ่น สามารถปรบั ตัวให้สอดรับกบั สภาวการณไ์ ด้เป็นอยา่ งดี เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนไดร้ ับโอกาสการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ืองตามศักยภาพ 2. บัณฑิตมคี ุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร เปน็ ทย่ี อมรับในระดบั ภมู ิภาคอาเซียน 3. นักศกึ ษา บุคลากร และประชาชน ตระหนักในคุณค่าของศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย 4. คณะ มหาวทิ ยาลยั ชุมชน และสงั คม ไดป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรู้ท่สี ร้างข้ึน 5. พัฒนาศกั ยภาพบุคลากร และเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอยรู่ อดของมหาวทิ ยาลยั 7

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ รายนามผบู้ ริหารและอาจารย์ คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ Suan Dusit

Faculty of Humanities and Social Sciences รายนามผบู้ ริหารและอาจารย์ คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ผบู้ ริหารคณะ ดร.มนรดา เลศิ จริ วณชิ ย์ MLPihn.A.gD.u.(iM(sDtiacossct)etorrooffCLhiningeusiseticlasnganuadgAep) plied Pผlahศn.g.Dดu.รa(.gTฉeeตั a-รcTแhEiกnFว้gLใE)จnงgาliมsh as a foreign ศปสศารขะ.บาธ.วา(ิชนทากศั ภรนารศษมิลากปจาีน์)รบริหารหลักสตู ร กคคศ.ณบ.ม.บ(.ดก(ีคการณาสระสอมอนนนภุษภาษายษาศอาาอังสกงัตกฤรฤษแ์ ษ)ล )ะสงั คมศาสตร์ ผปศศสาศศรศร...ด.มบนด...เิร(ท((เ.บบบทศรรรคศรรรโาณณนพสาาโตตลรรรักยัก)์พีสษษิจาศศิตราาสรสสนกตตเำ�รรทแแเศนลลคิดะะุณส าภรานพิเ)ทศ รศ.ดร.ยุทธพงษ์ ลลี ากิจไพศาล สปศาารสขะาตธวาริช)์น ากบร รรรมณกาารรักบษริหศาารสหตลรกัแลสะูตสรารสนเทศ ปร.ด. (รฐั ประศาสนศาสตร์) ศาสตร์ พบ.ม. (รฐั ประศาสนศาสตร์) ผกจศ.ด.ด.ร(.กสาุดราจรดั ัตกานร์ กเทารพศพึกมิษลา) รป.บ. (บรหิ ารงานบคุ คล) ปคค..รบมะ..ธ((าศศนลิิลกปปรศศรกึึกมษษกาาา))รบรหิ ารหลักสตู ร รองคณบดีฝ่ายวชิ าการ สาขาวิชาศิลปศึกษา ศอศาจ.มา.ร(ยจิตศ์ วุภทิ มยิตารอุตบสวั าเหสกนราระมและ รวออทงคง.บค์ก.ณา(รจบ)ิต ดวีฝิท่ายยาก) จิ การนักศกึ ษา ผศ.ปริศนา ฟองศรณั ย์ ศศศศ..บม.. ((ภภาาษษาาไไททยย)) สปารขะาธวาชินากภรารษมากไาทรยบรหิ ารหลกั สตู ร ดร.ศุภศริ ิ บญุ ประเวศ ศคศษษ.ด...มบ(..บ((รกภหิ าาารษรสากอไาทนรยภศ)ากึ ษ ษาาไ )ทย) ปสารขะาธวาชินากภรารษมากแาลรบะกรหิาราสรห่ือสลาักรสูตร ผศ.ดร. ชยาพล ชมชยั ยา Pศตษา่hง..Dมป..ร((ะIกnเทาEรศสd) อuนcaภtาioษnา)อ งั กฤษในฐานะภาษา ศปสศารขะ.บาธ.วา(ิชนภากาภษราราษมอากังอกางัรฤกบษฤร)ิหษารหลักสตู ร อศปสศศษาารขะจ..มบาธา..วาร((ิชนยภภาก์กาาภษรษนาราากษมศอวากาังอรสากรงัรตฤกณบรษฤรป์ )หิษก ระาธุลรยรุสหกกุ ทุ ลตจิ ธัก)์ ิ์ สูตร ผสวทสศ...มดด..ร((.จกสิตาฤรวษบทิ รดยหิ าิ์ ศาอรรตุ สโีสยังาคธหมินก) ร รม) สวปทารขะ.บาธ.วา(ชินจาิตกจวรติ รทิ วมยทิ กาย)า ารอบตุริหสาาหรหกลรรกั มสแตู ลระองค์การ 9

อาจารยป์ ระจ�ำ หลักสูตร ศผภศาศษ..มธา.นอ(ภังศการฤษวษาิสศแุทบาสบธตพว์ิ ราง่ึ ป์ รตรินนะทเยอรกุ ง์ต) ์ ดา้ นการเรยี นรู้ อาจารย์THAI DUONG สาขาวิชาภาษาและการส่ือสาร วท.บ. (เทคโนโลยที างอาหาร) B.A. (Economics) Mอา.Aจ.า(รAยp์สpุณlieาdกLงั inแgฮu istics) อDาipจloาmรยa์ OinliLvainagPuaatgreicLiaierLaacuyrena ศดคษ.รด...ศม(.ุภบ(ศรกหิิราาิรบสรกญุอานปรภศราึกะษเษวาาศไ)ท ย) ศษ.บ. (ภาษาองั กฤษ) BM.EaSdncua. gc(Haetmoioteennl ta)nd Restaurant ศษ.บ. (ภาษาไทย) ศผศศ..มส.ทุ (ภธาาษสานิ ศี าเกสสตรรเ์ป์ พร่ือะกทาุมร ศอศาจ.มา.ร(ยไท์ธยนศญั กึ ษชยา)์ ชยั วุฒมิ ากร ฝคสรือ่.บงั่ส.เาศ(รภส)า) ษ อังกฤษและภาษา อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร ศศ.บ. (นาฏศิลป์) ผMBศ..SA.cน..(รี (EูCnชhgสู elตัimshยis)ส์ trกyุล) สาขาวชิ าภาษาองั กฤษธุรกจิ ศอศาจ.มา.ร(ยภ์พาษราเพไทญ็ ย)เหล็กดีเศษ ศดPศhร...Dมณ.. ัฐ((ภLพiาnรษgโาuอแisวลtาiะcทกsาน)รุพพัฒัฒนน ์าวฒั นธรรมเพื่อ ศศ.บ. (ภาษาไทย) กศาศร.บส.่อื (สภาารษแาลอะังกกาฤรษพ)ัฒนา) ศอศศษาจ..มบา..ร((ยภภ์กาาษษนาากศอวางั รสกรตฤณรษ์ป)กระลุ ยสกุ ทุ ตธ์)์ิ ศผษศ..ดด.ร(.หสลมักโภสตูชรนก์ าพรสนอานวภาาสษาองั กฤษ) ดร.อภิรดี ผลประเสรฐิ MMผศ..BA.ข..Aจ(.Tนี (EMุชFaLเr)ชkาeวtiนngป)รชี า กศศศ..บม.. ((หภาลษกั าสอูตงั รกกฤาษรส) อนภาษาองั กฤษ) ศเคคทศ..บดค.ม..โน((.กภ(โาภลารษยาศษี)าึกอาษองั กาังนกฤอฤษกษ) รสะำ�บหบรบัโรวงิทเรยยี านศ)าสตรแ์ ละ บธ.บ. (การเลขานกุ าร) ดร.สรพล จิระสวสั ด ิ์ ศแศPผลศศhศะ....Dบมดก...รา(((ร.ภภLวพaาารฒัnษษวgาาิทนuแอายaลัง)์gกะกeฤวิจฒัษaเจ)nนรdธิญรCรไมoพmเบพmูล่อื ยกunา ์ รicสaอ่ื tiสoาnร) ดค.รด..ว(ิลหาลสักนิ สีตู พรลแอละยกเลาร่ือสมอแนส)ง ศLPaศhn..Dมg..u((aกEgาneรg)สlisอhนภasาษaาnอIงั nกteฤrษnเaปti็นoภnaาlษา ศคEDดศ.dร.บEu..ม.วdc(.น.aภ((ดิtกLาioษาาanรnาอ)สgอัญอuงั นกaชgฤภลeษาวี ษ)aทิ าnยอdกังกLุลiฤ teษr)acy Mศศ.A.บ. .((MภAาษTEาอSังLก)ฤษ) อต.่าบง.ป(รภะาเษทาศอ)งั กฤษ) ผศอ.ศศบ..ม.ส(.ุดภ(ญสาษวี่ปาานุ่ อทศังกึกจษฤนั ษาท)) รด์ ำ� ผศ.สดุ ารัตน์ เจตนป์ ญั จภัค ดร.วรกมล วงษส์ ถาปนาเลิศ DEอdา.Eจudcา.aร(tยLioa์ยnnพุ )gนิ uaพgิพeัฒanนd์พLวiงteทraอcงy ศศศศ..บม.. ((ภภาาษษาาแอลังกะฤกษาร)สอื่ สาร) ศศศปปศ...ดมบ... (((นนนาาาฏฏฏยยยศศศิลลิิลปปป์ไไ์์ไทททยยย))) ศศศศ..มบ.. ((ภภาาษษาาฝฝรรัง่่ังเเศศสสศ) กึ ษา) อาจารยJ์ analyn Ramos DDดรiippdNT.แlleeÔÔaวcsmmti่นhoeennแLoaaกddllnoeeeว้ ggsMDuลieeeoพีastscsง่ึ E,ttธeetCrรurauรrenlมtengun er´SerDcseisiedenatccCetiiqsriluiesetations B.Sc. (Computer Science) อาจารย์ประจำ�หลกั สูตร ศศ.บ. (ภาษาฝรงั่ เศส) สาขาวิชาภาษาไทย ดปคมรร...ดพ(.บร(พรภหิ าิศาษรงากาศามารสพศตงึกรษษ)์ ์ า) อาจารย์ประจ�ำ หลกั สตู ร ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) สาขาวชิ าจิตวทิ ยาอุตสาหกรรมและ ศศผศศศ...บมป.. ((รภภศิ าานษษาาาไไฟททอยย))ง ศรณั ย ์ Bอา.Aจ.าHรoยn์ As n(Mdrueswic)C o ltrane องคก์ าร โศคอรศ.ามงจ.เบ.รา(.ียกร(นยาภ)ร์รา สกัษอษานไ์ศทภิรยาิ ษช-กาุณไาทรหศยพกึ) ันษธานรักอษกร ์ ะบบ LMอaา.Anจg.าu(รTaยeg์ aeIcV) hAinNg NEnEgWlish as a Foreign คกผศ.ศบ..ม.ส(.�ำภ(เภานษาียษางไาทไฟทยา้ )ย ก)ระจา่ ง SBo.Ac.ioHloognys) (History and ผสวทสศ...มดด..ร((.จกสติาฤรวษบทิ รดยิหาิ์ ศาอรรุตสโีสยังาคธหมนิ ก) รรม) ผศ.เบญจมาศ ขำ�สกลุ อาจารย์Takenori Okajima วท.บ. (จิตวิทยา) ศศศศ..มบ.. ((ภภาาษษาาศไทายส)ตร)์ B .A. (Econo mics) วอทา.จมา.ร(ยจิต์ปวทิทุมยพาอรุตโสพาธห์กิ การศรม ) ผศ.ดร.สิริมา เชยี งเชาวไ์ ว วท.บ. (จติ วิทยา) ออ..มด.. ((ภภาาษษาาไไททยย)) กผศศ..มอ.ัม(จพติ รวศิทยรีปาพรัฒะเนสารกฐิ าสรุข) ศศ.บ. (ภาษาไทย) กศ.บ. (ภาษาไทย) กผศศ..มพ.ัศ(จริตินวททิ ์ ยกา่อแเลละศิ กวารรพแนงศะแ์ นว) อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร ค.บ. (สุขศึกษา) สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ศอศาจ.มา.ร(ยจิตศ์ วภุ ิทมยิตารอุตบสัวาเหสกนราระมและองคก์ ร) วท.บ. (จิตวทิ ยา) ผศ.ดร. ชยาพล ชมชยั ยา ตศPษ่าhง..Dมป..ร((ะIกnเทาEรศสd) อuนcaภtาioษnา)อังกฤษในฐานะภาษา อาจารยป์ ระจำ�หลกั สตู ร ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) สาขาวชิ าบรรณารักษศาสตรแ์ ละ Eผdศ..Dด.ร(.TนEวSรOัตLน์Aเตppชlะieโdชควิวฒั น์ สารสนเทศศาสตร์ อกLiศ.nบ.gม. u(.ภi(sภาtiษาcษsา)เา ยออังรกมฤนั ษ)) รกกศศจ...ดมด..ร((.กบสารุขรรุมจณดั เากฉรากัลรษยสศท่ือาสรสพัาตรยร) ์)์ ศ.บ. (ภมู ิศาสตร)์ ผปรศ.ด.ด. ร(เ.บทรครโนพโตลยพสี ิจาติรสรนกเำ�ทเศนคิดุณ ภาพ) ศศศศศาส..บมต..ร((์)บบ รรรรณณาารรักักษษศศาาสสตตรรแ์แ์ ลละะสสาารรนนเิิเททศศ ศาสตร)์ 10

ผปวทรศ..ด.มด..ร((เ.เปททรคคิศโโนนนโโลาลยยสีมกี าาชั รรฌสจนดัิมกเาทา ศรร)ะบบ อาจารยป์ ระจ�ำ หลกั สูตร อาจารย์พิษฐา พงษป์ ระดิษฐ วสทาร.บส.น(เวทิทศย)า ศาสตรส์ ิ่งแวดลอ้ ม) สาขาวชิ าภาษาจีน ทววททรัพ..มบย.. า((เเกทกรษค) โตนรโศลายสที ตี่เรห)์ มาะสมเพ่ือการพัฒนา ผศ.ดร.บุญญลกั ษม์ ตำ�นานจติ ร LดPihรn..gDมu.นi(sรDtiดcosาc)toเลrศิ oจf ิรLวinณguิชiยst ์ ics and Applied กลุ่มวิชานาฏศลิ ป ์ คศปษ.รบ..ด.ม.(.เ(ท(เเทคทคโคนโโนโนลโโลยลยแียเีลีกทะาคนรนศวิคตัึกศษกึกราษร)มาท) างการศกึ ษา) ศMศ.A.บ. .((Mทaศั sนteศrลิ oปf์)Chinese language) ผศ.ดร.รสริน สุทองหล่อ อาจารย์ณภัคกญั ญา ตรารุ่งเรอื ง กAEศdd..mDม..in((iอEsุดtdrมautcศioaกึ ntษio) าn)al กปดศรร...ดมน..นั ((เเทททวคคันโโนนเโโรลลอื ยยงีกกี อาารรรศา่ศมึกกึ ษษ าา)) MoBt..hAAe..r((CTLheaianncgehusiaenggLeaCsn)h ginu easgee to Speakers of ค.บ. (นาฏศิลป)์ บธ.บ. (การจดั การ) and Culture) อศศาจ.มา.ร(ยน์เาอฏอ้ื ยมศลิพปรไ์ ทเยน)า ว์เย็นผล คศษ.บ..บ(.น(าปฏฐศมลิวปยั )์) ปดรร..ดจ.ติ (ชเทนิ คโจนติ โลตยสิ ีเขุทพคนงษคิ ศ์ กึ ษา) oMอtา.hAจe.าr(รTLยea์จanิตcghตuianิพggรeCsช)hัย inป eรsะeกอtoบSวpริ eยิ aะke rs of บศศศศศาศาธสส...มบมตต...รร(((์))์กบบ ารรรรรตณณลาาารรดกััก)ษษศศาาสสตตรรแ์์แลละะสสาารรนนเิเิ ททศศ กศ.บ. (การสอนภาษาจีน) กลมุ่ วิชาดนตร ี ผปเศศศทศศารศคส...ด.บมโดตน...รร((โ()์น.บลบส วยรราัตรร)ี ย ณณกสราาดุรรรมากัักกษษปาศศ้ันราาเตรสสียรตตนะรรกรแ์แ์ แู้ลลลู ละะะ สสาารรสนนิเทเทศศ อMา.Aจ.า(รTยe์ดaาchราinรgตั Cนh์ อinินesทeรกto�ำ เSหpนeดิakers of คผ.ศม..อ(อรดุ ุณมีศึกโคษาต)ร สมบัต ิ ศาสตร์) ศotศh.บer. (Lจaีนnศgึกuษagาe) s) ศกศษ..บบ.. ((ดปุรฐิยมาวงยั ค)ศาสตร)์ อาจารย์นพรตั น์ ขนบธรรมกลุ กลุ่มวิชาประวตั ศิ าสตร ์ MBot..hAAe..r((BTLaeacanhcgehuliaongrgeoCsf)h Ainrte) s e to Speakers of ผปรศ.ด.ด. (รโ.บดรวางณกคมดลีสมอยั ปัศรวะมวาตั ศิศาสตร)์ อาจารย์ประจ�ำ หลักสตู ร อMoBtา..hAAจe..าr((รCTLยhea์ปianncรgehะusiภaengัสgLeรaCs์ n)นh giกnu เeaลsgศิeeพtaoนั nธSd ์ุpLeiatekreartsuroef) ศศศศ..บม.. ((โภบารษาาณอคังกดฤสี ษม)ยั ก่อนประวัตศิ าสตร)์ สาขาวชิ าศลิ ปศกึ ษา oMBอtา..hAAจe..าr((รCTLยhea์อiannิสcgehรusiิยaengาgLeดaCsn)วhgงinuคeaำ�sgee to Speakers of อาจารยป์ ระจ�ำ คณะ ผกคคจ..ศมบ.ด...ด.(((รศศก.ิลิลสาปปรุดจศศาัดกึึกรกษษตั าาานร))ก ์ าเรทศ พึกพษมิา)ล Business Field) รอคศศ.ศ.ดม..ม..ด((.รปศ(.ปลิรเนะปรวอื้ะศัตวอึกศิตั อ่ษาศิ นาสา)ตสขรตร์)ร วั ์ศท ิลอปงะเ)ข ยี ว อาจารย์ธนัญภัสร์ ศรเี นธยิ วศิน ค.บ. (ศิลปศกึ ษา) อาจารยป์ ระจำ�คณะ บศขนศธา..มบด..ย((อ่กกมาารร)จจดััดกกาารรธ) ุรกิจขนาดกลางและ ผปรศ.ด.ด. ร(ห.ปลฤกั ณสูตตั รแนลจั ะนกฤารตสยอ ์ น) กลมุ่ วิชาสังคมวิทยา ศคศ.ม.บ. (.ศ(ิลศปลิ ปศกึกษรราม) ) ผศ.วุฒินันท์ รัตสุข ศศผศศศ...มบธ..ว((ชัพพชัฒัฒยั นนาเาพชชนน็งพบบทนิทศศิจกึึก ษษ าา)) คศศ.บ.ม. (.ศ(กลิ าปรศอึกอษกาแ)บ บ) อาจารยฆ์ นา วีระเดชะ ศศ.ศม.บ. (.ป(ศระิลยปกุ กตรศ์รมลิ ป) ศกึ ษา) รศ.พิเชษฐ สุนทรโชติ กลุ่มวชิ าปรัชญาและศาสนา ศศ..บม.. ((จจติติ รรกกรรรรมม)) อาจารยว์ รวลญั ช์ นติ ย์จนิ ต ์ รอศ..ศมม..บ. ((.กป(ารรรฐััชปศญกาาคส)รตอรง์) ) บพผธศธ...มดด..ร((.กพอารทุ ระยัจพดั ทุสกธตาศริมา)น่ั ส นา) พธ.บ. (เศรษฐศาสตร)์ กล่มุ วิชาภูมิศาสตร์ ศผษศ..ดด.ร(.สเอิ่งแกวชดัยล้อพมุมศดกึ วษงา ) ศศ.ษบ..ม(.เศ(สร่ิงษแฐวศดาลส้อตมรศก์ ึกาษรคาล) งั ) ผศ.ดร.ยุสนีย์ โสมทศั น ์ คกปศ.รบ..ดม. .(.ส((ปภังครูมะมศิ ชศาาึกสกษตรราศ์))ึก ษา) 11

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร Suan Dusit

รหสะลาดขักับาปสวรูตรสหชิิญะรลาดาศขญกัับภาปิลสาาวรตปูตษชิิญรศราาี ศญาแบสลลิ ารตตปะรรกรศบณีาารณัสาสตรฑรอื่ ักิตบสษณั าศรฑาติสตร์และสารสนเทศศาสตร์ 1. ชอ่ื หลกั สตู ร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in Language Literacy and Communication ภาษาองั กฤษ : 2. ชื่อปริญญา ภาษาไทย ช่อื เต็ม : ศิลปศาสตรบัณฑติ (ภาษาและการส่อื สาร) ช่อื ยอ่ : ศศ.บ. (ภาษาและการสื่อสาร) ภาษาองั กฤษ ช่ือเตม็ : Bachelor of Arts (Language Literacy and Communication) ชอื่ ย่อ : B.A. (Language Literacy and Communication) 3. วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร 1) มที กั ษะการส่อื สารทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษ สามารถฟงั พดู อ่าน และเขยี นท้ังสองภาษาได้ 2) มองเห็นคุณค่าและความสำ�คัญของการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างถูกต้องและเหมาะสมกับ สถานการณ์ 3) มีความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่ออำ�นวยความสะดวกในการศึกษาและ การท�ำ งาน 4) มีมนษุ ยสมั พนั ธท์ ด่ี ี สามารถท�ำ งานร่วมกนั เป็นหมูค่ ณะ กลา้ คดิ กลา้ แสดงออกแสดงบทบาทของผนู้ ำ�และผู้ ตามท่ดี ี มบี คุ ลกิ ภาพตามวัฒนธรรมสวนดสุ ิต 5) มคี วามรับผิดชอบตอ่ หนา้ ที่ เคารพกฎระเบยี บขอ้ บังคับ อยใู่ นระเบยี บวินยั และสามารถปรับตวั อย่รู ่วมกัน ในสงั คมพหวุ ัฒนธรรมได้ 4. คุณสมบัตขิ องผู้เข้าศึกษา 1) สำ�เร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาท่ีกระทรวงศึกษาธิการ รบั รองวิทยฐานะ 2) ผ่านการคัดเลอื กบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอดุ มศกึ ษาระบบกลาง (Admissions) 3) ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของมหาวทิ ยาลัยสวนดุสติ 4) ในกรณีท่ีเป็นนกั ศกึ ษาตา่ งประเทศจะตอ้ งสามารถพูด ฟัง อา่ น เขยี น และเข้าใจภาษาไทยเป็นอยา่ งดี และ จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ติ ามข้อ 1) และ 2) หรอื 3) โดยจะต้องผ่านการทดสอบของหลกั สูตร 5. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำ�เร็จการศกึ ษา 1) นักวิชาการ ผู้สอน และวทิ ยากรดา้ นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ 2) เจ้าหนา้ ทีก่ ระทรวงการตา่ งประเทศ พนักงานในองคก์ รระหว่างประเทศ 3) พนกั งานตอ้ นรบั ภาคพืน้ ดิน ลกู เรอื 4) เลขานุการ 5) นกั ข่าว ผู้ประกาศขา่ ว ผู้ดำ�เนินรายการ พิธีกร 6) กองบรรณาธกิ าร นกั พสิ จู นอ์ กั ษร 7) นักเขยี น นกั เขียนประกาศโฆษณา นกั ประชาสมั พนั ธ์ 8) นักแปล ลา่ ม 9) อาชีพอนื่ ๆ ทีต่ ้องใชท้ ักษะและความรู้ด้านภาษา (ภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ) 13

โครงสรา้ งหลักสตู ร จำ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกั สตู รไม่น้อยกว่า 134 หนว่ ยกติ มสี ดั ส่วนจำ�นวนหนว่ ยกิตแยกตามหมวดวชิ า และกล่มุ วิชา ดังน้ี 1. หมวดวชิ าศึกษาท่วั ไป 33 หนว่ ยกติ 2. หมวดวชิ าเฉพาะด้าน 95 หนว่ ยกิต - กลุ่มวิชาบงั คับ 71 หน่วยกิต - กลุ่มวิชาเลือก 24 หนว่ ยกิต 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต การจดั การเรียนการสอน 33 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 4(2-4-6) 1500201 ความเป็นสวนดุสิต 6(6-0-12) Suan Dusit Spirit 4(4-0-8) 1500119 ภาษาไทยเพือ่ พัฒนาความเปน็ ผรู้ อบร้ ู 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(2-4-6) 1500120 ภาษาอังกฤษเพอื่ การน�ำ ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสะท้อนคดิ 3(2-2-5) English for Reflective Thinking 2500116 สงั คมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทด่ี ี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตรใ์ นชวี ิตประจ�ำ วนั Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเข้าใจและการใชด้ จิ ทิ ลั Digital Literacy หมวดวิชาเฉพาะด้าน 95 หนว่ ยกิต กล่มุ วิชาบงั คับ 71 หนว่ ยกิต 1541115 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย Thai Grammar and Language Usage 3(3-0-6) 1551138 หลักภาษาและการใชภ้ าษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Grammar and Language Usage 3(3-0-6) 1551139 การออกเสียงเพือ่ การส่อื สาร 3(3-0-6) Pronunciation for Communication 3(3-0-6) 1541116 ศลิ ปะและลีลาของการอ่าน 3(3-0-6) Art and Style of Reading 3(3-0-6) 1541117 ศลิ ปะและลีลาของการฟังและการพดู Art and Style of Listening and Speaking 1541118 ศิลปะและลีลาของการเขยี น Art and Style of Writing 1531205 ภาษาเพอื่ การปฏสิ มั พนั ธ์ทางสังคม Language for Social Interaction 14

1551140 วากยสัมพันธ ์ 3(3-0-6) Syntax 3(3-0-6) 1542216 ภาษากบั สังคมไทยปจั จุบัน 3(3-0-6) Language and Modern Thai Society 3(3-0-6) 1552205 ภาษาเพอื่ การอาชพี 3(3-0-6) Language for Occupation 3(3-0-6) 1553406 ภาษาเพ่ือการบรกิ าร 3(2-2-5) Language for Hospitality Sector 3(3-0-6) 1542217 ภาษาเพ่ือการสอ่ื สารระหว่างวฒั นธรรม 3(2-2-5) Language for Intercultural Communication 3(3-0-6) 1542304 วัฒนธรรมอาเซียน 3(2-2-5) ASEAN Culture 3(2-2-5) 1542409 วรรณคดีวิจารณ ์ 3(2-2-5) Literature Criticism 3(2-2-5) 1552204 การแปลอังกฤษเปน็ ไทย 3(2-2-5) English to Thai Translation 5(0-30-0) 1543608 นวัตกรรมการสอื่ สารในยคุ ดจิ ทิ ลั Communication Innovation in the Digital Age 24 หนว่ ยกิต 1543225 ภาษาเพื่อการส่ือสารในองค์การ 3(3-0-6) Language for Organizational Communication           3(3-0-6) 1533201 ภาษามอื เบอื้ งตน้ เพอื่ การสอ่ื สาร 3(2-2-5) Introduction to Thai Sign Language for Communication 3(3-0-6) 1553407 การส่ือสารบนสอื่ สังคม 3(3-0-6) Communication on Social Media 1553215 การแปลไทยเป็นอังกฤษ 15 Thai to English Translation 1534203 การล่าม Interpretation 1544907 การวจิ ยั ทางภาษาและการสอ่ื สาร Research in Language Literacy and Communication 1534801 การฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพทางภาษาและการส่ือสาร Field Experience in Language Literacy and Communication กลมุ่ วชิ าเลอื ก ไมน่ ้อยกว่า 1553132 การน�ำ เสนอและการพูดในท่ชี มุ ชน Presentation and Public Speaking 1533206 การพูดจูงใจทางธุรกิจ Persuasive Speaking for Business 1533204 การเลา่ เร่ืองดิจิทลั Digital Storytelling 1553131 การอภปิ รายและการโต้แยง้ Discussion and Debate 1553128 เทคนิคการอา่ น Reading Techniques

1553129 การอา่ นเพ่อื ความเข้าใจและการวพิ ากษ ์ 3(3-0-6) Reading for Comprehension and Criticism 3(3-0-6) 1533105 การอา่ นและการเขยี นในชีวิตประจำ�วัน 3(3-0-6) Reading and Writing in Daily Life 3(2-2-5) 1553127 การอ่านเขียนส่อื ดิจทิ ลั 3(3-0-6) Digital Media Literacy 3(2-2-5) 1533212 การย่อและการสรุปความ 3(2-2-5) Summary and Conclusion 3(3-0-6) 1553125 การเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing 3(3-0-6) 1533203 การเขยี นวพิ ากษ์เชิงสรา้ งสรรค์ 3(3-0-6) Creative Criticism Writing 3(2-2-5) 1533202 การเขียนเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) Academic Writing 3(2-2-5) 1533205 การเขยี นสารคดแี ละบนั เทงิ คดี 3(3-0-6) Non-Fiction and Fiction Writing 3(3-0-6) 1533107 ศิลปะและลีลาของการสื่อสาร 3(2-2-5) Art and Style of Communication 3(3-0-6) 1533106 จิตวทิ ยาการสือ่ สาร 3(2-2-5) Communication Psychology 3(3-0-6) 1543226 ภาษาศาสตร์เพอื่ การสอ่ื สาร 3(3-0-6) Linguistics for Communication 3(3-0-6) 1534205 ภาษามอื อเมรกิ ันเพอื่ การสื่อสาร American Sign Language for Communication 1534204 การสอ่ื สารกับการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ Communication and Personality Development 1544908 สัมมนาภาษาและการสอื่ สาร Seminar in Language Literacy and Communication 1533207 วฒั นธรรมสมยั นยิ ม Popular Culture 1533208 คติชนเพ่อื การสร้างมลู คา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจ Folklore for Creation of Value-added Economy 1533209 ภาษาในศลิ ปะการแสดง Language in Performing Arts 1533210 การสรา้ งสรรคว์ รรณกรรมส�ำ หรับเดก็ Creation of Children Literary Work 1543227 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ Teaching Thai as a Foreign Language 1533108 ภาษากับศาสนา Language and Religion 1553626 ภาษาเพอ่ื การท่องเท่ียว Language for Tourism 1553627 ภาษาเพือ่ ธรุ กิจการบนิ Language for Airline Business 16

1553628 ภาษาเพอ่ื งานประชาสัมพนั ธ ์ 3(3-0-6) Language for Public Relations Work 3(3-0-6) 1553629 ภาษาและการส่ือสารผา่ นภาพยนตร์ 3(2-2-5) Language and Communication through Film 1554401 การศกึ ษาอิสระ Independent Study หมวดวชิ าเลือกเสรไี มน่ อ้ ยกว่า 6 หน่วยกติ ให้เลอื กเรียนรายวชิ าอน่ื ๆ อีกไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ ในหลักสูตรระดบั ปรญิ ญาตรขี องมหาวิทยาลยั สวนดุสิต โดยไม่ซำ้�กับรายวิชาท่ีเคยเรียนมาแล้วและไม่เป็นรายวิชาท่ีกำ�หนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์ การสำ�เรจ็ หลักสตู ร 17

แผนการเรยี นตลอดหลักสูตร นกั ศึกษารหัส 62 สาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร ระดบั ปรญิ ญาตรี จำ�นวนหน่วยกติ รวม 134 หนว่ ยกติ ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป 1500120 ภาษาอังกฤษเพ่ือการนำ�ตน 4(4-0-8) 1500119 ภาษาไทยเพือ่ พัฒนา 6(6-0-12) 4000112 วิทยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร ์ 4(2-4-6) ความเป็นผ้รู อบร้ ู ในชวี ิตประจ�ำ วัน หมวดวชิ าบังคับ หมวดวชิ าบังคับ 1541117 ศิลปะและลลี าของการฟงั และ 3(3-0-6) 1541115 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) การพดู 1551138 หลกั ภาษาและการใช ้ 3(3-0-6) 1541118 ศิลปะและลีลาของการเขียน 3(3-0-6) ภาษาองั กฤษ 1531205 ภาษาเพ่อื การปฏิสมั พันธ ์ 3(3-0-6) 1551139 การออกเสยี งเพอ่ื การส่ือสาร 3(3-0-6) ทางสงั คม 1541116 ศลิ ปะและลลี าของการอา่ น 3(3-0-6) 1551140 วากยสัมพนั ธ์ 3(3-0-6) รวม 20 หนว่ ยกิต รวม 18 หนว่ ยกติ ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป หมวดวชิ าศกึ ษาทว่ั ไป 1500121 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสะท้อนคิด 4(4-0-8) 1500201 ความเปน็ สวนดุสิต 4(2-4-6) หมวดวิชาบงั คบั 4000113 ความเขา้ ใจและการใช้ดิจิทัล 3(2-2-5) 1542216 ภาษากับสงั คมไทยปจั จุบนั 3(3-0-6) หมวดวชิ าบงั คบั 1552205 ภาษาเพื่อการอาชพี 3(3-0-6) 1542304 วฒั นธรรมอาเซียน 3(3-0-6) 1553406 ภาษาเพื่อการบริการ 3(3-0-6) 1542409 วรรณคดีวจิ ารณ ์ 3(2-2-5) 1542217 ภาษาเพ่อื การส่ือสาร 3(3-0-6) 1552204 การแปลองั กฤษเป็นไทย 3(3-0-6) ระหวา่ งวัฒนธรรม 1543608 นวตั กรรมการสื่อสาร 3(2-2-5) ในยุคดิจิทัล หมวดวิชาเลอื กเสรี 3 นก. หมวดวิชาเลอื กเสรี วิชาเลอื กเสรี 1 วิชาเลอื กเสรี 2 3 นก. รวม 19 หนว่ ยกิต รวม 22 หนว่ ยกติ 18

ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป หมวดวิชาบังคบั 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) 1553407 การส่อื สารบนสือ่ สงั คม 3(2-2-5) 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทด่ี ี 4(2-4-6) 1553215 การแปลไทยเป็นองั กฤษ 3(2-2-5) หมวดวชิ าบงั คับ หมวดวิชาเลอื ก 1543225 ภาษาเพ่ือการสือ่ สารในองค์การ 3(3-0-6) วชิ าเลือก 3 3 นก. 1533201 ภาษามอื เบอ้ื งต้นเพอ่ื การสือ่ สาร 3(2-2-5) วชิ าเลอื ก 4 3 นก. หมวดวิชาเลอื ก วชิ าเลือก 5 3 นก. วิชาเลือก 1 3 นก. วิชาเลือก 6 3 นก. วชิ าเลือก 2 3 นก. รวม 20 หนว่ ยกติ รวม 18 หนว่ ยกติ ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ปีท่ี 4 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2565 หมวดวชิ าบงั คับ หมวดวชิ าเฉพาะ 1534203 การลา่ ม 3(2-2-5) วชิ าประสบการณว์ ชิ าชพี 1544907 การวิจัยทางภาษาและ 3(2-2-5) 1534801 การฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ 5(0-30-0) การส่อื สาร ทางภาษาและการสือ่ สาร หมวดวชิ าเลือก วิชาเลือก 7 3 นก. วิชาเลอื ก 8 3 นก. รวม 12 หน่วยกิต รวม 5 หน่วยกติ 19

คำ�อธบิ ายรายวิชา สาขาวชิ าภาษาและการสื่อสาร 1541115 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาไทย 3(3-0-6) Thai Grammar and Language Usage การใชภ้ าษาไทยดา้ นเสยี งพยางค์ค�ำ วลีประโยคและภาษาตา่ งประเทศทส่ี มั พนั ธก์ บั ภาษาไทยส�ำ นวนไทย ภาษาสุภาพ ราชาศัพท์ หลักเกณฑ์การอ่านการเขียนคำ�ไทย ตลอดจนการใช้ภาษาตามระเบียบวิธีใช้ และตาม ความนยิ ม Thai use in sounds, syllables, words, phrases, sentences, and foreign languages related to Thai, expressions, polite languages, royal words, rules of reading and writing Thai, as well as language use according to methodology and trend 1551138 หลกั ภาษาและการใชภ้ าษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Grammar and Language Usage ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษพนื้ ฐาน ค�ำ นามและค�ำ ก�ำ กบั นาม ค�ำ สรรพนาม ค�ำ กรยิ า กาล และค�ำ ชว่ ยกรยิ า คำ�คณุ ศัพท์ ค�ำ วิเศษณ์ และการเปรียบเทียบ ค�ำ บพุ บท คำ�สนั ธาน การล�ำ ดับคำ�และการเรียบเรยี งประโยค และ โครงสร้างต่าง ๆ Fundamental English grammatical structures; nouns and determiners, pronouns, verbs, tenses, and model auxiliaries, adjectives, adverbs, and comparison, prepositions, conjunctions, word order and sentence organization as well as various structures 1551139 การออกเสยี งเพ่ือการสื่อสาร 3(3-0-6) Pronunciation for Communication ความรู้และทักษะการออกเสียงภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สัทอักษรสากล อวัยวะในการออกเสียง การเปลีย่ นแปลงเสียง การออกเสยี งสระ สระควบ พยัญชนะ พยัญชนะควบ และประโยค โดยเนน้ การออกเสียง สงู ตำ�่ และเสยี งหนกั เบาในคำ�และประโยค ฝึกการออกเสยี งจากสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง Knowledge and skills in Thai and English pronunciation, International Phonetic Alphabets (IPA), articulation organs, liaisons, pronunciation of vowels, diphthongs, consonants, cluster consonants, and sentences with emphasis on making stresses and intonations in words and sentences, self- practice pronouncing English from various electronic media 1541116 ศลิ ปะและลีลาของการอา่ น 3(3-0-6) Art and Style of Reading หลกั การและกระบวนการอา่ น การอา่ นเพ่อื จับใจความสำ�คัญ การอา่ นวเิ คราะห์สาร การอ่านตคี วาม การอา่ นวนิ จิ สาร การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ และประเมนิ คณุ คา่ จากสง่ิ ทอี่ า่ น โดยคดั สรรจากบทความภาษาไทย และภาษาองั กฤษทเ่ี หมาะสมกบั ผูเ้ รียนและจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การพัฒนาการอ่าน Principles and processes of reading, reading for getting main idea, analytical reading, interpretative reading, reading diagnosis, critical reading, and evaluating value from what to read by selecting from appropriated Thai and English article for learners and providing activities to promote reading development 20

1541117 ศลิ ปะและลลี าของการฟงั และการพดู 3(3-0-6) Art and Style of Listening and Speaking หลกั การและเทคนคิ การฟงั อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการพดู ในชวี ติ ประจ�ำ วนั การฟงั เพอื่ จบั ใจความส�ำ คญั การฟงั วิเคราะหส์ าร การฟังตีความ และการฟังประเมินคา่ การใช้น�ำ้ เสียง จงั หวะ ลลี าการพูด กริ ยิ าทา่ ทางและ บคุ ลกิ ภาพ เพ่ือการบรรยาย การอภปิ ราย สมั มนา ปาฐกถา ตลอดจนฝกึ การฟังและการพูดภาษาไทยและภาษา องั กฤษในโอกาสและสถานการณต์ ่าง ๆ Principles and techniques of critical listening and speaking in daily life, listening for getting main idea, analytical listening, interpretative listening, listening for evaluation, use of tones, rhythms, speaking styles, motions and personalities for narration, discussion, seminar, and speech, as well as practice listening and speaking Thai and English in various opportunities and situations 1541118 ศิลปะและลลี าของการเขยี น 3(3-0-6) Art and Style of Writing หลกั การและเทคนคิ การเขยี น การเปรยี บเทยี บระหวา่ งภาษาพดู กบั ภาษาเขยี น การใชค้ �ำ โวหาร ส�ำ นวน สภุ าษิต และค�ำ พังเพย ระบบการอา้ งอิง ฝึกการเขยี นเร่อื งภาษาไทยและภาษาองั กฤษจากประสบการณ์ อนทุ นิ ชวี ประวตั ิ แนะน�ำ หนงั สอื หรอื แหลงทอ่ งเทยี่ ว เรอื่ งสนั้ บทความแสดงความคดิ เหน็ และวพิ ากษว์ จิ ารณอ์ ยา่ งมเี หตผุ ล Principles and techniques of writing, comparison of spoken and written language, use of words, locutions, expressions, proverbs, and aphorisms, reference systems, practice writing Thai and English stories from experiences, diaries, biographies, introducing book or tourist attraction, short stories, articles to express opinion and rationally criticize 1531205 ภาษาเพ่อื การปฏสิ มั พนั ธท์ างสังคม 3(3-0-6) Language for Social Interaction บทสนทนาสั้น ๆ และบทสนทนาภาษาไทยและภาษาอังกฤษเชิงลกึ เพือ่ การมปี ฏสิ ัมพันธ์ทางสังคมใน สถานการณ์ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจำ�วนั ไดแ้ ก่ การต้อนรบั แขก การพูดคุยเรอ่ื งทว่ั ไปอย่างเปน็ ทางการ การวางแผน ทอ่ งเที่ยวรว่ มกันและการพดู คยุ แลกเปล่ยี นประสบการณ์ Short dialogues and extended Thai and English conversations for a variety of every day social interactions: welcoming visitors, engaging in small talk, planning travel, and sharing experiences 1551140 วากยสัมพนั ธ์ 3(3-0-6) Syntax การวิเคราะห์โครงสร้างของคำ� วลี อนุประโยค และประโยคในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ แก่นคำ� อุปสรรค ปัจจยั หนว่ ยค�ำ หนว่ ยค�ำ ย่อย โครงสรา้ งวลแี ละประโยค และทฤษฎีวากยสมั พนั ธ์ Analysis of structures of Thai and English words, phrases, clauses, and sentences, word roots, prefixes, suffixes, morphemes, allomorphs, phrasal and clausal structures, as well as syntactic theories 1542216 ภาษากับสังคมไทยปจั จุบนั 3(3-0-6) Language and Modern Thai Society ลักษณะและความเปล่ียนแปลงของภาษาไทยและภาษาอังกฤษในสังคมไทยปัจจุบัน ภาษาในฐานะ เคร่อื งมือการสื่อสารในสังคม การศึกษาภาษาแชต ค�ำ ศพั ทว์ ัยร่นุ และพจนานกุ รมค�ำ ใหม่ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษาไทยและภาษาองั กฤษกบั สงั คมปจั จบุ นั การเปลย่ี นแปลงของภาษาตามบรบิ ทชองสงั คม โดยวิเคราะห์อทิ ธพิ ลของสงั คมทมี่ ตี ่อภาษา และอทิ ธพิ ลของภาษาท่มี ีตอ่ สังคม Characteristics and changes of Thai and English in modern Thai society, languages as a tool for social communication, study of chat speak, vocabularies for teenager, and new word dictionary of Office of the Royal Society, relationship between Thai and English with modern society, language changes as social context by analyzing influences of society on language and vice versa 21

1552205 ภาษาเพื่อการอาชีพ 3(3-0-6) Language for Occupation การพูดและการเขียนเพ่ือการสื่อสารสำ�หรับสถานท่ีทำ�งานในสถานการณ์ต่าง ๆ การเริ่มบทสนทนา ต้อนรับลูกคา้ โทรศพั ท์ นดั หมาย ให้ค�ำ แนะนำ� จดบนั ทึก ตอบกลับจดหมาย การสัมภาษณ์งาน ฝกึ เขียนประวตั ิ ยอ่ จดหมายสมคั รงาน เอกสารทางราชการ รายงานการประชมุ โฆษณาข่าวและสารในวาระสำ�คญั ของหนว่ ยงาน ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การใช้เทคโนโลยีในสำ�นักงาน ฝึกพูดนำ�เสนอข้อมูลของตนเองและหน่วยงานเป็นภาษา ไทยและภาษาองั กฤษ ตลอดจนฝกึ ประชมุ ในสถานการณ์จ�ำ ลอง Workplaces oral and written communication in various situations: having conversations, receiving customers, telephoning, making appointments, giving directions, taking notes, replying mails, job interview, practice writing resumes, letters of application, official documents, transactions, job advertisements and archives in vital opportunities of organization, e-mails, technology use in the offices, practice oral presenting information of oneself and organization in Thai and English as well as meetings on simulation 1553406 ภาษาเพ่ือการบรกิ าร 3(3-0-6) Language for Hospitality Sector การใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในรูปแบบตา่ ง ๆ เพ่อื สือ่ สารในบรบิ ทของบรกิ าร การสื่อสารแบบ เผชญิ หนา้ ทางโทรศัพท์ ออนไลน์ การกรอกแบบฟอรม์ ทางธรุ กิจ การเขียนเอกสารทางธรุ กิจ การจัดประชุมทาง ธรุ กิจ การตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของลูกค้า ตลอดจนการศึกษาวฒั นธรรมนานาชาติ โดยเน้นการสือ่ สารและ การแก้ปัญหาในสถานการณก์ ารท�ำ งานที่หลากหลาย Various functions of Thai and English use for communication in hospitality context, face- to-face, telephone, online communication, filling business forms, composing business documents, conducting business meeting, quick response auditing on customer requirements, as well as study of international cultures with focusing on communication and problem-solving in various work situations 1542217 ภาษาเพือ่ การส่อื สารระหว่างวฒั นธรรม 3(3-0-6) Language for Intercultural Communication ความเปน็ มา อิทธพิ ล และองคป์ ระกอบของการสื่อสารระหวา่ งวฒั นธรรม ความแตกตา่ งและการปรบั ตวั ทางภาษาและวฒั นธรรม การใช้วัจนภาษาและอวจั นภาษา การพัฒนาบคุ ลิกภาพ กระบวนการเสริมศกั ยภาพ เพ่ือการทำ�งานข้ามวัฒนธรรมอาเซียน แนวโน้มและประเด็นของการส่ือสารระหว่างวัฒนธรรมกับภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ Background, influences, and compositions of intercultural communication, differences and adaptation in language and culture, verbal and non-verbal languages uses, personality developments, scaffolding processes for work across ASEAN cultures, trends and issues of intercultural communication with Thai and English language 1542304 วัฒนธรรมอาเซียน 3(3-0-6) ASEAN Culture ความหมาย ความสำ�คญั ความเป็นมา และกำ�เนดิ ของวัฒนธรรม ลกั ษณะและความสมั พนั ธร์ ะหว่าง วฒั นธรรมไทยและอาเซียน การวเิ คราะห์ความเหมือนและความแตกตา่ งทางสังคม ภาษา วรรณกรรม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี น ประเพณี ต�ำ นาน พธิ กี รรม ความเชอื่ ระบบเศรษฐกจิ วถิ ชี วี ติ และขอ้ ควรปฏบิ ตั ขิ องแตล่ ะประเทศ ในกลุ่มประเทศอาเซยี น Definitions, importance, background, and origin of culture, characteristics and relationships between Thai and ASEAN cultures, analysis of similarities and differences in societies, languages, literary works, cultures, customs, traditions, mythologies rituals, beliefs, economic systems, ways of life, and regulations of each ASEAN country 22

1542409 วรรณคดวี ิจารณ ์ 3(2-2-5) Literature Criticism ลักษณะเด่นของวรรณคดีไทยและอังกฤษแต่ละสมัย ความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกับการวิเคราะห์และ วิจารณ์วรรณคดี แนวคิดและทฤษฎีการวิจารณ์วรรณคดี การฝึกวิจารณ์แนวประวัติ แนวปรัชญา แนวศีลธรรม แนวสุนทรียศาสตร์ แนวศลิ ปะ แนวสังคม แนวจติ วทิ ยา แนวภาษาศาสตร์ แนวมานุษยวิทยา แนวใหม่ ทฤษฎีรส และทฤษฎอี ลงั การ การเขยี นบทวิจารณภ์ าษาไทยและภาษาอังกฤษ และการน�ำ เสนอในรูปแบบต่าง ๆ Distinctive characteristics of Thai and English literature in each era, fundamental knowledge about literature analysis and criticism, concepts and theories of literature criticism, practice criticizing in historical, philosophical, moralistic, aesthetic, artistic, sociological, psychological structuralist, anthropological, modern literary criticism, aesthetic experience (Indian theory of Rasa) and Alankara theory, writing a Thai and English critique paper, and presenting in various forms 1552204 การแปลอังกฤษเปน็ ไทย 3(3-0-6) English to Thai Translation หลกั การและวธิ กี ารแปล ฝกึ แปลค�ำ ศพั ท์ ประโยค ขอ้ เขยี น บทความประเภทตา่ ง ๆ จากภาษาองั กฤษ เปน็ ภาษาไทย การวเิ คราะหเ์ นอ้ื หาของตน้ ฉบบั เพอ่ื สรา้ งงานแปล ประเดน็ ปญั หาทพี่ บบอ่ ยในการแปล วธิ แี กไ้ ขขอ้ บกพร่อง ตลอดจนฝกึ หาขอ้ มลู และใชเ้ ครื่องมอื เพ่ือชว่ ยในการแปล Principles and methods in translation, practice translating a variety of vocabularies, sentences, texts, articles from English to Thai, analysis of manuscripts to produce translation works, frequently-found problems in translation, how to solve these problems, as well as practice finding information and using tools for translating 1543608 นวตั กรรมการส่ือสารในยุคดิจทิ ลั 3(2-2-5) Communication Innovation in the Digital Age นวัตกรรมด้านแนวคิด รูปแบบ เคร่ืองมือสำ�หรับการสื่อสารในท่ีทำ�งานในยุคดิจิทัล การสื่อสารแบบ ประสานเวลาและไมป่ ระสานเวลา การน�ำ เครอื ขา่ ยสงั คม บลอ็ ก ไมโครบลอ็ ก ชมุ ชนเนอ้ื หา วกิ ิ พอดแคสต์ กระดาน อภปิ ราย โลกเสมอื น การประชมุ ออนไลน์ และทีค่ ัน่ หน้าทางสังคม ไปใช้เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ต่อบริบทการสอื่ สาร Innovations in concepts, models, tools for communication at work in the digital age, synchronous and asynchronous communication, implement of social network, blog, microblog, content community, wiki, podcast, forum, virtual world, online conference, and social bookmarking for the benefits of communication contexts. 1543225 ภาษาเพอื่ การสอ่ื สารในองค์การ 3(3-0-6) Language for Organizational Communications โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสาร การสร้างสัมพันธภาพ การใช้ภาษา ไทยและภาษาองั กฤษเพอื่ การปฏบิ ตั งิ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพภายใตบ้ รบิ ทของลกั ษณะงาน รปู แบบและวฒั นธรรม องค์การที่แตกตา่ งกนั ท้งั หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ฝกึ ทักษะตามสถานการณก์ ารท�ำ งานจริง   Organizational structures and cultures, concepts and theories of communication, relationship creation, Thai and English uses for effective working under different working context, patterns and, organizational cultures both governmental and non-governmental organizations, practice working skills in real work situations 23

1533201 ภาษามือเบอื้ งตน้ เพือ่ การส่ือสาร 3(2-2-5) Introduction to Thai Sign Language for Communication ความหมาย ความเปน็ มา ประเภท และลกั ษณะทแี่ ตกตา่ งของภาษามอื โครงสรา้ งพนื้ ฐานของภาษา มอื ภาษาไทย และวฒั นธรรมของผทู้ ม่ี คี วามบกพรอ่ งทางการไดย้ นิ ตลอดจนฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารใชภ้ าษามอื ภาษาไทยใน การส่ือสารเพอื่ ประโยชนใ์ นชวี ิตประจ�ำ วนั Meaning, history, types and different characteristics, standard structure of Thai sign language, and hearing impaired person’s culture as well as to practice using Thai sign language for everyday use 1553407 การส่อื สารบนสอื่ สังคม 3(2-2-5) Communication on Social Media ความเปน็ มาและพฒั นาการของสอื่ สงั คม ประเภทของสอื่ สงั คม กระบวนการสอ่ื สารออนไลนแ์ ละศลิ ปะ ภาษาบนอินเทอร์เน็ต อิทธิพลของส่ือสังคมท่ีมีต่อการส่ือสารในปัจจุบัน วิเคราะห์ผลกระทบเชิงบวกและลบของ การสอ่ื สารผ่านสอ่ื สงั คมในด้านการเมอื ง การตลาด การศึกษา และการประยกุ ต์ใชภ้ าษาในบริบทออนไลนต์ า่ งๆ ของการส่อื สารในยุคดิจิทลั Background, and developments of social media, types of social media, online communication process and language arts on the internet, influences of social media towards communication at present, analyzing positive and negative effects of communication via social media in political, marketing, educational sides, and application of language uses in various online contexts of communication in the digital age 1553215 การแปลไทยเปน็ องั กฤษ 3(2-2-5) Thai to English Translation หลกั การ กระบวนการ และกลวธิ กี ารแปล บทบาทของการแปลในการสอื่ ความหมาย โดยเนน้ การศกึ ษา ความหมายของภาษาทม่ี าจากโครงสรา้ งทางไวยากรณ์ การใชภ้ าษาในบรบิ ทตา่ ง ๆ ความหมายโดยตรงและโดยนยั ของค�ำ กลมุ่ ค�ำ ทป่ี รากฏรว่ มกนั ความแตกตา่ งทางวฒั นธรรมอนั น�ำ ไปสคู่ วามแตกตา่ งของลลี าและการใชภ้ าษาตา่ งๆ ประเด็นปัญหาท่ีพบบ่อยในการแปล ฝึกแปลคำ�ศัพท์ ประโยค บทความประเภทต่างๆ จากภาษาไทยเป็นภาษา อังกฤษ Principles, processes, and strategies in translation, roles of translation in conveying meaning with focusing on studying the meanings of language come from grammatical structures, language uses in various contexts, denotation and connotation, collocation, cultural differences contributed to different styles and uses of language, frequently-found problems in translation, practicing translating vocabularies, sentences, and various types of articles from Thai to English 1534203 การล่าม 3(2-2-5) Interpretation ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิในการแปลแบบลา่ ม ประเภทของการแปลแบบลา่ ม การแปลปากเปลา่ จากต้นฉบบั การแปลปากเปลา่ แบบเวน้ ชว่ ง และการแปลปากเปลา่ แบบฉบั พลนั การแปลแบบลา่ มจากภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาองั กฤษในหวั ขอ้ ท่วั ไป Theory and practice in interpretation; modes of interpretation: sight translation, consecutive interpretation, simultaneous interpretation; interpretation from English to Thai and vice versa in general topics 24

1544907 การวจิ ัยทางภาษาและการสอื่ สาร 3(2-2-5) Research in Language Literacy and Communication ความหมายและความส�ำ คญั ของการวจิ ยั หลกั เบอื้ งตน้ ของการวจิ ยั ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางภาษา การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ การเลอื กหวั ขอ้ และประเดน็ ทนี่ า่ สนใจ การเขยี นโครงการวจิ ยั การก�ำ หนดวตั ถปุ ระสงคแ์ ละ กรอบแนวคิด การทบทวนวรรณกรรมท่เี ก่ียวขอ้ งและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จำ�แนก วิเคราะห์ และตคี วามขอ้ มลู เลอื กศึกษาและวจิ ัยทางภาษาไทยหรือภาษาองั กฤษ และนำ�เสนอผลการวิจยั ในรูปแบบตา่ ง ๆ Definitions and importance of research, basic principles of research, research methodologies in language, quantitative and qualitative researches, interesting topics and issues selection, research proposal writing, setting objective and conceptual framework, related literature review and data collection, classifying, analyzing, and interpreting data, choosing to study and doing research in any topic related to Thai or English as well as presenting research findings in various forms 1534801 การฝึกประสบการณ์วชิ าชีพทางภาษาและการสื่อสาร 5(0-30-0) Field Experience in Language Literacy and Communication การฝึกงานกับองค์กรในประเทศหรือต่างประเทศ โดยนำ�ความรู้และทักษะทางภาษาไทยและภาษา องั กฤษไปใช้ในสถานการณข์ องการทำ�งานจรงิ Training with the organizations in Thailand or abroad by applying knowledge and skills in Thai or English into the real working situations 1553132 การน�ำ เสนอและการพดู ในทชี่ ุมชน 3(3-0-6) Presentation and Public Speaking การเรยี บเรยี งความคดิ องคป์ ระกอบในการสอ่ื สาร การวเิ คราะหผ์ ฟู้ งั และการโนม้ นา้ วใจ หลกั การและ การฝึกพูดในที่ชุมชนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วิธีการนำ�เสนอปากเปล่า กลวิธีการสื่อสาร รวมถึงการใช้ วจั นภาษาและอวัจนภาษา ส่อื โสตทศั น์ ใช้น้ำ�เสยี ง และทา่ ทาง Idea organization, communication elements, oral presentation methods, audience analysis and persuasion, principles and practices of public speaking in Thai and English, communication strategies including using verbal, non-verbal language, audiovisual aids, tones, and gestures 1533206 การพดู จูงใจทางธรุ กิจ 3(3-0-6) Persuasive Speaking for Business หลักการพูดโน้มน้าวใจ การเจรจาต่อรอง กลวิธีการใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเปล่ียนแปลง ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคล ฝึกการพูดเพื่อขายและประชาสัมพันธ์ ประเมินประสิทธิผลของการพูดเพ่ือ การติดต่อส่ือสารทางธรุ กิจ ตลอดจนวิเคราะห์กลวิธกี ารพดู เพอ่ื เสนอขายสินคา้ และบรกิ ารจากสื่อตา่ ง ๆ Principles of persuasive speaking, negotiation, strategies in using Thai and English to change attitudes and behaviors of individuals, practice speaking for sale and public relations, evaluating efficiencies in speaking for business communication, as well as analyzing speaking techniques for selling products and services from various types of media 1533204 การเล่าเรือ่ งดจิ ิทัล 3(2-2-5) Digital Storytelling หลกั การเบอื้ งตน้ และแนวทางส�ำ หรบั การเขยี นเลา่ เรอ่ื ง การเขยี นผงั มโนทศั น์ องคป์ ระกอบและเทคนคิ การเลา่ เรือ่ งในรปู แบบต่าง ๆ การเลา่ เร่อื งดิจิทลั โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอรแ์ ละเทคนคิ การสร้างดิจทิ ลั วีดทิ ัศน์ ตลอดจนการน�ำ เทคนิคการเล่าเร่ืองดิจิทัลไปใช้ในการส่อื สารทางการศึกษาและทางธุรกจิ Basic principles and approaches for writing a storytelling, concept map writing, storytelling elements and techniques in various forms, digital storytelling with using software and techniques for making digital video, as well as applying digital storytelling techniques in educational and business communication 25

1553131 การอภิปรายและการโต้แยง้ 3(3-0-6) Discussion and Debate การอภปิ รายและการโตแ้ ยง้ เปน็ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษในหวั ขอ้ เหตกุ ารณป์ จั จบุ นั หรอื ประเดน็ ขอ้ ขดั แยง้ ใชก้ ลวธิ ใี นการสนทนาตา่ ง ๆ การเหน็ ดว้ ยและการไมเ่ หน็ ดว้ ย การขดั จงั หวะ การขอใหอ้ ธบิ ายเพม่ิ เตมิ การ ใชเ้ หตผุ ล พร้อมทง้ั การนำ�เสนอท่ีชดั เจนและเปน็ ระเบยี บ Thai and English discussions and debates on current events and controversial issues, using various conversational strategies; agreeing and disagreeing, interrupting, asking for more information, reasoning as well as well-organized and clearly expressed presentations 1553128 เทคนคิ การอา่ น 3(3-0-6) Reading Techniques เทคนคิ การอ่านประเภทต่าง ๆ ฝึกการอา่ นแบบกวาดสายตา การอ่านแบบหาขอ้ มูลเฉพาะ การอา่ น บทความภาษาไทยและภาษาองั กฤษโดยสงั เกตจากค�ำ ส�ำ คญั บรบิ ท ค�ำ เหมอื น คำ�ต่าง รากศัพท์ อปุ สรรค ปัจจยั และโครงสรา้ งประโยค เน้นทักษะการอา่ นในระดับค�ำ วลี ประโยค และอนุเฉท Reading techniques, practice scanning, skimming, reading Thai and English articles by using keywords, contexts, synonyms, antonyms, roots, prefixes, suffixes, and sentence structures, focusing on reading words, phrases, sentences, and paragraphs 1553129 การอา่ นเพอ่ื ความเข้าใจและการวิพากษ์ 3(3-0-6) Reading for Comprehension and Criticism หลกั การอา่ นระดับอนเุ ฉทและบทความเพ่อื จับใจความส�ำ คญั โดยตอบคำ�ถามวา่ ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เม่อื ไหร่ ทำ�ไม อยา่ งไร หลักการอา่ น เพื่อศกึ ษาขอ้ เทจ็ จริง เข้าใจคำ�ศัพท์ วิธีขยายวงศพั ท์ สำ�นวน ความหมายตรง ความหมายแฝง และความหมายระหวา่ งประโยคในบทความแบบพรรณนา แบบอธบิ ายยกตวั อยา่ ง แบบวเิ คราะห์ แบบเหตแุ ละผล และแบบเปรยี บเทยี บ วเิ คราะหร์ ปู แบบ การใชภ้ าษา ลลี า โวหาร การใชเ้ หตผุ ล ตรรกะ จดุ ยนื และ จดุ ประสงคข์ องผเู้ ขยี น แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากความคดิ เหน็ อนมุ าน แสดงความคดิ เหน็ สนบั สนนุ หรอื ตอ่ ตา้ น ความคิดในบทอ่าน ประเมินข้อเขยี นประเภทต่าง ๆ เพอ่ื การวิเคราะห์และวจิ ารณอ์ ย่างมเี หตผุ ล Principles of paragraph and article reading for getting the main ideas by to answering 5W1H, principles of critical reading, understanding vocabularies, word enlargement methods, expressions, annotations, connotations, and meaning in connected discourses in description, illustration, analysis, cause and effect, and comparison paragraphs, analyzing patterns language uses, styles, rhetoric, reasoning, logics, stances and objectives of the authors, distinguishing facts from opinions, make inferences, and express opinions to support or oppose the ideas in reading texts, evaluating various types of articles for analyzing and criticizing with reasons 1533105 การอา่ นและการเขียนในชีวติ ประจำ�วนั 3(3-0-6) Reading and Writing in Daily Life บทอ่านทม่ี กั พบในชีวิตประจำ�วนั ประเภทต่าง ๆ ป้าย ข้อความ ตาราง แผนภูมิ จดหมาย ไปรษณีย์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ คำ�แนะน�ำ ตารางเวลา รายการอาหาร แบบฟอรม์ หนงั สือพิมพ์ โฆษณา โตต้ อบบทอา่ นประเภท ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม ตอบคำ�ถาม จดบนั ทกึ ข้อความ ถอดความ สรุปความ ตอบกลับ กรอกแบบฟอร์ม Various types of texts routinely found in everyday life: signs, notes, tables, charts, letters, e-mails, instructions, schedules, menus, forms, labels, newspapers, advertisements; response to the various types of text appropriately: answering questions, note taking, paraphrasing, summarizing, replying, filling in the forms. 26

1553127 การอ่านเขยี นสือ่ ดิจิทัล 3(3-0-6) Digital Media Literacy การสบื คน้ เขา้ ถงึ และประเมนิ ขอ้ มลู สรา้ งสรรคส์ ารสนเทศจากขอ้ มลู ทไี่ ดใ้ นรปู ของสอ่ื ดจิ ทิ ลั วเิ คราะห์ เนอ้ื หาและวธิ กี ารน�ำ เสนอความคดิ ของผเู้ ขยี น ฝกึ สรปุ ขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการอา่ นออนไลน์ และแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี ว กับสงิ่ ที่อ่านโดยผา่ นการเขียนเพื่อสื่อสารกบั ผู้คนต่างวฒั นธรรมบนส่อื สังคม Searching, accessing and evaluating data, creating information from retrieved data in forms of digital media, analyzing contents and author’s opinion presentation methods, practice summarizing form online reading as well as giving opinions about what to read through writing for communicating people of different cultures on social media 1533212 การยอ่ และการสรปุ ความ 3(2-2-5) Summary and Conclusion หลักการ รปู แบบ เทคนคิ การย่อความ การสรุปความ และการขยายความ ความรทู้ ่วั ไปของการเขียน คำ� ประโยค ยอ่ หนา้ ฝกึ การจับใจความสำ�คญั จากการฟังส่อื และการอา่ นสารประเภทต่าง ๆ ตลอดจนเขยี นสาระ สังเขปและบทตดั ตอน การสรปุ เน้อื หา ขา่ ว รายงาน และโครงการ Principles, patterns, techniques of summary, conclusion, and explanation, general knowledge of words, sentences, paragraphs writing, practice getting main idea from listening to different media and reading various types of documents as well as practice writing abstracts and extracts, and concluding contents, news, reports, and projects 1553125 การเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing ความรเู้ กย่ี วกบั โครงสรา้ งประโยค ฝกึ เขยี นอนเุ ฉทเชงิ บรรยายและอธบิ ายดว้ ยประโยคใจความหลกั และ ประโยคสนบั สนนุ โดยใชค้ �ำ ศพั ท์ ค�ำ เชอ่ื มประโยค ไวยากรณ์ และเครอ่ื งหมายวรรคตอนทถี่ กู ตอ้ งเหมาะสม ตลอด จนรวบรวมและเรียบเรยี งความคิดเพื่อถา่ ยทอดเป็นย่อหน้าภาษาไทยและภาษาองั กฤษประเภทต่าง ๆ Knowledge of sentence structures, practice writing paragraphs for narration and description with topic sentences and supporting sentences by using vocabularies, sentence connectors, grammatical structures, and punctuation marks correctly and appropriately as well as gathering and ordering idea to express it in different types of Thai and English paragraph 1533203 การเขยี นวิพากษ์เชงิ สรา้ งสรรค ์ 3(2-2-5) Creative Criticism Writing แนวคิด องค์ประกอบ และกระบวนการของการเขียนวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์ โดยระบุประเด็นสำ�คัญ ระดมสมอง ท�ำ แผนผังความคดิ และแผนผงั มโนทศั น์ วางโครงเรือ่ งและพจิ ารณาหลักฐานสนับสนนุ กำ�หนดแหล่ง ขอ้ มลู วธิ กี ารจดั ระเบยี บแนวคดิ และกลวธิ กี ารเขยี น ออกแบบเอกสาร น�ำ เสนอผลงานงานเขยี นภาษาไทยและภาษา อังกฤษ และใชส้ ่ือสังคมเพื่อพัฒนาและประเมนิ ผลงานการเขียน Concepts, elements, and processes of creative criticism writing with identifying issues, brainstorming, making mind map and concept map, setting outlines and considering supporting evidences, specifying resources, idea organization methods and writing strategies, designing document, presenting Thai and English written work, and using social media to develop and evaluate pieces of written work 27

1533202 การเขยี นเชิงวิชาการ 3(2-2-5) Academic Writing หลกั การเขยี นเชงิ วชิ าการ สว่ นประกอบ การเลอื กเรอื่ ง การวางโครงเรอ่ื ง การพจิ ารณาและรวบรวมขอ้ มลู เพื่อนำ�มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เทคนิคการเขียน ฝึกการเขียนงานวิชาการและเรียบเรียงผลงานเป็นภาษาไทย และภาษาอังกฤษ การเขียนบรรณานกุ รม และแนวทางการพัฒนาการเขียนในงานวิชาการระดบั สงู Principles of academic writing, components, topic selections, plots, information consideration and collection for analysis and synthesis, writing techniques, practice writing Thai and English academic works and compositions, writing reference lists, and writing development approaches in higher academic works 1533205 การเขียนสารคดแี ละบันเทิงคดี 3(3-0-6) Non-Fiction and Fiction Writing ความหมาย ความสำ�คัญ ลกั ษณะ องคป์ ระกอบ รูปแบบและประเภทการเขียนสารคดีและบันเทิงคดี ฝกึ การเขยี นสารคดปี ระวตั บิ คุ คล สารคดที ่องเทย่ี ว การเขียนเรอ่ื งสัน้ นิทาน และบทละคร ตลอดจนตรวจแกไ้ ข ต้นฉบับและเผยแพรง่ านเขยี นในสือ่ สงิ่ พิมพแ์ ละสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ Definitions, importance, characteristics, elements, patterns and types of non-fiction and fiction writing, practice writing biography, travelogue, short story, tale, and play, as well as editing manuscripts and publishing written works in print and electronic media 1533107 ศลิ ปะและลีลาของการสอ่ื สาร 3(3-0-6) Art and Style of Communication แนวคิดและทฤษฎีของการสื่อสาร การสร้างสัญลักษณ์ การแปลความหมายและปฏิสัมพันธ์ในการ ส่ือสาร การส่ือสารในฐานะวาทกรรม พลวัตและความสัมพันธ์ของอำ�นาจในการส่ือสาร ความแตกต่างระหว่าง ศิลปะและลีลาของการสอ่ื สาร การให้เหตุผลในการโต้แย้ง การประนปี ระนอม การพฒั นาการส่ือสารดว้ ยการพูด และการเขยี นภาษาไทยและภาษาองั กฤษ การสอ่ื สารในระบบดิจิทัล จริยธรรมและมารยาททดี่ ีของการส่อื สาร Concepts and theories of communication, symbol creation, interpretation and interaction in communication, communication as discourse, dynamics and relationships of power in communication, differences between arts and styles of communication, reasoning in argumentation, compromise, communication developments with spoken and written Thai and English, communication in digital system, ethics and good manners of communication 1533106 จติ วทิ ยาการสื่อสาร 3(3-0-6) Communication Psychology พฤตกิ รรมการสอื่ สาร อทิ ธพิ ลของการสอื่ สาร กลยทุ ธใ์ นการสอ่ื สาร การสรา้ งปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ภาษากาย จิตวิทยากับการใช้ภาษาและการสื่อสาร การสร้างความประทับใจแรก ทฤษฎีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทฤษฎีการจงู ใจ การแกป้ ญั หาและการขจัดความขดั แยง้ Communication behavior, Influence of communication, communicational strategies, interpersonal interaction, body language, psychology and language for communication, first-impression, transactional analysis, theory of human motivation, problem solving and conflict resolution. 1543226 ภาษาศาสตร์เพื่อการสอื่ สาร 3(3-0-6) Linguistics for Communication ภาษากับการส่ือสาร ลกั ษณะทัว่ ไปของภาษาศาสตร์ ระบบเสยี ง ระบบคำ� ระบบกล่มุ คำ� การวิเคราะห์ ภาษาตามแนวภาษาศาสตร์ การใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์เพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องของการใช้ภาษาไทยกับภาษา อังกฤษ และวจนปฏบิ ตั ิศาสตร์ Language and communication, general characteristics of linguistics, basic knowledge of phonology, morphology, phrase, analysis of language based on linguistic approaches, use of linguistic knowledge to solve errors of Thai and English uses, and pragmatics 28

1534205 ภาษามอื อเมรกิ นั เพ่ือการสื่อสาร 3(2-2-5) American Sign Language for Communication ความเปน็ มา ประเภทและลกั ษณะของภาษามืออเมริกัน โครงสรา้ งพน้ื ฐานของภาษามืออเมริกนั และ วัฒนธรรมของภาษามืออเมริกัน ตลอดจนฝึกปฏิบัติการใช้ภาษามืออเมริกันในการส่ือสารเพื่อประโยชน์ในชีวิต ประจำ�วนั และการประกอบอาชีพ History, types and different characteristics, standard structure of American sign language, and hearing impaired person’s culture as well as to practice using American sign language for everyday use 1534204 การสอ่ื สารกบั การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ 3(3-0-6) Communication and Personality Development การสื่อสารวัจนภาษาและอวัจนภาษาเพื่อพัฒนาบุคลิกลักษณะ ศิลปะการแต่งกาย การปฏิบัติตน ด้านสุขอนามัย ลักษณะนิสัยท่ีพึงประสงค์ในการปฏิบัติงาน และทักษะในการแสดงกิริยาท่าทางที่เหมาะสมตาม มารยาททางสังคม Verbal and non-verbal language communication for personality development, arts of grooming, practices of personal hygiene, desirable characteristics in working and appropriate gestures skills as social etiquette 1544908 สัมมนาภาษาและการสอ่ื สาร 3(2-2-5) Seminar in Language Literacy and Communication หลกั การและวธิ กี ารจดั สมั มนาโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ สมั พนั ธ์ วเิ คราะหป์ ระเดน็ ส�ำ คญั และสภาพปญั หา การใชภ้ าษาไทยและภาษาองั กฤษกับการส่ือสาร วิธีการแก้ไข และสรุปเป็นแนวทางพัฒนาเพอื่ น�ำ เสนอในรูปแบบ การสัมมนาของนกั ศึกษา Principles and methods of seminar with using organized group process, analyzing key issues and problems of Thai and English uses and communication, problem solving methods, and concluding as development approaches for presenting in the form of undergraduate’s seminars 1533207 วฒั นธรรมสมัยนยิ ม 3(3-0-6) Popular Culture วรรณกรรมและวฒั นธรรมสมัยนิยมรูปแบบตา่ ง ๆ ตั้งแตค่ ริสต์ศตวรรษท่ี 19 ถึงปจั จุบัน รวมถงึ นยิ าย นวนยิ าย บทกวี ภาพยนตร์ ละคร ซรี สี ์ เพลง เกม การต์ นู อนิ เทอรเ์ นต็ อาหาร ศลิ ปะ การแตง่ กายและแฟชนั่ และโฆษณา English in various types of popular literature and culture from 19th century to the present, including tales, novels, poems, films, dramas, series, songs, games, comics, internet, food, art, grooming and fashion, and advertisements 1533208 คติชนเพ่ือการสร้างมลู คา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ 3(3-0-6) Folklore for Creation of Value-added Economy ความรู้พื้นฐานทางคติชนวิทยา ทฤษฎีคติชนวิทยา การเก็บรวบรวมข้อมูลและใช้ประโยชน์ข้อมูล ทางคติชนวิทยา ความเชื่อ พิธีกรรม ตำ�นาน เพลงพ้ืนบ้าน งานศิลปะ ศิลปะการแสดง การประยุกต์ใช้ข้อมูล ทางคติชนในภาพยนตร์ บทโทรทศั นแ์ ละสารคดี การสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ ทางเศรษฐกิจเกย่ี วกบั ขอ้ มูลทางคติชน Basic knowledge of folklore; theories of folklore; collection and utilization of folk data; beliefs, rituals, legends, folk tale, folk song, folk arts, folk performing arts; folklore data application in films, TV scripts and documentary, folklore for creation of value-added economy 29

1533209 ภาษาในศลิ ปะการแสดง 3(2-2-5) Language in Performing Arts ความส�ำ คญั ของภาษาในวรรณกรรม ประเภทวรรณกรรม ประเภทศลิ ปะการแสดง การแปรรปู วรรณกรรม เพื่อการแสดง การใช้วัจนภาษาและอวัจนภาษาเพ่ือสื่อสารการแสดง ฝึกปฏิบัติเขียนบทและกำ�กับการแสดง Importance of language in literature; types of literature; types of performing arts; transformation of literature to performing arts; verbal and non-verbal language usage for communication of performing arts; practicum of script writing and performance directing 1533210 การสร้างสรรคว์ รรณกรรมส�ำ หรบั เด็ก 3(3-0-6) Creation of Children Literary Work ความรพู้ นื้ ฐานงานบนั เทงิ คดสี �ำ หรบั เดก็ กลวธิ กี ารประพนั ธ์ การใชภ้ าษา การสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผา่ นวรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การประเมนิ คา่ วรรณกรรมส�ำ หรบั เดก็ การฝกึ สรา้ งสรรคง์ านเขยี นบนั เทงิ คดสี รา้ งสรรค์ สำ�หรับเดก็ วัยต่าง ๆ การออกแบบสื่อสงิ่ พิมพ์ และการเล่านทิ านประกอบการแสดงสำ�หรบั เด็ก Basic knowledge of entertaining children literary work; composition techniques; language usage; moral and virtue in children literary work; evaluation of children literary work; practicum of entertaining children literary work composition, design and narration with performance 1543227 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาตา่ งประเทศ 3(2-2-5) Teaching Thai as a Foreign Language ความเป็นมาของการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ แนวคดิ ของการสอนภาษาต่างประเทศ การรับและการเรียนรู้ภาษาท่ีหน่ึงและภาษาต่างประเทศ ปัจจัยของผู้เรียนในด้านภาษา สังคม และวัฒนธรรม เพอื่ การเรยี นรภู้ าษาไทย วธิ กี ารสอน การจดั กจิ กรรม การผลติ สอื่ การวดั และประเมนิ ผล การเขยี นแผนการจดั การ เรยี นร้แู ละแนวทางการพฒั นาทกั ษะการสอนภาษาไทยใหแ้ กช่ าวตา่ งประเทศในสถานการณจ์ ริงหรอื จ�ำ ลอง Background of teaching Thai as a foreign language, foreign language teaching approaches, first and foreign language acquisition and learning, factors of learners in languages, socials, and cultures for learning Thai, teaching methods, activity managements, media productions, evaluations and assessments, lesson plan writing, and Thai language teaching skills development approaches for foreigners in the real or simulation situations 1533108 ภาษากบั ศาสนา 3(3-0-6) Language and Religion ความหมาย บอ่ เกดิ ประเภทของศาสนา ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาษา ศาสนา และสงั คม ศกึ ษาประเดน็ ของศาสนาทีป่ รากฏซ�้ำ ในภาษาและวรรณกรรมส�ำ คัญ และในสื่อสมยั ใหม่ เปรยี บเทยี บแนวคดิ สำ�คัญท่ีปรากฏใน ศาสนาของตะวนั ออกและตะวันตก Definitions, sources, and types of religions, relationship among languages, religions, and societies, studying the recurring religions themes in languages and vital literary works as well as in modern media, comparing key concepts appeared in religions’ Western and Eastern 1553626 ภาษาเพือ่ การท่องเทีย่ ว 3(3-0-6) Language for Tourism คำ�ศัพท์ สำ�นวน ประโยคภาษาไทยและภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการท่องเที่ยวจากส่ือสิ่งพิมพ์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ การศึกษาข้อมูลเก่ียวกับประเทศต่าง ๆ ในด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ อารยธรรม วัฒนธรรม และสถานทีท่ ่องท่องที่สำ�คญั ฝกึ ใชภ้ าษาเพือ่ การสรุปและการน�ำ เสนอข้อมลู ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง Thai and English vocabularies, expressions, and sentences about tourism from various print and electronic media, study of information about geography, history, civilization, culture, and major tourist attraction in various countries, practice using languages for summary and presentation of related information 30

1553627 ภาษาเพื่อธุรกิจการบนิ 3(3-0-6) Language for Airline Business การพฒั นาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทยและภาษาองั กฤษ โดยเน้นคำ�ศพั ท์ ส�ำ นวน ประโยคทเ่ี กยี่ วกบั ธรุ กจิ การบนิ การใหบ้ รกิ ารบนเครอื่ งบนิ และการขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศจากสอื่ สงิ่ พมิ พ์ และสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ ตลอดจนคน้ ควา้ และน�ำ เสนอเนอื้ หาทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพอื่ ประยกุ ตใ์ นวชิ าชพี และการศกึ ษา ต่อในอนาคต Thai and English language skills development in listening, speaking, reading, and writing with focusing on vocabularies, expressions, and sentences about airline business, inflight service, and air cargo from various print and electronic media, as well as researching and presenting relevant content to apply to the professional and continued education in future 1553628 ภาษาเพอื่ งานประชาสัมพันธ์ 3(3-0-6) Language for Public Relations Work รูปแบบและวิธีการพูดและเขียนเพื่องานประชาสัมพันธ์ ฝึกการเขียนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เพ่ือการประชาสัมพันธ์และการแสดงความรับผิดชอบทางสังคมเชิงบรรษัทในสื่อส่ิงพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ตา่ ง ๆ ฝกึ การสัมภาษณ ์ ให้สัมภาษณ์ และแถลงข่าว Patterns and methods of speaking and writing Thai and English for public relations work, practice writing for public relations and corporate social responsibilities in various print and electronic media, practice interviewing, giving interview, and making a statement 1553629 ภาษาและการสื่อสารผ่านภาพยนตร์ 3(3-0-6) Language and Communication through Film ค�ำ ศพั ท์ ส�ำ นวน ประโยคภาษาไทยและภาษาองั กฤษเพอื่ ตคี วาม สรปุ ความ วเิ คราะห์ และวจิ ารณส์ งั คม และวฒั นธรรมท่ปี รากฏในภาพยนตรแ์ นวต่อสู้ แนวสงคราม แนวผจญภยั แนวตลก แนวชวี ติ แนวเพลง แนวตะวนั ตก แนวโรแมนตกิ แนวนยิ ายเหนอื จรงิ แนววทิ ยาศาสตร์ แนวสยองขวญั หรอื เขยา่ ขวญั แนวลกึ ลบั แนวอาชญากรรม แนวการ์ตูน และแนวสารคดี Thai and English vocabularies, expressions, and sentences for interpreting, summarizing, analyzing, and criticizing societies and cultures found in action, war, adventure, comedy, drama, musical, western, romantic, fantasy, science fiction, horror or thriller, mystery, crime, animation, and documentary films 1554401 การศกึ ษาอิสระ 3(2-2-5) Independent Study การฝกึ ทกั ษะตงั้ ประเดน็ ปญั หาและตง้ั ค�ำ ถามในเรอื่ งทส่ี นใจโดยเรม่ิ จากตนเอง เชอื่ มโยงกบั ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และประเทศ ตัง้ สมมติฐานและใหเ้ หตุผลโดยใชค้ วามรู้ในสาขาวิชาภาษาและการส่ือสาร เพื่อคน้ คว้าและแสวงหา ความรู้เก่ียวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ออกแบบวางแผนรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสม สังเคราะห์ผลการค้นคว้าและสรุปเป็นองค์ความรู้ ตลอดจนร่วมกันเสนอแนวคิดและ วิธกี ารแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ Practice of issue identification and question skills in interested subjects, starting from their own connected to community, local and national, assuming and reasoning based on knowledge in the field of language and communication for researching and gaining knowledge about hypothesis from various learning resources, planning, designing data collection, analyzing data with using appropriate methods, synthesizing the findings and summarizing as knowledge as well as sharing ideas and how to solve the problem in systematic ways 31

Á Ë Ò ÔÇ· Â Ò ÅÑ Â Ê Ç´Ø ÊÔ µ หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ Suan Dusit

หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ ระดบั ปริญญาตรี 1. ชือ่ หลกั สตู ร หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ภาษาไทย : Bachelor of Arts Program in English ภาษาองั กฤษ : 2. ชอื่ ปริญญา ภาษาไทย ชื่อเตม็ : ศลิ ปศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ช่ือยอ่ : ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ) ภาษาอังกฤษ ช่ือเตม็ : Bachelor of Arts (English) ชือ่ ยอ่ : B.A. (English) 3. วัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร เพื่อผลิตบณั ฑติ มคี ณุ ลักษณะดังตอ่ ไปนี้ 1) มีความรู้ และความเชยี่ วชาญในการใช้ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สารท้ังในด้านวชิ าการและวิชาชีพ 2) นำ�องค์ความรู้ทางด้านภาษาศาสตร์ วรรณคดี การแปล และภาษาอังกฤษเฉพาะด้านไปประยุกต์ใช้ทั้งใน การท�ำ งาน และการศกึ ษาตอ่ ในอนาคต 3) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ประมวลองค์ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ ตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยี ในการทำ�งาน และการเรียนรูต้ ลอดชีวิต 4) มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มีจติ สาธารณะในการนำ�ความร้ไู ปใช้เพือ่ ให้เกิดประโยชนแ์ ก่ตนเองและสังคม 4. คณุ สมบตั ขิ องผู้เขา้ ศึกษา 1) สำ�เร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2) มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่เจ็บป่วยหรือเป็นโรคติดต่อร้ายแรงหรือมีความผิดปกติที่เป็น อุปสรรคต่อการศกึ ษา 3) เปน็ ผมู้ ีความประพฤติดี และมคี ุณสมบัติอ่นื ครบถ้วน ตามท่มี หาวทิ ยาลยั ก�ำ หนด 4) ในกรณีนกั ศึกษาตา่ งชาติ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย 5. อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสำ�เรจ็ การศึกษา (1) เจ้าหน้าทีบ่ ริษัทหรอื องคก์ รระหว่างประเทศ (2) พนกั งานในธรุ กิจบริการ (3) เจ้าหน้าที่วเิ ทศสัมพันธ์ (4) ลา่ ม (5) นักแปลเอกสาร (6) เลขานุการ (7) นักวชิ าการภาษาองั กฤษ (8) พนักงานประชาสมั พันธ์ 33

โครงสรา้ งหลกั สตู ร จ�ำ นวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลกั สตู รไมน่ อ้ ยกวา่ 132 หนว่ ยกติ มสี ดั สว่ นจ�ำ นวนหนว่ ยกติ แยกตามหมวดวชิ า และกลุ่มวชิ า ดังน ี้ 1. หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป 33 หน่วยกติ 2. หมวดวิชาเฉพาะ 90 หน่วยกติ 2.1 วิชาแกน 21 หนว่ ยกิต 2.2 วิชาเฉพาะดา้ น 2.2.1 วชิ าทักษะภาษา 21 หนว่ ยกิต 2.2.2 วิชาภาษาศาสตร ์ 12 หนว่ ยกติ 2.2.3 วิชาวรรณคดี 12 หนว่ ยกิต 2.2.4 วิชาการแปล 9 หนว่ ยกติ 2.3 วชิ าเลอื ก 15 หนว่ ยกติ 3. หมวดวชิ าฝึกประสบการณว์ ิชาชพี 3 หนว่ ยกติ 4. หมวดวิชาเลอื กเสรี 6 หน่วยกิต การจดั การเรียนการสอน 33 หนว่ ยกติ หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 4(2-4-6) 1500201 ความเปน็ สวนดุสิต 6(6-0-12) Suan Dusit Spirit 4(4-0-8) 1500119 ภาษาไทยเพื่อพฒั นาความเปน็ ผู้รอบร้ ู 4(4-0-8) Thai for Being Scholars 4(2-4-6) 1500120 ภาษาองั กฤษเพือ่ การน�ำ ตน 4(2-4-6) English for Self-direction 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสะทอ้ นคิด 3(2-2-5) English for Reflective Thinking 2500116 สังคมอารยชน Civilized People Societies 2500117 พลเมอื งไทยและพลโลกทีด่ ี Smart Thai and Global Citizens 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำ�วัน Science and Mathematics in Daily Life 4000113 ความเข้าใจและการใชด้ ิจทิ ัล Digital Literacy หมวดวชิ าเฉพาะ 90 หน่วยกิต วชิ าแกน 21 หน่วยกิต 1551147 ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษในบรบิ ท English Grammar in Context 3(3-0-6) 1551148 กลวธิ กี ารอ่านภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Reading Strategies 3(3-0-6) 1551149 การฟัง-พดู ภาษาอังกฤษในบรบิ ท 3(3-0-6) English Listening and Speaking in Context 1551150 การเขียนภาษาอังกฤษเบ้อื งต้น Introduction to English Writing 34

1551151 ทักษะการเรียนภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Study Skills 3(3-0-6) 1551152 ภาษาศาสตร์ภาษาอังกฤษเบอ้ื งตน้ 3(3-0-6) Introduction to English Linguistics 1552309 วรรณคดภี าษาอังกฤษเบอ้ื งตน้ 54 หน่วยกติ Basic Concepts of English Literature 21 หน่วยกิต วิชาเฉพาะดา้ น (ใหน้ ักศกึ ษาเรยี นทง้ั หมด 54 หนว่ ยกติ จากกลุ่มรายวิชาต่อไปน้ี) วิชาทักษะภาษา 3(3-0-6) 1551153 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเชิงสอ่ื สาร 3(3-0-6) Communicative English Grammar 3(3-0-6) 1551154 กลวิธีการเขยี นอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing Strategies 3(3-0-6) 1552135 การฟัง-พูดเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Academic Listening and Speaking 3(3-0-6) 1552136 การอ่านภาษาอังกฤษเชิงวเิ คราะห์ Critical English Reading 12 หน่วยกิต 1552137 การเขียนภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) Academic English Writing 3(3-0-6) 1554105 การบรู ณาการทกั ษะภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) Integrated Skills in English 3(3-0-6) 1553408 การพดู ภาษาองั กฤษในยคุ แหง่ ความหลากหลาย English Speaking in the Age of Diversity 12 หน่วยกติ วชิ าภาษาศาสตร์ 3(3-0-6) 1552138 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Phonetics 3(3-0-6) 1552139 วทิ ยาหนว่ ยค�ำ ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Morphology 1552140 วากยสัมพนั ธ์ภาษาองั กฤษ 35 English Syntax 1552141 สทั วิทยาภาษาองั กฤษ English Phonology วชิ าวรรณคดี 1552310 ปกรณมั ปรมั ปรา Legend of Mythology 1553317 เร่อื งคัดสรรทางนวนยิ ายและเรือ่ งส้นั องั กฤษ Selected British Novels and Short Stories 1553318 เรื่องคัดสรรทางนวนิยายและเรื่องส้ันอเมรกิ นั Selected American Novels and Short Stories 1554307 จิตวเิ คราะหว์ รรณกรรม Psychoanalysis Literature

วิชาการแปล 9 หน่วยกิต 1552207 หลกั การแปล 3(3-0-6) Principles of Translation 1552208 การแปลองั กฤษ-ไทย 3(3-0-6) English-to-Thai Translation 1553230 การแปลไทย-องั กฤษ 3(3-0-6) Thai-to-English Translation วชิ าเลอื ก (ให้นกั ศกึ ษาเลือกเรียนไม่น้อยกวา่ 15 หนว่ ยกติ จากกลมุ่ รายวิชาต่อไปน)้ี 15 หน่วยกิต กลุ่มภาษาองั กฤษเฉพาะทาง - ภาษาอังกฤษเพือ่ การท่องเทีย่ วและการบริการ 1553136 ภาษาอังกฤษในธรุ กิจการบนิ 3(3-0-6) English in Airline Business 1553137 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั การโรงแรม 3(3-0-6) English for Hotel 1553138 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั การท่องเท่ียวเชงิ นิเวศน ์ 3(3-0-6) English for Eco-Tourism 1553139 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับการท่องเทย่ี วเชิงวฒั นธรรม 3(3-0-6) English for Cultural Tourism 1553140 ภาษาองั กฤษสำ�หรบั งานประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา 3(3-0-6) English for Public Relations and Advertising - ภาษาองั กฤษปฐมวัย 1553141 โฟนคิ สส์ ำ�หรบั เด็กปฐมวยั 3(3-0-6) Phonics for Preschool Children 1553142 ภาษาในชน้ั เรียนภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Classroom Language in English Class of Preschool children 1553143 กลวิธีการจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ภู าษาอังกฤษสำ�หรับเดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) Strategies of Providing English Learning Experiences for Preschool Children 1553144 การพฒั นาส่อื และการใช้เทคโนโลยเี พอ่ื การเรยี นรู้ภาษาอังกฤษของเดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) Development of Learning Materials and Using Technology for English Learning of Preschool Children 1553145 เพลงและเกมสเ์ พือ่ พัฒนาการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษของเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Songs and Games for English Learning Development of Preschool Children - ภาษาองั กฤษเพอื่ ส่งเสริมวชิ าชพี ทางกฎหมาย 1554133 ภาษาอังกฤษเพอื่ วตั ถุประสงค์ทางกฎหมาย 3(3-0-6) English for Legal Purposes 1554106 ภาษาอังกฤษเกย่ี วกบั กฎหมายและการเมอื ง 3(3-0-6) English for Law and Politics 1554107 ภาษาองั กฤษเกยี่ วกบั กฎหมายแพ่ง 3(2-2-5) English for Civil Law 1554108 ทักษะการใชภ้ าษาอังกฤษทางด้านกฏหมาย 3(2-2-5) English Usage Skills for Laws 36

1554109 ภาษาองั กฤษเกยี่ วกบั กฎหมายอาญา 3(2-2-5) English for Criminal Law - ภาษาอังกฤษในสถานพยาบาลและศูนยส์ ขุ ภาพ 3(3-0-6) 1554110 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐานส�ำ หรบั พยาบาล 3(3-0-6) Basic English for Nursing 3(3-0-6) 1554111 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับเวชระเบยี น 3(3-0-6) English for Medical Record 3(3-0-6) 1554112 ภาษาองั กฤษสำ�หรับแผนกผปู้ ่วยใน English for Inpatient Department 3(3-0-6) 1554113 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั แผนกผู้ป่วยนอก 3(3-0-6) English for Outpatient Department 3(3-0-6) 1554114 ภาษาอังกฤษส�ำ หรับการสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพพยาบาล 3(3-0-6) English for Nurse Licensure Examination 3(3-0-6) - ภาษาองั กฤษในการท�ำ งานทางดา้ นคหกรรมศาสตร ์ 1554115 ภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ศาสตร์การท�ำ อาหาร 3(3-0-6) English for Culinary Arts 3(3-0-6) 1554116 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั อตุ สาหกรรมการบริการอาหาร 3(3-0-6) English for Food Service Industry 3(3-0-6) 1554117 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั การจัดดอกไมแ้ ละงานใบตอง 3(3-0-6) English for Flower Arrangement and Banana Leaf Craft 1554118 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับขนมไทย 3(3-0-6) English for Thai Dessert 3(3-0-6) 1554119 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั การแกะสลักผักและผลไม ้ English for Vegetable and Fruit Carving 37 - ภาษาอังกฤษธรุ กจิ และการศกึ ษา 1554120 ภาษาองั กฤษสำ�หรับงานส่ือสารมวลชน English for Mass Media 1554121 ภาษาอังกฤษสำ�หรับธรุ กิจการขาย English for Sales Business 1554122 ทักษะภาษาองั กฤษในบริบทการแสดง English Language Skills in Dramatic Contexts 1554123 ภาษาองั กฤษเพอื่ การเขียนรายงานการวิจยั English for Research Writing 1554124 ภาษาองั กฤษสำ�หรบั เลขานุการและการจดั การในสำ�นักงาน English for Secretary and Office Management กลุ่มวิชาภาษาศาสตร ์ 1553231 อรรถศาสตร์ภาษาองั กฤษ English Semantics 1554204 การวเิ คราะหว์ าทกรรม Discourse Analysis

1554205 วจั นปฏบิ ัติศาสตร ์ 3(3-0-6) Pragmatics 3(3-0-6) 1553232 ภาษาศาสตร์เชิงสังคม 3(3-0-6) Sociolinguistics 3(3-0-6) 1553233 ภาษาองั กฤษโลกร่วมสมยั 3(3-0-6) Contemporary Englishes 1553234 มติ แิ ห่งศพั ท ์ 3(3-0-6) Dimensions of Vocabulary 3(3-0-6) 1554206 ภาษาศาสตรป์ ระยุกตใ์ นการสอนภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) Applied Linguistics in English Language Teaching 3(3-0-6) 3(3-0-6) กลุ่มวชิ าวรรณคด ี 3(3-0-6) 1554308 ศิลปะและลีลาการอา่ นวรรณกรรม Art and Style of Literature Reading 3(3-0-6) 1554309 วรรณกรรมการเมืองและประวตั ิศาสตรศ์ ึกษา 3(3-0-6) Political Literature and History Study 3(3-0-6) 1553319 วรรณกรรมอังกฤษจากศตวรรษท่ี 20 จนถึงปจั จบุ ัน 3(3-0-6) British Literature from the 20th century to the Present 3(3-0-6) 1554310 วรรณกรรมอเมรกิ ันจากศตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จุบนั 3(3-0-6) American Literature from the 20th century to the Present 1553320 วรรณกรรมบรู พาศึกษา 3 หน่วยกิต Eastern Literature Study 3(0-30-0) 1553321 วรรณกรรมสำ�หรบั เด็ก Children Literature กล่มุ วิชาการแปล 1553235 การแปลเชงิ ธุรกจิ และประชาสัมพันธ์ Business and Public Relations Translation 1553236 การแปลบันเทิงคดี Fiction Translation 1553237 การแปลบทบรรยายใตภ้ าพ Subtitle Translation 1554207 การแปลด้านอาหาร Culinary Translation 1553238 การแปลข่าว News Translation 1554208 การแปลสารคดแี ละเอกสารทางวชิ าการ Documentary and Academic Text Translation หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชพี 1554808 ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ Practicum 38

วิชาเลอื กเสรี 6 หนว่ ยกิต เลือกเรยี นรายวชิ าใดๆ ในหลกั สตู รปรญิ ญาตรี มหาวิทยาลยั สวนดสุ ติ โดยไม่ซ้ำ�กบั รายวิชาทีเ่ คยเรยี น มาแลว้ ทั้งน้ี จะตอ้ งไม่เปน็ รายวชิ าที่กำ�หนดให้เรียนโดยไม่นับหนว่ ยกติ รวมในเกณฑก์ ารสำ�เร็จหลักสูตร หรือรายวิชา อ่นื ๆ โดยทีน่ กั ศกึ ษาสามารถเลือกเรียนวชิ าเสรใี นสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ในคณะ หรือนอกคณะ จำ�นวน 2 รายวิชา โดยทางสาขาวชิ าภาษาองั กฤษไดจ้ ดั รายวิชาดังตอ่ ไปนี้ กลมุ่ วิชาภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) 1553146 ภาษาอังกฤษเพอื่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ติ 3(3-0-6) English for Lifelong Learning 3(3-0-6) 1553147 ภาษาอังกฤษเพ่ือการน�ำ เสนอ 3(3-0-6) English for Presentation 3(3-0-6) 1554125 ภาษาองั กฤษสคู่ วามก้าวหนา้ ในวิชาชีพ 3(3-0-6) English for Career Advancement 3(3-0-6) 1554126 ภาษาองั กฤษสู่ความก้าวหนา้ เชงิ วิชาการ 3(3-0-6) English for Academic Advancement 3(3-0-6) 1554127 ภาษาองั กฤษในองค์กรระหวา่ งประเทศ และบรรษัทข้ามชาต ิ 3(3-0-6) English in International Organizations and Multinational Corporations 1554128 ภาษาอังกฤษเพือ่ การแปลเกม English for Game Translation 1554129 ภาษาอังกฤษเพ่อื ธรุ กิจออนไลน์ English for Online Businesses 1554130 ภาษาอังกฤษสำ�หรบั การสรา้ งแบรนด์บุคคล English for Personal Branding 1554131 ภาษาองั กฤษสำ�หรบั บารสิ ต้าและบาร์เทนเดอร ์ English for Barista and Bartender 1554132 การแปลธรุ กจิ ในฐานะตวั กลางการสอ่ื สารสากล Business Translation as a Medium for Global Communication 39

แผนการเรียนตลอดหลกั สตู ร นกั ศึกษารหัส 62 สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ ระดับปรญิ ญาตรี จำ�นวนหนว่ ยกติ รวม 132 หน่วยกิต ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ปที ี่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2562 หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป หมวดวิชาศึกษาทว่ั ไป 1500201 ความเปน็ สวนดุสติ 4(2-4-6) 1500121 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การสะทอ้ นคิด 4(4-0-8) 4000113 ความเขา้ ใจและการใชด้ ิจทิ ลั 3(2-2-5) 2500116 สงั คมอารยชน 4(2-4-6) วชิ าแกน วิชาแกน 1551149 การฟัง-พูดภาษาองั กฤษในบริบท 3(3-0-6) 1551152 ภาษาศาสตรภ์ าษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1551148 กลวธิ ีการอ่านภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) เบือ้ งตน้ 1551147 ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษในบรบิ ท 3(3-0-6) 1551151 ทักษะการเรียนภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) 1551150 การเขียนภาษาองั กฤษเบือ้ งตน้ 3(3-0-6) วิชาเฉพาะดา้ น กลุ่มวิชาทักษะทางภาษา 1551153 ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษเชงิ สอ่ื สาร 3(3-0-6) 1551154 กลวิธีการเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) รวม 19 หน่วยกิต รวม 20 หน่วยกติ ปที ่ี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563 หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 1500119 ภาษาไทยเพ่อื พัฒนา 6(6-0-12) 1500120 ภาษาองั กฤษเพอื่ การนำ�ตน 4(4-0-8) ความเปน็ ผรู้ อบรู้ วิชาเฉพาะดา้ น กลุม่ วิชาทักษะทางภาษา วชิ าแกน 1552137 การเขียนภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ 3(3-0-6) 1552309 วรรณคดภี าษาอังกฤษเบอ้ื งต้น 3(3-0-6) 1552136 การอา่ นภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะห์ 3(3-0-6) วิชาเฉพาะด้าน กลมุ่ วิชาทักษะภาษา วิชาเฉพาะดา้ น กลมุ่ วิชาภาษาศาสตร์ 1552135 การฟงั -พูดเชิงวชิ าการ 3(3-0-6) 1552140 วากยสมั พันธ์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) วิชาเฉพาะด้าน กลุ่มวชิ าภาษาศาสตร์ วชิ าเฉพาะด้าน กลุ่มวิชาวรรณคดี 1552138 สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) 1552310 ปกรณมั ปรัมปรา 3(3-0-6) 1552139 วทิ ยาหนว่ ยค�ำ ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) วชิ าเฉพาะดา้ น กลุ่มวิชาการแปล วิชาเฉพาะดา้ น กล่มุ วชิ าการแปล 1552208 การแปลอังกฤษ-ไทย 3(3-0-6) 1552207 หลกั การแปล 3(3-0-6) รวม 21 หนว่ ยกิต รวม 19 หน่วยกติ 40

ปที ่ี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ปีท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป 4000112 วทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ใน 4(2-4-6) 2500117 พลเมืองไทยและพลโลกทดี่ ี 4(2-4-6) ชวี ิตประจำ�วนั วชิ าเฉพาะดา้ น กลุ่มวิชาวรรณคดี วิชาเฉพาะดา้ น วิชาทกั ษะทางภาษา 1553318 เรอ่ื งคัดสรรทางนวนยิ ายและเรื่อง 3(3-0-6) 1553408 การพูดภาษาอังกฤษในยคุ แห่ง 3(3-0-6) สั้นอเมริกัน ความหลากหลาย วชิ าเฉพาะดา้ น กลุม่ วิชาการแปล 1553230 การแปลไทย-องั กฤษ 3(3-0-6) วชิ าเฉพาะดา้ น กลมุ่ วชิ าภาษาศาสตร์ 1552141 สทั วทิ ยาภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) วิชาเลอื ก วชิ าเฉพาะด้าน กลมุ่ วชิ าวรรณคดี xxxxxxx วชิ าเลอื ก 3 นก. 1553317 เรอ่ื งคัดสรรทางนวนยิ ายและ 3(3-0-6) วชิ าเลือกเสรี เร่ืองสั้นองั กฤษ xxxxxxx วิชาเลอื กเสร ี 3 นก. วิชาเลอื ก xxxxxxx วิชาเลอื ก 3 นก. xxxxxxx วชิ าเลือก 3 นก. รวม 19 หนว่ ยกติ รวม 16 หน่วยกิต ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2565 ปีที่ 4 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2565 วชิ าเฉพาะดา้ น กล่มุ ทกั ษะทางภาษา หมวดวชิ าฝึกประสบการณ์วิชาชพี 3(0-30-0) 1554105 การบูรณาการทักษะ 3(3-0-6) 1554808 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ภาษาอังกฤษ วิชาเฉพาะดา้ น กลมุ่ วิชาวรรณคดี 3(3-0-6) 1554307 จติ วเิ คราะหว์ รรณกรรม 3 นก. วชิ าเลือก 3 นก. xxxxxxx วิชาเลือก 3 นก. xxxxxxx วิชาเลือก วิชาเลอื กเสรี xxxxxxx วิชาเลือกเสรี รวม 15 หน่วยกิต รวม 3 หนว่ ยกิต 41

คำ�อธิบายรายวิชา สาขาวิชาภาษาองั กฤษ 1551147 ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษในบริบท 3(3-0-6) English Grammar in Context การใชโ้ ครงสรา้ งไวยากรณเ์ พอ่ื สอื่ ความหมายในบรบิ ทตา่ ง ๆ รปู แบบ ความหมาย หนา้ ทข่ี องไวยากรณ์ ชนดิ ของคำ� ชนดิ ของประโยค กาล รปู คำ�กริยาแสดงทศั นะ รปู ค�ำ กริยาเป็นนามและรูปกริยาเปน็ กลาง Using grammatical structures in various contexts, forms, meanings and functions of grammar topics including part of speech, types of sentences, tenses, modal verbs, gerund and infinitive 1551148 กลวธิ กี ารอ่านภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Reading Strategies กลวธิ กี ารอา่ นภาษาองั กฤษ วธิ กี ารเรยี นรคู้ วามหมายของค�ำ ศพั ทจ์ ากพจนานกุ รม การเดาความหมาย จากบรบิ ทและการสร้างคำ� การทำ�ความเข้าใจโครงสร้างประโยคและโครงสร้างข้อความ กลวธิ กี ารอา่ นแบบกวาด สายตา การอ่านแบบเกบ็ รายละเอียดและ การอา่ นเพ่อื หาหวั ขอ้ ใจความสำ�คัญและรายละเอียดของบทอ่าน Reading strategies: finding meaning of words from dictionary, context clues and word formation, understanding sentence structures and text structures, strategies of skimming, scanning, reading for topics, main ideas and details of texts 1551149 การฟงั -พูดภาษาอังกฤษในบรบิ ท 3(3-0-6) English Listening and Speaking in Context ฝกึ ทกั ษะการฟังและการพดู การฟังสือ่ โฆษณา สถานการณ์ในการท�ำ งานเพอ่ื จบั ใจความส�ำ คัญและ ข้อมูลเฉพาะและเพื่อทำ�ตามข้อแนะนำ� การพูดแสดงความคิดเห็น การอภิปรายสถานการณ์ชีวิตประจำ�วันและ การโตต้ อบในด้านท่ีตนสนใจในบริบทของชีวิตประจำ�วัน Practice listening and speaking skills: listening to broadcast media and job-related situations for the main idea, for specific details and for following instructions, expressing personal opinions, discussing everyday situations and responding to their topics of interest 1551150 การเขียนภาษาองั กฤษเบื้องตน้ 3(3-0-6) Introduction to English Writing วิธีการสร้างประโยค การใช้คำ�สร้างวลี การใช้วลีในการสร้างประโยคและการเรียบเรียงประโยคเป็น ขอ้ ความสนั้ ๆ ฝกึ การเขยี นภาษาองั กฤษ ตามรปู แบบตา่ ง ๆ การกรอกแบบฟอรม์ การเขยี นบนั ทกึ ชว่ ยจ�ำ การจดบนั ทกึ สนั้ ๆ อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ การเขยี นแสดงความยนิ ดี การเขยี นบตั รเชญิ การเขยี นแสดงความเสยี ใจและการขอโทษ Ways of writing sentences from words to phrases, phrases to sentences and sentences to short paragraphs, practice English writing in different patterns of writing, forms filling, memorandum, informal note-taking, congratulations, invitation cards, condolences and apology writing 1551151 ทกั ษะการเรยี นภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Study Skills ทกั ษะการเรยี นภาษาองั กฤษ ทกั ษะการคน้ ควา้ ขอ้ มลู การบนั ทกึ การเรยี นรู้ การอา่ นเชงิ วชิ าการ การสรปุ ขอ้ มูล ทักษะการเขียนถอดความ การเขียนรายงานและการเขยี นอ้างองิ English study skills, information retrieving skills, note-taking, academic reading, summarizing, paraphrasing, writing a report and reference skills 42

1551152 ภาษาศาสตร์ภาษาองั กฤษเบ้อื งต้น 3(3-0-6) Introduction to English Linguistics หลักการทางภาษาศาสตร์ ที่มาของแนวคิดทางภาษาศาสตร์ โครงสร้างของระบบ เสยี ง การสร้างคำ� โครงสรา้ งประโยค การเปลย่ี นแปลงของภาษา รวมถงึ ความหลากหลายของภาษา ตามชนชน้ั วจั นลลี า และเพศสภาวะ Linguistic principles, a history of linguistic thought, the structure of the English sound system, word formation, sentence structure, language changes including variation by class, style and gender 1552309 วรรณคดภี าษาองั กฤษเบอ้ื งตน้ 3(3-0-6) Basic Concepts of English Literature ความหมาย ความสำ�คญั บทบาทหนา้ ท่ี องค์ประกอบของวรรณคดี ประเภทของวรรณคดี ทงั้ รอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง วธิ กี ารวเิ คราะหแ์ ละตคี วามวรรณคดใี นเชงิ ความงาม ภาษา ฉนั ทลกั ษณ์ รปู แบบการประพนั ธ์ เนอื้ หา โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ The meaning, importance, roles or functions, literature components, literature genres, especially the prose and poetry, critical and interpretation methods in terms of beauty, figurative languages, prosody, form of fashion and contents by critical methods and knowledge exchange 1551153 ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเชงิ สือ่ สาร 3(3-0-6) Communicative English Grammar การใชโ้ ครงสรา้ งไวยากรณ์ รปู แบบ ความหมาย และหนา้ ทใี่ นการสอื่ สารในชวี ติ ประจ�ำ วนั การใหข้ อ้ มลู และคำ�แนะนำ� การบรรยายเหตุการณ์ การแสดงความคดิ เหน็ การให้เหตผุ ล การวางแผนในอนาคต Practical use of grammatical structures, forms, meanings and functions to communicate in daily life: giving information and suggestions, describing events, expressing opinions, reasoning and making future plan 1551154 กลวธิ กี ารเขียนอนุเฉท 3(3-0-6) Paragraph Writing Strategies การเขยี นประโยคภาษาองั กฤษชนดิ ตา่ งๆ การเขยี นประโยคโดยใชก้ าลตา่ ง ๆ ประโยคไมส่ มบรู ณแ์ ละ ประโยคสมบรู ณ์ กระบวนการและกลวธิ ีการเขียนอนุเฉท รูปแบบและองคป์ ระกอบของอนเุ ฉท การเขียนประโยค ใจความส�ำ คัญและประโยคสนับสนุนอนเุ ฉทประเภทต่าง ๆ การฝึกเขียนระดบั อนเุ ฉทประเภทตา่ ง ๆ Writing English sentences in different types, writing sentences using different tenses, fragments and complete sentence, writing process and paragraph writing strategies, paragraph formats and parts of a paragraph, writing topic sentences and supporting sentences of various types of paragraphs, practice on writing different types of paragraphs 1552135 การฟัง-พดู เชงิ วิชาการ 3(3-0-6) Academic Listening and Speaking ฝกึ ทกั ษะการฟงั -พดู ภาษาองั กฤษเชงิ วชิ าการ การฟงั เพอื่ รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารทว่ั ไปและขอ้ มลู เฉพาะ การฟงั เพื่อจับใจความสำ�คญั วิธกี ารนำ�เสนอผลงาน การเป็นผฟู้ งั ทดี่ ี การฟังเพื่อจดบนั ทกึ ค�ำ ศพั ท์สำ�นวนภาษาท่ใี ชใ้ น การพูดเชงิ วชิ าการ การใชน้ �้ำ เสียง ทกั ษะการออกเสียง การขึ้นเสียงสงู ต่�ำ Practice listening and speaking skills in a variety of academic contexts; listening for general and specific information, listening for main idea, making presentations, being good listeners, listening for note taking, vocabularies and idioms used in academic speaking, using tone, pronunciation and intonation 43

1552136 การอา่ นภาษาอังกฤษเชงิ วิเคราะห ์ 3(3-0-6) Critical English Reading ฝึกทักษะการอ่านในเนื้อหาที่มีความซับซ้อน ฝึกการอ่านบทอ่านด้านวิชาการ วิชาชีพ การระบุใจ ความสำ�คัญ จุดประสงค์ของผู้เขียน วิเคราะห์โครงสร้างเรื่องและองค์ประกอบของบทอ่าน การอภิปรายบทอ่าน การระบุความคดิ เห็นและขอ้ เทจ็ จรงิ จากบทอา่ น Practice reading at a complex level, reading academic texts, professional: identifying the main idea and the writer’s purpose, analyzing the structure and components of reading texts, texts discussion, identifying facts and opinions from texts 1552137 การเขยี นภาษาองั กฤษเชงิ วิชาการ 3(3-0-6) Academic English Writing กลวธิ ี และเทคนคิ ในการเขยี นเชงิ วชิ าการ ไดแ้ ก่ การอา้ งองิ ขอ้ ความ การสอ่ื สารขอ้ ความของบคุ คลอน่ื ดว้ ยค�ำ พูดของตนเอง การสรุป และการเขยี นโตแ้ ย้ง น�ำ ขั้นตอนในกระบวนการเขยี นไปปฏบิ ัตจิ รงิ ได้แก่ การระดม ความคดิ การกำ�หนดใจความหลกั การวางโครงรา่ ง การเขียนร่าง การอ้างอิง การตรวจสอบ และการปรบั แก้ Strategies and techniques in academic writing: quoting, paraphrasing, summarizing and making arguments, utilizing steps in the writing process: brainstorming, formulating the thesis statement, outlining, drafting, referencing, editing and rewriting 1554105 การบรู ณาการทกั ษะภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) Integrated Skills in English การบรู ณาการทักษะภาษาองั กฤษ การฟงั การพูด การอ่าน การเชียนภาษาอังกฤษผา่ นงานวชิ าการ การหาความรู้จากทรพั ยากรสิ่งพมิ พ์ การสมั ภาษณเ์ พ่อื หาข้อมูลในเชิงลึก นำ�เสนอหวั ขอ้ ทีค่ น้ ควา้ ผา่ นรูปแบบการ สมั มนาท่เี ป็นทางการ และโครงงานเขียนเชิงวชิ าการ The integration of English language skills: listening, speaking, reading and writing through academic works: accessing knowledge from various reading sources, interviewing for in-depth information, presenting the research topic of study in forms of formal seminars and academic writing projects 1553408 การพูดภาษาอังกฤษในยคุ แห่งความหลากหลาย 3(3-0-6) English Speaking in the Age of Diversity หลกั การและวธิ กี ารพดู ในทช่ี มุ ชน การวางแผนและการจดั ระเบยี บวาระการพดู ไดแ้ ก่ การพดู แบบไมไ่ ด้ เตรยี มการมากอ่ น การพดู เพอ่ื ใหข้ อ้ มลู การพดู เพอื่ โนม้ นา้ วใจ ฝกึ โตว้ าทแี ละอภปิ รายในประเดน็ โตแ้ ยง้ ทหี่ ลากหลาย และการพูดในโอกาสพิเศษหรือโอกาสเฉพาะ ด้วยการคัดสรรคำ� สำ�นวน และประโยคที่เก่ียวเนื่องกับหัวข้อท่ีจะ น�ำ เสนอ Principles and methods of public speaking, planning and making speeches: impromptu speeches, informative speeches, persuasive speeches, concepts, analytical skills, rhetorical strategies, debate and discussion practice on various argumentative issues and speeches for special occasions by selecting words, expressions and sentences relating to the topics 1552138 สทั ศาสตรภ์ าษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Phonetics สัทอักษรในระดับคำ�และระดับประโยค หน่วยเสียงและรูปย่อยหน่วยเสียง โครงสร้างพยางค์ การลง เสยี งหนกั ในระดบั ค�ำ และระดบั ประโยค ลกั ษณะทางเสยี งในการพดู ตอ่ เนอื่ ง รวมถงึ ความหลากหลายของส�ำ เนยี ง ในภาษาองั กฤษ Phonetic alphabet in transcription at word and sentence levels, phonemes and allophones, syllable structure, stress at word and sentence levels, sounds in connected speech together with variation in English accents 44

1552139 วิทยาหน่วยค�ำ ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) English Morphology หนว่ ยของค�ำ ไดแ้ ก่ หนว่ ยค�ำ อสิ ระ หนว่ ยค�ำ ไมอ่ สิ ระ อปุ สรรค รากศพั ท์ ปจั จยั ประเภทของปจั จยั ค�ำ เดยี่ ว ค�ำ ประสม ค�ำ ซอ้ น หน่วยศพั ท์ การสรา้ งคำ� ชนดิ ของค�ำ Word units: free morphemes, bound morphemes, prefixes, roots, suffixes: derivational and inflectional morphemes, simple words, compound words, complex words, lexemes, word formations and word classes 1552140 วากยสัมพนั ธ์ภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Syntax แนวคดิ ทางวากยสมั พนั ธภ์ าษาองั กฤษ การวเิ คราะหโ์ ครงสรา้ งภาษาองั กฤษตามหลกั วากยสมั พนั ธ์ แบบ ลกั ษณแ์ ละหนา้ ที่ โครงสรา้ งลกึ และโครงสรา้ งผวิ ประเภทของค�ำ การประกอบค�ำ วลแี ละประโยค กฎของวลี นามวลี คณุ ศพั ทว์ ลี กรยิ าวลี วเิ ศษณว์ ลี บรุ พบทวลี ประเภทของประโยค โครงสรา้ งประโยคตามทฤษฎวี ากยสมั พนั ธร์ ว่ มสมยั Concepts of English syntax, parsing of English sentence structure using syntax rules, forms and functions, deep and surface structure, word categories, construction of words, phrases and sentences, phrases structure rules, noun phrase, adjective phrase, verb phrase, adverb phrase and prepositional phrase, types of sentences, sentence structure in contemporary English syntactic theory 1552141 สทั วทิ ยาภาษาองั กฤษ 3(3-0-6) English Phonology ความเปน็ มาของการศกึ ษาดา้ นสทั วทิ ยา ระบบเสยี ง การเรยี งตวั ของหนว่ ยเสยี ง กฎทางเสยี ง การท�ำ งาน ของกฎทางเสยี ง และการวเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสัทวทิ ยาภาษาองั กฤษ Background of Phonology, phonological system, sound patterns, phonological rules, rules application and phonological analysis of the English language 1552310 ปกรณัมปรัมปรา 3(3-0-6) Legend of Mythology ประวัตคิ วามเปน็ มาของเทพเจ้ากรีกและโรมัน เทพบตุ ร เทพธิดา วีรบรุ ษุ วีรสตรีที่เปน็ ตน้ กำ�เนิดของ ความเชือ่ แนวคิด อทิ ธพิ ลตอ่ การดำ�เนนิ ชีวิตของมนุษย์และการกอ่ เกิดวรรณกรรม ศลิ ปะและวฒั นธรรมของโลก สมัยใหม่ ดว้ ยวิธกี ารคดั สรร วิเคราะห์ เปรียบเทียบ และการตคี วาม The history and the origin of the Greek and Roman gods, angels, heroes, and heroines; with the origin of the belief, concept, influence for human living and the origin of the literature, art and the culture of the new era by selection, analysis, comparison and interpretation 1553317 เรอื่ งคัดสรรทางนวนิยายและเร่อื งสัน้ องั กฤษ 3(3-0-6) Selected British Novels and Short Stories วฒั นธรรม สงั คมและสภาพความเปน็ อยจู่ ากนวนยิ ายและเรอื่ งสนั้ องั กฤษ รปู แบบ ประเภท ชนดิ ภาษา แงค่ ดิ ฉาก ความขดั แยง้ โครงเรอ่ื ง ความหมาย คณุ คา่ ความงามของวรรณคดใี นเชงิ ความหมายตรงและนยั ประวตั ิ ภาษาเชงิ เปรียบเทยี บ อปุ มา อุปไมย โวหารภาพพจน์ จนิ ตภาพ สัญญลักษณ์ และเทคนคิ เฉพาะในการประพนั ธ์ นวนยิ ายและเรอ่ื งสน้ั ดว้ ยวธิ กี าร คน้ ควา้ วเิ คราะห์ แยกแยะ เปรยี บเทยี บ ตคี วามจากเรอ่ื งทไ่ี ดร้ บั การคดั สรรเฉพาะ Culture, society and living condition through English novels and short stories: forms, genres, language, concept, setting, conflict, plot, denotative and connotative meaning, value and beauty of the literature: comparative language, figurative language, idioms, imagery and symbolism and special techniques for novel and short story composition by means of researching, analyzing, classifying, comparative and interpretation methods with selected stories 45

1553318 เร่อื งคัดสรรทางนวนยิ ายและเรื่องส้นั อเมรกิ นั 3(3-0-6) Selected American Novels and Short Stories วฒั นธรรม สงั คมและสภาพความเปน็ อยจู่ ากนวนยิ ายและเรอื่ งสน้ั อเมรกิ นั รปู แบบ ประเภท ชนดิ ภาษา แงค่ ดิ ฉาก ความขดั แยง้ โครงเรอ่ื ง ความหมาย คณุ คา่ ความงามของวรรณคดใี นเชงิ ความหมายตรงและนยั ประวตั ิ ภาษาเชิงเปรยี บเทียบ อุปมา อุปไมย โวหารภาพพจน์ จินตภาพ สัญญลกั ษณ์ และเทคนคิ เฉพาะในการประพันธ์ นวนยิ ายและเรอ่ื งสน้ั ดว้ ยวธิ กี าร คน้ ควา้ วเิ คราะห์ แยกแยะ เปรยี บเทยี บ ตคี วามจากเรอ่ื งทไ่ี ดร้ บั การคดั สรรเฉพาะ Culture, society and living condition through American novels and short stories: forms, genres, language, concept, setting, conflict, plot, denotative and connotative meaning, value and beauty of the literature: comparative language, figurative language, idioms, imagery and symbolism and special techniques for novel and short story composition by means of researching, analyzing, classifying, comparative and interpretation methods with selected stories 1554307 จิตวิเคราะห์วรรณกรรม 3(3-0-6) Psychoanalysis Literature หลักการ แนวคิด ทฤษฎบี คุ ลิกภาพ จิตวเิ คราะหท์ ่สี ่งผลตอ่ พฤตกิ รรมของตวั ละครในเชงิ บวก และลบ ดว้ ยวธิ กี ารสงั เคราะห์ แยกแยะ เปรยี บเทยี บ เพอื่ น�ำ ไปสกู่ ารประยกุ ตใ์ ชใ้ นการวเิ คราะหว์ รรณกรรมและการด�ำ เนนิ ชวี ติ ในรปู แบบกรณีศกึ ษา Principles, concepts, theories of personalities and psychoanalytic that effect through the behavior of the characters both in positive and negative regression by the analysis methods, classifications, comparative methods for applying on the literature analysis pieces and their real life situation adaptation in the case study 1552207 หลักการแปล 3(3-0-6) Principles of Translation แนวคดิ และทฤษฎกี ารแปล กระบวนการและวธิ กี ารแปล ศาสตรท์ เี่ กยี่ วขอ้ งกบั การแปล คณุ สมบตั ขิ อง นักแปล ฝกึ การแปลตัวบทจากภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาไทย และภาษาไทยเปน็ ภาษาอังกฤษ Concepts and theories of translation, processes and strategies of translation, knowledge related to translations, qualifications of translator, practice translating texts from English into Thai and vice versa 1552208 การแปลองั กฤษ-ไทย 3(3-0-6) English-to-Thai Translation แนวคดิ ทฤษฎี กระบวนการ วธิ กี าร และสอื่ เทคโนโลยเี พอื่ การแปลตวั บทประเภทใหข้ อ้ มลู แสดงความรสู้ กึ และโนม้ นา้ วใจ จากภาษาองั กฤษเป็นภาษาไทย การประยุกต์ใชห้ ลักการแปลและการใช้ภาษาแปล Concepts, theories, processes, strategies and technology for translating informative, expressive and persuasive texts from English into Thai, applying the concepts and using the target language 1553230 การแปลไทย-องั กฤษ 3(3-0-6) Thai-to-English Translation แนวคดิ ทฤษฎี กระบวนการ วธิ กี าร และสอื่ เทคโนโลยเี พอ่ื การแปลตวั บทประเภทใหข้ อ้ มลู แสดงความรสู้ กึ และโน้มนา้ วใจ จากภาษาไทยเป็นภาษาอังกกฤษ การประยุกตใ์ ชห้ ลักการแปลและการใชภ้ าษาแปล Concepts, theories, processes, strategies and technology for translating informative, expressive and persuasive texts from Thai into English, applying the concepts and using the target language 46

1553136 ภาษาองั กฤษในธุรกิจการบิน 3(3-0-6) English in Airline Business ทกั ษะภาษาองั กฤษ ดา้ นการฟงั การพดู การอา่ น และการเขยี น ค�ำ ศพั ทใ์ นธรุ กจิ การบนิ ไดแ้ ก่ การส�ำ รอง ตั๋วเครอ่ื งบนิ การใหบ้ ริการภาคพื้น การลงทะเบยี นขึ้นเคร่อื ง การเดินทางด้วยเครื่องบนิ การใหบ้ รกิ ารบนเคร่อื ง บิน การผา่ นตรวจคนเข้าเมือง ธรุ กจิ English skills including listening, speaking, reading, writing, vocabulary in airline business context: reservation and ticketing, ground service, check-in, immigration boarding, in-flight services 1553137 ภาษาอังกฤษสำ�หรับการโรงแรม 3(3-0-6) English for Hotel ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะทางในงานโรงแรม ส�ำ นวนภาษา ฝกึ การสอ่ื สารในแผนกตอ้ นรบั แผนกอาหารและเครอื่ งดม่ื การจดั การและรบั มือกับข้อรอ้ งเรยี นของลูกคา้ กระบวนการและขั้นตอนการติดตอ่ ในโรงแรม Hotel terminology, expressions, communicative practice in front office, food and beverage services, dealing with and handling guest complaints; hotel operations and procedures 1553138 ภาษาอังกฤษส�ำ หรบั การทอ่ งเทยี่ วเชงิ นเิ วศน ์ 3(3-0-6) English for Eco-Tourism คำ�ศัพท์เฉพาะทางและไวยากรณ์ท่ีใช้ในสถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ฝึกฝนการส่ือสารด้วย ภาษาอังกฤษในเรื่องประวัติความเป็นมาของสถานที่ท่องเที่ยว แหล่งทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาคต่าง ๆ ของ ประเทศไทย และการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มผ่านสถานการณจ์ ำ�ลองและสถานการณ์จรงิ E co-tourism terminology and grammar functioned in Eco-tourism context, communicative practice in describing the history of eco-tourism attractions, natural resources in regions of Thailand and natural and environmental preservation via in-class demonstration and real-life situations 1553139 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับการทอ่ งเที่ยวเชงิ วัฒนธรรม 3(3-0-6) English for Cultural Tourism ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะทางและไวยากรณท์ ใี่ ชใ้ นสถานการณท์ อ่ งเทยี่ วเชงิ วฒั นธรรม ฝกึ ฝนการสอื่ สารดว้ ยภาษา องั กฤษในเรือ่ งประวัติความเป็นมาของสถานทีท่ ่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม วดั พระราชวงั โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ผา่ นสถานการณ์จ�ำ ลองและสถานการณ์จรงิ Cultural tourism terminology and grammar functioned in cultural tourism context, communicative practice in describing the history of cultural tourism attractions, temples, palaces, archaeological sites, ancient artifacts via in-class demonstration and real-life situations 1553140 ภาษาองั กฤษส�ำ หรับงานประชาสัมพันธ์และการโฆษณา 3(3-0-6) English for Public Relations and Advertising ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะทางในงานประชาสมั พนั ธแ์ ละการโฆษณา ส�ำ นวนภาษา ฝกึ สอื่ สารในการเขยี นแผน่ พบั แผน่ ปลิว ป้ายโฆษณา ขา่ วประชาสัมพันธ์ และการโฆษณาผา่ นสอื่ ดจิ ทิ ลั Advertising and public relations terminology, expressions, communicative practice in writing brochures, leaflets, billboards, press releases and digital advertisements 47

1553141 โฟนิคส์ส�ำ หรบั เด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Phonics for Preschool Children ความหมาย แนวคดิ และทฤษฎีการใชโ้ ฟนิคส์เพื่อพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษ ประเภทของโฟนิคส์ ตวั อักษรภาษาองั กฤษ เสียงตัวอักษรภาษาองั กฤษ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งเสียงกับตัวอกั ษร การสะกดค�ำ ด้วยเสยี งตวั อักษร เทคนิคการผสมเสยี งใหเ้ ปน็ คำ� การแยกคำ�ให้เปน็ เสยี ง ฝกึ การออกเสียงตวั อักษร และการอา่ นออกเสยี งค�ำ Meaning, concepts and theories of using phonics to develop English skills, types of phonics, English letters, sounds of English letters, consonant sounds, vowel sounds, letters-sound relations, word spelling using letters sound, part-to-whole technique, whole-to-part technique, practice letters and words pronunciation 1553142 ภาษาในช้นั เรยี นภาษาองั กฤษของเดก็ ปฐมวัย 3(3-0-6) Classroom Language in English Class of Preschool Children ความหมาย แนวคดิ ภาษาในชนั้ เรยี นภาษาองั กฤษส�ำ หรบั ครแู ละส�ำ หรบั เดก็ ค�ำ ศพั ทแ์ ละประโยคทใี่ ช้ ในชนั้ เรียน ของเดก็ ปฐมวัย การพดู ออกคำ�ส่ัง การพดู ขอความชว่ ยเหลือ การพดู ขออนญุ าต การพดู เพ่อื นำ�เข้าสู่ บทเรยี น การพูดเพ่อื ดงึ ความสนใจ การพูดขัดจงั หวะ การพดู ถามเพ่ือขอขอ้ มลู Meaning, concepts, classroom Language for teachers and students of English, vocabularies and sentences used in English class of preschool children: imperative sentences, asking for help, askinf for permission, lesson leading conversation, motivative conversations, interruption, asking for information 1553143 กลวธิ กี ารจัดประสบการณก์ ารเรียนร้ภู าษาองั กฤษสำ�หรบั เด็กปฐมวยั 3(3-0-6) Strategies of Providing English Learning Experiences for Preschool Children ความหมายและแนวคดิ ในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรภู้ าษาองั กฤษส�ำ หรบั เกก็ ปฐมวยั กลวธิ ที ใ่ี ชใ้ น เง่อื นไขและสถานการณก์ ารเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษของเด็กปฐมวยั การจดั การเรียนรภู้ าษาองั กฤษแบบโฟนคิ ส์ แบบ การตอบสนองด้วยรา่ งกาย การเรียนร้ภู าษาแบบองค์รวม Meaning and concepts of providing English learning experiences for preschool children, strategies used in English learning conditions and situations of preschool children; phonics instruction, total physical responses (TPR), whole language approach 1553144 การพฒั นาส่อื และการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนร้ภู าษาอังกฤษของเด็กปฐมวยั 3(3-0-6) Development of Learning Materials and Using Technology for English Learning of Preschool Children ความหมาย แนวคิด ทฤษฎีการใช้สอื่ และเทคโนโลยีเพือ่ การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ สือ่ การเรยี นรู้ภาษา องั กฤษส�ำ หรบั เดก็ ปฐมวยั การใชเ้ ทคโนโลยเี พอื่ การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ การเลอื กและการพฒั นาสอ่ื และเทคโนโลยี เพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษสำ�หรับเด็ก แนวทางและวิธีการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ การปฏิบัติการ ผลิตสอ่ื การเรยี นรู้ Meaning and concepts of using materials and technology for English learning, English learning materilas for preschool childen, using technology for English learning, selection and development of materials and technology for English learning of children, approach and methods how to develop English learning materials, practice producing learning materials. 48

1553145 เพลงและเกมส์เพือ่ พัฒนาการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษของเด็กปฐมวัย 3(3-0-6) Songs and Games for English Learning Development of Preschool Children ความหมาย แนวคดิ ทฤษฎกี ารใชเ้ พลงและเกมสเ์ พอ่ื การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ วธิ กี ารใชเ้ พลงและเกมส์ เพอ่ื การเรยี นรภู้ าษาองั กฤษ การเลอื กเพลงและเกมสเ์ พอื่ การพฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษ การแตง่ เพลงเพอ่ื การเรยี นรู้ ภาษาอังกฤษ การพฒั นาเกมสเ์ พอ่ื การเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารแตง่ เพลงและการพฒั นาเกมส์ Meaning and concepts of using songs and games for English learning, how to use songs and games for English learning, selection of songs and games for English skills development, song composition for English learning, games development for English learning, practice composing songs and developing games 1554133 ภาษาอังกฤษเพอื่ วตั ถุประสงค์ทางกฎหมาย 3(3-0-6) English for Legal Purposes คำ�ศัพท์ท่ีเก่ียวข้องกับกฏหมายท่ัวไปในชีวิตประจำ�วันและไวยากรณ์ที่มีหน้าท่ีในบริบททางกฏหมาย ผ่านการฝึกปฎิบัติทักษะการสอื่ สารภาษาอังกฤษ Vocabulary related to common legal terms for daily situations and grammar functioned in legal context via practicing English communicative skills 1554106 ภาษาองั กฤษเกี่ยวกับกฎหมายและการเมือง 3(3-0-6) English for Law and Politics คำ�ศัพท์สำ�นวนภาษาอังกฤษในบริบทของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเมืองการปกครองและกฎหมาย มหาชน หลกั ไวยากรณพ์ น้ื ฐาน เทคนคิ การอา่ นขอ้ กฎหมาย ขอ้ บงั คบั ขา่ ว บทความทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั กฎหมายมหาชน และการเมอื งการปกครอง หลกั การพนื้ ฐานในการท�ำ ความเขา้ ใจและแปลภาษาองั กฤษเปน็ ไทยและองั กฤษเปน็ ไทย ในเชงิ กฎหมายเศรษฐกจิ English vocabulary and idioms used in the context of public administration and public law, basic grammar, technique in reading the laws, regulations, news and articles in the context of public administration and public laws, basic rules and principles in understanding and translating from Thai- English and English-Thai for public administration and public laws purposes 1554107 ภาษาอังกฤษเก่ียวกบั กฎหมายแพ่ง 3(2-2-5) English for Civil Law ค�ำ ศพั ทเ์ ฉพาะและส�ำ นวนการใชภ้ าษาองั กฤษทเ่ี กยี่ วกบั กฎหมายแพง่ และประเภทตา่ งๆ ของกฎหมาย แพ่ง การฝึกสอ่ื สาร อา่ น และสรุปเนอื้ หาเอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั กฎหมายแพง่ การเขยี นเรยี บเรยี งเนอื้ หาในระดับ ประโยคเก่ยี วกบั กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และน�ำ เสนอขอ้ มูล Terminology and English expressions related to civil law, and different types of civil law, communicative practice, reading, and summarizing related documents with civil law, writing and editing at sentence level about civil and commercial law and making presentations 1554108 ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษทางดา้ นกฎหมาย 3(2-2-5) English Usage Skills for Laws ทกั ษะการสอื่ สารเบอ้ื งตน้ ดา้ นการพดู การฟงั การอา่ น การเขยี น ภาษาองั กฤษในบรบิ ทของการท�ำ งาน ด้านกฎหมาย การจัดท�ำ เอกสารทางกฎหมายต่างๆ การประชุมและเจรจาหารือ การแสดงความเห็นทางกฎหมาย ในรูปแบบตา่ งๆ การท�ำ สรุปยอ่ การท�ำ ความเข้าใจเอกสารและรายงานทางกฎหมายตา่ งๆ Basic English communication skills in speaking, listening, reading and writing skills in the context of legal works: producing legal documents, basic meeting and negotiation skills, providing legal opinion in different forms, making summary, and understanding legal documents and reports 49


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook